การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf ·...

46
การอน รักษ์สิ่งแวดล้อม วีระพันธุ สรีดอกจันทร์ (Ph.D.) ภาควิชาพืชไร นา คณะเกษตร าแพงแสน วิชา 01999213 Technology Environmental and Life

Transcript of การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf ·...

Page 1: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

วรีะพนัธุ์ สรีดอกจนัทร์ (Ph.D.)

ภาควชิาพืชไร่นา คณะเกษตร กาํแพงแสน

วชิา 01999213 Technology Environmental and Life

Page 2: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ความหมายและวธิีการ

การอนุรักษ ์หมายถึง การใชอ้ยา่งสมเหตุสมผลเพื่อการมีใชข้องทรัพยากรนั้น ๆ ตลอดไป

ไม่ไดห้มายถึงการบริโภค(ใช)้ อยา่งเดียวเท่านั้น แต่หมายถึงการรักษา ฟื้นฟู หรือการพฒันาสิ่งนั้น ๆ ใหด้ีขึ้น

อาจสรุปไดว้า่การอนุรักษค์ือการใชต้ามความตอ้งการอยา่งเหมาะสม และยัง่ยนื ซึ่งแตกต่างจากคาํวา่ สงวน หรือป้องกนั (ซึ่งเป็นความหมายในช่วงแรก ๆ ของคาํวา่อนุรักษ)์

2

Page 3: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

เพราะเนื่องมาจากในยคุแรก ๆ ทรัพยากรธรรมชาติยงัมีเกินความ

ตอ้งการของมนุษย ์ (มนุษยจ์ึงสามารถนาํทรัพยากรเหล่านั้นมา พฒันา

เทคโนโลย ี และเพิ่มจาํนวนประชากร ไดอ้ยา่งเตม็ที่)

แต่ปัจจุบนัทรัพยากรหลายอยา่ง ถูกใชแ้ละทาํลายใหเ้สื่อมลง อยา่ง

รวดเร็วและรุนแรง (จากเทคโนโลยสีมยัใหม่ และสนองตอบต่อจาํนวน

ประชากรมนุษยท์ี่เพิ่มขึ้น) ทาํใหเ้กิดความสาํคญัของการอนุรักษแ์บบ

สมยัใหม่ขึ้น (การใชต้ามความตอ้งการ หรือ ตามความจาํเป็น อยา่ง

เหมาะสมและยัง่ยนื)

3

Page 4: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

4

Page 5: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

5

Page 6: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

6

Page 7: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

7

Page 8: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

8

Page 9: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

หลกัการอนุรักษ ์ (ขึ้นกบัประเภทของทรัพยากร)

1. การใชแ้บบยัง่ยนื

ตอ้งมีแผนการใชแ้บบยัง่ยนื (sustainable utilization) การใชต้อ้งพิจารณาถึงสมบตัิเฉพาะตวัของทรัพยากร เทคโนโลยทีี่จะใช ้ ช่วงเวลา และการบาํบดัของเสีย (ใชไ้ดก้บัทรัพยากรแทบทุกประเภทยกเวน้ ทรัพยากรที่ใชแ้ลว้ทดแทนใหม่ไม่ได)้

2. การฟื้นฟูสิ่งเสื่อมโทรม

เกิดจากการใชท้รัพยากรไม่เหมาะสม มากหรือบ่อยจนเกินไป ซึ่งตอ้งใชร้ะยะเวลาและแรงงานอยา่งมากในการฟื้นฟูใหเ้หมือนเดิม

9

Page 10: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

3. การสงวนของหายากซึ่งอาจทาํใหข้องสิ่งนั้นหมด หายไป หรือสูญพนัธุ์ไดถ้า้ไม่สงวนหรือ

