มาตรฐานเกษตรอินทรีย์organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256003200011138128799.pdf ·...

3
008 009 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ หลักการ องค์กรที่รับรองหน ่วยตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ( Accredited Certification Bodies: AB) จะเป็นผู้ที่ก�าหนดมาตรฐานขึ้น โดยอาจจะเป็น องค์กรรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ (Certification Body: CB) ด้วยตนเอง หรือให้ผู้อื่นตรวจสอบรับรองตามมาตรฐานที่ตนเองก�าหนดก็ได้ แต่ CB อื่น ๆ ต้องได้รับการรับรองจาก AB เสียก่อนว่า CB นั้นสามารถตรวจสอบตามมาตรฐานทีAB ก�าหนดได้ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ยังแบ่งได้เป็น แบบบังคับ และสมัครใจ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ต้องปฏิบัติ (บังคับ): เป็นมาตรฐานหรือกฎระเบียบของรัฐ/ประเทศ ซึ่งต้อง ปฏิบัติเมื่อต้องการน�าสินค้าอินทรีย์เข้าไปจ�าหน่ายในประเทศนั้นๆ เช่น มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เอกชน: เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ (สมัครใจขอรับรอง) มักเกิดขึ้นก่อนมาตรฐาน/ กฎระเบียบของรัฐ และเป็นที่รู้จักและไว้วางใจของผู้บริโภคในประเทศนั ้นๆ เช่น มาตรฐานพื้นฐานสำาหรับองค์กรรับรอง (CBs – Certification Bodies) เช่น IFOAM Accredited มาตรฐาน Codex มีองค์กรรับรองเอกชนประมาณ 30 องค์กร ในหลายประเทศ ที่ได้รับการรับรองจาก IFOAM (ACBs – Accredited Certification Bodies) ในประเทศไทย ส�านักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) เป็นหน่วยงานที ่ได้รับการรับรอง Compulsory organic agriculture standards include state and national regulations imposed on organic products imported into such territories as the EU (EEC 834/2007) and Japan (JAS). Non-compulsory ones are those established by the private sector such as the Soil Association in United Kingdom and BIO Suisse in Switzerland. Organic Agriculture Certification Thailand (ACT) is an IFOAM accredited certification body in Thailand. กฎระเบียบ EEC 834/2007 สหภาพยุโรป JAS ญี่ปุ ่น NOP สหรัฐอเมริกา Canada Organic Standard แคนาดา Soil Association อังกฤษ Bio Suisse สวิตเซอร์แลนด์ Naturland เยอรมนี IFOAM Accredited BIO เยอรมนี Codex

Transcript of มาตรฐานเกษตรอินทรีย์organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256003200011138128799.pdf ·...

Page 1: มาตรฐานเกษตรอินทรีย์organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256003200011138128799.pdf · 008 009 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

008 009

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

หลักการ

องค์กรที่รับรองหน่วยตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย ์ (Accredited Certification

Bodies: AB) จะเป็นผู้ที่ก�าหนดมาตรฐานขึ้น โดยอาจจะเป็นองค์กรรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์

(Certification Body: CB) ด้วยตนเอง หรือให้ผู้อื่นตรวจสอบรับรองตามมาตรฐานที่ตนเองก�าหนดก็ได้

แต่ CB อื่น ๆ ต้องได้รับการรับรองจาก AB เสียก่อนว่า CB นั้นสามารถตรวจสอบตามมาตรฐานที่ AB

ก�าหนดได้

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ยังแบ่งได้เป็น แบบบังคับ และสมัครใจ

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ต้องปฏิบัติ (บังคับ): เป็นมาตรฐานหรือกฎระเบียบของรัฐ/ประเทศ ซึ่งต้อง

ปฏิบัติเมื่อต้องการน�าสินค้าอินทรีย์เข้าไปจ�าหน่ายในประเทศนั้นๆ เช่น

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เอกชน: เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ (สมัครใจขอรับรอง) มักเกิดขึ้นก่อนมาตรฐาน/

