ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล...

12
ป{จจัยที่มีอิทธิพลตnอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการ ศาลยุติธรรมภาค 8 FACTORS AFFECTING THE IMPLEMENTING ACCOMPLISHMENT OF OFFICIALS OF COURT OF JUSTICE, SECTOR VIII นิภาพร เฉียนเลี่ยน นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรrมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดร. เทพศักดิบุณยรัตพันธุr รองศาสตราจารยr ประจําสาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดร. สุรพร เสี้ยนสลาย รองศาสตราจารยr ประจําสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตรr มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บทคัดยnอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคrเพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรม แตnละศาลในภาค 8 (3) ศึกษาป{จจัยที่มีอิทธิพล ตnอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 (4) ศึกษาแนวทางในการสรoางผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 การศึกษานี้เป}นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 จํานวน 22 ศาล 690 คน กลุnมตัวอยnางที่นํามาศึกษา จํานวน 400 คน เครื่องมือที่ใชoในการวิจัยคือแบบสอบถาม ซึ่งมีคnาความเที่ยงอยูnในชnวงระหวnาง 0.7669 ถึง 0.9582 สถิติ ที่ใชoในการวิเคราะหrขoอมูล ไดoแกn คnาความถีคnารoอยละ คnาเฉลี่ย สnวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะหrถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบวnา (1) ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรม ภาค 8 อยูnในระดับรoอยละ 80 (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 ของแตnละศาลแตกตnางกัน (3) ป{จจัยดoานคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ป{จจัยดoานสมรรถนะ ป{จจัยดoานกระบวนทัศนr วัฒนธรรมและคnานิยมในการทํางาน และป{จจัยดoาน แรงจูงใจ มีอิทธิพลตnอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 อยnางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) แนวทางในการสรoางผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 ไดoแกn ควรนําการบริหารกิจการ ภาครัฐแนวใหมn กระบวนทัศนrใหมn รวมทั้งวัฒนธรรมและคnานิยมในการทํางาน มาใชoอยnางจริงจัง นอกจากนั้นควรนําระบบ สมรรถนะมาใชoในการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาความดีความชอบและเลื่อนตําแหนnง และสรoางแรงจูงใจเพื่อ ปรับเปลี่ยนคnานิยมในการทํางานของขoาราชการศาลยุติธรรมภาค 8 เพื่อใหoเกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น คําสําคัญ : ผลสัมฤทธิการปฏิบัติงาน ขoาราชการศาลยุติธรรม ภาค 8 ABSTRACT The objectives of the study were to (1) investigate the implementing accomplishment of officials of Court of Justice, Sector 8, (2) compare the implementing accomplishment of officials of each Court of Justice under the responsibility of Sector 8 (3) study factors affecting the implementing accomplishment of officials of Court of Justice, Sector 8 (4) find out the guidelines to enhance better implementation of Officials of Court of Justice, Sector 8. This research was a survey research. Population included 690 officials from 22 courts of justice in sector 8. Samples were 400 officials. Instrument used was questionnaire with validity value ranged from 0.7669 to 0.9582. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression. Research result revealed that (1) level of operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8 was 80 percent, (2) the implementing accomplishment of Officials of each Court of

Transcript of ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล...

Page 1: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการ  ศาลยุติธรรมภาค  8 FACTORS AFFECTING THE IMPLEMENTING ACCOMPLISHMENT OF OFFICIALS OF

COURT OF JUSTICE, SECTOR VIII

นิภาพร  เฉียนเลี่ยน นักศึกษาหลักสตูรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  

ดร.  เทพศักด์ิ  บุณยรัตพันธุ รองศาสตราจารย  ประจําสาขาวิชาวิทยาการจัดการ  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ดร.  สุรพร  เสี้ยนสลาย รองศาสตราจารย  ประจําสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร  มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช

บทคัดยอ                                 การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

(2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรม  แตละศาลในภาค  8  (3)  ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพล                              ตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 (4) ศึกษาแนวทางในการสรางผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8   การศึกษานี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  จํานวน  22 ศาล  690 คน

กลุมตัวอยางที่นํามาศึกษา จํานวน 400 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือแบบสอบถาม ซึ่งมีคาความเที่ยงอยูในชวงระหวาง  0.7669  ถึง  0.9582      สถิติ  ที่ใชในการวิเคราะหขอมูล  ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉล่ีย  สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน

ผลการวิจัยพบวา (1) ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรม  ภาค  8 อยูในระดับรอยละ 80

(2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ของแตละศาลแตกตางกัน (3) ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ    ปจจัยดานสมรรถนะ  ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน  และปจจัยดานแรงจูงใจ มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05

(4) แนวทางในการสรางผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  ไดแก  ควรนําการบริหารกิจการภาครัฐแนวใหม    กระบวนทัศนใหม  รวมทั้งวัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน  มาใชอยางจริงจัง นอกจากนั้นควรนําระบบสมรรถนะมาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาความดีความชอบและเล่ือนตําแหนง    และสรางแรงจูงใจเพื่อปรับเปล่ียนคานิยมในการทํางานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น

คําสําคญั  :  ผลสัมฤทธิ ์การปฏิบัติงาน    ขาราชการศาลยตุิธรรม  ภาค  8

ABSTRACT

The objectives of the study were to (1) investigate the implementing accomplishment of

officials of Court of Justice, Sector 8, (2) compare the implementing accomplishment of officials of each Court of Justice under the responsibility of Sector 8 (3) study factors affecting the implementing accomplishment of officials of Court of Justice, Sector 8 (4) find out the guidelines to enhance better implementation of Officials of Court of Justice, Sector 8.

This research was a survey research. Population included 690 officials from 22 courts of justice in sector 8. Samples were 400 officials. Instrument used was questionnaire with validity value ranged from 0.7669 to 0.9582. Statistical tools employed were frequency,  percentage, mean,  standard deviation,  and stepwise multiple regression.

Research result revealed that (1) level of operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8 was 80 percent, (2) the implementing accomplishment of Officials of each Court of

Page 2: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

113                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

Justice in Sector 8 were different  (3) public sector quality management,  competency, paradigm,  culture, value, and motivation factors; positively affected the implementing accomplishment of officials of Justice, Sector 8 with .05 level of statistical significance (4) guidelines to enhance better implementation were: the organizations should put more emphasis on the implementation of new public management, new administrative paradigm, culture and value in the operation; together with the application of competency system in personnel performance appraisal; work motivation should as well be elevated so consequently personnel value changes could be expected which would finally lead to the increase of accomplishment in the implementation of the officials of Court of Justice, Sector 8 as a whole.

Keywords : Accomplishment, Work Operation, officials of Court of Justice, Sector 8

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การจัดการภาครัฐแนวใหมหรือ  New Public

Management    กล าว ได ว า เป นพาราไดมที่ สํ าคัญที่นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตรใหการยอมรับในปจจุบันวาเปนกรอบแนวคิดที่ถูกนํามาใชในการบริหารภาครัฐในปจจุบันไดเปนอยางดี    โจนาธาน  บอสตัน  (Jonathan Boston) ใหสาระสําคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหมไว  (Boston 1996) คือ  มองวาการบริหารงานมีลักษณะที่เปนสากล  หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง  คือ  ไมมีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนและการบริหารงานของภาครัฐ  มีการปรับเปล่ียนจากการใหความสําคัญในภาระรับผิดชอบตอกระบวนการของการทํางาน  (process accountability) มาเนนภาระรับผิดชอบตอผลสัมฤทธิ์   การใหความสําคัญตอเรื่องของการใชความสามารถหรือทักษะการบริหารมากกวาการที่ใหความสําคัญตอการกําหนดนโยบาย เนนปรับเปล่ียนโครงสรางหนวยงานราชการใหมใหมีขนาดเล็กลง    จึงทําใหองคการภาครัฐนําไปสูการพัฒนาระบบราชการ  มีการปฏิรูประบบราชการตาม  พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี  พ.ศ. 2546 และการปฏิรูประบบราชการของประเทศไทยตาม  แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.

