พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู...

122
พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดย นางสุภัคชญา โลกิตสถาพร สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2557

Transcript of พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู...

Page 1: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดย

นางสุภัคชญา โลกิตสถาพร

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 2: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

The Ethical Behavior of The Teacher's Role in Promoting Ethical StudentsWat Phrasrimahadhat Demonstration High School Phranakhon Rajabhat University

By

Mrs. Suphakchaya Lokitsataporn

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2014

Page 3: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(1)

หัวขอสารนิพนธ พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ชื่อผูศึกษา นางสุภัคชญา โลกิตสถาพรหลักสูตร/ คณะ/ มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ ศิลปศาสตร/ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ดร.เฉลิม เกิดโมลีปการศึกษา 2556

บทคัดยอการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน ศึกษา

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ศึกษาเปรียบเทียบบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล และศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 1,269 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติ t - test เพื่อทดสอบความแตกตาง และสถิติ Pearson Correlation เพื่อทดสอบความสัมพันธ

ผลการศึกษา พบวา บทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ ในภาพรวมอยูระดับมากที่สุด เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการเปนแบบอยาง รองลงมาคือ ดานการอบรมสั่งสอน และดานการติดตามผล สวนพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการครองตน ดานการครองงาน และดานการครองคน

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีระดับชั้นที่ศึกษาตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนเพศที่ตางกัน พบวา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในภาพรวมไมแตกตางกัน สําหรับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูพบวามีสหสัมพันธกับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ โดยมีความสัมพันธในระดับสูง (r = .673) โดยองคประกอบที่มีสหสัมพันธกับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครสูงที่สุด คือ ดานการครองงาน รองลงมา คือ ดานการครองคน และดานการครองตน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปไดวาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนขึ้นอยูกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู

(1)

Page 4: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาชวยเหลือ และความรวมมือจากบุคคลหลายทาน ทานแรกที่ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงในความกรุณา คือ ดร. เฉลิม เกิดโมลี อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ที่กรุณาถายทอดความรู ประสิทธิ์ประสาทวิชาและใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ในการทําสารนิพนธจนเสร็จสมบูรณ ผูศึกษารูสึกซาบซึ้งในความกรุณาเปนอยางยิ่งและขอจดจําคําแนะนํา คําสั่งสอนอันมีคาเพื่อนําไปใชในชีวิตในอนาคตตอไป

ขอขอบคุณกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครทุกคน ที่ไดใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถาม และขอบคุณครูและเจาหนาที่โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุทุกทานที่อํานวยความสะดวกในการไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามเปนอยางดี

เหนือสิ่งอื่นใดผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณบุคคลผูมีพระคุณที่สุดในชีวิต คือ บิดาและมารดาของผูศึกษาซึ่งไดใหกําเนิด ใหความรัก ใหการอุปการะเลี้ยงดูผูศึกษา ใหความหวงใยพรอมกับกําลังใจในทุกเรื่อง พรอมทั้งใหคําสั่งสอนแนวคิดและการปฏิบัติตัวทําใหผูศึกษามีวันนี้ ขอบคุณกําลังใจจากครอบครัวที่อยู เคียงขาง คอยเปนกําลังใจและแบงปนความทุกขยากลําบากมารวมกัน ที่เปนสวนสําคัญในการเสริมสรางพลังใจที่ดี ผลักดันใหผูศึกษาฟนฝาอุปสรรคตาง ๆ จนสําเร็จการศึกษาในวันนี้ รวมถึงหลายๆ กําลังใจจากพี่นอง พองเพื่อนทุกทานที่เปนกําลังใจอยางยิ่ง ทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี

สุดทายนี้ ผูศึกษาขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยเกริก ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาที่เปดโอกาสการสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) ทําใหผูศึกษาไดมาเขามาศึกษาจนสําเร็จในวันนี้

สุภัคชญา โลกิตสถาพร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 5: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(3)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (6)

บทที่ 1 บทนํา 11.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 41.3 ขอบเขตของการศึกษา 51.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 72.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู 72.2 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน 392.3 ผลงานศึกษาที่เกี่ยวของ 552.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 602.5 สมมติฐานในการศึกษา 612.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 62

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 643.1 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา 643.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 643.3 การวิเคราะหขอมูล 653.4 การรวบรวมขอมูล 67

Page 6: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

3.5 สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล 67

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 694.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม 694.2 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู 714.3 ผลการวิเคราะหบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยม 75 สาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร4.4 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน 83 จําแนกตามขอมูลสวนบุคคล4.5 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับ 85 บทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 875.1 สรุปผล 875.2 อภิปรายผล 895.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา 975.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป 99

บรรณานุกรม 100

ภาคผนวก 107 แบบสอบถาม 108

ประวัติผูศึกษา 114

(4)

Page 7: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 การแสดงขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก 222 แสดงจํานวนและรอยละขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม 703 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในภาพรวม 714 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองตน 725 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองคน 736 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองงาน 747 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน 76

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวม8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการอบรมสั่งสอน 779 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการเปนแบบอยาง 7910 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการติดตามผล 8111 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครู 83

ในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน จําแนกตามเพศ12 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครู 84

ในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน จําแนกตามระดับชั้นที่ศึกษา13 ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทในการสงเสริม 85

จริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

14 áÊ´§ÊÃØ»¼Å¡Ò÷´ÊͺÊÁÁµÔ°Ò¹ 86

Page 8: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

(6)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

1 ทฤษฎีตนไมจริยธรรม แสดงจิตลักษณะพื้นฐาน และองคประกอบทางจิตใจของ 24พฤติกรรมทางจริยธรรม

2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา 61

Page 9: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต คือการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของคนใหเปนคนดีมี

ความรู มีความสามารถ มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีคานิยมที่ดีงามและมีจิตสํานึกที่รับผิดชอบตอตนเองและสังคม (สํานักนายกรัฐมนตรี, ม.ป.ป.,: 21) คุณสมบัติที่ดีดังกลาวนี้เปนเสมือนเครื่องมือของบุคคลที่จะอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข และเปนเครื่องมือในการทําประโยชนใหแกสวนรวม กลาวคือคนที่มีคุณภาพจะกอใหเกิดการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ทั้งการพัฒนา ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคงของประเทศไดเปนอยางดี ประเทศที่ไดพัฒนาแลวพลเมืองจะมีความเปนอยูที่ดี บานเมืองสะอาด สงบเรียบรอย และมีความมั่นคงทางการเมืองสมาชิก ในสังคมมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีนั่นเอง

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) หมวด 1 มาตรา 6 กําหนดใหมีการจัดการศึกษามีความมุงหมายเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยาง มีความสุขและในมาตรา 7 กําหนดวากระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิหนาที่เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมีความภาคภูมิใจในความเปนไทยรูจักรักษาผลประโยชนของสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพรูจักพึ่งพาตนเองมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546: 5)

การจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝงจริยธรรมใหบรรลุจุดมุงหมาย ไมใชสิ่งที่จะเกิดขึ้นไดงาย ๆ ครูเปนผูกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการเรียนรูในตัวนักเรียน ครูมีอิทธิพลตอการพัฒนาทางจริยธรรมของผูเรียนมาก สรุป คุณลักษณะของครูที่ควรปฏิบัติเปนแบบอยางแกนักเรียน 14 ประการ คือ 1) ครูตองเปนผูนาเชื่อถือได 2) ครูตองเปนผูมีมารยาทดี 3) ครูตองเปนผูใฝสูง

Page 10: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

2

4) ครูตองเปนผูเห็นความสําคัญของนักเรียน 5) ครูตองรูจักดูแลสุขภาพของตนเองใหดีอยูเสมอ 6) ครูตองเปนผูมีอุดมคติ 7) ครูตองประพฤติตนพรอมในดานการครองเรือน ครองตน ครองคน ครองงาน 8) ครูตองไมเลนพรรคเลนพวก 9) ครูตองเขารวมกิจกรรมอยางสม่ําเสมอ 10) ครูตองรักโรงเรียน 11) ครูตองมีความอดทน 12) ครูตองมีความโปรงใสรักชื่อเสียงเกียรติยศแหงความเปนครู13) ครูตองมีความเฉลียวฉลาดมีไหวพริบดี 14) ครูตองรวมแรงรวมใจทํางานเปนทีม มีน้ําใจเสียสละสวนตนเพื่อสวนรวม (ปราชญา กลาผจัญ, 2540: 41)

ดังนั้น หากตองการใหการปลูกฝงจริยธรรมแกนักเรียนในโรงเรียนดําเนินไปไดดวยดีจะตองอาศัยครูที่มีความรูความเขาใจในการปลูกฝงจริยธรรมใหแกนักเรียน ซึ่งหลักในการสงเสริมจริยธรรมนั้นสามารถทําไดทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน การสงเสริมจริยธรรมแกนักเรียนในหองเรียน คือ การบูรณาการการจัดการเรียนการสอนเนื้อหาหรือจริยธรรมที่สงเสริมเขากับทุกวิชา โดยกําหนดวัตถุประสงคใหนักเรียนมีความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมที่ตองการ การที่ครูจะสงเสริมจริยธรรมแกเด็กนักเรียนไดนั้น ตัวครูเองจะตองเปนผูมีจริยธรรมเสียกอน หากครูเปนตนแบบที่มีจริยธรรมอันดีงาม เด็กก็จะเลียนแบบสิ่งที่ดีจากครูไปดวย และสิ่งสําคัญที่สุดคือ ผูใหญตองเปนแบบอยางที่ดีแกเด็ก ครูเปนตัวอยางที่ดีแกศิษย วิธีการสงเสริมจริยธรรมใหไดผลดีนั้นตองมีการจัดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณตรงของตน เรียนรูจากตัวอยางที่พบเห็นเรียนรูจากคําบอกเลา และมีการประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑที่เรียนรู (Bandura, 1977: 23)

ในการพัฒนาจริยธรรมใหไดผลดีนั้นครูตองนึกถึงกฎอยู 2 ขอ คือ ตองใหการเสริมแรงทางบวก และลงโทษตามเงื่อนไขมิใชตามอารมณ ซึ่งสอดคลองกับสกินเนอร (Skinner, 1971) ที่พบวาพฤติกรรมใดที่ผูประพฤติ ไดรับสิ่งที่ตองการตอบแทนและพึงพอใจพฤติกรรมนั้นก็จะมีความถี่สูงขึ้น ซึ่งในการปลูกฝงจริยธรรมควรใหการเสริมแรงทางบวกเมื่อบุคคลประพฤติดี ดังนั้น การสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนจะประสบความสําเร็จไดนั้น สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ครูผูสอนควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนมีโอกาสแสดงพฤติกรรมตาง ๆ มากที่สุด ควรใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติ และมีการติดตามผลการปฏิบัติโดยสม่ําเสมอ ครูควรเปนแบบอยางที่ดีในการประพฤติ ใหนักเรียนดูเปนตัวอยางและใหการเสริมแรงเมื่อนักเรียนประพฤติดีดวย ซึ่งการสงเสริมจริยธรรมเปนการขัดเกลาพฤติกรรมของเด็ก และชวยใหเด็กเรียนรูการควบคุมตนเองไปพรอมกับการใหกําลังใจ ไมใชความเจ็บปวดที่ไมมีความหมายใด ๆ ตอการเรียนรู หากทานเปนพอแม หรือมีเพื่อน ที่มีลูกก็จะสังเกตไดไมยากวา ในชวงที่เด็กอายุประมาณหนึ่งหรือสองขวบเราสอนเด็กตบมือ เดินหรือพูด เราจะใชการทําใหดูเปนตัวอยาง การชมเชย ใหรางวัล และชวยใหเด็กมีโอกาสฝกฝนใหมากที่สุด ไมใชการดุดา ตี ดูถูกเยาะเยย หรือขมขูอยางแนนอน การกระตุนหรือชมเชยใหกําลังใจเปนรูปแบบหนึ่งของการใหรางวัล ซึ่งทําใหเด็กอยากฝกฝนเรียนรู และไปใหถึงเปาหมาย เปนการ

