ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet...

30
ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลี ยง Pet Digestive System รศ.ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ รศ.ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Transcript of ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet...

Page 1: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

ระบบการย่อยอาหารในสตัวเ์ลี�ยง Pet Digestive System

รศ.ดร.วโิรจน์ ภัทรจินดาภาควชิาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 2: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

วตัถปุระสงค ์

� เพื(อใหเ้ขา้ใจชนิดโภชนะที(สําคญั � เพื(อใหส้ามารถเปรียบเทียบระบบการย่อยอาหาร

สตัวแ์ตล่ะชนิดตอ้งการโภชนะที�แตกตา่งกนัออกไป ในสตัวเ์คี �ยวเอื �องเชน่โค กวาง ตอ้งการอาหารที�ไม่ซบัซอ้นเทียบกบัสตัวท์ี�ไม่เคี �ยวเอื �องเชน่ สุกร ไก ่ สนุัข หนู

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 3: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 4: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

ระบบการย่อยอาหาร (Digestive tract)

ระบบการย่อยอาหารออกได้เป็น 3 กลุ่ม1) สัตว์กระเพาะเดี*ยว 1) สัตว์กระเพาะเดี*ยว 2) สัตว์เคี -ยวเอื -อง 3) สัตว์ไม่เคี -ยวเอื -องที*กนิพชื

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 5: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์กระเพาะเดี*ยว (Monogastric, Simple nonruminants)

� ไก่ สุกร หนู นก ปลา เป็นสตัว์กระเพาะเดี�ยวหรืออาจเรียกวา่ สตัว์ไมเ่คี &ยวเอื &อง

�กระเพาะสําหรับยอ่ยอาหารเพียงกระเพาะเดียว

�ไมม่ีสว่นขยายของกระเพาะ

�ไมจ่ลุินทรีย์ช่วยยอ่ย

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 6: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

กระเพาะอาหารสัตว์กระเพาะเดี*ยว

�อาหารที*อยู่ในกระเพาะจะได้รับการคลุกเคล้าระหว่างอาหาร,เอนไซม์

�กรดที*สาํคัญคือไฮโดรคลอริค (hydrochoric acid)

�pH 1.5-2.5

�ภาวะความเป็นกรดจะมีส่วนช่วยในการย่อยสลายโปรตีนผ่านกระบวนการไฮโดรไลซีส (hydrolysis)

รูปที� 1.1 กายวภิาคทางเดินอาหารของสุกรและไก่รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 7: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

� การย่อยและดูดซมึอาหารเกดิที*บริเวณลาํไส้เล็ก

ลําไส้เลก็ประกอบด้วย 3 สว่น �ดโูอดีนมั (duodenum)

�เจจนูมั (jejunum)�เจจนูมั (jejunum)

�ไอเลี�ยม (ileum)

�การยอ่ยอาหารในสว่นลําไส้นี &เกิดจากร่างกายหลั�งเอนไซม์เข้ามาสูส่ว่นลําไส้

� เอนไซม์หลกัที�ถกูสง่มาจากตอ่มในตบัออ่น (pancreas gland) ยอ่ยโปรตีน (trypsin, chymotrypsin) ยอ่ยคาร์โบไฮเดรท (amylase) และไขมนั (lipase)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 8: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

กระบวนการย่อยอาหาร

โปรตีน กรดอะมิโน

คาร์โบไฮเดรท นํ &าตาลกลโูคสคาร์โบไฮเดรท นํ &าตาลกลโูคส

ไขมนั กรดไขมนั (fatty acids)

โมเลกลุโภชนะเหลา่นี &จะได้รับการดดูซมึผ่านเข้าสูร่ะบบเส้นเลือดฝอยในที�สดุ

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 9: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

�เลือดช่วยขนสง่โภชนะเข้าสูต่บั (liver) เพื�อเปลี�ยนแปลงโครงสร้างของสารอาหารให้เหมาะสม ก่อนที�จะถกูสง่ตอ่ไปยงัอวยัวะตา่งๆ ตอ่ไป

�สารพิษจากอาหารที�ดดูซมึจากลําไส้ จะได้รับทําลายพษิที�ตบั �สารพิษจากอาหารที�ดดูซมึจากลําไส้ จะได้รับทําลายพษิที�ตบั �ตบัยงัผลตินํ &าดี สง่ไปยงัลําไส้สว่น ดโูอดีนั�ม

�นํ &าดีจะช่วยในการยอ่ยอาหารไขมนัและการดดูซมึไขมนั

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 10: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