2551 – พ.ศ. 2555)                  สํานักงานศาลยุติธรรมเปนองคกรหนึ่ งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  2550 ที่ไดนําแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม”  (New Public

Management)  มาเปนแนวทางในการบริหารราชการของ

สํานักงานศาลยุติธรรม และกลาวไดวาศาลยุติธรรมไดนําเอาการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์   (Results based

Management-RBM ) มาเปนเครื่องมือการบริหาร  เพื่อใหการทํางานขององคกรภาครัฐปรับเปล่ียนบทบาท  ภารกิจ  และวิธีการบริหารภาครัฐโดยยึดประชาชนเปนเปาหมายหลักในการทํางาน    และเปนกลไกสําคัญในการวางแผนพัฒนาองคกรตามรัฐธรรมนูญตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน                  ผูวิจัยเปนผูปฏิบัติงานในสํานักงานศาลยุติธรรม  สังกัดศาลยุติธรรมภาค  8 จึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 เพื่อใหไดขอมูลที่ผูบริหารสามารถนําไปประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตอไป

2.  วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรม  แตละศาลในภาค  8   3. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

4. เพื่อศึกษาแนวทางในการสรางผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  

Page 3: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

114      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

3.  กรอบแนวคิดการวิจัย  ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ดังภาพที่ 1

 ภาพที ่1 กรอบแนวคิดในการวจิัย

4. สมมติฐานการวิจัย 4.1 ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  มีมากกวารอยละ  80

4.2 ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมในแตละศาลแตกตางกัน

4.3 ปจจัยดานการบริหารภาครัฐแนวใหม  และปจจัยดานบุคคล  อยางนอย  1  ปจจัย  ไดแก  ดานการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์  (Result Based Management – RBM) การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี  (Good Governance) การบริหารเชิงกลยุทธ  (Strategic Management)  ปจจัยคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  (Public Sector Management

Quality Award -PMQA)  ดานแรงจูงใจ  ดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยมในการทํางานของขาราชการ  (I AM

READY)  และดานสมรรถนะ  (Competency)  มีอิทธิพลตอ

ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

ตารางที่  1 การวิเคราะหขอมูล   สมมตฐิาน สถิติ

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัตงิานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

t-test

2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัตงิานของขาราชการศาลยุติธรรม  แตละศาลในภาค  8

One-Way ANOVA การวิเคราะหความแปรปรวน

ทางเดยีว

3. เพื่อศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัตงิานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

การวิเคราะหถดถอยเชงิพห ุ

(Multiple Regression

Analysis)

5. วิธีดําเนินการวิจัย                  การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey

Research) ประชากรที่นํามาศึกษาในครั้งนี้ คือ ขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 จํานวน 22 ศาล   กลุมตัวอยาง จํานวน

400 คน ไดจากการแบบชั้นภูมิ และสุมแบบงาย เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบดวย 4 สวน คือ (1) ขอมูลทั่วไป (2) ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 (3) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 และ (4) ขอเสนอแนะแบบสอบถามในสวนที่ (2) และ (3) มีคาความเที่ยงอยู ในชวงระหวาง  .7669    ถึง  .9582    การวิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะหถดถอยเชิงพหุโดยวิธีขั้นตอน และแบบสัมภาษณ ประกอบดวย 2 สวน คือ (1) ขอมูลทั่วไป

และ (2) ความคิดเห็นจุดแข็ง จุดออน ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติงาน

                                 ตัวแปรอิสระ                                            ตัวแปรตาม                                                                                                                                                                                        

ปจจัยดานการบรหิารจัดการ ภาครัฐแนวใหม

1.ปจจัยดานการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์                                                                          (Result based Management -RBM) 2.ปจจัยดานการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี  (Good Governance) 3.  ปจจัยดานการบริหารเชิงกลยุทธ  (Strategic Management) 4.  ปจจัยคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  (PMQA)

กลุมปจจัยดานบุคคล 1.ปจจัยดานแรงจูงใจ 2.ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยมในการทํางาน                                        (I AM READY) 3.ปจจัยดานสมรรถนะ  (Competency)

ผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

Page 4: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

115                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

ตารางที่  2 แสดงคา  Reliability Coefficients ของแบบสอบถาม

                 จ ากผลการทดสอบไดค า คว าม เชื่ อมั่ นของแบบสอบถามอยูในชวงระหวาง  .7669    ถึง  .9582 แสดงวาแบบสอบถามมีความเชื่อถือได

6.  ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ                      1. ผลที่ไดจากการศึกษาจะมีประโยชนตอผูบริหารและผูปฏิบัติ  เพื่อนําไปปรับนโยบายและกลยุทธการดําเนินงาน  ตลอดจนสนับสนุนหรือขจัดปญหา  ซึ่งเกิดจากปจจัยตาง  ๆ  ที่มีผลตอการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ใหบรรลุเปาหมาย   2. นําผลการวิจัยไปพัฒนาการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน

3. เปนแนวทางในการศึกษาคนควาวิจัยสําหรับผูสนใจเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของขาราชการศาลยุติธรรมภาคอื่น  ๆ  ตอไป

7.  ผลการวิจัย

1.  ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง  จํานวน  323  คน    (รอยละ  80.3)    มีอายุ  31-35  ป                        (รอยละ  29.0)  เมื่อพิจารณาถึงระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถามแลว      สวนใหญศึกษาอยูในระดับปริญญาตรีมากที่สุด  (รอยละ  85.8)      เงินเดือนที่ไดรับสวนใหญ    10,000-

20,000 บาท  (รอยละ  54.0)      ผูตอบแบบสอบสวนสวนใหญมีระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ    5-10 ป  (รอยละ  34.5)      ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญปฏิบัติงานในตําแหนงปฏิบัติการมากที่ สุด  (รอยละ  32.3)  และผูตอบแบบสอบถามสวนใหญปฏิบัติงานอยูที่ศาลจงัหวดันครศรีธรรมราช    (รอยละ  7.5)    และศาลจังหวัดภูเก็ต  (รอยละ  7.5)

2.  ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางตอปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 แสดงคาเฉล่ียและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรอิสระในภาพรวม ไดดังนี ้                    กลุมตัวอยางมีความเห็นตอตัวแปรอิสระโดยเมื่อพิจารณารายดานพบวา  กลุมตัวอยางมีความเห็นวาปจจัยดานสมรรถนะ  อยูในระดับมาก คือ มีคาเฉล่ีย 4.11

รองลงมา  คือ  ปจจัยการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี มีคาเฉล่ีย  3.78    ปจจัยดานการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์                                มีคาเฉล่ีย  3.77    ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยมในการทํางาน มีคาเฉล่ีย  3.68 ปจจัยดานแรงจูงใจ  มีคาเฉล่ีย  3.62  ปจจัยคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ    มีค า เฉ ล่ีย  3.59   และปจจั ยการบริหาร เชิ งกลยุทธ มีคาเฉล่ีย    3.54 ตามลําดับ

3. ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางตอตัวแปรตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 แสดงคาเฉล่ียและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  ไดดังนี้            กลุมตัวอยางมีความเห็นตอตัวแปรระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ งานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค   8                                                ในภาพรวมอยูในระดับมาก  โดยมีคาเฉล่ีย  3.75

ตัวแปร คาความ

เชื่อมั่น

ตัวแปรอิสระ

ปจจัยดานการบริหารมุงผลสมัฤทธ์ิ    

ปจจัยดานการบริหารมุงผลสมัฤทธ์ิ .8954

ปจจัยดานการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี .9479

ปจจัยดานการบริหารเชงิกลยุทธ .9582

ปจจัยคณุภาพการบริหารจัดการภาครฐั  (PMQA) .7669

ปจจัยแรงจูงใจ .9087

ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรม

และคานิยมในการทํางานของขาราชการ  (I AM

READY) .9126

ปจจัยดานสมรรถนะ (Competency) .9030

ตัวแปรตาม

ผลสมัฤทธ์ิในการปฏิบัตงิานของขาราชการศาลยุติธรรม    ภาค  8

.9336

Page 5: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

116      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

มิติที่  1 ดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ  เมื่อพิจารณารายดาน    พบวา  กลุมตัวอยางมีความเห็นวาระดับความสําเร็จในการดําเนินงานธุรการคดีของหนวยงานอยูในระดับมาก  มีคาเฉล่ีย  3.91 ระดับความสําเร็จในการไกลเกล่ียขอพิพาท  มีคาเฉล่ีย  3.90 และระดับความสําเร็จของการพิจารณาพิพากษาคดีในการลดปริมาณคดีคงคางคงเหลือในรอบปเมื่อเทียบกับปที่ผานมา  มีเฉล่ีย   3.80     มิติที่  2 ดานคุณภาพการใหบริการ เมื่อพิจารณารายดาน  พบวากลุมตัวอยางมีความเห็นวา ระดับการใหบริการของเจาหนาที่ในแตละงานอยูในระดับมาก  มีคาเฉล่ีย  3.85

ระดับความพึงใจของประชาชนตอการใหบริการในหนวยงาน มีคาเฉล่ีย  3.82 และระดับการใหบริการของพนักงานตอนรับประจําศาล  มีคาเฉล่ีย  3.79

มิติที่  3 ดานประสิทธิภาพของการปฏิบติัราชการ  พบวากลุมตัวอยางมีความเห็นวา ระดับความสําเร็จในการประสานความรวมมือระหวางศาลกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของอยูในระดับมาก  มีคาเฉล่ีย  3.70

มิติที่  4 ดานการพัฒนาองคกร  เมื่อพิจารณารายดาน  พบวากลุมตัวอยางมีความเห็นวา  ระดับความสําเร็จในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการดําเนินงานใหเกิดประโยชนสูงสุด  มีคาเฉล่ีย  3.58 และระดับความสําเร็จในการบริหารทรัพยากรบุคคล  เชน  บุคลากรไดรับการฝกอบรม/พัฒนา  ทั้งจากภายในหนวยงาน  และหนวยงานภายนอก  มีคาเฉลี่ย  3.48 ตามลําดับ 4.  ผลการทดสอบสมมติฐานขอที่  1 :  ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  มีมากกวา                          รอยละ  80 โดยใชสถิติ    t-test ไดคา  Sig. (1-tailed)  เทากับ  .000

ซึ่งนอยกวา .05 (Sig.(1-tailed)< .05) และคาของ t เทากับ

21.817 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน Ho หรือกลาวอีกนัยหนึ่งยืนยันสมมติฐาน Ha จึงสรุปไดวากลุมตัวอยางมีความเห็นวา ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 อยูในระดับมากกวารอยละ 80 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ณ ระดับ .05

5.  ผลการทดสอบสมมติฐานขอที่  2 : ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมในแตละศาลแตกตางกัน โดยใชสถิติ F-test (One way ANOVA) ไดคา Sig. เทากับ .003 และคา  F เทากับ  2.103 ซึ่งนอยกวาระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (Sig.< .05) จึงสรุปได

วากลุมตัวอยางมีความเห็นวา ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุตธิรรมภาค  8 ในแตละศาลแตกตางกัน

             6.  ผลการทดสอบสมมติฐานขอที่  3 :  ปจจัยดานการบ ริ ห า ร ภ า ค รั ฐ แ น ว ใ ห ม   แ ล ะ ป จ จั ย ด า น บุ ค ค ล                              อย างนอย  1  ปจจัย  มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 โดยใชการวิเคราะหถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

แบบขั้นตอน (Stepwise) พบวา  ปจจัยดานแรงจูงใจเปน  ตัวแปรลําดับแรกที่เขาสูสมการถดถอย  มีความสามารถในการอธิบายความผันแปรเรื่องผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ไดรอยละ  51.5 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  ณ  ระดับ  .05 (R2=.515, Sig<  .05)  ตัวแปรที่เขาสูสมการถดถอยเปนลําดับที่  2  คือ  ปจจัยดานสมรรถนะมีความสามารถอธิบายเพิ่มไดเพียงรอยละ  7.4  อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  ณ  ระดับ  .05 (R2 Change

=.589, Sig<  .05)  ตัวแปรที่เขาสูสมการถดถอยเปนลําดับที่  3  คือ  ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่เขาสูสมการถดถอยเพิ่มไดเพียงรอยละ  4.1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  ณ  ระดับ  .05 (R2 Change =.630, Sig<  .05)  และตัวแปรที่เขาสูสมการถดถอยเปนตัวสุดทาย  ไดแก  ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน มีความสามารถอธิบายเพิ่มไดเพียงรอยละ  1.0 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  ณ  ระดับ.05 (R2 Change =.308, Sig<  .05)  และเมื่อรวมตัวแปรทั้ง  4 ตัว  เขาดวยกันแลวปรากฏวาสามารถอธิบายความผันแปรเรื่องผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ งานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค   8

ไดรอยละ  64.0 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  ณ  ระดับ .05

(R2=.640, Sig<  .05) 7. ความคิดเห็น  เสนอแนะเพิ่มเติมของกลุมตัวอยาง  ไดแก 1. การพัฒนาดานการสรรหาคัดเลือกบุคลากรใหเพียงพอตอการทํางานของหนวยงาน                  2.  การจัดการเรื่องพัสดุ  เพื่อใหมีวัสดุและอุปกรณเพียงพอตอการปฏิบัติงาน 3.  เพิ่มการส่ือสารภายในองคกรใหทั่วถึงทั้งองคกร  เพื่อการรับรูรับทราบขอมูลขาวสารองคกรไปในทิศทางเดียวกัน      

Page 6: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

117                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

               4. มีการพัฒนานวัตกรรมใหม  ๆ  ดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพบุคลากรภายในองคกร                5.  จัดใหมีการประชุมรวม  หรือประสานงานรวมกันระหวางหนายงานในการบวนการยุติธรรมรวมกันเพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการใหบริการประชาชนที่รวดเร็ว