Page 11: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

3

สรางความภาคภูมิใจในตนเอง เพราะในที่สุดเด็กก็จะเรียนรูวาตัวเขาเทานั้นที่เปนผูรับผิดชอบที่จะทําใหไดรับรางวัลหรือความชื่นชม และเขาจะเลือกที่จะทําหรือไมทําก็ได ซึ่งทําใหเด็กรูสึกวาสามารถควบคุมชีวิตของตนไดซึ่งเปนกุญแจสําคัญของการมีความภาคภูมิใจในตนเอง

จริยธรรมยังเปนวัฒนธรรมทางสังคมซึ่งจะทําใหเยาวชนเรียนรูพฤติกรรมที่สังคมยอมรับนําไปสูความเปนผูใหญสามารถควบคุมตนเองได มีความมั่นคงทางอารมณ มีเจตคติที่ดี โรงเรียนควรจัดกลไกลการบริหารใหบุคลากรของโรงเรียนไดดูแลปญหาดานวินัยของนักเรียนไดอยางเต็มที่หากมีปญหาควรใหการชวยเหลือสนับสนุนใหนักเรียนไดแกไขพฤติกรรมของตนเอง และคุณภาพการเรียน การสอน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งสามารถชวยลดปญหาในดานความประพฤติของนักเรียนได กฎขอบังคับตาง ๆ ตลอดจนวินัยในโรงเรียนไดกําหนดขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการสงเสริมและพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีของนักเรียนใหสามารถควบคุมตนเอง และปฏิบัติตามระเบียบกติกาของสังคมไดอยางเหมาะสมเพื่อประโยชนของตนเองและสวนรวม (วิชัย วงษใหญ, 2542: 6) โรงเรียนจึงเปนสถาบันที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหเปนผูที่มีความสมบูรณทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีความรู มีวินัย มีคุณธรรม และจริยธรรมในการดําเนินชีวิต โดยการจัดการเรียนการสอนและใหการสั่งสอนอบรมในการสรางเสริมพฤติกรรมอันพึงประสงคของสังคมใหแกนักเรียนรวมทั้งมีบทบาทหนาที่ในการดูแลปองกันและควบคุมแกไขพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค การปลูกฝงแนวทางปฏิบัติใหแกนักเรียน

ผลการศึกษาของกรมวิชาการไดศึกษาคนควาและทําการวิจัยระดับศักยภาพของเด็กไทยตามสภาพที่เปนอยูในปจจุบันพบวา เด็กไทยขาดคุณลักษณะบางประการ ที่ไมเปนไปตามเปาหมายของหลักสูตรและสภาพที่พึงปรารถนาของสังคมไทย เชน ทักษะการคิดและการแสวงหาความรูดวยตนเอง วินัยในตนเอง การควบคุมตนเอง ทักษะการสื่อสารอันเปนทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตในยุคโลกาภิวัฒน (กองวิจัยการศึกษา, 2545: 1 -15) โรงเรียนมีภาระหนาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุงหวังพัฒนาคุณภาพประชากรทุกคนใหเปนคนดี คนเกง และอยูในสังคมอยางมีความสุขเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 จึงเปนองคการสําคัญในการปลูกฝงจิตสํานึกแกเยาวชนเพราะโรงเรียนเปนสถานที่ใชชีวิตอยูในโรงเรียนสภาพแวดลอมตาง ๆ ของโรงเรียนลวนแตมีอิทธิพลตอการเรียนการสอนรวมทั้งสงผลกระทบตอรางกายและจิตใจของนักเรียน และโรงเรียนไดปลูกฝงเกี่ยวกับวินัยใหเกิดขึ้นแกเด็กแลว จะสงผลใหนักเรียนสามารถจดจําแบบอยางระเบียบวินัยที่ดีที่จัดขึ้นในโรงเรียนนําไปเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตอันเปนการปลูกฝงเจตคติ และคานิยมที่ดีงาม ตลอดจนลักษณะที่พึงประสงคใหเกิดกับผูเรียน (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ 2546: 94)

Page 12: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

4

ปจจุบันโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครประสบปญหาหลายดาน เชน ดานทรัพยากรมนุษย ดานการศึกษา นอกจากนี้ความเจริญทางเทคโนโลยี ดานการสื่อสารตาง ๆ เปนไปอยางรวดเร็ว การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงไมทัน และประชาชนมีความรูไมเทากัน จึงสงผลกระทบตอการเสื่อมถอยของจริยธรรมของเยาวชนในเขตพื้นที่นี้ เชน การขาดวินัย ขาดจิตสํานึกในความเปนพลเมืองดี ขาดความรับผิดชอบในหนาที่ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญประกอบกับโรงเรียนสอนแตวิชาการ ไมไดเนนการปลูกฝงจริยธรรมอยางจริงจัง จึงเกิดปญหาดานจริยธรรมในตัวเด็กใหเห็นในปจจุบัน เชน เด็กไมเคารพยําเกรงผูใหญ กาวราว ติดยาเสพติด ลักขโมย สิ่งเหลานี้ลวนแสดงใหเห็นวา เยาวชนยังไมไดรับการปลูกฝง และสงเสริมจริยธรรมเทาที่ควรจะเปน จึงทําใหมีคุณลักษณะเชนนั้น และบอยครั้งที่เด็กไดรับแบบอยางที่ไมดีมาจากครูในโรงเรียนเปนสําคัญดวย ดังนั้น โรงเรียนในฐานะที่เปนสถาบันทางสังคมมีหนาที่โดยตรงเพื่อทําหนาที่กลอมเกลาเยาวชนใหเปนคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม ดํารงความเปนไทยในความเปนสากล การใชชีวิตรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข โดยมีครู อาจารยทําหนาที่ใหการอบรม สั่งสอน นอกเหนือจากการใหวิชาความรูหนาที่ของครูจะตองอบรมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อมุงใหผูเรียนเปนคนที่สมบูรณและมีจริยธรรม

จากความสําคัญที่กลาวมา ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพื่อนําขอมูลไปใชประโยชนในการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเพิ่มประสิทธิภาพในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนตอไป

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1.2.2 เพื่อศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยม

สาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร1.2.3 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล1.2.4 เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครู

ในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร

Page 13: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

5

1.3 ขอบเขตของการศึกษา1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหาการศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการ

สงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร ตามแนวความคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547:) ใน 3 ดาน คือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง ดานการติดตามผล นํามาเปนแนวทางในการศึกษาตัวแปรตาม

สวนตัวแปรตน ประกอบดวย 1.ปจจัยสวนบุคลของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราช

ภัฏพระนคร ประกอบดวย อายุ และระดับชั้นที่ศึกษา2. พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ตามแนวทางการศึกษาของ กวาง เสียงล้ํา (2550) มาใชเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมครูซึ่งเปนการใชหลักพุทธธรรมเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของครู ซึ่งถือวาเปนผูมีอิทธิพลตอนักเรียนทุกคนในสถานศึกษา ประกอบดวย 3 ดานคือ

1. ดานการครองตน2. ดานการครองคน3. ดานการครองงาน1.3.2 ขอบเขตดานประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาทําการศึกษานักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 1,269 คน1.3.3 ขอบเขตดานเวลาการศึกษาครั้งนี้กําหนดเก็บรวบรวมขอมูลในระยะเวลาตั้งแตเดือนสิงหาคม ถึง เดือน

กันยายน พ.ศ. 2557

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.4.1 ผลการศึกษาสามารถบงชี้ถึงบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียน

มัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพื่อจูงใจและเปนแบบอยางใหประพฤติปฏิบัติ ทั้งทางกาย วาจา ใจ เรงเราใหนักเรียนกระทําหนาที่อยางถูกตอง สมบูรณ เปนคนมีเหตุมีผล ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามใหเปนที่ยอมรับของสังคม

Page 14: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

6

1.4.2 สามารถนํารูปแบบพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองตน ครองคน และครองงานไปประยุกตเปนแนวทางการ แกไข ปรับปรุงและพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

1.4.2 ผลการศึกษาจะนําไปสูแนวทางในการพัฒนาศักยภาพในการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมใหกับนักเรียนโรงเรียนมัธยมอ่ืนๆ ตอไป

Page 15: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

7

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในบทนี้นั้นผูศึกษาไดนําเสนอกรอบแนวคิดทฤษฎีที่เปนพื้นฐานของการศึกษาและวรรณกรรมที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู2.2 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน2.3 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.5 สมมติฐานในการศึกษา2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู2.1.1 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

(กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) หมวด 1 มาตรา 6 กําหนดใหมีการจัดการศึกษามีความมุงหมายเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยาง มีความสุขและในมาตรา 7 กําหนดวากระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิหนาที่เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมีความภาคภูมิใจในความเปนไทยรูจักรักษาผลประโยชนของสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพรูจักพึ่งพาตนเองมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546: 5)

Page 16: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

8

2.1.1.1 ความหมายของจริยธรรมคุณธรรมจริยธรรมของบุคคลในสังคมเปนเรื่องของจิตใจและการกระทําซึ่งบุคคล

หลายฝายใหความสนใจศึกษา เพราะคุณธรรม จริยธรรมมีความกาวหนาจึงทําใหมีผูใหความหมายของคุณธรรมจริยธรรมไวหลายทานดังนี้ คือ

คุณธรรมจริยธรรม หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ทั้งกาย วาจาและจิตใจ โดยถือปฏิบัติเปนประจําและเปนแบบอยางที่ดีทั้งการปฏิบัติตอตนเอง ตอผูอื่น และตอสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544: 50)

วิศิน อินทสระ (2541: 106-107) ไดใหความหมายของคุณธรรม ตามหลักจริยศาสตร ไววา คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยูในดวงจิต อุปนิสัยนี้ไดมาจากความพยายามและความประพฤติติดตอกันมาเปนเวลานาน พรอมอธิบายและไดใหความหมายอันสั้นวา คุณธรรม คือ ความล้ําเลิศแหงอุปนิสัย นอกจากนี้ไดอธิบายถึงความหมายที่นักปราชญทั้งหลายไดใหไว เชน โสเครติส คุณธรรม หมายถึง ความรูหรือปญญาพรอมทั้งนิสัย ถึงเนนวา คุณธรรมคือความรู เพลโต เห็นวาคุณธรรมคือความรู อริสโตเติลเห็นวา คุณธรรม คือนิสัยอันดีงาม แมคเคนซี่ กลาววา คุณธรรมคือ ความรูและนิสัย เอนมานูเอลคานท เห็นวา คุณธรรมคือ การควบคุมแรงกระตุนตาง ๆ และความทะยานอยากไดดวยเหตุผล