� สัตว์กระเพาะเดี*ยวจะมีหลายลักษณะที*เหมือนกัน แต่ก็มีส่วนแตกต่างกันเช่น

� สัตว์ที*กินเนื -ออย่างเดยีวเช่น แมวและ มิงค์� มีลาํไส้เล็กสั -น อาหารอยู่ในทางเดนิอาหาร� มีลาํไส้เล็กสั -น อาหารอยู่ในทางเดนิอาหาร�ใช้เวลาน้อย �อาหารเนื -อสัตว์จะย่อยได้ง่ายกว่าเยื*อใยพืช

� ส่วนสัตว์ที*กนิได้ทั -งอาหารที*มาจากพืชหรือสัตว์ เช่น สุกร จะมีลาํไส้ยาวและอาจมีส่วนขยายส่วนหลัง เพื*อให้จุลินทรีย์สามารถช่วยย่อยอาหารพวกเยื*อใยได้

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 11: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

� สตัว์ปีก เช่น นก ไก่ ทางเดินอาหารส่วนหน้าจะพฒันา มีส่วนเพิ�มที�เรียกว่า crop, proventiculus และ gizzard ทดแทนสว่นฟันและกระเพาะที�หายไป

� เมื�อกินอาหารเข้าไป อาหารผ่านสู่ ถุงเก็บ (crop) เพื�อเพิ�มความชื &น เคลื�อนตวัไปย่อยที� proventiculus(กระเพาะจริง) มีการหลั�งเอนไซม์และเคลื�อนตวัไปย่อยที� proventiculus(กระเพาะจริง) มีการหลั�งเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอริค (hydrochoric) เข้ามาช่วยในการยอ่ยอาหาร

� จากนั &นมาที� สว่นพกัอาหาร (gizzard) ที�สว่นนี &จะมีโครงสร้างเป็นมดักล้ามเนื &อที�แข็งแรง เพื�อช่วยในการบดยอ่ยชิ &นอาหารให้เป็นชิ &นเลก็ ทําหน้าที�ทดแทนฟันที�หายไปนั�นเอง

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 12: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 13: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์เคี -ยวเอื -อง (Ruminants)

โค กระบือ แพะ แกะ มีความแตกตา่งจากสตัว์กระเพาะเดี�ยว คือ

�1 กระเพาะมีขนาดใหญ่ที�เกิดจากสว่นขยายของกระเพาะ (compartment) แบง่เป็น กระเพาะหมกั กระเพาะรังผึ &ง กระเพาะผ้าขี &ริ &วหรือสามสบิกลีบ กระเพาะจริง� 2 การย่อยอาหารเป็นการทาํงานร่วมกับจุลินทรีย์ในกระเพาะหมกั�มากกวา่เป็นการทํางานร่วมกบัเอนไซม์

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 14: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

1. กระเพาะหมัก (rumen)

�เป็นสว่นขยายแรกและใหญ่ที�สดุ มีผิวด้านในของกระเพาะมี papillae ทําหน้าที�ช่วยเพิ�มพื &นที�ของผนงักระเพาะหมกัในการดดูซมึสารอาหารผา่นผนงักระเพาะ

papillae ผนงักระเพาะ

papillae

�ทําหน้าที�หมกัอาหารที�สตัว์กินเข้าไปร่วมกบัการทํางานของจลุินทรีย์ชนิดตา่งๆ ในกระเพาะ (แบคทีเรีย โปรโตซวั เชื &อราและยีสต์)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 15: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

�ผลพลอยได้จากการหมกัยอ่ยอาหารของจลุนิทรีย์ สว่นมากเป็นกรดไขมนัระเหยง่าย (volatile fatty acids, VFA)VFA ซึ�งจดัเป็นแหลง่พลงังานหลกัที�สําคญั ขณะที�กลูโค้สคือแหลง่พลงังานหลกัของสตัว์กระเพาะเดี�ยว

�นอกจากนั &นยงัมีก๊าซตา่งๆ ที�มีการผลติมากสดุคือคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) และมีเทน (CH4) ก๊าซจะถกูขจดัออกจากร่างกายจากการเรอ (eructation)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 16: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

การย่อยอาหารในกระเพาะหมัก

�อาหารที�กินเข้าไปในกระเพาะหมกันั &น จะมีทั &งสว่นที�เป็นขนาดชิ &นเลก็ (อาหารข้น,concentrate) และ อาหารชิ &นใหญ่(อาหารหยาบ, roughages)