เกบ็รักษาไว ้เช่นพนัธุ์พืช พนัธุ์สตัว ์แต่เมือมีผลผลิตมากพอแลว้ก็

สามารถนาํมาใชไ้ด้

หลกัการอนุรักษท์ั้ง 3 หลกัมีความสมัพนัธ์ต่อกนัและกนั กล่าวคือ ตอ้งใช้

ร่วมกนั ตั้งแต่การใชท้รัพยากรตอ้งวเิคราะห์ใหด้ีวา่จะมีทรัพยากรใชไ้ด้

ตลอดไปหรือไม่ แลว้ส่งผลใหส้ิ่งแวดลอ้มเสื่อมโทรมหรือไม่ และควร

มีสาํรองไวเ้มื่อมีเหตุจาํเป็นเกินขึ้น

10

Page 11: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ประเภทของทรัพยากร

1. Renewable resources (ทรัพยากรที่สร้างทดแทนใหม่ได ้หรือมีวฏัจกัรหมุนเวยีนตามธรรมชาติ) เช่น นํ้า ลม แสงแดด ชีว

มวล (นํ้ามนัพืช นํ้ามนัสตัว ์เอทานอล กระแสไฟฟ้า) ความร้อนจากใต้

ผวิโลก

2. Non renewable resources (ทรัพยากรที่ใชแ้ลว้หมด

ไม่สามารถสร้างทดแทนได)้ เช่น fossil fuel (นํ้ามนั ถ่านหิน)

และ nuclear fuel (พลูโตเมียม ยเูรเนียม)

11

Page 12: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

วธิีการอนุรักษ์

1. การใช ้มีหลายรูปแบบทั้งการบริโภคโดยตรง ไดย้นิ/ไดฟ้ัง ได้สมัผสั การใหค้วามสะดวก และการบริการ รวมถึงการใช้

พลงังาน (โทรฯ มือถือ – โปรโมชัน่ต่าง ๆ, กล่องขา้ว)

2. การเกบ็กกั หมายถึงการรวบรวมทรัพยากรที่มีแนวโนม้วา่จะขาดแคลนในบางช่วงของเวลา (ขา้วสาร, ผลไม,้ การถนอมอาหาร)

3. การรักษา/ซ่อมแซม (โทรฯ มือถือ, เสื้อผา้)

12

Page 13: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

4. การฟื้นฟู หมายถึงการดาํเนินการใด ๆ ที่ทาํใหท้รัพยากรหรือ

สิ่งแวดลอ้มที่เสื่อมโทรมกลบัมาเป็นปกติ ใชไ้ดเ้หมือนเดิม

การฟื้นฟูตอ้งอาศยัเทคโนโลยชี่วยเสมอ (แม่นํ้าเจา้พระยา)

5. การพฒันา หมายถึงการทาํใหส้ิ่งที่เป็นอยู ่หรือมีอยู ่มีการเพิ่ม

ประสิทธิภาพไดม้ากยิง่ขึ้น หรือมีผลเสียต่อสิ่งแวดลอ้มได้

นอ้ยลง (เช่น battery – non toxic metal or rechargeable)

13

วธิีการอนุรักษ ์(ต่อ)

Page 14: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

6. การป้องกนั เป็นการป้องกนัไม่ใหส้ิ่งที่เป็นโทษหรืออนัตราย

ลุกลามมากยิง่ขึ้น (ภยัธรรมชาติ, อุบตัิเหตุ)

7. การสงวน เป็นการรักษา ป้องกนั อาจจะกาํหนดเป็นช่วงเวลา

หรือช่วงสถานที่กไ็ด ้(สตัว ์พื้นที่)

8. การแบ่งเขต (พื้นที่) เพื่อสะดวกต่อการจดัการและเพิ่ม

ประสิทธิภาพ

วธิีการอนุรักษ ์(ต่อ)

14

Page 15: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)

หมายถึงความสามารถของชุมชน ในการผลิตสินคา้และบริการ

ไดโ้ดยพึ่งพาเฉพาะปัจจยัที่มีอยูใ่นชุมชนนั้น ๆ (ไม่ตอ้งพึ่งพา

ทรัพยากรจากภายนอกที่เราไม่มี เช่น biofuel (ethanol และ palm oil gasohol และ biodiesel)