กีรติ บุญเจือ (2534: 105) ไดใหความหมายวา คุณธรรม เปนคุณสมบัติของบุคคลซึ่งทําใหผูมีคุณธรรมรูจักแสวงหาคุณงามความดี และทําใหเขาไดบรรลุถึงจุดมุงหมายอันดีงามทั้งในดานความประพฤติทั่วไป หรือขอบเขตที่จํากัดแหงความประพฤติ

สมพร สอนสนาม (2543: 11) ไดรวบรวมความหมายของคําวา จริยธรรม ที่กําหนดโดยผูทรงคุณวุฒิของคนไทยเปนจํานวนมาก ความหมายตาง ๆ ที่ไดใหไวมีความหมายแตกตางกันพอสมควร และสวนใหญจะตรงกับความหมายใดความหมายหนึ่ง ดังตอไปนี้

1. คุณธรรม หมายถึง หลักเกณฑหรือกฎเกณฑในการตัดสินความถูกผิด ดีชั่ว และควรทําไมควรทํา ของพฤติกรรม

2. จริยธรรม หมายถึง แนวในการประพฤติปฏิบัติ ตามความหมายที่สองนี้ จริยธรรมเปนแนวทางและถาหากจะกําหนดตอไปวาแนวทางที่กลาวนี้หมายถึง แนวทางที่ดี ที่ถูก และที่ควรทําก็จะมีนัยตามความหมายแรก กลาวคือ หากพฤติกรรมใดอยูในแนวทางดังกลาวก็จะเปนพฤติกรรมที่ดี ที่ถูก และควรทํา สวนพฤติกรรมที่อยูนอกแนวทางนี้ ก็จะเปนพฤติกรรมที่ไมดี ไมถูก และไมควรทํา

3. จริยธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่ดี ที่ถูก และที่ควรทํา ความหมายที่สามนี้เนนที่ตัวพฤติกรรม (เนนที่จริยะ) มากกวาที่เนนที่เกณฑ กฎเกณฑหรือแนวทาง (เนนที่ธรรมะ) ดังเชนสอง

Page 17: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

9

ความหมายแรก และโดยนัยแหงความหมายที่สามนี้ พฤติกรรมที่ไมดี ไมถูก และไมควรทําก็จะไมใชจริยธรรม

วารี เกิดคํา (2538: 4) ไดใหความหมายวา “จริยธรรม คือ แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี ซึ่งมีลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติเชนนั้นเชนนี้ อันถือเปนการกระทําที่ดี”

พระเมธีธรรมมาภรณ (พระประยูร ธัมมจิตโต, 2536: 211) ไดอธิบายคําวา คุณธรรมและจริยธรรมในการฝกอบรมขาราชการ หลักสูตรตัวคูณวิทยากรจริยธรรม จัดฝกอบรมโดยสํานักงาน ก.พ. พ.ศ. 2537 วา

“คุณธรรมเปนเรื่องของความจริงแท หรือสัจธรรม คุณธรรมทําใหเกิดการประพฤติปฏิบัติดี ทําใหเกิดการรักษาศีล ซึ่งตรงกันขามกับกิเลศที่ทําใหเกิดการละเมิดศีล คุณธรรมนั้นเปนตัวหลักและการกระจายออกเปนจริยธรรมและจรรยาบรรณ”

“จริยธรรมเปนการดําเนินการใหสอดคลองกับสัจธรรม จริยธรรมจึงเปนหลักแหงความประพฤติที่ดีงามเพื่อประโยชนของตนและสังคม (จริยะ = ความประพฤติและหลักธรรม)”

เพ็ฐศรี วายวานนท (2537: 3) ใหความหมายคําวา จริยธรรมไวในจริยธรรมในการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2530 วา “จริยธรรม หมายถึง ปรัชญาทางศีล (Moral Philosophy) นั่นเองและเปนสาขาหนึ่งของปรัชญาจริยธรรมจึงเปนเรื่องหนึ่งของการศึกษาพิจารณาพฤติกรรมของมนุษยโดยอาศัยศีลธรรมหรือหมายถึงระบบหรือขอกําหนดทางศีลธรรม ซึ่งเปนมาตรฐานความประพฤติของบุคคลในแตละชุมชน ศาสนา วิชาชีพ และกลุมชนตาง ๆ ในสังคม”

กีรติ บุญเจือ (2534: 72) กลาวา จริยธรรม (Ethical Rules) หมายถึง ประมวลกฎเกณฑความประพฤติการมีจริยธรรม (Ethicity) คือ สถานภาพทางจริยธรรม ศีลธรรม (Morals) คือการประมวลกฎเกณฑความประพฤติของศาสนาใดศาสนาหนึ่ง

ในความหมายของคําวาคุณธรรมและจริยธรรม ประภาศรี สีหอําไพ (2535: 44 – 46) ใหความหมายไววา คุณธรรม คือ “สภาพของคุณงามความดีภายในบุคคลทําใหเกิดความชื่นชมยินดี มีจิตใจที่เต็มเปยมไปดวยความสุขขั้นสมบูรณ คือ ความสุขใจ ผลิตผลของความดีเปนธรรมะที่กลาวไดวา ทําไดดี ใจที่เปนสุข คือ ใจของคนดี คําวาใจดี คือใจที่มีแตจะให ใหความรักความเมตตา ความปรารถนาดีตอผูอื่น ความเขาใจในคุณความดีเปนกฎเกณฑสากลที่เปนที่ยอมรับตรงกันทุกชาติ ความดีจึงเปนความไมเบียดเบียน ทําราย ทําลายกัน ไมขมเหงรักแกกัน ไมกอสงครามวิวาทบาดหมางกัน” หรือในอีกความหมายหนึ่งกลาววา คุณธรรม คือ “หลักธรรมจริยาที่สรางความรูสึกผิดชอบชั่วดีในศีลธรรม มีคุณงามความดีภายในจิตใจอยูในขั้นสมบูรณอันเต็มเปยมไปดวยความสุข ความยินดี การกระทําที่ดียอมทําใหเกิดผลผลิตของความดี คือความชื่นชมยกยองในขณะที่การ

Page 18: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

10

กระทําที่ไมดียอมนําความเจ็บปวดมาให การเปนคนมีคุณธรรมคือ การปฏิบัติตนอยูในกรอบที่ดีงาม ความเขาใจเรื่องการกระทําดีมีคุณธรรมในกฎเกณฑสากลที่ตรงกัน”

สวนคําวา จริยธรรม หมายถึง “หลักความประพฤติที่อบรมกริยาและปลูกฝงคุณลักษณะนิสัยใหอยูในครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม คุณคาทางจริยธรรมชี้ใหเห็นความเจริญงอกงามในการดํารงชีวิตอยางมีระเบียบหรือแบบแผนตามวัฒนธรรมของบุคคลที่มีลักษณะของจิตใจที่ดีงามอยูในสภาพแวดลอมที่โนมนําใหบุคคลมุงกระทําความดี ละเวนความชั่ว มีแนวทางความประพฤติอยูในเรื่องของความดี ความถูกตอง ตามสมควรในการปฏิบัติตนเพื่ออยูในสังคมไดอยางสงบเรียบรอยและเปนประโยชนตอผูอื่น มีคุณธรรมและมโนธรรมที่จะสรางความสัมพันธอันดีโดยมีสํานึกที่จะใชสิทธิและหนาที่ของตนตามคานิยมที่พึงประสงค” หรือกลาวไดวา จริยธรรมมีความหมายถึง ความประพฤติตามคานิยมที่พึงประสงคโดยใชจริยศาสตรศึกษาพฤติกรรมดานคุณคา สามารถวิเคราะหคานิยมที่เปนคูกัน (Dichotomy) สามารถแยกแยะไดวาสิ่งใดดีควรกระทําและสิ่งใดชั่วควรละเวน ทําใหตัดสินคุณคาของการปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีงามไดตามความดีระดับตาง

จริยธรรมที่มาจากภาษากรีกกวา Ethos แปลวา ลักษณะนิสัยที่สามารถตัดสินคุณคาไดตามความหมายของความดี ความงาม และความสุข (ประภาศรี สีหอําไพ, 2535: 44-46)

พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554: 17) ไดใหความหมายไววา “จริยธรรม” คือ ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ กฎศีลธรรม

ตามทรรศนะของโสเครตีส (Socrates กอน ค.ศ. 469-399 อางถึงใน ประภาศรี สีหอําไพ, 2535) ปรัชญาเมธีผูยิ่งใหญ กลาววา คุณธรรม คือ “ความรู (Virtue is Knowledge) โสเครตีส กลาววา ถาบุคคลรูและเขาใจถึงธรรมชาติของความดีจริง ๆ แลว เขาจะไมพลาดจากการประกอบกรรมดีเขาจะไมทําความชั่ว เพราะความไมรูนั่นเอง ทําใหเขาตองทําความชั่ว ความเขลาเปนความชั่วรายพอ ๆ กับความรู เปนคุณธรรม หรือเปนคนดีไมมีใครตั้งใจทําความดี (None Intenionally does Wrong) ที่เขาทําผิดเพราะเขาไมรู”

ดิวอี้ (Dewey ค.ศ. 1859-1952 พึ่งอางถึง ) ไดกลาววา คุณธรรมจริยธรรมคือ หลักความประพฤติที่มีการฝกอบรมใหเปนความประพฤติของพลเมืองดีโดยเนนที่รายบุคคลเทากับที่ตระหนักถึงผลทางสังคมที่จะดํารงรูปแบบของสังคมนั้น ดังนั้นหลักจริยธรรมจึงไมมีใครคนใดคนหนึ่งผูกขาดการตัดสิน ไมใชเรื่องเหนือธรรมชาติ ไมสรางรูปแบบเฉพาะผูขาดหรือวิธีชีวิตอยางใดอยางหนึ่ง การแปลความหมายคุณธรรมในชีวิตสังคมซึ่งเต็มไปดวยการเรงรุดหนาที่ จะสรางลักษณะนิสัยของบุคคลโดยเนนความสําคัญในดานจิตใจ

Page 19: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

11

เพลโต (Plato กอน ค.ศ. 427-347 พึ่งอางถึง) เห็นวามีคุณธรรมที่สําคัญอยู 4 ประการ เรียกวา (Cardinal Virtues) เปนคุณธรรมพื้นฐานซึ่งรองรับคุณธรรมอื่นไวทั้งหมด คือ

1. ปญญา (ปรีชาญาณ)2. ความกลาหาญ3. ความพอประมาณ (รูจักพอประมาณ)4. ความยุติธรรมเพลโต ถือวา ปญญาสําคัญที่สุด โอบอุมเอาคุณธรรมอื่น ๆ ไวดวย ทํานองเดียวกับ

พระพุทธเจาทรงถือเอาความไมประมาทเปนธรรมสําคัญที่สุดเกินกวาธรรมทั้งปวง โอบอุมเอาคุณธรรมอื่นไวทั้งหมด