กฎระเบียบของรัฐ และเป็นที่รู้จักและไว้วางใจของผู้บริโภคในประเทศนั้นๆ เช่น

มาตรฐานพื้นฐานสำาหรับองค์กรรับรอง (CBs – Certification Bodies)

เช่น IFOAMAccredited มาตรฐาน Codex

มีองค์กรรับรองเอกชนประมาณ 30 องค์กร ในหลายประเทศ ที่ ได้รับการรับรองจาก IFOAM

(ACBs–AccreditedCertificationBodies) ในประเทศไทย ส�านักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.)

เป็นหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง

Compulsory organic agriculture standards include state and national regulations imposed on organic

products imported into such territories as theEU (EEC834/2007) and Japan ( JAS).Non-compulsory

onesarethoseestablishedbytheprivatesectorsuchastheSoilAssociationinUnitedKingdomandBIO

SuisseinSwitzerland.

OrganicAgricultureCertificationThailand(ACT)isanIFOAMaccreditedcertificationbodyinThailand.

กฎระเบียบ EEC834/2007

สหภาพยุโรปJAS

ญี่ปุ่นNOP

สหรัฐอเมริกา

CanadaOrganicStandard

แคนาดา

SoilAssociation

อังกฤษBioSuisse

สวิตเซอร์แลนด์Naturland

เยอรมนี

IFOAMAccredited

BIO

เยอรมนี

Codex

Page 2: มาตรฐานเกษตรอินทรีย์organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256003200011138128799.pdf · 008 009 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ส�าหรับประเทศไทยมีมาตรฐาน มกษ. ซึ่งมี AB คือ ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

แห่งชาติ (มกอช.) และ CB คือกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้าว-กรมการข้าว ปศุสัตว์-กรมปศุสัตว์

สัตว์น�้า-กรมประมง ผักผลไม้-กรมวิชาการเกษตร ฯลฯ โดยในปัจจุบันใช้ตราสัญลักษณ์ Organic

Thailand กำรน�ำเข้ำสินค้ำหรือสินค้ำที่ผลิตในประเทศไทยไม่ได้บังคับว่ำจะต้องได้รับมำตรฐำนดังกล่ำว

นอกจำกนี้ยังมีหน่วยงำนอื่นๆ ที่ก�ำหนดมำตรฐำนของภำค หรือจังหวัด เช่น มกสร. (สุรินทร์) มอน.

(มำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ภำคเหนือ) เป็นต้น

หน่วยตรวจสอบรับรอง (CB) ที่ตรวจรับรองมาตรฐานอื่นๆ ที่ได้รับความนิยม

Certification bodies for other popular standards include Bioagricert (Italy), BCS (Germany) and

Ecocert(France).

Thailand’sagriculturalproductstandardsaremanagedbyTheNationalBureauofAgriculturalCommodity

andFoodStandards(ACFS)astheABandtherelevantdepartmentsastheCB.Nevertheless, imported

and products of local origin in Thailand are not required to be certified by such standards. Other regional

and provincial standards exist under the care of other agencies.

011010

ECOCert

ฝรั่งเศสBCS

เยอรมนีBioagricert

อิตาลี

Page 3: มาตรฐานเกษตรอินทรีย์organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256003200011138128799.pdf · 008 009 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

012 013

กระทรวงพาณิชย์กับการส่งเสริมสินค้าอินทรีย์

ระทรวงพาณิชย์ สนับสนุนสินค้าอินทรีย์ไทยสู่ตลาดทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ ตลอดจน

ผลักดันให้มีการแปรรูปสินค้าอินทรีย์เพื่อเพิ่มมูลค่า โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ กลุ่ม Food

พัฒนาให้มีการแปรรูปให้เป็นอาหารพร้อมรับประทานมากขึ้น กลุ่ม Non-Food เช่น ฝ้ายอินทรีย์ ซึ่ง