เศรษฐกิจพอเพียงในระดบับุคคลคือ ความสามารถในการ

ดาํรงชีวติไดอ้ยา่งไม่เดือดร้อน เป็นอยูต่ามฐานะ ไม่หลงไปตาม

กระแสของวตัถุนิยม15

Page 16: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

นโยบายของรัฐ กบัการดาํเนินชีวติ (แทรก ตวัอยา่ง)

รัฐบาลอเมริกา ออกนโยบาย คนอเมริกนัทุกคนมีสิทธิที่จะเป็นเจา้ของที่พกัอาศยัของตนเอง (1995) ดว้ยสาเหตุที่วา่ เพิ่มคุณภาพชีวติ และลดรายจ่าย (ไม่ตอ้งเสียค่าเช่า)

เป็นการเพิ่มงาน และรายไดใ้หก้บัคนในประเทศ

บา้นเป็นสินทรัพย ์ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นตามเวลา เป็นหลกัทรัพยท์ี่มัน่คง

ปัจจุบนัผา่นมา 4 ปีแลว้ สหรัฐอเมริกายงัแกป้ัญหาวกิฤต subprime ไม่สาํเร็จ

Page 17: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

รัฐบาลไทย มีนโยบาย คนไทยทุกคนมีสิทธิเขา้ถึงรถยนต ์ดว้ยสาเหตุ

ที่วา่ .... เพิ่มคุณภาพชีวติ ไม่ตอ้งใชร้ถสาธารณะ (มัง๊!?) แต่ผลที่

เกิดขึ้นจริงจากนโยบาย

เพิ่มรายจ่ายประจาํวนั (ค่านํ้ามนั ประเทศไทยทาํนา ขายขา้วทั้งปี เพื่อซื้อ

นํ้ามนัมาใชไ้ดแ้ค่ 3 เดือน) (รัฐบาล) กย็งัสนบัสนุนใหใ้ชน้ํ้ ามนัเพิ่มขึ้นไปอีก

ประเทศไทยไม่มีรถยนตเ์ป็นของตนเอง (เป็นแค่กรรมกร ที่ยอมใชท้รัพยากร

ตวัเอง ผลิตรถใหป้ระเทศอื่น) ที่ไทยไดค้ือค่าแรง กบัค่าทรัพยากรราคาถูก

รถยนตเ์ป็นสิ่งของที่เสื่อมตามกาลเวลา (ถึงไม่ใช ้ราคากต็ก)

คุณเริ่มเห็นอนาคตแลว้หรือยงั จงตั้งสติในการดาํเนินชีวติใหด้ี !!

Page 18: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

หลกัการพึ่งตนเอง

ดา้นจิตใจ เป็นที่พึ่งแห่งตน และเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง

ดา้นสงัคม เกื้อกลูกนั

ดา้นทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ม ฉลาดใช ้เพิ่มมูลค่า บนความยัง่ยนื

ดา้นเทคโนโลย ี ใชใ้หส้อดคลอ้งกบัความตอ้งการ และ

สภาพแวดลอ้ม

ดา้นเศรษฐกิจ มุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็นสาํคญั

18

Page 19: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

นยัสาํคญัของแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. ยดึหลกั “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”

2. ใหค้วามสาํคญักบัการรวมกลุ่ม (ทั้งชาวบา้น และองคก์ร)

3. ตั้งอยูบ่นพื้นฐานของการมีความเมตตา เอื้ออาทร (ไม่มุ่งเนน้

ถึงแต่ผลประโยชน์เพียงอยา่งเดียว)

19

Page 20: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ผลที่คาดวา่จะไดร้ับ

คือ การพฒันาที่สมดุลและย ัง่ยนื พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง

ในทุกดา้น ทั้งดา้นเศรษฐกิจ สงัคม สิ่งแวดลอ้ม ความรู้และ

เทคโนโลยี

ยกตวัอยา่ง ธุรกิจโรงแรมที่จงัหวดักระบี่

20

Page 21: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

End of Part I

21

Page 22: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

หลกัการอนุรักษส์ิ่งแวดลอ้ม (environmental conservation)

1. ใชอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ (อาศยัความรู้) จาํเป็นอยา่งยิง่ที่จะตอ้งมีความรู้ในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ที่จะใหผ้ลต่อมนุษยใ์นทุกแง่ทุกมุม (ประโยชน์และโทษที่มีต่อมนุษย)์