อริสโตเติล (Aristotle กอน ค.ศ. 384-322 พึ่งอางถึง) นิยมคุณธรรม 4 ประการของเพลโต แตเนนความรับผิดชอบ เพราะถือวาคุณธรรมคือความพอดีพองาม ไมเอียงสุดไปดานใดดานหนึ่ง คือไมเกินไปกับไมหยอนไป เชน คุณธรรม คือ ความกลาหาญเปนทามกลางระหวางความกลาหาญบาบิ่นกับความขลาด คุณธรรม คือ ความเปนจริงทามกลางระหวางการพูดจริงกับการดูหมิ่นตนเอง คุณธรรม คือ ความเสียสละเปนทามกลางระหวางคนฟุมเฟอย สุรุยสุราย กับความตระหนี่เหนียวแนน ความเห็นชอบของอริสโตเติลเขากันไดกับความเห็นทางพระพุทธศาสนาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทา (ขอปฏิบัติสายกลาง ไมตึงเกินไป ไมหยอนเกินไป)

จากทรรศนะของผูทรงคุณวุฒิหลาย ๆ ทาน ไดอธิบายความหมายของคําวาคุณธรรมและจริยธรรมไวอยางกวางขวาง สําหรับในความหมายของคําคุณธรรมและจริยธรรมตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดอธิบายวาคุณธรรม หมายถึง “สภาพคุณงามความดี” จริยธรรม หมายถึง “ธรรมที่เปนขอประพฤติ ปฏิบัติศีลธรรม กฎศีลธรรม”

พฤติกรรมของมนุษยมีจิตใจเปนผูสั่งการและกํากับควบคุม หากจิตใจราเริงเบิกบาน กิริยา ทาทางที่แสดงออกมาในทางกระฉับกระเฉง วองไว คึกคัก แตถาเมื่อใดจิตใจเศราหมองเหี่ยวแหง กิริยาอาการหงอยเหงาซึมเชื่องไมสดใสปรากฏแกผูใกลชิด และพบเห็นไดในดานความประพฤติก็เชนเดียวกัน ใครมีจิตใจเปนอยางไร ก็แสดงออกมา เปนรูปแบบของความประพฤติหรือการปฏิบัติทํานองนั้นการที่จิตในเปนผูสั่งการและกํากับการกระทํา หรือแสดงออกทางรางกาย เชนนี้ทําใหคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมเปนเรื่องที่แยกกันไมได คนที่มีคุณธรรมสูง คือจิตใจทรงคุณธรรมจะประพฤติสิ่งใด ๆ ในลักษณะของการมีจริยธรรมสูงดวยและในทางตรงกันขามคนที่ประพฤติชั่วชอบปฏิบัติหรือแสดงออกในทางที่เบียดเบียนตนเองหรือผูอื่น อันเปนแบบอยางของคนมีจริยธรรมต่ําทราม ยอมแสดงวาผูนั้นในจิตในขาดคุณธรรมหรือมีคุณธรรมต่ําดวย

Page 20: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

12

คุณธรรม เปนลักษณะความรูสึกนึกคิดทางจิตใจจริยธรรม เปนลักษณะแสดงออกของรางกายสังคม คือ หมูคณะหรือประชาชนที่อยูรวมกัน มีความสัมพันธกันในแบบใดแบบหนึ่ง

หรือหลายแบบรวมกันตามธรรมชาติและตามประเพณีนิยม อาจจะรวมกันอยูโดยจงใจ มีความปรารถนาจะอยูรวมกันตามเงื่อนไขที่เห็นพองตองกัน หรือไมไดจูงใจแตเงื่อนไขตามธรรมชาติหรือตามประเพณีนิยมใหอยูรวมกันได หนวยของสังคมที่เล็กที่สุดคงไดแก ครอบครัว ที่ใหญขึ้นมาอาจเปนหมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด สวนหนึ่งของประเทศ ชาติ หรือประเทศ ภูมิภาคของโลก หรือโลก และสังคมตามรูปแบบเหลานี้ อาจมีสังคมในรูปแบบอื่นซอนอยู เชน กลุมของคนอายุรุนราวคราวเดียวกัน สมาคมตาง ๆ โรงเรียนหรือสถานศึกษาตาง ๆ สังคมใหญอาจประกอบดวยสังคม เล็ก ๆ หลาย ๆ สังคม หรือประกอบดวยกลุมคนกลุมใหญก็ได

การดํารงชีวิตและดําเนินชีวิตของคนในสังคมมีความผูกพันและสัมพันธกันอยางหลีกเลี่ยงไมได ทั้งความผูกพันและความสัมพันธตอกันของคนในสังคมนี้มีหลายรูปแบบและหลายทาง จนในบางครั้งบางเรื่องคนในสังคมนั้นเองก็ไมสามารถระบุไดวา คนมีความผูกพันและสัมพันธกับใครในเรื่องใด อยางไร แตก็ตองประพฤติปฏิบัติอยางนั้นตามฐานะของตนในสังคม จึงจะสามารถดํารงตนและดําเนินชีวิตของตนในสังคมไดอยางมีความสุข และสวนใหญหรือสวนรวมของคนในสังคมนั้นก็จะมีความผาสุกดวยการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคมหนึ่ง ๆ จึงมีลักษณะเหมือนหรือใกลเคียงกันจนเปนเอกลักษณของสมาชิกของสมาคมนั้น ๆ

สรุป สังคมที่มั่นคงจะตองมีคุณธรรมเฉพาะของสังคมนั้น ๆ ดวย สังคมที่ทรงคุณธรรม คนหรือประชาชนในสังคมนั้นก็จะมีจริยธรรมดี และจะเปนสังคมที่มีความผาสุกสงบสุข มีความเจริญกาวหนาไปตามลําดับ สังคมที่เจริญจะมีคนทรงคุณธรรมอยูมาก มีคุณธรรมสูง ความประพฤติของคนดี มีการปฏิบัติตนที่ไมเบียดเบียนทั้งตนเองและผูอื่น เปนลักษณะของความมีจริยธรรมดี ทุกคนในสังคมมีความสุข สังคมนั้นผาสุกและสงบสุข จะประกอบการสิ่งใดมีแตความสําเร็จและจะกาวหนาเสมอ สวนสังคมที่เสื่อม คนทรงคุณธรรมจะนอยลง ศีลธรรมหรือจริยธรรมของประชาชนจะนอยลง มีการประพฤติปฏิบัติที่เปนการเบียดเบียนตนเอง และตอผูอื่นกันมากขึ้น ๆ สมาชิกในสังคมจะขาดความสุขกันมากขึ้น ความผาสุกไมมี ความไมสงบสุขจะเกิดขึ้น สังคมนั้นจะแตกสลายในที่สุด

2.1.1.2 องคประกอบของคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมจริยธรรมและคุณธรรมมีความหมายใกลเคียงกันมา ดังนั้น จึงมีผูใชคําสองคํานี้ไป

ดวยกัน (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, 2539: 27) คําวา คุณธรรม จริยธรรม

Page 21: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

13

และคานิยม มีลักษณะที่มีสวนคลายคลึงและสัมพันธกัน (ทิศนา แขมมณี, 2542: 2) ดังนั้น การเสนอองคประกอบของคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม จึงขอเสนอในลักษณะรวมกันดังตอไปนี้

กรมวิชาการ (2544: 119) ไดสรุปวา จริยธรรมของบุคคลมีองคประกอบ 3 ประการคือ1.ดานความรู (Moral Reasoning) คือ ความเขาใจใจเหตุผลของความถูกตองออกจาก

ความไมถูกตองไดดวยความคิด2.ดานอารมณความรูสึก (Moral Attitude and Belief) คือ ความพึงพอใจ ศรัทธา

เลื่อมใสในความนิยมยินดีที่จะรับจริยธรรมมาเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตน3.ดานพฤติกรรม (Moral Conduct) คือ การกระทําหรือการแสดงออกของบุคคลใน

สถานการณตางๆ ซึ่งเชื่อวาเกิดจากอิทธิพลของทั้งสององคประกอบขางตนหลักจริยธรรมตามแนวปรัชญาและศาสนาของศาสนาพุทธศาสนาพุทธในสังคมสมัยพุทธกาล กลุมคนในสังคมแสวงหาคานิยมแหงชีวิตอัน

สุดโตง เชน กลุมคนหนึ่งแสวงหาความสุขสบาย กลุมอื่นแสวงหาชีวิตที่อมตะ โดยการทรมานกายบําเพ็ญพรตตาง ๆ ลวนเปนปจจัยที่เอื้ออํานวยใหพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมสายกลาง ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับหลักแหงความเปนจริงของสรรพสิ่งรองรับอยู

พระพุทธศาสนานั้นเมื่อมองในทัศนะของคนสมัยใหม มักเกิดปญหาขึ้นบอย ๆ วาเปนศาสนา (Religion) หรือปรัชญา (Philosophy) หรือวาเปนเพียงวิธีแบบหนึ่ง (A Way of Life) เมื่อปญหาเชนนี้เกิดขึ้นแลวก็เปนเหตุถกเถียงหรือแสดงเหตุผล ทําใหเปนเรื่องฝนเฟองไมมีที่สิ้นสุด ในที่นี้แมจะเขียนเรื่องพุทธธรรมไวในปรัชญา ก็จะไมพิจารณาปญหานี้เลย มุงแสดงในขอบเขตวาพุทธธรรมสอนวาอยางไร มีเนื้อหาอยางไรเทานั้น สวนที่วาพุทธธรรมเปนปรัชญาหรือไม ใหเปนเรื่องของปรัชญาเองที่จะมีขอบเขตครอบคลุม หรือสามารถตีความใหครอบคลุมถึงพุทธธรรมไดหรือไม โดยวาที่พุทธธรรมก็คือพุทธธรรม ยังคงเปนพุทธธรรมอยูนั่นเอง มีขอจํากัดเพียงอยางเดียววาหลักการหรือคําสอนใดก็ตามที่ เปนเพียงการคิดหาเหตุผลในเรื่องความจริง เพื่อสนองความตองการทางปญญา โดยมิไดมุงและแสดงแนวทางสําหรับประพฤติในชีวิตจริง อันนั้นใหถือวาเปนคําสอนทางปญญา โดยมิไดมุงและแสดงแนวทางสําหรับประพฤติในชีวิตจริง อันนั้นใหถือวาเปนคําสอนเดิมแทของพระพุทธเจา ซึ่งในที่นี้เรียกวา “พุทธธรรม” (ประเวศ วะสี, ม.ป.ป., : 13)

ความจริงมิใชสิ่งที่เปนจิตสมบูรณ ซึ่งอยูเหนือโลก และคอยควบคุมโลกอยู แตความจริงเปนเพียงกระแสแหงปจจัยตาง ๆ แลว ผูที่ฝนขอเท็จจริงยอมอยูในภาวะแหงทุกขตา คือถาเรายึดมั่นถือมั่น รักผูกพันอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงโดยตลอดเวลานั้น เราไมเพียงจะเกิดทุกขในความยึดมั่นถือมั่นนั้น แตหากสิ่งอันเปนที่รักนั้นเปลี่ยนแปลงไป เราก็อาจจะรูสึกเกลียดหรือโกรธโลกไปอีกทาง ซึ่งก็ลวนแตเปนที่มาแหงทุกข ความเปนอนัตตาก็เปนธรรมะอันเกี่ยวเนื่องอยางแยก