8.  อภิปรายผลการวิจัย                  8.1 ผลการวิเคราะหสมมติฐานที่  1 ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  มีมากกวารอยละ 80 ดังนี ้ 1) สวนหนึ่งก็มาจากขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ไดดําเนินการตามมิติที่  1 ดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการศาลยุติธรรมไดสงเสริมดานการพิจ ารณาพิพากษาคดีของศาลยุ ติ ธรรมใ ห เป นไปโดยสะดวก  รวดเร็วประหยัดและเปนธรรม  รวมถึงการนําวิทยาการสมัยใหมมาใช   เพื่อลดขั้นตอน  เวลา  และคาใชจายของประชาชนในการดําเนินกระบวนการพิจารณา ใหมีการพิจารณาอรรถคดีครบองคคณะและตอเนื่องตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและกฎหมาย    สรางสถานภาพและความเปนอิสระของผูพิพากษาในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  และกฎหมาย  เพื่อเปนหลักประกันสิทธิเสรีภาพแกประชาชน  โดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชนและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย และสนับสนุนใหผูพิพากษามีความรอบรูในวิทยาการสาขาตาง  ๆ  และมีความเชี่ยวชาญในกฎหมายพิเศษเฉพาะดาน  รวมไปถึงการเรงรัดออกกฎระเบียบ  ขอบังคับ  ขอกําหนด  เกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาคดีของศาลตามที่กฎหมายกําหนด  เพื่ อ ใหทันต อกระแสความเปล่ียนแปลงด านสังคม  เศรษฐกิจและการเมือง  มีการพัฒนารูปแบบและหลักเกณฑในการประเมินผลการปฏิบัติงานของระบบงานศาลยุติธรรม  และปรับปรุงโครงสรางและแผนอัตรากําลังประจําปงบประมาณ  2554-2556 ใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับระบบงานธุรการคดี  และงานสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม      นําแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธมาใชตามนโยบายการบริหารและพัฒนาในการดําเนินงานธุรการคดีของหนวยงาน    สอดคลองกับนโยบายดานการพัฒนาการอํานวยความยุติธรรมในดานการสงเสริมการระงับขอพิพาททางดานกฎหมายในศาล

ยุติธรรมดวยวิธีการไกลเกล่ียกอนการดําเนินกระบวนพิ จ า รณา   ก า รป ร ะนี ป ร ะนอมข อพิ พ าท โดยกา รอนุญาโตตุลาการ    รวมไปถึงพัฒนาระบบกระบวนการระงับขอพิพาทดายการไกลเกล่ียใหมีความตอเนื่อง  มีการสงเสริมความรวมมือกันระหวางองคกรเพื่อพัฒนาวิธีการไกลเกล่ียใหเปนที่ยอมรับอยางแพรหลาย                             2) ไดดําเนินการตามมิติที่  2  ดานคุณภาพการใหบริการ  มุงเนนการยกระดับการใหประชาชนผูมอีรรถคดีโดยมุงพัฒนารูปแบบการใหบริการที่เหมาะสม    มีประสิทธิภาพ  มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการใหบริการ  ขาราชการศาลยุติธรรมคํานึงถึงจิตสํานึกในการใหบริการเพื่อใหประชาชนผูมาติดตอราชการไดรับบริการที่สะดวก  และรวดเร็ว    เสริมสรางระบบการอํานวยความสะดวกและการใหบริการประชาชนตามยุทธศาสตรที่  4 คือ  พัฒนาศักยภาพการอํานวยความสะดวกและการใหบริการแกประชาชนผูมาติดตอราชการศาลและบริการชุมชนแหงการเรียนรู  เพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน  ตามที่ประธานศาลฎีกาไดมีนโยบายในการสงเสริมใหขาราชการศาลยุติธรรมปฏิบัติงานดวยจิตสํานึกของผูใหบริการ  เนนการพัฒนารูปแบบการใหบริก ารที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  มีการจัดอบรมเพื่อเสริมสรางทักษะและปลูกฝงจิตสํานึกในการใหบริการอยางตอเนื่อง    โดยกําหนดใหมีการจัดระบบการใหบริการแกประชาชนผูมาติดตอราชการศาลยุติธรรม  การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรม  การจัดฝกอบรมเจาหนาที่ปฏิบัติงานประชาสัมพันธศาล    และพนักงานตอนรับใหมีจิตใจใหบริการ  (Service  mind)  และมีทัศนคติที่ดีตอการใหบริการประชาชน  ตลอดจนมีการประเมินผลความพึงพอใจของผูมาติดตอราชการที่มีตอการใหบริการของพนักงานตอนรับประจํ าศาล  พัฒนากระบวนการ  ขั้นตอน  และระบบงานศาลยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพ  เอื้อประโยชนแกประชาชนใหไดรับบริการโดยสะดวก  รวดเร็ว  ประหยัด  เสมอภาค  และเปนธรรมบริหารงาน    มีการจัดระบบและโครงสรางการบริหารงานในสํานักงานศาลยุติธรรมใหกะทัดรัด  คลองตัว  และตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางแทจริง  ภายใตงบประมาณที่จํากัด รวมถึงพัฒนาระบบการบริหารจัดการ                 ที่ทันสมัย  มีโครงสรางเปนแนวราบ  สายการบังคับบัญชาส้ันโดยแบงหนวยงานหลัก  หนวยงานสนับสนุน  และหนวยงานชวยอํานวยการตามบทบาทภารกิจที่ชัดเจน  และกําหนดอํานาจหนาที่ใหเอื้ออํานวยและสอดประสานซึ่งกัน

Page 7: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

118      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

และกัน  เพื่อใหหนวยงานมีการบริหารงานที่เขมแข็งและโปรงใสสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนตามนโยบายดานการบริหารราชการศาลและสํานักงานศาลยุติธรรม

                3) ไดดําเนินการตามมิติที่  3 ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ  ประสานความรวมมือระหวางศาลกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของเพื่อใหแนวทางการทํางานรวมกันเปนไปอยางเอื้ออํานวยตอกัน  รวมไปถึงการสรางความสัมพันธอันดีระหวางองคการในการทํากิจกรรมรวมกันเนื่องในโอกาสตาง  ๆ  ซึ่งสงผลทําใหการทํางานระหวางศาลกับหนวยงานกระบวนยุติธรรมหรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของเปนไปดวยความราบรื่น

4) ไดดําเนินการตาม  มิติที่  4 ดานการพัฒนาองคกร  สงเสริมและพัฒนาการบริหารงานบุคคลโดยระบบคุณธรรม    สงเสริมใหขาราชการมีโอกาสพัฒนาศักยภาพ  และสร างความกาวหนาตามความรู ความสามารถ  หนวยงานจึงไดมุงมั่นพัฒนาขาราชการศาลยุติธรรมโดยการจัดฝกอบรมความรูที่ทันสมัย  ใหสอดคลองกับตําแหนงและภาระหนาที่  โดยเนนทิศทางการพัฒนาขาราชการศาลยุติธรรมในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ  การเงินการบัญชีและพัสดุ  และระบบแผนงานงบประมาณ  รวมถึงอบรมความรูทางดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทั้งในและตางประเทศพรอมทั้งประสานความรวมมือดานวิชาการกับสถาบันการศึกษาโดยจัดทําขอตกลงความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาภายในประเทศ      5 แหง  ไดแก  ความรวมมือทางวิชาการระหวางสํานักงานศาลยุติธรรมกับมหาวิทยาลัยบูรพา  มหาวิทยาลัย                  เซนจอหน  มหาวิทยา ลัยอั ส สัมชัญ  มหาวิทยา ลัย                จันทรเกษม  และมหาวิทยาลัยเกริก  รวมไปถึงไดจัดทําขอตกลงความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาในตางประเทศ    2 แหง  ไดแก  มหาวิทยาลัย  Chicago-Kent,