�กระบวนการเคี -ยวเอื -อง (rumination) คือการเคี &ยวใหม ่ด้วยการสร้างก้อนอาหารหยาบ (bolus) ด้วยกล้ามเนื &อของหลอดคอ และขย้อนขึ &นมาที�ปากเพื�อนํามาเคี &ยว (chew) ใหมอ่ีกรอบ จนกวา่จะได้ชิ &นอาหารที�มีขนาดเลก็

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 17: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

2. กระเพาะรังผึ -ง (recticulum)

�เป็นกระเพาะสว่นที�ขยายตอ่มาจากสว่นกระเพาะหมกั มีลกัษณะผิวผนงัคล้ายรังผึ &ง

�ทําหน้าที�กรอง กกัเก็บสิ�งแปลกปลอมตา่งๆ เช่น ตะป ูลวด เศษหิน ที�ถกูกกัเก็บไว้ เพื�อป้องกนัการไหลผา่นไปทําให้ผนงัลําไส้ทะลแุละอนัตรายแก่ระบบทางเดนิอาหาร

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 18: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

3. กระเพาะผ้าขี -ริ -ว (omasum)หรือกระเพาะสามสิบกลีบ

� กระเพาะสว่นนี &จะมีขนาดเลก็ ประกอบด้วยชั &นผนงับางๆ เรียงรายเป็นแผน่ริ &วๆ

� ทําหน้าที�เป็นเสมือนแผน่กรองขนาดชิ &นของอาหาร

� อาหารที�มีขนาดเลก็เท่านั &นที�จะสามารถไหลผา่นไปได้ รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 19: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

ส่วนกระเพาะจริง (abomasums)�อาหารที�หมกัและเลก็จะไหลมาที�นี�

�มีเอนไซม์ยอ่ยโปรตีนและกรดไฮโดรคลอริกหลั�งมายอ่ย

�pH 2 จะช่วยในการฆา่จลุนิทรีย์ที�ไหลมากบัชิ &นอาหาร และเอนไซม์โปรตีนจะยอ่ยโปรตีนและจลุนิทรีย์ เป็นแหลง่กรดอมิโนที�สําคญั

� ในสตัว์เคี &ยวเอื &องจะอาศยัการทํางานของจลุนิทรีย์ ที�มีเอนไซม์ cellulase ผลิตออกมายอ่ยสลายเยื�อใยให้กลายเป็นกรดไขมนัระเหยง่าย(volatile fatty acid, VFA) และ แหลง่พลงังาน

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 20: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์กระเพาะเดี*ยวที*กินพชื (Nonruminant Herbivores)

� สัตว์เหล่านี - ได้แก่ ม้า กระต่าย หนูกินนีพกิ (Guinea pig) และในพวกสัตว์ป่า เช่น ม้าลาย ช้าง ฮปิโปโปเตมัส

� มีระบบทางเดนิอาหารบางสว่นที�ขยายขึ &น เพื�อให้จลุนิทรีย์เจริญช่วยยอ่ยได้เหมือนสว่นกระเพาะหมกัในโค ทําให้ความต้องการอาหาร จงึกึ�งกลางระหวา่งสตัว์ทั &งสองชนิด

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 21: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์เหล่านี -สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม

� กลุ่มที*มีกระเพาะส่วนหน้าขยายใหญ่

� กลุ่มที*มีลาํไส้ใหญ่ส่วนต้นขยาย

� กลุ่มที*มีไส้ติ*งขยาย

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 22: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

รูปที� 1.4 เปรียบเทียบทางเดินอาหารสตัว์เสือกบักระตา่ยที�มีสว่นขยายตา่งกนั

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 23: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์ที*กระเพาะส่วนหน้าขยาย (Foregut Fermentors)

สัต ว์ ในก ลุ่ม นี - เ ช่น จิ ง โ จ้ วอลลา บี - (Wallaby) ฮิปโปโปเตมัส หมูป่า ลิง (Colobus monkey) นกฮอร์ซีน (Hoatzin) (Colobus monkey) นกฮอร์ซีน (Hoatzin)

สัต ว์จะมี ส่วนหน้าของกระเพาะจริง (stomach) อย่างน้อยถุงหนึ*งหรือมากกว่าขยายโตขึ -น เพื*อเป็นส่วนหมักย่อยอาหารจากพืช มักเป็นสัตว์ป่าส่วนใหญ่

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 24: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์ที*ลาํไส้ใหญ่ส่วนต้นขยาย (Colon Fermentors)