Page 22: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

14

ไมออกจากหนังอนิจตาและทุกขตา พระราชวรมุนีไดอธิบายเพิ่มเติมวา แนวคิดแหงปรัชญาดังกลาวคือ หลักแหงไตรลักษณ มีความหมายโดยยอ ดังนี้

1. อนิจตา ความไมเที่ยง ความไมคงตัว ภาวะที่เกิดขึ้นแลวเสื่อมไป2. ทุกขตา ความเปนทุกข ภาวะที่ถูกบีบคั้นดวยการเกิดขึ้นและสลายตัว ภาวะที่กดดัน

พื้นฐานและขัดแยงไมลงตัว เพราะปจจัยที่ปรุงแตงใหมีสภาพเปนอยางนั้น เปลี่ยนแปลงไปจะทําใหคงอยูในสภาพนั้นไมได ภาวะที่ไมสมบูรณมีความบกพรองอยูในตัวไมใหความเสมอภาคแทจริงความพึงพอใจเต็มที่แตผูอยากดวยตัณหา และกอใหเกิดความทุกขแกผูอยากเขาไปดวยการยึดตัณหาอุปาทาน

3. อนัตตา ความเปนอัตตา ความไมใชตัวตน ความไมมีตัวตนที่แทจริงของมันเอง (พระราชวรมุนี, ม.ป.ป.,: 67-68) ธรรมะลวนอาศัยขอปฏิบัติแหงศีลหาเปนเครื่องสงบสุขของสังคมมนุษย การตัดกิเลสไมใชสิ่งที่หางไกลและเปนไปไมได จากขอปฏิบัติงายจากศีลหา ถาปฏิบัติจริงจังในการทําศีลขอหนึ่งใหบริสุทธิ์จริง ๆ แลวยอมหมายถึง การยกระดับศีลธรรม และจริยธรรมของสังคมทั้งหมดดวย ดังนั้นจะเห็นไดจากพุทธพจนตั้งแตครั้งแรกที่ประกาศศาสนา ซึ่งพระราชวรมุนีไดเรียบเรียงไววา “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไปเพื่อประโยชนและความสุขของชนเปนอันมาก เพื่ออนุเคราะหชาวโลก เพื่อประโยชนเกื้อกูล และความสุขแกทวยเทพ และมนุษยทั้งหลาย” (พระราชวรมุนี, 2525: 5)

หลักและจริยธรรมตามแนวของศาสนาและปรัชญาของศาสนาพุทธ จึงหมายถึง พันธะที่มนุษยมีตอเพื่อนมนุษย และทวีความสลับซับซอนมากขึ้น เมื่อมีการอยูรวมกันเปนสังคม มนุษยจึงตองมีจริยธรรมตอสังคม ซึ่งจะเปนปจจัยพื้นฐานชวยใหสังคมมีความสงบเรียบรอยและเปนสุขเย็นกันถวนหนา (ขวัญใจ พลอยลอมเพชร, 2541: 14)

ประภาศรี สีหอําไพ (2535: 11-13) เสนอพื้นฐานการจัดการศึกษาดานจริยธรรมที่สําคัญ 3 ประการดังนี้

1. หลักจริยธรรม (Moral Principles) 1.1 อัตวินิจ (Self) เปนการวิเคราะหที่ไดจากตนเองมองเห็นมาตรการและวิธีการที่

จะดําเนินชีวิตในแนวทางที่ถูกตอง การกลอมเกลาขัดเกลาพื้นฐานของจิตใจใหมั่นคงในคุณธรรม เปนคนดีมีประโยชนตอสังคม ความมีหิริโอตัปปะ

1.2 การแลกเปลี่ยน (Exchange) รูจักการให คนเราถารูจักการให แลกเปลี่ยนกันไมเอาเปรียบกัน เติมสิ่งที่บุคคลขาดตกบกพรองใหสมบูรณ ความขาดแคลนยากไรเดือดรอนลําเค็ญก็จะลดนอยลง การแลกเปลี่ยนกันจะทําใหมีสภาพที่สมบูรณ

Page 23: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

15

1.3 สัมพันธภาพ (Relationship) ความสัมพันธที่ผูกพันกันโดยทางเครือญาติ การติดตอคุนเคยกันหรือโดยกิจกรรมทางสังคม ทําใหแนวคิดขยายขอบเขตกวางออกจากตนเผื่อแผไปยังผูอื่น

1.4 ระบบสังคม (Social System) คานิยมที่วิเคราะหความถูกผิดชั่วดีจนเปนหลักการกฎเกณฑ กําหนดแนวศีลธรรมใหยึดถือปฏิบัติ ถาถึงระดับเขมขนก็จะเปนลัทธิศาสนามีศาสดาเปนผูชี้นําวางแนวทางความประพฤติ กอตัวเปนกลุมสังคมใหญ ไดแก ชาติ รวมอารยธรรม วัฒนธรรม อันเปนวิถีทางในการดํารงชีวิตของสังคม

1.5 การบําเพ็ญประโยชนและพันธสัญญาประชาคม (Utility and Social Contract) เปนการปฏิบัติตามระเบียบ กอใหเกิดความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีงามของประเทศชาติ มีความสัมพันธเปนมิตรไมตรี ตางแสดงความสามารถตามบทบาทของตนใชสิทธิและหนาที่ทําใหเกิดความสงบสุขและสามัคคีสามารถควบคุมการรุกรานลวงอธิปไตยโดยมิชอบได

1.6 สากลธรรม (Universal) หลักมโนธรรมสากลที่ครอบคลุมไดทั้งโลกเปนขอยืนยันคุณงามความดีของทุกศาสนาวาลวนวางแนวทางใหคน หรือศาสนิกชนของตนบําเพ็ญตนอยูในคุณงามความดีตามที่ไดสรางสรรคหลักธรรมไว มีการกลอมเกลาจิตใจใหศรัทธาแนวแนในการบําเพ็ญตนใหมีสาระ มุงเปาหมายของความเชื่อสูงสุดที่ยึดมั่น ซึ่งลวนเปนสุขคติหรือหนทางที่ดีงาม หลักจริยธรรมที่ขยายขอบเขตจากจุดเล็กสุด คือเฉพาะตนไปจนถึงสากลโลก

2. การอธิบายคานิยมหรือวิธีการกระจางใหนิยม (Value Clarification)2.1 การเลือกคุณคา (Choosing) การดํารงชีวิตมีวิถีทางที่ใหเลือกมากมายขึ้นอยูกับ

สถานการณ เหตุการณ ความเหมาะสมท่ีจะเลือกกระทําหรือละเวนการกระทําในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง2.2 การกําหนดคุณคา (Prizing) กําหนดน้ําหนักชั่งดูวาควรจะเลือกสิ่งที่ควรกระทํา

เรียงลําดับจากมากลงไปหานอย สิ่งใดที่ประสงคหรือตองการเลือกมากที่สุดจึงยึดถือในสิ่งนั้น การตีคานั้นขึ้นอยูกับผูกําหนด ของสิ่งหนึ่งอาจมีคาตอคนหนึ่งมากกวาผูอื่นการกําหนดคุณธรรมจึงเปนสากล จึงจะเกิดความเขาใจในแนวทางเดียวกัน

2.3 การปฏิบัติตามคุณคา (Acting) กรรม คือ การกระทําจากสิ่งที่ เลือกแลวกําหนดคาไววาดีที่สุด บุคคลพึงปฏิบัติตามและอธิบายคานิยมที่ตนเองรีบปฏิบัติได ถาเปนสังคมที่กวางขึ้นความมีระเบียบเปนกฎเกณฑใชชัดเจน

3. องคประกอบของจริยธรรม (Moral Elements) จริยธรรมเปนเครื่องกําหนดหลักปฏิบัติในการดํารงชีวิต เปนแนวทางในการอยูรวมกันอยางสงบเรียบรอย ประกอบดวยองคประกอบดังตอไปนี้

Page 24: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

16

3.1 ระเบียบวินัย (Discipline) เปนองคประกอบที่สําคัญยิ่ง การหยอนระเบียบวินัยทําใหการละเมิดสิทธิและหนาที่ตามบทบาทของแตละบุคคล

3.2 สังคม (Society) การรวมกลุมกันประกอบกิจกรรมอยางมีระเบียบแบบแผนกอใหเกิดขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม มีวัฒนธรรมอันเปนความมีระเบียบเรียบรอย และศีลธรรมอันดีของประชาชน

3.3 อิสรเสรี (Autonomy) ความมีสํานึกในมโนธรรมที่พัฒนาเปนลําดับกอใหเกิดความเปนอิสระ สามารถดํารงชีวิตตามสิ่งที่ไดเรียนรูจากการศึกษาและประสบการณในชีวิต มีความสุขอยูในระเบียบวินัยและสังคมของตน เปนคานิยมสูงสุดที่คนไดรับการขัดเกลาแลวสามารถบําเพ็ญตนตามเสรีภาพเฉพาะตนไดอยางอิสระ สามารถปกครองตนเองและชักนําตนเองใหอยูในทํานองครองธรรม

องคประกอบจริยธรรมนักจิตวิทยาและนักวิชาการหลายทานไดจําแนกองคประกอบของจริยธรรมไวดังนี้กรมวิชาการ (2533: 32) ไดกลาวโดยสรุปวา จริยธรรมของบุคคลประกอบดวยสิ่ง

สําคัญ 3 ประการคือ1. องคประกอบดานความรู ไดแก ความเขาใจในเหตุผลของความถูกตองดีงาม

สามารถตัดสินแยกความถูกผิดไดดวยความคิด2. องคประกอบดานอารมณ ความรูสึก ไดแก ความพึงพอใจ ศรัทธา เลื่อมใส เกิด

ความนิยมยินดีที่จะไดรับจริยธรรมนั้นมาเปนแนวปฏิบัติ3. องคประกอบดานพฤติกรรมการแสดงออก คือ พฤติกรรมที่บุคคลตัดสินใจที่คาด

การถูกหรือผิดในสถานการณแวดลอมตาง ๆ กันสงบ ลักษณะ (2523, อางถึงใน สุเทพ พันธโสลี, 2550: 17) กลาวถึงการจัดการเรียน

การสอนของครูที่จะตองทําใหนักเรียนเกิดคุณสมบัติใน 3 ดาน ดังนี้1. พุทธิพิสัย ไดแก การเกิดความรูความเขาใจวาสิ่งใดดี สิ่งใดควรงดเวนสิ่งใดไมควร

ทํา2. จิตพิสัย ไดแก การเกิดความรูสึกโนมเอียงทางอารมณ ที่สะทอนออกมาในลักษณะ

ของการชอบ ไมชอบ ในบางสิ่งบางอยางมีความพอใจสนใจซาบซึ้งเต็มใจ มีความสุขที่จะกระทํารับเอาคานิยมมาเปนแนวทางประพฤติปฏิบัติเปนนิสัย

3. ทักษะนิสัย ไดแก ความสามารถที่จะลงมือกระทําปฏิบัติดวยกาย หรือวาจาในธรรมตาง ๆ

Page 25: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

17

พุทธทาสภิกขุ (2530: 10) ไดแบงคําสอนของพระพุทธเจา 2 ลักษณะ ซึ่งสรุปขั้นจริยธรรมไดดังนี้