2. รักษาและใชอ้ยา่งระมดัระวงั รวมทั้งตอ้งใชใ้หเ้ป็นประโยชน์และการทาํใหอ้ยูใ่นสภาพที่เพิ่มพนูทั้งดา้นกายภาพ และเศรษฐกิจเท่าที่จะทาํไดร้วมทั้งตอ้งตระหนกัเสมอวา่ การใชท้รัพยากรที่มากเกินไปจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดลอ้ม

22

Page 23: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

3. ใชใ้นอตัราที่ไม่มากไปกวา่อตัราการเพิ่ม หรือเท่ากบัอตัราการเพิ่มเป็นอยา่งนอ้ย (เช่นอตัราการเกิน อตัราการตาย)

4. ประเมินจาํนวนประชากรอยูต่ลอดเวลา (ทาํใหท้ราบความตอ้งการของทรัพยากรได ้- เพื่อความคุม้ค่าสูงสุด)

5. พฒันาปรับปรุงวธิีการใหม่ ๆ อยูต่ลอดเวลา

6. ใหก้ารศึกษาแก่ประชาชน เพื่อใหเ้ขา้ใจถึงความสาํคญัในการรักษาความสมดุลตามธรรมชาติ สมดุลระหวา่งธรรมชาติกบัสิ่งมีชีวติและตวัมนุษยเ์อง ซึ่งอาจเป็นในและนอกระบบโรงเรียน

23

Page 24: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

การจดัการสิ่งแวดลอ้มนั้น หลกัการอนุรักษเ์ป็นเครื่องมือ

พื้นฐานที่สาํคญัในการใหไ้ดม้าของผลผลิต (yield) ที่ย ัง่ยนื

(sustainability) โดยตอ้งใชว้ธิีการอนุรักษม์าใชใ้นทางปฏิบตัิ ใหส้อดคลอ้งกบัวธิีการอนุรักษ์

อยา่งไรกต็ามการใชท้รัพยากร หรือผลผลิตมกัจะก่อใหเ้กิด

ปัญหาสิ่งแวดลอ้มเสมอ (zero waste concept !? แทรกเรื่อง

CDM ตอนทา้ย) จึงตอ้งใชเ้ทคโนโลยบีาํบดัใหไ้ดท้รัพยากรและ

สิ่งแวดลอ้มที่เป็นประโยชน์ต่อไป ดงัภาพที่ 3.1

24

Page 25: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

จาํให้ดี

เช่นผา่นทางความร่วมมือจากองคก์รระหวา่ง

ประเทศ หรือ CDM project ในพิธีสารเกียวโต

เป็นแนววธิีบริหารจดัการ ซึ่งสามารถดดัแปลง

เพิ่มเติมใหม้ีความเหมาะสมในแต่ละชุมชนได้

25

Page 26: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

การอนุรักษบ์รรยากาศ มหาสมุทร และระบบนิเวศบก

สามในสี่ของผวิโลกคือผนืนํ้า และมีชั้นบรรยากาศปกคลุมทั้ง

โลก

พื้นดินเป็นแหล่งผลิตทรัพยากรสาํคญัที่สุดต่อมนุษย ์เช่นป่าไม ้

เกษตร ประมง แร่ หิน นํ้าจืด ฯลฯ รวมถึงเป็นที่อยูอ่าศยัดว้ย

เพื่อตอบสนองต่อความตอ้งการของมนุษยจ์ึงหลีกเลี่ยงของเสียที่

เกิดขึ้นไม่ได ้

จุดกาํเนิดของของเสียส่วนใหญ่ที่มนุษยส์ร้างขึ้นจึงเกิดจากผนื

ดิน และค่อยกระจายไปยงัระบบนิเวศอื่น ๆ ดงันั้นถา้จะทาํการ

ควบคุมกต็อ้งทาํการควบคุมบนผนืดิน 26

Page 27: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ทรัพยากรบนแผน่ดินสามารถก่อใหเ้กิดของเสียและมลพิษใน