College of Law,  Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา    ในการพัฒนาหลักสูตร  Mini LL.M. และมหาวิทยาลัย  Kyushu University ประเทศญี่ปุน  ในการพัฒนาหลักสูตร  Mini LL.M.  เปนตน   มีการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ  พ.ศ.2553-2556 มาใชและแผนปฏิบัติการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ  พ.ศ.2553-2556 มีการกําหนดกรอบระยะเวลาการดําเนินงานตามโครงการและตัวชี้วัดความสําเร็จทําใหการพัฒนาระบบตางๆ  ไดแก  Hardware,  

Software,  Peopleware,  และ  Network มีกรอบแนวทางที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ  รวมไปถึงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการและการใช งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงาน  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหแกบุคลากรของหนวยงานการปฏิบัติงานสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีและการบริหารจัดการงานยุติธรรม   8.2 ผลการวิเคราะหสมมติฐานที่  2 ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 แตละศาล                        มีความแตกตางกัน    ซึ่งศาลที่ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงนั้น  ไดแก  ศาลเยาวชนฯ  จังหวัดกระบี่  ศาลจังหวัดตะกั่วปา  ศาลเยาวชนฯจังหวัดระนอง  ตามลําดับ  ซึ่งประเด็นที่นาจะทําใหศาลเหลานี้มีผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานที่สูงกวาศาลอื่น ๆ ในศาลยุติธรรมภาค  8 ดังนี ้ 1) มิติที่  1 ดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ไดนําเอาหลักการพัฒนาระบบธุรการคดีเพื่อสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรม  สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรที่  5 ยุทธศาสตรการเพิ่มศักยภาพระบบการสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรม  ในดานการพัฒนารูปแบบและหลักเกณฑในการประเมินผลการปฏิบัติงานของระบบงานธุรการศาลยุติธรรม  โดยไดพัฒนาไปตามกรอบการประเมินไดแก  ประสิทธิภาพในการบริหารแผนงาน  งบประมาณ  การเงิน  และพัสด ุ ดานประสิทธิภาพในการสนับสนุนอํานวยความยุติธรรม  ดานคุณภาพการใหบริการ  และด านการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร                              เป นแนวทางในการปฏิบั ติ ร าชการ ให เป นไปตามหลักเกณฑและบรรลุผลตามตัวชี้วัดในแตละมิติ  ซึ่งศาล        ที่ผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงนั้ น  จากการศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติมพบวา  ศาลที่มีความโดดเดนไดแก  ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดระนอง  ไดรับการคัดเลือกเปนศาลที่มีผลงานประเมินดีเดนจากคณะทํางานผูตรวจราชการ  สํานักงานศาลยุติธรรมในป  พ.ศ.2554

(www.coj.go.th สืบคนเมื่อวันที่  12 พฤษภาคม  2555)  สืบเนื่องจากขาราชการศาลยุติธรรมในหนวยงานดังกลาวมีระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาในการความรวมมือและพัฒนาระบบงานที่มีประสิทธิภาพ  มีการปฏิบัติราชการตามพันธกิจขององคกรตามที่ ได ว าง เอาไว  คื อ  มี การปรับเปล่ียนการบริหารจัดการและกระบวนการทํางานอยางเปนระบบมีเอกภาพและประสิทธิภาพ  สรางจิตสํานึกในการใหบริการดวยจิตใจแกประชาชนและสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่ งยืน  และดําเนินการประชาสัมพันธเชิงรุก    

Page 8: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

119                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

(www.rnnjc.coj.go.th สืบคนเมื่อวันที่  12 พฤษภาคม  2555)  สอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  (สํานักงาน  ก.พ.ร.)  ไดนําแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธมาใชในในรูปของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย ซึ่งหนวยงานภาครัฐเรียกวา  “การบริหารยุทธศาสตร”  ซึ่งถือไดวาเปนการดําเนินงานหรือการปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐ  และเจาหนาที่ของรัฐที่ใชทั้งศาสตรและศิลปเพื่อกําหนดทิศทาง  แนวทาง  แผนงาน  ในการดําเนินงานการควบคุมตรวจสอบ  และเปาหมายที่ชัดเจน     2) มิติที่  2 ดานคุณภาพการใหบริการ  ไดเสริมสรางระบบการอํานวยความสะดวกและการใหบริการประชาชน  ตามยุทธศาสตรที่  4 คือ  ขาราชการศาลยุติธรรมในแตละงานปฏิบัติงานดวยจิตสํานึกในการใหบริการ  เนนหลักการพัฒนารูปแบบการใหบริการภายในศาลที่เหมาะสม  และมีประสิทธิภาพ  เชน  จัดใหมีเ จาหนาที่ประชาสัมพันธประจําศาลเพื่อใหขอมลูอยางถูกตอง  ชัดเจน  ดวยอัธยาศัยไมตรี  ทําใหประชาชนไดรับความสะดวก        ในการติดตอราชการศาล  สอดคลองกับผลการวิจัยของ  พัชรอร  วงศกําแหง  (2547)  เรื่อง  ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรของเจาหนาที่สํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบาลตําบล  ที่เปล่ียนแปลงฐานะมาจากสุขภิบาลศึกษาเฉพาะกรณี  สํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบางตําบล      ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา  พบวา  ประสิทธิภาพดานความสามารถในการใหบริการมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรของเจาหนาที่สํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบาลตําบล

3) มิติที่  3 ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ขาราชการศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติงานในศาลที่ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงนั้น  ขาราชการศาลยุติธรรมไดปฏิบัติงานตามพันธกิจที่  3  การไดรับความรวมมือและการประสานความรวมมือกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมไมวาจะเปนอัยการ  ตํารวจ  คุมประพฤติ  ฯลฯ  อยางตอเนื่อง  และผูบริหารเปนผูนําองคกร  บริหารงานตาม    พันธกิจ  คานิยม  และเปาหมายที่วางไว  ทําใหผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอยูในสูง  สอดคลองกับแนวคิดการบริหารกิจการภาครัฐ  (PMQA)  และผลงานวิจัยของกรณิการ    พรณะศรี  (2550)  ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมสงเสริมการเกษตร  ผลการวิจัยพบวาแนวทางในการสราง

ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมสงเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก  ไดแก  ดานการบริหารจัดการ  ดานงบประมาณ  การโอนงบประมาณ  บุคลากร        มีจํานวนที่กระบวนการสอดคลองกับภารกิจ  มีการบูรณา-การระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ  ผูบริหารมีวิสัยทัศน  และคุณธรรม  บุคลากรมีแรงจูงใจ  รวมทั้งศักยภาพของพื้นที่และเกษตรกรที่มีความเหมาะสม

4)   มิติที่  4 ดานการพัฒนาองคกร ในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการดําเนินงานใหเกิดประโยชนสูงสุดนั้นขาราชการศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติงานในศาลที่ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงไดนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ในการปฏิบัติ งาน  เชน                                  มีการสืบคนขอมูลคดีดวยระบบจอสัมผัสเพื่อบริการประชาชน    การติดตั้งระบบส่ือสารทางไกลผานจอภาพ  การติดตั้งระบบอินเตอรเน็ทเพื่อบริการประชาชน  การมีระบบส งออกและคนหาขอมูลคดีผ านทาง  website

เปนตน   8.3 ผลการวิเคราะหสมมติฐานที่  3 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 คือ    ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  ปจจัยดานสมรรถนะ  ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน  และปจจัยดานแรงจูงใจ  กลาวคือ                                1) ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  เปนปจจัยตัวแรกที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  (ก.พ.ร.)  และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ  ที่สรุปวา  การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

