การประยุกต์ใช้ต้นทุนมาตรฐาน · (Standard...

1
วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ อาคารสภาวิชาชีพบัญชี ถนนสุขุมวิท 21 เนื้อหาหลักสูตร ให้ผู ้เข้าอบรมน�า NoteBook มาด้วย เพราะระหว่างสัมมนาอาจมีการแจก และสาธิตการใช้ Software ต้นทุนมาตรฐาน เป็นการบัญชีต้นทุนที่ค�านวณต้นทุนต่อหน่วย ล่วงหน้าเพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจ เช่น การก�าหนดราคาขาย การวางแผน ทางการผลิตและการตลาด เป็นต้น เนื้อหาในการอบรมเป็นการอธิบายหลักการ และการน�าต้นทุนมาตรฐานมาใช้ในการวางแผน การจัดท�าต้นทุนมาตรฐาน วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต การค�านวณผลต่าง การบันทึกบัญชี และการแสดงรายการในงบการเงิน การบัญชีต้นทุนงาน เป็นการบันทึกต้นทุนการผลิตสินค้าหรือ ให้บริการตามค�าสั่งของลูกค้า สินค้าอาจมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่าง กันซึ่งผู้บริหารต้องการทราบต้นทุนของแต่ละงานที่รับจ้างหรือผลิต เพื่อประเมินผลการด�าเนินงานในแต ่ละงานว่าคุ้มกับการลงทุนหรือไม่ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นว่าส่วนประกอบของต้นทุนประกอบด้วยปัจจัยการผลิต ส�าคัญ 3 ชนิด คือ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่าย การผลิต การบัญชีต้นทุนช่วงเป็นระบบต้นทุนที่ใช้กับการผลิตสินค้าที่มี การผลิตต่อเนื่องและเป็นจ�านวนค่อนข้างมาก เหมาะส�าหรับกิจการผลิตสินค้า ที่มีลักษณะเหมือน ๆ กันในแต่ละการค�านวณต้นทุนต่อหน่วย จ�าเป็นต้อง น�าต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยเป็นต้นทุนต่อหน่วยที่ผลิตได้ การก�าหนดต้นทุนมาตรฐานส่วนประกอบของต้นทุนต่อหน่วย (วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต) การค�านวณและบันทึกต้นทุนมาตรฐานตามจ�านวนที่ผลิตจริง ในระหว่างงวด การค�านวณต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างงวด การค�านวณและจ�าแนกผลต่างของต้นทุนแต่ละประเภทเพื่อก�าหนด สาเหตุของผลต่างโดยเปรียบเทียบต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐาน การบันทึกบัญชีต้นทุนการผลิตและผลต่าง การน�ามาใช้กับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า - ทบทวนระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า - ต้นทุนมาตรฐานกับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า การน�ามาใช้กับบัญชีต้นทุนช่วง - ทบทวนระบบบัญชีต้นทุนช่วง - ต้นทุนมาตรฐานกับบัญชีต้นทุนช่วง จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ รุ่นที่ 2/62 อัตราค่าอบรม (รวม VAT) (รวมเอกสารประกอบการอบรม อาหารว่างและอาหารกลางวัน) สมาชิกสภาฯ 2,000 บาท บุคคลทั่วไป 2,500 บาท วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจในการน�าการบัญชีต้นทุนทางการเงิน (บัญชีต้นทุนงานและต้นทุนช่วง) มาใช้ร่วมกับการบัญชีต้นทุนทางการบริหาร (ต้นทุนมาตรฐาน) แก่นักบัญชี ซึ่งได้แก่ นักบัญชี ผู้สอบบัญชี และผู้บริหาร ทุกระดับในแต่ละภาคธุรกิจ ส่งเสริมให้มีผู้ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในด้านวิชา การบัญชีต้นทุน และผู้ที่สนใจในการน�าความรู้มาใช้ปฏิบัติในธุรกิจได้อย่าง เหมาะสมและเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ใช้ศึกษาอ้างอิงและ น�าไปปฏิบัติ วิทยากรโดย... การประยุกต์ใช้ต้นทุนมาตรฐาน กับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�าและบัญชีต้นทุนช่วง (Standard Costing Applied in Job Order Cost Accountingand Process Cost Accounting) สมัครอบรมออนไลน์ได้ที่ www.tfac.or.th เลขที่ 133 อาคารสภาวิชาชีพบัญชี ถนนสุขุมวิท 21 (อโศกมนตรี) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02 685 2500 ส่วนปฏิบัติการอบรม (ต่อ) 2572, 2509 และ 2555-2559 E-mail : [email protected] ส่วนการเงิน (ต่อ) 2523, 2544 E-mail : [email protected] @tfac.family ชั่วโมงพัฒนาความรู้ต่อเนื่อง (CPD) ส�าหรับผู้สอบบัญชีและผู้ท�าบัญชี นับเป็นด้านบัญชี 6 ชั่วโมง รศ. ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ - อดีตรองคณบดี ส�านักทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - คณะกรรมการวิชาชีพบัญชี ด้านการวางระบบบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ

Transcript of การประยุกต์ใช้ต้นทุนมาตรฐาน · (Standard...