รูปแบบของแขง็ ของเหลว ก๊าซ และของเสียทางฟิสิกส์

ของเสียในรูปของแขง็ ไดแ้ก่ ขยะมูลฝอย กากสารพิษอนัตราย

ในรูปของเหลว ไดแ้ก่ นํ้าเสีย คราบนํ้ามนั กากไขมนั

ในรูปก๊าซ ไดแ้ก่ ฝุ่ นละออง ก๊าซพิษ หมอกควนั ไอระเหย

สารพิษเช่นปรอท ก๊าซเรือนกระจก CFCs (ฝนกรด โลกร้อน) มลพิษทางฟิสิกส์ เช่น เสียง แสง ความร้อน ความสัน่สะเทือน

27

Page 28: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ดงันั้นการอนุรักษร์ะบบนิเวศบก (terrestrial ecosystems conservation) จึงเป็นแหล่งที่สาํคญัเป็นอยา่งยิง่ ซึ่งตอ้งมี

แผนการอนุรักษท์รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้มอยา่งรัดกมุ

พร้อมกบัมีวธิีการนาํมาใชอ้ยา่งเป็นรูปธรรม

28

Page 29: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

แหล่งกาํเนิดของของเสีย (Source of waste)

ถา้แบ่งตามแหล่งกาํเนิด แบ่งไดเ้ป็น 2 ชนิด ใหญ่ ๆ คือ

1. ของเสียที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ จดัเป็นของเสียที่เกิดขึ้นจาก

ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ หรือสิ่งมีชีวติอื่น ๆ ในสภาพธรรมชาติ

โดยที่ไม่มีมนุษยเ์ขา้ไปเกี่ยวขอ้ง เช่น การระเบิดของภูเขาไฟ ทาํ

ใหเ้กิดของเสียดา้นความร้อน (ของเสียชนิด ฟิสิกส์), ขี้เถา้ลอย

(ของเสียทางดา้น อากาศ-ก๊าซ), ลาวา ที่ทาํลายหนา้ดิน (ของเสีย

ชนิดของแขง็) หรือการเกิดไฟไหมป้่า (ตามกระบวนการธรรมชาติ), การ

เคลื่อนที่ของเปลือกโลก, การเปลี่ยนทิศทางไหลของกระแสนํ้า หรือแม่นํ้ า

29

Page 30: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

2. ของเสียที่กาํเนิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย ์ (human activity) ซึ่งแบ่งตามแหล่งกาํเนิดไดอ้ีก 3 ประเภทดว้ยกนั

2.1 ภาคอุตสาหกรรม (industrial wasted) ซึ่งจะผลิตของ

เสียที่มีความเขม้ขน้สูง เป็นพิษมาก ปัจจุบนัตอ้งมีแผนก

สิ่งแวดลอ้มเพื่อตรวจสอบขยะเป็นพิษก่อนที่จะทาํการทิ้ง

สู่สิ่งแวดลอ้ม เช่นพวกโลหะหนกัเป็นพิษ สารกาํมนัต

ภาพรังสี นํ้ากรด-ด่างเขม้ขน้ นํ้าเสีย (ร้อนเกินไป DO

ตํ่าเกินไป) ควนัพิษ ตวัอยา่งที่เห็นไดช้ดักค็ือโรงงานใน

นิคมอุตสาหกรรม

30

Page 31: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

2.2 ภาคเกษตรกรรม (agricultural waste) ส่วนใหญ่จะ

เป็นของเสียจาํพวกสารเคมี (ยาฆ่าแมลงและวชัพืช)