PMQA มี  2  สวนที่สําคัญ  คือ  สวนที่เปนกระบวนการ  และสวนที่เปนผลลัพธ    โดยที่สวนที่เปนกระบวนการ  สามารถแบงยอยออกไดเปน  3  กลุม  คือ  กลุมแรกไดแก  กลุมการนําองคกร    กลุมที่สอง  ไดแก  กลุมปฏิบัติการ    และกลุมที่สาม  ไดแก  กลุมพื้นฐานของระบบ  การแบงการตรวจประเมินออกเปน    4  มิติ  ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ  คือ  มิติดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ  มิติดานคุณภาพการใหบริการ  มิติดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ  และมิติดานการพัฒนาองคกร ซึ่งการพัฒนาคุณภาพการ  ปฏิบัติการเพราะเปนทรัพยากรที่สําคัญขององคกรโดยตองอาศัยเทคนิคและวิธีการเพื่อเชื่อมโยงใหระบบการทํางานที่เกิด  ผลสัมฤทธิ์กับการในดานการใหคาตอบแทน  เงิน

Page 9: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

120      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

รางวัล  หรือโบนัส  ซึ่งเปนปจจัยจูงใจทีสํ่าคัญตอความสําเร็จในการปฏิบัติงานของขาราชการมีประสิทธิภาพ  ส่ิงเหลานี้ลวนเปนส่ิงที่จะชวยผลักดันใหผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานประสบความสําเร็จตามไปดวย

2)  ปจจัยดานสมรรถนะ มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ในลําดับรองลงมาอาจเปนเพราะวา ปจจัยดานสมรรถนะ  ไดแก    ความรู  ทักษะ  และคุณลักษณะอื่น  ๆ  ของบุคคลมีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน  ซึ่งอธิบายไดวา  ยิ่งขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 มีสมรรถนะ  จะชวยใหการปฏิบัติงานมีผลสัมฤทธิ์ที่เพิ่มสูงขึ้น  และบรรลุเปาหมายขององคกรดวย  ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ  Rylatt และ  Lohan (1995:37)  ไดกลาวไววา  สมรรถนะ  คือ  คุณลักษณะของความรู    ทักษะ  และทัศนคติที่ จํ า เปนตอการปฏิบัติ งานอยางมีประสิทธิภาพในสถานการณหรือในงานน้ันๆ

3) ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน  มีอิทธิพลกับผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 ในลําดับถัดมา  ซึ่งไดสอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ   (2549:4-9)  ที่ สรุ ปว า  กระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยมใหมของขาราชการ  “I  AM  READY”  คือการทํางานอยางมีศักดิ์ศรี   ตั้งใจทํางาน   มีศีลธรรม  คุณธรรม   รูทันโลก  ปรับตัวทันโลกทันสังคม   มุงเนนประสิทธิภาพ   รับผิดชอบผลงานตอสังคม มีน้ําใจและมีการกระทําที่เปนประชาธิปไตยมีสวนรวมโปรงใส   มุงเนนผลงาน  ดังนั้น  การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  คานิยมในการทํางานของขาราชการชวยขับเคล่ือนใหการนํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จ

4)   ปจจัยดานแรงจูงใจมีอิทธิพลกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 เปนลําดับสุดทาย  ซึ่งไดสอดคลองกับทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของ  อับราฮัม  เอช  มาสโลว (Abraham

H. Maslow) (อางถึงในทิพวรรณ    หลอสุวรรณรัตน,  2552:52-53)  ไดกลาวไววาการจูงใจและเปนที่ยอมรับกันทั่วไป  โดยตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับพฤติการณของมนุษย                        ไววา  คนทุกคนมีความตองการและความตองการนี้จะมีอยูตลอดเวลาและไมมีที่ ส้ินสุด    ความตองการที่ไดรับการตอบสนองแลวจะมิใชแรงจูงสําหรับพฤติกรรมตอไป  แสดงใหเห็นวา  ความตองการที่จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมจะตอง

เปนความตองการที่ยังไมไดรับการตอบสนอง  ความตองการ ใดหากได รับการตอบสนองแล วก็ จ ะไม มีความหมายสําหรับบุคคลนั้นอีกและบุคคลนั้นจะมีความตองการในลําดับตอไปที่ยังไมไดรับการตอบสนอง    และความตองการของคนจะมีลักษณะเปนลําดับขั้นจากต่ําไปหาสูงตามลําดับความสําคัญ  

8.  ขอเสนอแนะ

8.1 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช                        จากผลการศึกษาวิจัยพบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 มีจํานวน 4 ตัวแปร คือ ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  ปจจัยดานสมรรถนะ  ปจจัยดานปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน  และปจจัยดานแรงจูงใจ  ดังนั้น เพื่อใหการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นไปเกิน  รอยละ  80 ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้                      1) ปจจัยดานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ                            ตามแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ  (PMQA) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  (ก.พ.ร.)  และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติที่ไดจัดทําหลักเกณฑและแนวทางการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  และเพื่อเปนแนวคิด  “การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ”       ดังนั้น  เพื่อสงผลใหระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  อยูในระดับที่มากกวา    รอยละ  80 ผูวิจัย    มีขอเสนอแนะตามแนวคิดดังกลาวคือ 1)  หนวยงานควรบริหารองคการตามวิ สัยทัศน  พันธกิจ  คานิยม  และเปาหมายที่วางไว 2)  หนวยงานควรบริหารองคการโดยการกระจ ายอํ านาจการบริห า รและการ ตั ด สิน ใ จ                          3)  หนวยงานควรวางแผนเชิงยุทธศาสตรในการปฏิบัติราชการชัดเจน 4)  จัดทําแผนปฏิบัติงานประจําปมีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร 5)  หนวยงานควรมีความชัดเจนในการกําหนดกลุมผูรับบริการ,  รับฟงขอเสนอและเพื่อนํามาวางแผนในการใหบริการ 6)  หนวยงานควร            มีความชัดเจนในการวัดความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ 7)  หนวยงานควรมีความชัดเจนในการรวบรวม  วิเคราะหผลการดําเนินการ 8)  หนวยงานควรใหความสําคัญตอการจัดการความรู 9)  หนวยงานควรปรับปรุงขอมูล

Page 10: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

121                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

สารสนเทศ 10)  หนวยงานควรตองเตรียมความพรอมในการใชงานขอมูลและสารสนเทศ 11)  หนวยงานควรมีความชัดเจนของการประเมิ นผลการปฏิ บั ติ งานของข าราชการ 12)  หนวยงานควรมีความชัดเจนในการฝกอบรมบุคลากรและพัฒนาบุคลากร    13)  หนวยงานควรมีการปรับปรุงสุขอนามัยและการปองกันภัยตอขาราชการ 14)  หนวยงานควรมีการเตรียมความพรอมตอภาวะฉุกเฉินที่อาจมีตอขาราชการ 15)  หนวยงานควรมีการควบคุมเพื่อลดคาใชจายดานการตรวจสอบและประเมินหนวยงาน 16)  หนวยงานควรมีขั้นตอนในการใหบริการแกผูรับบริการที่เหมาะสม 17)  แผนกงานตาง  ๆ  ควรชวยสนับสนุนตองานของฝายตุลาการให เต็มที่ 18)  หนวยงานควรมีบริหารงานใหประสบความสําเร็จตามแผนที่ไดกําหนดไว 19)  หนวยงานควรมีการวัดความพึงพอใจ    ในการใหบริการของหนวยงาน 20)  หนวยงานควร                    มีบริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 21)  หนวยงานควร      มีการพัฒนาองคการเพื่อใหองคการประสบความสําเร็จ