ได้ด�าเนินการร่วมกับโครงการตามพระราชด�าริฯ โดยสนับสนุนให้มีการขยายการผลิตและปรับเปลี่ยน

การผลิตเป ็นเกษตรอินทรีย ์ มีการแปรรูปฝ ้ายเป ็นส�าลีหรือผ ้าฝ ้ายอินทรีย ์และเชื่อมโยงผู ้ซื้อ

กลุ่ม Services สนับสนุนภาคบริการ ได้แก่ ธุรกิจสปา ธุรกิจความงาม ร้านค้าเฉพาะทาง (Green

Shop) โรงแรมและร้านอาหาร เร่งส่งเสริมการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ให้เป็นระบบเดียวกัน และ

มีความเป็นสากลมากขึ้น

กระทรวงพาณิชย์สนับสนุนและส่งเสริมการจ�าหน่ายสินค้าอินทรีย์ โดยเฉพาะให้กลุ่มผู้บริโภคในประเทศ

ได้รับรู้เข้าใจอัตลักษณ์ของสินค้าอินทรีย์ และจดจ�าสินค้าอินทรีย์

ไทยภายใต้โลโก้ “OrganicThaiProduces”

กระทรวงพาณิชย์ส ่งเสริมและสนับสนุนสินค้าอินทรีย ์ตาม

แนวคิด OrganicPlus ซึ่งมีคุณสมบัติเพิ่มเติมจากสินค้าอินทรีย์

ทั่วไป เช่น สินค้าอินทรีย์ที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้

(Organic+FairTrade), สินค้าอินทรีย์ที่ผู้ผลิตและผู้ประกอบ

การใส ่ ใจดูแลรักษาสิ่งแวดล ้อมควบคู ่ไปกับการผลิตและ

การด�าเนินงาน ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Organic + Social

Welfare), พื้นที่เฉพาะที่การด�าเนินงานตามแนวทางเกษตร

อินทรีย์ (Organic Island) อาทิ เกาะพะงัน เกาะเกษตร

อินทรีย์ เป็นต้น โดยกระทรวงพาณิชย์มีเป้าหมายให้ประเทศไทย

มุ่งสู่การเป็น ASEANOrganicHub

ลักษณะของมาตรฐาน OrganicThailand เทียบเท่ากับมาตรฐานของออสเตรเลีย คือ เป็นมาตรฐานของ

ประเทศ แต่ไม่ได้บังคับว่าจะต้องใช้มาตรฐานนี้หากจะเข้าประเทศนี้

นอกจากนี้ ยังมีโลโก้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น FairTrade, Demeter โลโก้เหล่านี้ ปัจจุบันเริ่มมีความส�าคัญ

เช่น ผู้บริโภคนอกจากจะต้องการได้สินค้าที่มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แล้ว อาจจะต้องการสินค้าที่มีความ

เป็นธรรมทางการค้าร่วมด้วย ส่วน Demeter เป็น หน่วยตรวจสอบรับรองสินค้า Biodynamicจากประเทศ

เยอรมนี ซึ่งเป็นการตรวจที่มีมาตรฐานสูงกว่าเกษตรอินทรีย์ทั่วไป เน้นความสมดุลเป็นหลัก

“OrganicThailand”isanationalstandard,butitisnotcompulsoryforimportedproducts.Associatedlogos

includeFairTradeandDemeter.

TheMinistryofCommerceofThailandhasamissiontopromoteorganicproduces,bothdomestically

andinternationally.Moreover,theMinistryisinfavorofOrganicPlusproducts.Unlikeconventionalorganic

agricultureproducts,OrganicPlusvariantsofferthepossibilityoftracingtoensurefairtradeandsocial

welfareasproducersarerequiredtohaveconcernsfortheenvironmentintheiroperationthroughoutthe

supply chain. The Ministry together with the local administration and entrepreneurs have initiated

OrganicIslandProjectatKohPa-ngan,Suratthani.

AOC

ออสเตรเลีย

Demeter

OrganicThailand

ไทย

Fairtrade