และปุ๋ย ที่ถูกชะลา้งเขา้สู่ระบบแม่นํ้า และนํ้าใตด้ิน

หรือสะสมอยูใ่นดินทาํใหด้ินเสื่อม เป็นภาคส่วนหลกั

ที่กาํเนิดของเสียเขา้สู่สิ่งแวดลอ้ม (โดยเฉพาะใน

ประเทศที่เป็นเกษตรกรรม เช่นประเทศไทย) เนื่องจาก

ผูใ้ชไ้ม่มีความรู้ในการใชท้ี่ถูกวธิี พื้นที่กวา้งทาํให้

ควบคุมการใช ้และการเกบ็กาํจดัไดย้าก

31

Page 32: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

2.3 ภาคครัวเรือน (domestic waste) เป็นของเสียทัว่ไปที่

เกิดจากครัวเรือน มีทั้งของเสียประเภทของแขง็ นํ้า และ

ก๊าซ ในเมือง (urban) จะมีปริมาณของเสียที่มากกวา่ แต่

ถา้มีการจดัการที่ดีกจ็ะสามารถนาํของเสียเหล่านี้กลบัมา

ใชป้ระโยชนไ์ดใ้หม่ เป็นการเพิ่มรายไดใ้หก้บัชุมชน

ในขณะที่ชนบท (rural) จะมีศกัยภาพเพียงพอที่จะฟื้นฟู

ของเสียตามกลไกยอ่ยสลายตามธรรมชาติอยูแ่ลว้

32

Page 33: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ปัจจุบนัไดม้ีประเทศต่าง ๆ กวา่ 175 ประเทศไดล้งนามใหส้ตัยาบนั

รับรองพิธีสารดงักล่าว และไดเ้ริ่มมีผลบงัคบัใชน้บัตั้งแต่วนัที่ 16

กมุภาพนัธ์ 2548 ที่ผา่นมา ทั้งนี้ ในพิธีสารไดก้าํหนดใหป้ระเทศที่พฒันา

แลว้ 36 ประเทศ ในช่วงระหวา่งปี 2551-2555 จะตอ้งลดปริมาณการ

ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งไดก้าํหนดเป้าหมายในการลดปริมาณก๊าซ

เรือนกระจกลงอยา่งนอ้ยร้อยละ 5 ของปริมาณก๊าซที่ถูกปล่อยรวมทั้งสิ้น

ในปี 2533

Kyoto protocol (11 ธ.ค. 2540)

33

Page 34: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ประเทศที่เข้าร่วมแบ่งเป็น 3 กลุ่ม

1. กลุ่ม Annex I Partiesประกอบด้วยรัฐภาคีที่มีชือ่อยู่ในภาคผนวก

ที่ 1 ซึ่งได้แก่รัฐภาคีที่อยู่ในกลุ่ม OECD (ประเทศที่พัฒนาแล้ว 24

ประเทศ) และประเทศที่มีเศรษฐกิจอยู่ในระยะปรับเปลี่ยน (ประเทศ

ในยุโรปตะวันออกและประเทศสังคมนิยมที่กําลังเปลี่ยนเปน็ประเทศ

เสรีนิยม)

34

Page 35: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ
Page 36: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ประเทศในภาคผนวก 1 ส่วนใหญ่ให้สัตยาบันแล้ว แต่ยังคงมี

ประเทศที่ลงนามในสัญญาแต่ยังไม่มีการให้สัตยาบัน คือ

สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ทําให้เป็นที่วิตกกังวลกันวา่การ

ดําเนินการจะไม่ได้ผลเนื่องจากประเทศที่ปล่อยกา๊ซเรือนกระจก

มากที่สุดอย่างสหรัฐอเมริกานั้น ยังไม่มีทีท่าว่าสภาคองเกรสจะให้

สัตยาบัน โดยให้เหตุผลว่าจะกระทบอุตสาหกรรมของประเทศ

36

Page 37: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

2. ประเทศในภาคผนวกที่ 2 (Annex II Countries) หมายถึง กลุ่ม

ประเทศ OECD ที่เป็นสมาชิกภาคผนวกที่ 1 ซึ่งมีพันธะพิเศษในการ

กระจายเงินทุนเพื่อช่วยประเทศ ที่กําลังพัฒนาในการรับมือกับการ

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านการถ่ายทอด เทคโนโลยี และ

วิธีการปฏบิตัิ

3. ประเทศนอกภาคผนวกที่ 1 (Non-Annex I) หมายถึง ประเทศที่

กําลังพัฒนา (Developing Country) ทั้งหมดไม่มีพันธกรณีในการ

ลดก๊าซเรือนกระจก มีทั้งสิ้น 150 ประเทศ

37

Page 38: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

ANNEX II Countries

AustraliaAustriaBelgiumCanadaDenmarkEuropean Economic CommunityFinlandFranceGermanyGreeceIcelandIreland