                     2) ปจจัยดานสมรรถนะ                                    สํานักงานศาลยุติธรรมไดนําหลักสมรรถนะมาใชในการบริหารงานบุคคลนับตั้งแตป  พ.ศ.  2547  โดยการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาขาราชการศาลยุติธรรมและไดนํ าแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยยึดหลักสมรรถนะมา ใช   โ ดยกํ าหนดให มี สม ร รถนะห ลัก                                              (Core Competency) 13  สมรรถนะ  และสมรรถนะในงาน  (Functional Competency) 160 สมรรถนะ  ดังนั้นเพื่อสงผลใหระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  อยูในระดับที่มากกวารอยละ  80 ผูวิจัยมีขอเสนอแนะตามแนวคิดดังกลาวคือ

ดานสมรรถนะหลัก 1)  ควรเนนใหขาราชการปฏิบัติงานโดยใหความสําคัญตอผลสําเร็จของการทํางาน

2)  ควรเนนใหขาราชการมีความมุงมั่นในการใหบริการ 3)  ควรเนนใหขาราชการ  มีความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ

4)  ควรเนนใหขาราชการ  มีความซื่อสัตยสุจริต 5)  ควรเนนใหขาราชการมีการทํางานเปนทีม

ดานสมรรถนะในงาน : ตําแหนงบริหารหรือตําแหนงอํานวยการ 6)  ผูบริหารควรมีภาวะผูนําในการบริหารงานรอบดาน 7)  ผูบริหารควรมีวิสัยทัศนในการบริหารงาน 8)  ผูบริหารควรมีความสามารถในการวางกลยุทธไดดี 9)  ผูบริหารควรมีศักยภาพเพื่อนําใหองคการปรับเปล่ียนการทํางาน 10)  ผูบริหารควรมีการ

ควบคุมตนเองไดดีในการบริหารงาน  เชน  การควบคุมอารมณ 11)  ผูบริหารควรมีการกระจายอํานาจในการตัดสินใจใหแกผูใตบังคับบัญชา      

ดานสมรรถนะในงาน:    ตําแหนงวิชาการและตําแหนงประเภททั่วไป 12)  ควรมีทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะหในการปฏิบัติงานในตําแหนงหนาที่ไดดี    13)  ควรมีทักษะความสามารถในการคนควาหาขอมูลเพื่อพัฒนาตนเองในการปฏิบัติงาน 14)  ควรมีทักษะในการเขาใจผูอื่นในการปฏิบัติงาน 15)  ควรมีทักษะความสามารถในการเขาใจองคการและระบบราชการ    16)  ควรมีทักษะความสามารถในการทํางานแบ  เชิงรุก 17)  ควรมีทักษะความสามารถในการปฏิบัติงานใหเกิดความถูกตอง    

                   3) ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางาน                                คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  (ก.พ.ร.)                          ไดเสนอแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ  พ.ศ.2546-พ.ศ.  2550 ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหความเห็นชอบในการประชุมคณะรั ฐมนตรี เมื่ อวั นที่   19

พฤษภาคม  2546 ประกอบดวย  7 ยุทธศาสตร  และในยุทธศาสตรที่ 5 การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยม ของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย  พ.ศ.2546-พ.ศ.  2550  ไดกําหนดใหมีการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  และคานิยมของขาราชการใหเอื้อตอการพัฒนาระบบราชการ  โดยเห็นวา  การปรับเปล่ียนกระบวนทัศนของขาราชการไมสามารถทําไดโดยใชอํานาจส่ังการ    การถายทอดความรู ในลักษณะใหการศึกษา  ฝกอบรมหรือการรณรงคแต เพียงอยางเดียวเทานั้น  จําเปนตองบริหารใหเกิดการเปล่ียนแปลงในลักษณะของการสรางการเรียนรูจากประสบการณจริง  สอดคลองกับ      นาวีรัตน  จําจด  (2551)  ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จของการนําหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีไปปฏิบัติ  : ศึกษากรณีกรมการพัฒนาชุมชนในสังกัดสวนกลาง  ผลการศึกษาพบวา  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จของการนําหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีไปปฏิบัติงานหนวยงานสังกัดสวนกลางของกรมการพัฒนาชุมชน  ไดแก  ปจจัยจูงใจ  ปจจัยดานกระบวนทัศน  วัฒนธรรม  คานิยมใหมของขาราชการ  “I AM READY”                      ดั งนั้ น เพื่ อส งผลให ร ะดับผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  อยูในระดับที่

Page 11: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

122      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

มากกวารอยละ  80 ผูวิจัยมีขอเสนอแนะตามแนวคิดและผลการวิจัยดังกลาวคือ  1)  ควรเนนใหขาราชการมีความทุมเทความอุตสาหะอุทิศตนในการปฏิบัติงานในหนาที่อยางเต็มความสามารถ    2)  ควรเนนใหขาราชการปฏิบัติงานโดยยึดประโยชนสวนรวมเปนหลัก 3)  ควรเนนใหขาราชการมีความกระตือรือรนในการพัฒนาองคความรูและทักษะใหมๆ  ในการปฏิบัติงาน 4)  ควรเนนใหขาราชการมีทัศนคติในเชิงบวกในการทํางาน 5)  ควรเนนใหขาราชการยึดหลักความเสมอภาคเทาเทียมในการปฏิบัติงาน  6)  ควรเนนใหขาราชการมีความสนใจปรับตัวพัฒนาตนเองใหทันตอการเปล่ียนแปลง 7)  ควรเนนใหขาราชการมีการนําความรูและวิทยาการสมัยใหมมาใชในการปฏิบัติงาน 8)  ควรเนนใหขาราชการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ 9)  ควรเนนใหขาราชการตระหนักในความรับผิดชอบตองานที่ปฏิบัติ  10)  ควรเนนใหขาราชการมีความพรอมรับการตรวจสอบ  11)  ควรเนนใหขาราชการมีการประสานสัมพันธในการทํางานรวมกับผูอื่น 12)  ควรเนนใหขาราชการมีการทํางานแบบมีสวนรวม  โปรงใส  สามารถตรวจสอบได  13)  ควรเนนใหขาราชการทํางานโดยยึดผลสัมฤทธิ์เปนหลัก

                         4) ปจจัยดานแรงจูงใจ

   ทฤษฎี  2  ปจจัยหรือปจจัยอนามัยในการจูงใจของ  Herzberg   (อ างถึ ง ในอุดม  ทุ มโฆษิต ,ม .ป .ป . : 300-301)  ไดสรุปเกี่ยวกับปจจัยจูงใจออกเปน  2 ปจจัยดวยกันคือ ปจจัยสุขอนามัย  (hygiene  factors)    เปนปจจัยที่ เ กี่ ย ว กั บ สภ าพ แ ว ด ล อ ม ข อ ง ง า นที่ ทํ า   ไ ด แ ก  ความสัมพันธระหวางบุคคลกับผูบังคับบัญชา  ลูกนอง  หรือเพื่อนรวมงาน  เรื่องการบังคับบัญชา  นโยบายขององคการ  ความมั่นคงในการทํางาน  สภาพการทํางาน  เงินเดือน    หากปจจัยจูงใจนี้บกพรองไปจะทําใหองคการมีปญหาความไมพึงพอใจเกิดขึ้น  เปรียบเสมือนรางกายหากขาดปจจัยที่จําเปนก็จะทําใหเจ็บปวยได  และปจจัยตัวจงูใจ  (Motivators

factors)    เกี่ยวของกับเนื้อของงานที่ดี  และมีผลตอความ    พึงพอใจเกี่ยวกับงานที่ทําคือ  ความสําเร็จ  การยอมรับ  ความรับผิดชอบ  ความกาวหนา  และคุณลักษณะของงานนั้น  ๆ  ปจจัยจูงใจนี้จะชวยทําใหคนอุทิศตัวใหองคการอันจะทําใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