1. ระดับโลกียะ เนนลักษณะเวนการกระทําความชั่วขั้นที่ 1 คิดการอันเปนประโยชนขั้นที่ 2 คิดการอันเปนประโยชนแกผูอื่นขั้นที่ 3 คิดการอันเปนประโยชนแกชาวโลก2. ระดับโลกุตระขั้นที่ 4 เนนหลักความดับไมเหลือเปนเชื้ออีกตอไป จริยธรรมเปนสภาพความดีสูงสุด

สภาพที่เปนอิสระอยางแทจริง หลุดพนจากความทุกขทั้งปวงหรือนิพพานสรุป องคประกอบของจริยธรรมนั้นตองมีทั้งความคิด ความรูสึก และการกระทํา ซึ่งผู

มีจริยธรรมนั้นจะตองมีคุณงามความดี 3 ดาน โดยที่สังคมไทยใหความสําคัญมากกวาจริยธรรมดานอื่น ๆ คือ ความซื่อสัตยสุจริต ความเมตตากรุณา ความมีวินัย ดังนั้นสถานศึกษาจึงควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู เรียนที่หลากหลายเพื่อสนองความสนใจและสงเสริมใหเกิดการพัฒนาศักยภาพดานคุณธรรมของนักเรียน สังคมมุงหวังใหผู เรียนไดรูจักตนเองคนพบความสามารถ ความถนัด เห็นคุณคาในการประกอบสัมมาชีพ เปนผูมีระเบียบวินัย ศีลธรรม จริยธรรม รูจักบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบ การบําเพ็ญประโยชนใหชุมชน สังคม ประเทศชาติและดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข ตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาที่ไดกําหนดไว ทั้งนี้โดยคํานึงถึงปจจัยดานความพรอม ความตองการและความเปนไปได มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพื่อสงผลตอการพัฒนาผูเรียนไดอยางแทจริง

2.1.1.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทางจริยธรรมการพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก (Kohlberg)โคลเบิรก (Kohlberg, 1976) ไดศึกษาศึกษาพัฒนาการทางจริยธรรมตามแนวทฤษฎีของพี

อาเจต แตโคลเบิรกไดปรับปรุงวิธีศึกษา การวิเคราะหผลรวมและไดศึกษาอยางกวางขวางในประเทศอื่นที่มีวัฒนธรรมตางไป วิธีการศึกษา จะสรางสถานการณสมมติปญหาทางจริยธรรมที่ผูตอบยากที่จะตัดสินใจไดวา “ถูก” “ผิด” “ควรทํา” “ไมควรทํา” อยางเด็ดขาด เพราะขึ้นอยูกับองคประกอบหลายอยาง การตอบจะขึ้นกับวัยของผูตอบเกี่ยวกับความเห็นใจในบทบาทของผูแสดงพฤติกรรมในเรื่องคานิยม ความสํานึกในหนาที่ในฐานะเปนสมาชิกของสังคม ความยุติธรรมหรือหลักการที่ตนยึดถือ

Page 26: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

18

โคลเบิรก ใหคําจํากัดความของจริยธรรมวา จริยธรรมเปนความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความถูกผิด และเกิดขึ้นจากขบวนการทางความคิดอยางมีเหตุผล ซึ่งตองอาศัยวุฒิภาวะทางปญญา โคลเบิรก เชื่อวาพัฒนาการทางจริยธรรมเปนผลจากการพัฒนาการของโครงสรางทางความคิดความเขาใจเกี่ยวกับจริยธรรม นอกจากนั้น โคลเบิรก ยังพบวา สวนมากการพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กจะไมถึงขั้นสูงสุดในอายุ 10 ป แตจะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจากอายุ 11-25 ป การใชเหตุผลเพื่อการตัดสินใจที่จะเลือกกระทําอยางใดอยางหนึ่ง จะแสดงใหเห็นถึงความเจริญของจิตใจของบุคคล การใชเหตุผลเชิงจริยธรรม ไมไดขึ้นอยูกับกฎเกณฑของสังคมใดสังคมหนึ่งโดยเฉพาะ แตเปนการใชเหตุผลที่ลึกซึ้งยากแกการเขาใจยิ่งขึ้นตามลําดับของวุฒิภาวะทางปญญา โคลเบิรก ไดศึกษาการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมของเยาวชนอเมริกัน อายุ 10 -16 ป และไดแบงพัฒนาการทางจริยธรรมออกเปน 3 ระดับ (Levels) แตละระดับแบงออกเปน 2 ขั้น (Stages) ดังนั้น พัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรกมีทั้งหมด 6 ขั้น คําอธิบายของระดับและขั้นตางๆ ของพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก มีดังตอไปนี้ ระดับที่ 1 ระดับกอนมีจริยธรรมหรือระดับกอนกฎเกณฑสังคม (Pre - Conventional Level) ระดับนี้เด็กจะรับกฎเกณฑและขอกําหนดของพฤติกรรมที่ “ดี” “ไมดี” จากผูมีอํานาจเหนือตน เชน บิดามารดา ครูหรือเด็กโต และมักจะคิดถึงผลตามที่จะนํารางวัลหรือการลงโทษ พฤติกรรม “ดี” คือ พฤติกรรมที่แสดงแลวไดรางวัล พฤติกรรม “ไมด”ี คือ พฤติกรรมที่แสดงแลวไดรับโทษ

โดยบุคคลจะตอบสนองตอกฎเกณฑซึ่งผูมีอํานาจทางกายเหนือตนเองกําหนดขึ้น จะตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมที่ เปนหลักตอตนเอง โดยไมคํานึงถึงผูอื่น จะพบในเด็ก 2-10 ป โคลเบิรกแบงพัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เปน 2 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การถูกลงโทษและการเชื่อฟง (Punishment and Obedience Orientation) เด็กจะยอมทําตามคําสั่งผูมีอํานาจเหนือตนโดยไมมีเงื่อนไขเพื่อไมใหตนถูกลงโทษ ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อหลบหลีกการถูกลงโทษ เพราะกลัวความเจ็บปวดยอมทําตามผูใหญเพราะมีอํานาจทางกายเหนือตน โคลเบิรก อธิบายวา ในขั้นนี้เด็กจะใชผลตามของพฤติกรรมเปนเครื่องชี้วา พฤติกรรมของตน “ถูก” หรือ “ผิด” เปนตนวา ถาเด็กถูกทําโทษก็จะคิดวาสิ่งที่ตนทํา “ผิด” และจะพยายามหลีกเลี่ยงไมทําสิ่งนั้นอีกพฤติกรรมใดที่มีผลตามดวยรางวัลหรือคําชม เด็กก็จะคิดวาสิ่งที่ตนทํา “ถูก” และจะทําซ้ําอีกเพื่อหวังรางวัล ขั้นที่ 2 กฎเกณฑเปนเครื่องมือเพื่อประโยชนของตน ( Instrumental Relativist Orientation) ใชหลักการแสวงหารางวัลและการแลกเปลี่ยนบุคคลจะเลือกทําตามความพอใจตนของตนเองโดยใหความสําคัญของการไดรับรางวัลตอบแทนทั้งรางวัลที่เปนวัตถุหรือการตอบแทนทาง

Page 27: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

19

กาย วาจา และใจ โดยไมคํานึงถึงความถูกตองของสังคม ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อตองการผลประโยชนสิ่งตอบแทน รางวัล และสิ่งแลกเปลี่ยนเปนสิ่งตอบแทน โคลเบิรก อธิบายวา ในขั้นนี้เด็กจะสนใจทําตามกฎขอบังคับ เพื่อประโยชนหรือความพอใจของตนเอง หรือทําดีเพราอยากไดของตอบแทน หรือรางวัล ไมไดคิดถึงความยุติธรรมและความเห็นอกเห็นใจผูอื่น หรือความเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูอื่น พฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้ทําเพื่อสนองความตองการของตนเอง แตมักจะเปนการแลกเปลี่ยนกับคนอื่น เชน ประโยค “ถาเธอทําใหฉัน ฉันจะให.......” ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑสังคม (Conventional Level) พัฒนาการจริยธรรมระดับนี้ ผูทําถือวาการประพฤติตนตามความคาดหวังของผูปกครอง บิดามารดา กลุมที่ตนเปนสมาชิกหรือของชาติ เปนสิ่งที่ควรจะทําหรือทําความผิด เพราะกลัววาตนจะไมเปนที่ยอมรับของผูอื่น ผูแสดงพฤติกรรมจะไมคํานึงถึงผลตามที่จะเกิดขึ้นแกตนเอง ถือวาความซื่อสัตย ความจงรักภักดีเปนสิ่งสําคัญ ทุกคนมีหนาที่จะรักษามาตรฐานทางจริยธรรม โดยบุคคลจะปฏิบัติตามกฎเกณฑของสังคมที่ตนเองอยู ตามความคาดหวังของครอบครัวและสังคม โดยไมคํานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นขณะนั้นหรือภายหลังก็ตาม จะปฏิบัติตามกฎเกณฑของสังคมโดยคํานึงถึงจิตใจของผูอื่น จะพบในวัยรุนอายุ 10 -16 ป โคลเบิรกแบงพัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เปน 2 ขั้น คือ ขั้ นที่ 3 ความคาดหวั งและ การ ยอมรับในสั งคมสํ าหรั บ “เด็กดี”(Interpersonal Concordance of “Good boy, nice girl” Orientation) บุคคลจะใชหลักทําตามที่ผูอื่นเห็นชอบ ใชเหตุผลเลือกทําในสิ่งที่กลุมยอมรับโดยเฉพาะเพื่อน เพื่อเปนที่ชื่นชอบและยอมรับของเพื่อน ไมเปนตัวของตัวเอง คลอยตามการชักจูงของผูอื่น เพื่อตองการรักษาสัมพันธภาพที่ดี พบในวัยรุนอายุ 10 -15 ป ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อตองการเปนที่ยอมรับของหมูคณะ การชวยเหลือผูอื่นเพื่อทําใหเขาพอใจ และยกยองชมเชย ทําใหบุคคลไมมีความเปนตัวของตัวเอง ชอบคลอยตามการชักจูงของผูอื่น โดยเฉพาะกลุมเพื่อน โคลเบิรก อธิบายวา พัฒนาการทางจริยธรรมขั้นนี้เปนพฤติกรรมของ “คนดี” ตามมาตรฐานหรือความคาดหวังของบิดา มารดาหรือเพื่อนวัยเดียวกัน พฤติกรรม “ดี” หมายถึง พฤติกรรมที่จะทําใหผูอื่นชอบและยอมรับ หรือไมประพฤติผิดเพราะเกรงวาพอแมจะเสียใจ

ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบ (“Law-and-order” Orientation) จะใชหลักทําตามหนาที่ของสังคม โดยปฏิบัติตามระเบียบของสังคมอยางเครงครัด เรียนรูการเปนหนวยหนึ่งของสังคม ปฏิบัติตามหนาที่ของสังคมเพื่อดํารงไวซึ่งกฎเกณฑในสังคม พบในอายุ 13 -16 ป ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อทําตามหนาที่ของสังคม โดยบุคคลรูถึงบทบาทและหนาที่ของเขาในฐานะเปนหนวยหนึ่งของสังคมนั้น จึงมีหนาที่ทําตามกฎเกณฑตางๆ ที่สังคมกําหนดให หรือคาดหมายไว โคลเบิรก อธิบาย