�สตัว์ในกลุม่นี & เช่น ม้า ม้าลาย ลา ลอ่

�สตัว์เหลา่นี &จะมีลําไส้ใหญ่สว่นต้นขยายใหญ่ขึ &นเป็นที�อยูข่องจลุนิทรีย์ที�ช่วยยอ่ยอาหาร ที�ช่วยยอ่ยอาหาร

�อาหารที�ยอ่ยงา่ยเช่น โปรตีน แป้ง นํ &าตาล ไขมนั จะได้รับการยอ่ยสลายในสว่นลําไส้เลก็จนหมดเช่นเดียวกบัสตัว์กระเพาะเดี�ยวทั�วไป

� สว่นอาหารที�ยอ่ยยาก เช่น หญ้าจะเคลื�อนตวัไปยอ่ยที�ทางเดนิอาหารสว่นท้าย ณ ลําไส้ใหญ่

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 25: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สัตว์ที*มีส่วนไส้ติ*งขยาย (Cecal Fermentors)

�สตัว์กินพืชขนาดเลก็ เช่นกระตา่ย �มีการพฒันาระบบทางเดินอาหารที�ไส้ติ�งใหญ่ยาวขึ &น เพื�อ ให้ช่วยหมกัเพิ�มและกําจดัสว่นที�ยอ่ยไมไ่ด้ออกไปก่อน เรียกมลูแข็ง ให้ช่วยหมกัเพิ�มและกําจดัสว่นที�ยอ่ยไมไ่ด้ออกไปก่อน เรียกมลูแข็ง

�ในไส้ติ�ง มีจลุินทรีย์ช่วยการหมกัยอ่ยและดดูซมึกลบัไปใช้ และขบัออกมาเป็นมลูเหลว �แตใ่นกระตา่ยจะเลียกินมลูเหลวนี &ในเวลากลางคืน

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 26: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

การวเิคราะห์อาหาร (Feed Analysis)Proximate analysis ประกอบด้วย

1 การหานํ3าหนักแห้ง (dry matter)2 โปรตนีรวม (crude protein)

1 การหานํ3าหนักแห้ง (dry matter)2 โปรตนีรวม (crude protein)

3 ไขมนั (ether extract)4 เถ้า (ash)5 เยืDอใยรวม (crude fiber)6 แป้ง (nitrogen – free extract, NFE)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 27: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

สิDงแห้ง (Dry Matter, DM)เป็นการนาํอาหารไปทาํใหแ้หง้ในตูอ้บ

จนไดน้ํ$ าหนกัแหง้ของอาหารที�คงที� จึงถือวา่อาหารนั�นแหง้ 100% จึงถือวา่อาหารนั�นแหง้ 100%

โปรตนีรวม (Crude Protein, CP) มาจาก ปริมาณไนโตรเจนทีDมใีนอาหาร คูณด้วยค่า 6.25 โปรตนีส่วนใหญ่ จะมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบอยู่ 16% ( 1ไนโตรเจน= 6.25)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 28: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

ไขมนั (Ether Extract, )การหาไขมนัในอาหาร ทาํดว้ยการใชส้ารละลายอีเทอร์

สกดัไขมนัออกมาสกดัไขมนัออกมา

เถ้า (Ash)การหาเถ้า ทีDมใีนอาหารนั3น ทาํได้ด้วยการนําตวัอย่าง

มาเผาในตู้เผาไฟแรงสูงทีD 600oCรศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 29: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

เยืDอใย (Crude Fiber) นําตวัอย่างมาต้มด้วยอเีทอร์, กรดเจือจาง และด่างเจือจาง แล้วนําตวัอย่างสุดท้ายไปเผาในเตาเผาค่านํ3าหนักทีDหายไป ระหว่างก่อน-หลงัเผาคอืค่าปริมาณเยืDอใยรวม ค่านํ3าหนักทีDหายไป ระหว่างก่อน-หลงัเผาคอืค่าปริมาณเยืDอใยรวม

คาร์โบไฮเดรท (Nitrogen – Free Extract)การหาปริมาณ ไดจ้ากการนาํค่า 100 ลบดว้ยค่าที�วเิคราะห์ได้∴ NFE = 100 – (%ความชื$น + %CP + %EE + %Ash + %CF)

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.

Page 30: ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง Pet DigestiveSystem Digestion3.pdf · ระบบการย่อยอาหารในสัตว์เลียง

รศ.ดร.วโิรจน์ ภทัรจินดา ภาควิชาสตัวศาสตร์ คณะเกษตร มข.