                   ดั งนั้ น เพื่ อส งผลให ร ะดับผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8  อยูในระดับ  ที่มากกวารอยละ  80 ผูวิจัยมีขอเสนอแนะตามแนวคิด          

ดังกลาวคือ 1) ควรสรางแรงจูงใจใหขาราชการมีความเห็นวางานที่รับผิดชอบมีความทาทาย 2)  ควรสรางกําลังใจโดยการยกยองชมเชยจากผูบังคับบัญชา 3)  องคกรควรสงเสริมและสนับสนุนใหขาราชการมีความกาวหนาในสายงานที่ปฏิบัติ   4)  ควรสรางแรงจูงใจใหขาราชการมีความตั้งใจ  เอาใจใสตองานในหนาที่และงานที่ไดรับมอบหมาย

5)  ควรสรางแรงจูงใจใหขาราชการมีการตื่นตัวตอการทํางานใหบรรลุตามเปาหมาย 6)  บังคับบัญชาควรใหอิสระในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ 7)  ควรใหขาราชการไดมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชาในการปฏิบัติงาน 8)  ควรสรางแรงจูงใจใหขาราชการมีความรักและความผูกพันตอองคการ 9)  ควรสรางแรงจูงใจใหขาราชการมีความตื่นตัวในการปฏิบัติ งานในหนาที่ที่ ได รับมอบหมายใหประสบความสําเร็จ 10)  ขาราชการการควรไดรับเงินเดือนที่มีความเหมาะสมกับความรูความสามารถและประสบการณในการทํางาน 11)  ขาราชการควรรับฟงขอเสนอแนะและขอคิดเห็นของผูบังคับบัญชาในการทํางาน 12)  ผูบังคับบัญชาควรมีความยุติธรรมและความเสมอภาคในการปกครอง 13)  ควรตระหนักอยูเสมอวาหนวยงานที่ปฏิบัติงานอยูนั้นเปนที่ยอมรับของสังคม  มีเกียรติ  และมีศักดิ์ศรี  

9. ขอเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งตอไป         9.1 ควรศึกษาเปรียบเทียบปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมในภาคอื่น  ๆ  ของประเทศ  เพื่อใหเห็นถึงความแตกตางของปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรม  แตละภาค  อันจะนําไปใชในการวางแผนและกําหนดนโยบายของสํานักงานศาลยุติธรรมตอไป 9.2 ควรศึกษาปจจัยสูความสําเร็จ (Key Success

Factors)  ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยตุิธรรมภาค  Action Plan) ใหตอบรับกับการปฏิบัติจริงโดยเนนการมีสวนรวม (Participation) และหลักประชาธิปไตยของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8

9.3  ควรศึกษาการพัฒนาตัวบงชี้วัดความสําเร็จในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 เพื่อนําตัวบงชี้ที่ไดมาใชเปนแบบวัดความสําเร็จในการนํานโยบายการปฏิบัติงานไปปฏิบัติ  และนํามาจัดระดับความสําเร็จ

Page 12: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาล ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article10.pdf ·

123                        

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

ของขาราชการศาลยุติธรรมภาค  8 อีกทั้งใชเปนแนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค  ซึ่งตองปรับปรุงภายใตงบประมาณและระยะเวลาที่เรงดวนไดอยางทันทวงที 9.4  ควรศึกษาขอมูลเชิ ง ลึกข าราชการศาลยุติธรรมในศาลเยาวชนฯจังหวัดกระบี่  ศาลจังหวัดตะกั่วปา  

ศาลเยาวชนฯจังหวัดระนอง  ในแตละศาลที่มีผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมอยูในระดับสูง  เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของขาราชการศาลยุติธรรมในแตละศาลตอไป

บรรณานุกรม

กรณิการ  พรณะศรี.  (2550).  ปจจัยทีม่ีอิทธิพลตอ ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของขาราชการกรม สงเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก.   วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต   บริหารรัฐกิจสาขาวิชาวิทยาการจัดการ   มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช

จรัญญา  ลําไย.  (2546). ปจจัยทีม่ีผลตอประสิทธภิาพใน การปฏิบัติงานของเจาหนาที่กลุมงานชวย อํานวยการนักบริหาร สังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ.  พิมพครั้งที่  2  สวัสดิการสํานักงาน   ก.พ.ร. ชาญชัย  เพชรคง.  (2551).แรงจูงใจในการปฏิบตัิงานของ ขาราชการสํานักงานเกษตรอําเภอในจังหวัด ชุมพร.  ภาคนิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑติ

(พัฒนาสังคม)  คณะพฒันาสังคม  สถาบัน

บัณฑิตพฒันบริหารศาสตร ทิพวรรณ  หลอสุวรรณรัตน.  (2552).  ทฤษฎีองคกร สมัยใหม.บรษิัท  ดี.เค.ปริ้นติ้งเวลิด  จํากัด

ปรีชา    สมบูรณประเสริฐ.  (2548).  สมรรถนะที่จําเปนใน การดํารงตําแหนงเกษตรอําเภอ. วิทยานิพนธ เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต  แขนงวิชาสงเสริม

การเกษตร  สาขาวชิาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ  มหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

พัชรอร    วงศกําแหง.  (2547). ประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรของเจาหนาที่สํานัก ทะเบียนทองถิ่นเทศบาลตําบล. ภาคนิพนธ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต  (พัฒนาสังคม)  คณะพัฒนาสังคม

สถาบันบัณฑิตพฒันบรหิารศาสตร สํานักงาน  ก.พ.  (2545)  .  Good Governance กับการ

พัฒนาขาราชการ.  สถาบันพฒันาขาราชการพลเรือน  กรุงเทพมหานคร  สวัสดิการสํานักงาน  ก.พ.

สํานักงาน  ก.พ..  (2547).  คูมือการพัฒนาระบบการบรหิารมุงผลสัมฤทธิ์.พมิพครั้งที่  9.  กรุงเทพมหานคร

สวัสดิการสํานักงาน  ก.พ. สํานักงาน  ก.พ..(2548).  คูมือสมรรถนะขาราชการพลเรือน

ไทย. กรุงเทพมหานคร  สวัสดิการสํานักงาน  ก.พ. สํานักงาน  ก.พ.ร.  จาก  http://www.opdc.go.th/

คนวันที่  15  กันยายน  2550  คูมอืเทคนิคและ วิธีการบรหิารจัดการสมยัใหมตามแนวทางการ บริหารกิจการบานเมืองที่ดี  แนวทางการ เสริมสรางจริยธรรม  คุณธรรม  และการ ปรับเปล่ียนกระบวนทัศนขาราชการ สํานักงานศาลยุติธรรม  (2552)  จาก  http://www.coj.go.th

คนวันที่  15  กรกฎาคม  2554  สมรรถนะของ ขาราชการศาลยตุิธรรม

สํานักงานศาลยุติธรรม    www.coj.go.th คนเมื่อคืนวันที่   12 พฤษภาคม  2555 สํานักงานศาลยุติธรรม  www.rnnjc.coj.go.th คนเมื่อคืน

วันที่  12 พฤษภาคม  2555 อาวุธ    วรรณวงศ.  (2546).  แผนยุทธศาสตรการพัฒนา

ระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550). สํานักงาน  ก.พ.ร.