Page 28: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

20

วา เหตุผลทางจริยธรรมในขั้นนี้ ถือวาสังคมจะอยูดวยความมีระเบียบเรียบรอยตองมีกฎหมายและขอบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรมถูกตองคือ คนที่ปฏิบัติตามระเบียบบังคับหรือกฎหมาย ทุกคนควรเคารพกฎหมาย เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยและความเปนระเบียบของสังคม ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการดวยวิจารณญาณ หรือระดับเหนือกฎเกณฑสังคม (Post - Conventional Level) พัฒนาการทางจริยธรรมระดับนี้ เปนหลักจริยธรรมของผูมีอายุ 20 ป ขึ้นไป ผูทําหรือผูแสดงพฤติกรรมไดพยายามที่จะตีความหมายของหลักการและมาตรฐานทางจริยธรรมดวยวิจารณญาณ กอนที่จะยึดถือเปนหลักของความประพฤติที่จะปฏิบัติตาม การตัดสินใจ “ถูก” “ผิด” “ไมควร” มาจากวิจารณญาณของตนเอง ปราศจากอิทธิพลของผูมีอํานาจหรือกลุมที่ตนเปนสมาชิก กฎเกณฑ – กฎหมาย ควรจะตั้งบนหลักความยุติธรรม และเปนที่ยอมรับของสมาชิกของสังคมที่ตนเปนสมาชิก ทําใหบุคคลตัดสินขอขัดแยงของตนเองโดยใชความคิดไตรตรองอาศัยคานิยมที่ตนเชื่อและยึดถือเปนเครื่องชวยในการตัดสินใจ จะปฏิบัติตามสิ่งที่สําคัญมากกวาโดยมีกฎเกณฑของตนเอง ซึ่งพัฒนามาจากกฎเกณฑของสังคม เปนจริยธรรมที่เปนที่ยอมรับทั่วไป โคลเบิรกแบงพัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เปน 2 ขั้น คือ ขั้นที่ 5 สัญญาสังคมหรือหลักการทําตามคํามั่นสัญญา(Social Contract Orientation) บุคคลจะมีเหตุผลในการเลือกกระทําโดยคํานึงถึงประโยชนของคนหมูมาก ไมละเมิดสิทธิของผูอื่นสามารถควบคุมตนเองได เคารพการตัดสินใจที่จะกระทําดวยตนเอง ไมถูกควบคุมจากบุคคลอื่นมีพฤติกรรมที่ถูกตองตามคานิยมของตนและมาตรฐานของสังคม ถือวากฎเกณฑตางๆเปลี่ยนแปลงได โดยพิจารณาประโยชนของสวนรวมเปนหลัก พบไดในวัยรุนตอนปลายและวัยผูใหญ ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อทําตามมาตรฐานของสังคม เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน โดยบุคคลเห็นความสําคัญของคนหมูมากจึงไมทําตนใหขัดตอสิทธิอันพึงมีไดของผูอื่น สามารถควบคุมบังคับใจตนเองได พฤติกรรมที่ถูกตองจะตองเปนไปตามคานิยมสวนตัว ผสมผสานกับมาตรฐานซึ่งไดรับการตรวจสอบและยอมรับจากสังคม โคลเบิรก อธิบายวา ขั้นนี้เนนถึงความสําคัญของมาตรฐานทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนสวนใหญในสังคมยอมรับวาเปนสิ่งที่ถูกสมควรที่จะปฏิบัติตาม โดยพิจารณาถึงประโยชนและสิทธิของบุคคลกอนที่จะใชเปนมาตรฐานทางจริยธรรม ไดใชความคิดและเหตุผลเปรียบเทียบวาสิ่งไหนผิดและสิ่งไหนถูก ในขั้นนี้การ “ถูก” และ “ผิด” ขึ้นอยูกับคานิยมและความคิดเห็นของบุคคลแตละบุคคล แมวาจะเห็นความสําคัญของสัญญาหรือขอตกลงระหวางบุคคล แตเปดใหมีการแกไข โดยคํานึงถึงประโยชนและสถานการณแวดลอมในขณะนั้น ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล (Universal Ethical Principle Orientation) เปนขั้นที่เลือกตัดสินใจที่จะกระทําโดยยอมรับความคิดที่เปนสากลของผูเจริญแลว ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อ

Page 29: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

21

ทําตามหลักการคุณธรรมสากล โดยคํานึงความถูกตองยุติธรรมยอมรับในคุณคาของความเปนมนุษย มีอุดมคติและคุณธรรมประจําใจ มีความยืดหยุนและยึดหลักจริยธรรมของตนอยางมีสติ ดวยความยุติธรรม และคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน เคารพในความเปนมนุษยของแตละบุคคล ละอายและเกรงกลัวตอบาป พบในวัยผูใหญที่มีความเจริญทางสติปญญา โคลเบิรก อธิบายวา ขั้นนี้เปนหลักการมาตรฐานจริยธรรมสากล เปนหลักการเพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคในสิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของมนุษยทุกคน ในขั้นนี้สิ่งที่ “ถูก” และ “ผิด” เปนสิ่งที่ขึ้นมโนธรรมของแตละบุคคลที่เลือกยึดถือ

โคลเบิรก เชื่อวาพัฒนาการทางจริยธรรมเปนผลจากการพัฒนาการของโครงสรางทางความคิดความเขาใจเกี่ยวกับจริยธรรม นอกจากนั้น โคลเบิรก ยังพบวา สวนมากการพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กจะไมถึงขั้นสูงสุดในอายุ 10 ป แตจะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจากอายุ 11-25 ป การใชเหตุผลเพื่อการตัดสินใจที่จะเลือกกระทําอยางใดอยางหนึ่ง จะแสดงใหเห็นถึงความเจริญของจิตใจของบุคคล การใชเหตุผลเชิงจริยธรรม ไมไดขึ้นอยูกับกฎเกณฑของสังคมใดสังคมหนึ่งโดยเฉพาะ แตเปนการใชเหตุผลที่ลึกซึ้งยากแกการเขาใจยิ่งขึ้นตามลําดับของวุฒิภาวะทางปญญา

บอเกิดของเหตุผลเชิงจริยธรรมไดมาจากการพัฒนาการทางความคิด ในขณะที่เด็กไดมีโอกาสติดตอสัมพันธกับผูอื่น การไดเขากลุมทางสังคมประเภทตาง ๆ จะชวยใหผูที่มีความสามารถไดเรียนรูบทบาทของตนเองและของผูอื่น อันจะชวยใหเขาพัฒนาทางจริยธรรมในขั้นสูงขึ้นไปไดรวดเร็ว โคลเบิรก เชื่อวา การพัฒนาทางจริยธรรมนั้นมิใชการรับความรูจากการพร่ําสอนของผูอื่นโดยตรง แตเปนการผสมผสานระหวางความรูเกี่ยวกับบทบาทของผูอื่นดวย รวมทั้งขอเรียกรองและกฎเกณฑของกลุมตางๆที่อาจจะขัดแยงกัน แตในขณะเดียวกันก็ผลักดันใหบุคคลพัฒนาไปตามขั้นตอน ในทิศทางเดียวกันเสมอ ไมวาบุคคลจะอยูในกลุมใดหรือสังคมใดก็ตาม

Page 30: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

22

ตารางที่ 1 การแสดงขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก

ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม ระดับของจริยธรรมขั้นที่ 1 บุคคลใชเกณฑทางจริยธรรม โดยยึดหลักการหลบหลีกการลงโทษ การเชื่อฟงเปนเกณฑในการตัดสิน (2-7 ป)ขั้นที่ 2 บุคคลใชหลักเกณฑเปนเครื่องมือเพื่อประโยชนของตนหรือการแสวงหารางวัล เปนระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑของสังคม (7-10 ป)

(1) ระดับกอนเกณฑ (2-10 ป)

ขั้นที่ 3 บุคคลทําตามความคาดหวังและการยอมรับในสังคม ยึดหลักการทําตามที่ผูอื่นเห็นชอบ (10-13 ป)ขั้นที่ 4 บุคคลยึดกฎและระเบียบ การทําตามหนาที่ เปนหลักการทําตามหนาที่ในสังคม เปนระดับจริ ยธรรมต ามวิจ าร ณญาณ ห รือ ระ ดับ เหนื อกฎเกณฑของสังคม (13-16 ป)

(2) ระดับทางกฎเกณฑ (10-16 ป)

ขั้นที่ 5 บุคคลยึดหลักสัญญาประชาคม หรือหลักการทําตามคํามั่นสัญญา (16 ปขึ้นไป)ขั้นที่ 6 บุคคลยึดหลักการคุณธรรม อุดมคติสากล (ผูใหญ)

(3) ระดับเหนือกฎเกณฑ

สวนการพัฒนาการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมนั้น โคลเบิรก เชื่อวาเปนไปตามนั้น จากขั้นที่หนึ่งผานแตละขั้นไปจนถึงขั้นที่หก บุคคลจะพัฒนาขามขั้นไมได เพราะการใชเหตุผลในขั้นสูงขึ้นไป จะเกิดขึ้นไดดวยการมีความสามารถในการใชเหตุผลในขั้นที่ต่ํากวาอยูกอนแลว และตอมาบุคคลไดรับประสบการณทางสังคมใหมๆ หรือสามารถเขาใจความหมายของประสบการณเกาๆ ไดดีขึ้น จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิดและเหตุผล ทําใหการใชเหตุผลในขั้นที่สูงตอไปมีมากขึ้นเปนลําดับ สวนเหตุผลในขั้นที่ต่ํากวาก็จะถูกใชนอยลงทุกทีจนถูกทิ้งไปในที่สุด นอกจากนั้นมนุษยทุกคนก็ไมจําเปนตองพัฒนาทางจริยธรรม ไปถึงขั้นสุดทายแตอาจจะหยุดชะงักที่ขั้นใดขั้นหนึ่งที่ต่ํากวาได โคลเบิรกพบวา ผูใหญสวนมากจะพัฒนาการถึงขั้นที่ 4 เทานั้น

Page 31: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

23

ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2544) ไดทําการศึกษาศึกษาถึงสาเหตุพฤติกรรมของคนดีและ

คนเกง โดยไดทําการประมวลผลการศึกษาที่เกี่ยวของกับการศึกษา สาเหตุของพฤติกรรมตาง ๆ ของคนไทยทั้งเด็กและผูใหญ อายุตั้งแต 6-60 ป วาพฤติกรรมเหลานั้น มีสาเหตุทางจิตใจอะไรบาง และไดนํามาประยุกตเปนทฤษฎีตนไมจริยธรรมสําหรับคนไทยขึ้น โดยแบงตนไมจริยธรรม ออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนที่หนึ่ง ไดแก ดอกและผลไมบนตน ที่แสดงถึงพฤติกรรมการทําดีละเวนชั่วและพฤติกรรมการทํางานอยางขยันขันแข็งเพื่อสวนรวม ซึ่งลวนแตเปนพฤติกรรมของพลเมืองดี พฤติกรรมที่เอื้อเฟอตอการพัฒนาประเทศ

สวนที่สอง ไดแก สวนลําตนของตนไม แสดงถึงพฤติกรรมการทํางานอาชีพอยาง ขยันขันแข็ง ซึ่งประกอบดวยจิตลักษณะ 5 ดาน คือ