38

ItalyJapanLuxembourgNetherlandsNew ZealandNorwayPortugalSpainSwedenSwitzerlandTurkeyUnited Kingdom of Great Britain and Northern IrelandUnited States of America

Page 39: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

3 กลไกที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

1. การดําเนินการร่วมกัน (Joint Implementation หรือ JI)

2. การค้าขายแลกเปลี่ยนกา๊ซเรือนกระจก (Emissions Trading

หรือ ET)

3. กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development

Mechanism หรือ CDM)

39

Page 40: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

Emissions Trading (carbon credit การซื้อขายคาร์บอน)

การลดคาร์บอนแล้วขาย ผ่าน CDM รวมทั้งการทํา Joint

Implementation เพื่อให้มีการยืดหยุ่นและแรงจูงใจในการลด

การปล่อยคาร์บอน

เช่น โรงงานเคยปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100,000 ตันต่อปี เมื่อ

เข้าโครงการจะต้องลดการปล่อยลง 5% คือสามารถปล่อยได้

95,000 ตันต่อปี ถ้าทําได้สามารถนําส่วนที่ลดได้ไปขายได้ แต่ถ้า

ลดไม่ได้ ต้องเสียเงินไปซื้อส่วนที่เกินไปจากผู้ที่ลดได้

40

Page 41: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

CDM (clean development mechanism)

อนุญาตให้ประเทศในกลุ่มที่พัฒนาแล้วถ่ายทอดเทคโนโลยีสะอาด (clean tech) ให้กับประเทศที่กําลังพัฒนา โดยปริมาณคาร์บอนที่ปล่อยลดลง (CERs) จะสามารถนําไปเพิ่มการปล่อยคาร์บอนในประเทศของตนเองได้

แต่โครงการนี้จะต้องการการตกลงระหว่างรัฐ (ประเทศ กับ ประเทศ)

41

Page 42: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

Why the Annex I Party need Carbon Credit

Country A

Assigned Amount: 95 MT CO2

Actual emission

120 MT CO2

CDM Project

Emission Reduction

5 MT CO2

Actual emission

100 MT CO2

Country B

Assigned Amount: 120 MT CO2

CERs 5 MT

AAUs 20 MT

Kyoto Protocol

Page 43: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

Hosting Country No. of Project

India 297

China 141

Brazil 113

Mexico 99

Chile 21

Malaysia 21

Korea 16

Other 160

Thailand 5

Certified CDM Projects (classified by hosting countries)

Source: UNFCCC (17 December 2007)

Page 44: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

44

Page 45: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

การประชุมที่โดฮาในปี 2555 ตกลงระยะผกูมดัการลดการปล่อยที่สอง

ตั้งแต่วนัที่ 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธนัวาคม 2563 ซึ่งเกิดขึ้นในรูปของ

การแกไ้ขพิธีสารฯ 37 ประเทศซึ่งมีเป้าหมายจะลดการปล่อยร้อยละ 18

เมื่อเทียบกบัระดบัเมื่อปี 2533 ระหวา่งปี 2556-2563

ประเทศที่ไม่รับเป้าหมายใหม่ในระยะผกูมดัที่สอง ไดแ้ก่ ญี่ปุ่น

นิวซีแลนด ์และรัสเซีย

ประเทศที่ไม่มีเป้าหมายรอบสอง ไดแ้ก่ สหรัฐอเมริกา (ซึ่งไม่เคยเป็น

สมาชิกของพิธีสารฯ) และแคนาดา (ซึ่งถอนตวัจากพิธีสารเกียวโต มีผล

บงัคบัปี 2555)

45

Page 46: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมbiochem.flas.kps.ku.ac.th/01999213/01999213conservation262.pdf · 5. พฒนาปรั ับปรุงวิธีการใหม่ๆ

46