Page 1: การประยุกต์ใช้ต้นทุนมาตรฐาน · (Standard Costing Applied in Job Order Cost Accountingand Process Cost Accounting) สมัครอบรมออนไลน์ได้ที่

วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ อาคารสภาวิชาชีพบัญชี ถนนสุขุมวิท 21

เนื้อหาหลักสูตร

ให้ผูเ้ข้าอบรมน�า NoteBook มาด้วย

เพราะระหว่างสัมมนาอาจมีการแจก

และสาธิตการใช้ Software

ต้นทุนมาตรฐาน เป็นการบัญชีต้นทุนที่ค�านวณต้นทุนต่อหน่วย

ล่วงหน้าเพือ่ประโยชน์ในการตดัสนิใจ เช่น การก�าหนดราคาขาย การวางแผน

ทางการผลติและการตลาด เป็นต้น เน้ือหาในการอบรมเป็นการอธิบายหลกัการ

และการน�าต้นทุนมาตรฐานมาใช้ในการวางแผน การจัดท�าต้นทุนมาตรฐาน

วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต การค�านวณผลต่าง การบันทึกบัญชี

และการแสดงรายการในงบการเงิน

การบัญชีต้นทุนงาน เป็นการบันทึกต้นทุนการผลิตสินค้าหรือ

ให้บริการตามค�าสั่งของลูกค้า สินค้าอาจมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่าง

กันซ่ึงผู ้บริหารต้องการทราบต้นทุนของแต่ละงานท่ีรับจ้างหรือผลิต

เพื่อประเมินผลการด�าเนินงานในแต่ละงานว่าคุ ้มกับการลงทุนหรือไม่

ตามท่ีกล่าวไว้ข้างต้นว่าส่วนประกอบของต้นทุนประกอบด้วยปัจจยัการผลติ

ส�าคัญ 3 ชนิด คือ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่าย

การผลิต

การบัญชีต้นทุนช่วงเป็นระบบต้นทุนท่ีใช้กับการผลิตสินค้าท่ีมี

การผลติต่อเน่ืองและเป็นจ�านวนค่อนข้างมาก เหมาะส�าหรบักจิการผลิตสนิค้า

ท่ีมีลักษณะเหมือน ๆ กันในแต่ละการค�านวณต้นทุนต่อหน่วย จ�าเป็นต้อง

น�าต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยเป็นต้นทุนต่อหน่วยที่ผลิตได้

• การก�าหนดต้นทุนมาตรฐานส่วนประกอบของต้นทุนต่อหน่วย (วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต)• การค�านวณและบันทึกต้นทุนมาตรฐานตามจ�านวนที่ผลิตจริง ในระหว่างงวด• การค�านวณต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างงวด• การค�านวณและจ�าแนกผลต่างของต้นทนุแต่ละประเภทเพือ่ก�าหนด สาเหตุของผลต่างโดยเปรียบเทียบต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐาน• การบันทึกบัญชีต้นทุนการผลิตและผลต่าง• การน�ามาใช้กับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า

- ทบทวนระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า - ต้นทุนมาตรฐานกับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�า

• การน�ามาใช้กับบัญชีต้นทุนช่วง - ทบทวนระบบบัญชีต้นทุนช่วง - ต้นทุนมาตรฐานกับบัญชีต้นทุนช่วง

• จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

รุ่นที่ 2/62

อัตราค่าอบรม (รวม VAT)

(รวมเอกสารประกอบการอบรม อาหารว่างและอาหารกลางวัน)

• สมาชิกสภาฯ 2,000 บาท • บุคคลทั่วไป 2,500 บาท

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจในการน�าการบัญชีต้นทุนทางการเงิน(บัญชีต้นทุนงานและต้นทุนช่วง) มาใช้ร่วมกับการบัญชีต้นทุนทางการบริหาร(ต้นทุนมาตรฐาน) แก่นักบัญชี ซึ่งได้แก่ นักบัญชี ผู้สอบบัญชี และผู้บริหาร ทุกระดับในแต่ละภาคธุรกิจ ส่งเสริมให้มีผู้ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในด้านวิชา การบัญชีต้นทุน และผู้ที่สนใจในการน�าความรู้มาใช้ปฏิบัติในธุรกิจได้อย่างเหมาะสมและเป็นแหล่งข้อมูลเพ่ือให้ผู ้เกี่ยวข้องได้ใช้ศึกษาอ้างอิงและ น�าไปปฏิบัติ

วิทยากรโดย...

การประยุกต์ใช้ต้นทุนมาตรฐาน

กับบัญชีต้นทุนงานสั่งท�าและบัญชีต้นทุนช่วง

(Standard Costing Applied in Job Order Cost

Accountingand Process Cost Accounting)

สมัครอบรมออนไลน์ได้ที่ www.tfac.or.th

เลขที่ 133 อาคารสภาวิชาชีพบัญชี ถนนสุขุมวิท 21 (อโศกมนตรี) แขวงคลองเตยเหนือ

เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02 685 2500 ส่วนปฏิบัติการอบรม (ต่อ) 2572, 2509

และ 2555-2559 E-mail : [email protected] ส่วนการเงิน (ต่อ) 2523, 2544

E-mail : [email protected] @tfac.family

ชั่วโมงพัฒนาความรู้ต่อเนื่อง (CPD) ส�าหรับผู้สอบบัญชีและผู้ท�าบัญชี

นับเป็นด้านบัญชี 6 ชั่วโมง

รศ. ดร.พรรณนภิา รอดวรรณะ

- อดีตรองคณบดีส�านักทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- คณะกรรมการวิชาชีพบัญชี ด้านการวางระบบบัญชีสภาวิชาชีพบัญชีฯ