1) เหตุผลเชิงจริยธรรม 2) มุงอนาคตและการควบคุมตนเอง 3) ความเชื่ออํานาจในตน 4) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ 5) ทัศนคติ คุณธรรมและคานิยมสวนที่สาม ไดแก รากของตนไม ที่แสดงถึงพฤติกรรมการทํางานอาชีพอยางขยันขันแข็ง

ซึ่งประกอบดวยจิตลักษณะ 3 ดาน คือ 1) สติปญญา 2) ประสบการณทางสังคม 3) สุขภาพจิต

Page 32: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

24

แผนภาพที่ 1 ทฤษฎีตนไมจริยธรรม แสดงจิตลักษณะพื้นฐาน และองคประกอบทางจิตใจของพฤติกรรมทางจริยธรรม (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2544)

จิตลักษณะทั้งสามนี้อาจใชเปนสาเหตุของการพัฒนาจิตลักษณะ 5 ประการ ที่ลําตนของตนไมก็ได กลาวคือ บุคคลจะตองมีลักษณะพื้นฐานทางจิตใจ 3 ดาน ในปริมาณที่สูงพอเหมาะกับอายุ จึงจะเปนผูที่มีความพรอมที่จะพัฒนาจิตลักษณะทั้ง 5 ประการ ที่ลําตนของตนไม โดยที่จิตทั้ง 5 ลักษณะนี้จะพัฒนาไปเองโดยอัตโนมัติ ถาบุคคลที่มีความพรอมทางจิตใจ 3 ดานดังกลาวและอยูในสภาพแวดลอมทางครอบครัวและสังคมที่เหมาะสม นอกจากนั้นบุคคลยังมีความพรอมที่จะรับการพัฒนาจิตลักษณะบางประการใน 5 ดานนี้ โดยวิธีการอื่น ๆ ดวย

Page 33: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

25

ฉะนั้นจิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการ จึงเปนสาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและของคนเกงนั่นเอง นอกจากนี้จิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการที่รากนี้ อาจเปนสาเหตุรวมกับจิตลักษณะ 5 ประการที่ลําตน หากบุคคลมีพื้นฐานทางดานจิตใจเปนปกติและไดรับประสบการณทางสังคมที่เหมาะสม บุคคลนั้นก็จะสามารถพัฒนาโดยธรรมชาติ แตในสังคมไทยมีการศึกษาพบวาพัฒนาการหยุดชะงักอยางไมเหมาะสมกับวัย กลาวคือ ผูใหญจํานวนหนึ่งซึ่งสมควรพัฒนาการใชเหตุผลไปถึงขั้นสูงแลวแตยังหยุดชะงักที่ขั้นต่ํา เชน ยังยึดหลักแลกเปลี่ยนผลประโยชนสวนตนและสวนพวกพอง เปนตน บุคคลที่มีแรงจูงใจดังกลาวจึงยังไมสามารถคิดประโยชนเพื่อสังคมได

ดังนั้น บุคคลจึงควรมีการตรวจสอบจริยธรรมของตัวเองอยูตลอดเวลา การบันทึกกิจกรรมที่ไดกระทําแตละวันทําใหไดขอมูล เพื่อใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมให ดีงามยิ่งขึ้น ซึ่งการบันทึกขอมูลการปฏิบัติหรือกิจกรรมที่ไดกระทํา เสมือนการปฏิบัติธรรมโดยวิธี นั่งสมาธิ เพราะในขณะที่จิตกําลังทบทวนสิ่งที่ไดกระทํา เสมือนเปนการพิจารณาตัวเอง พิจารณาการกระทําดีและไมดี ในขณะที่จิตพิจารณาก็จะเกิดสมาธิ และเมื่อไดพิจารณาตนเองแลว ก็สามารถเขาใจตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม ซึ่งเปนเสมือนเกิดปญญาในการนําพาชีวิตผานพนทุกขได

ทฤษฎีจิตวิเคราะหของบุคคล (Psycho-Analytic Theory) กลาวถึง จริยธรรมกับมโนธรรมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มนุษยอยูในสังคมกลุมใดก็จะเรียนรูความรับผิดชอบชั่วดีจากสิ่งแวดลอมในสังคมนั้น จนมีลักษณะพิเศษของสังคมที่เรียกวา เอกลักษณเปนกฎเกณฑใหประพฤติปฏิบัติตามขอกําหนดโดยอัตโนมัติ คนที่ทําชั่วแลวรูสึกสํานึกเกิดหิริโอตตัปปะละอายใจตนเอง ถือวาไดรับการลงโทษดวยตนเอง เมื่อสํานึกแลวพึงละเวนไมปฏิบัติอีก โดยไมตองมีสิ่งควบคุมจากภายนอกเปนการสรางมโนธรรมขึ้นมาโดยไมจําเปนตองสนใจองคประกอบของลําดับขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมในลักษณะทฤษฎีเชนนี้ บทบาทของการศึกษา คือ การพัฒนาดานจิตใจเพื่อเสริมสรางกําลังคนที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามที่ระบบเศรษฐกิจและสังคมตองการ ปจจัยที่สําคัญที่สุดคือการศึกษาเพื่ออบรมฝกฝนการนําสติปญญาไปใชใหเปนประโยชนแกกลายิ่งขึ้นพยายามแสวงหาจุดมุงหมายใหแกชีวิต คือความเปนอยูอยางดีที่สุดหรือการมีอิสรภาพ การศึกษาจึงเปนกิจกรรมของชีวิตโดยชีวิต เพื่อชีวิต เปนความสามารถเพื่อปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมและรูจักเกี่ยวของ

ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Leaning Theory) อธิบายการเกิดของจริยธรรมวาเปนกระบวนการสังคมประกิต (Socialization) โดยการซึมซับกฎเกณฑตาง ๆ จากสังคมที่เติบโตมารับ

Page 34: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

26

เอาหลักการเรียนรูเชื่อมโยงกัน หลักการเสริมแรงและการทดแทนสิ่งเรา (Stimulus Substitution) รับแนวคิดทฤษฎีจิตวิเคราะหเปนรูปแบบโดยยึดถือวา การเรียนรูคือการสังเกตเลียนแบบจากผูใกลชิดเพื่อแรงจูงใจ คือเปนที่รักที่ยอมรับในกลุมตนแบบเพื่อเปนพวกเดียวกันในลักษณะ เชน สถาบันหรือกลุมสังคม อิทธิพลตอการปลูกฝงและเสริมสรางจริยธรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งคือ โรงเรียนจะไดรับความคาดหวังจากสังคมอยางมากในการเปนสถาบันที่ปลูกฝงรูปแบบและเสริมสรางการเลียนแบบจากตัวอยางในสังคมใหแกนักเรียน พึงระมัดระวังในการสอน เพราะถาขาดความสามารถในการอธิบายเหตุผลใหเด็กเลียนแบบ ใชอารมณและวางอํานาจแทน จะทําใหเด็กรูสึกเปนศัตรูตอผูควบคุมพฤติกรรมทุกระดับ ตั้งแตบิดามารดา ครู ไปจนถึงตํารวจ พึงอบรมใหเด็กรูจักผิดชอบชั่วดี รูสึกละอายที่ทําชั่ว ความคิด เหตุผล และความสม่ําเสมอในการลงโทษและใหรางวัลเด็ก เปนที่ยอมรับวาโรงเรียนเปนสถาบันที่อบรมกลอมเกลาใหนักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมเปนพลเมืองที่ดีมีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติ จึงมีหนาที่ตองจัดและพัฒนาสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนใหเอื้ออํานวยตอการปลูกฝงและเสริมสรางจริยธรรม (วศิน อินทสระ, 2541: 17)

ทฤษฎีพัฒนาการทางพุทธิปญญา (Cognitive Development Theory) ทฤษฏีนี้มีความเชื่อเบื้องตน ดังน้ี 1. พัฒนาการทางจริยธรรมมีโครงสรางพื้นฐานทางพุทธปญญา (Cognitive) และมีองคประกอบทางจรรยาวิพากษ 2. แรงจูงใจเบื้องตนเกี่ยวกับจริยธรรม คือแรงจูงใจเกี่ยวกับการยอมรับ (Acceptance) การมีความสามารถ (Competence) การเคารพตนเองหรือเขาใจตนเองอยางถองแท 3. ลักษณะสําคัญของการพัฒนาการทางจริยธรรม คือ พัฒนาการจะเปนสากล มีขั้นตอนเหมือนกันทุกวัฒนธรรม เพราะในทุกวัฒนธรรมมีการปฏิสัมพันธกันในสังคม มีการสวมบทบาทและมีการขัดแยงในสังคม ซึ่งตองการบูรณาการทางจริยธรรม 4. กฎและเกณฑปกติเบื้องตนของจริยธรรม เกิดจากประสบการณที่ไดจากการมีปฏิสัมพันธทางสังคมมากกวา เกิดการสรางกฎเกณฑภายในตนเอง จึงไมนิยมขั้นพัฒนาการจากกฎภายใน แตเกิดจากการปฏิสัมพันธระหวางตนกับคนอื่น 5. สิ่งแวดลอมมีผลตอการพัฒนาทางจริยธรรม พิจารณาจากคุณภาพและขอบเขตโดย ทั่ว ๆไปของสิ่งเราทางพุทธิปญญาและทางสังคมตลอดชวงการพัฒนาของเด็กมากกวาเกิดจากประสบการณเฉพาะอยางจากพอแมหรือประสบการณจากวินัย การลงโทษหรือรางวัล โดยสรุปไดวาทฤษฎีพุทธิปญญานี้มีแนวคิดวา พัฒนาการทางจริยธรรมของมนุษยมีแนวทางและขั้นตอนที่เปนสากล สามารถศึกษาไดกับคนในสังคมตาง ๆ

Page 35: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

27

ทฤษฏีพัฒนาการทางคุณธรรมจริยธรรมของมนุษย “จริยธรรมเกิดจากแรงจูงใจในการปฏิบัติตนสัมพันธกับสังคม การพัฒนาจริยธรรมจึงตองมีการพิจารณาเหตุผลเชิงจริยธรรมตามระดับสติปญญาของแตละบุคคล ซึ่งมีวุฒิภาวะสูงขึ้น การรับรูจริยธรรมก็พัฒนาขึ้นตามลําดับ” การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของมนุษยมีขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นกอน จริยธรรมยังไมเกิดจริยธรรม แตสามารถเรียนรูจากประสาทสัมผัสและมีการพัฒนาการทางสติปญญาในขั้นตอนตน 2. ขั้นเชื่อฟงคําสั่ง เชื่อฟงและปฏิบัติตามคําสั่งสอนของผูใหญ มีการคิดกอนปฏิบัติการตามคําสั่ง ซึ่งในขณะแรกเริ่มจะไมคํานึงถึงเหตุผลของคําสั่งนั้น 3. ขั้นยึดหลักแหงตน เกิดหลักความคิด มีการพัฒนาการทางสติปญญาสูงขึ้นตามประสบการณทางสังคม คลายความเกรงกลัวอํานาจภายนอก เริ่มมีความเปนตัวของตัวเองมากข้ึน

ทานพุทธทาสภิกขุ ไดกลาวแนวความคิดไวในคําอนุโมทนาเพื่อการศึกษาที่บริสุทธิ์ตอนหนึ่งวา “...การศึกษาที่จะชวยมนุษยไดแทจริงนั้น มิใชการเรียนหนังสือหรือวิชาชีพ แตตองเปนการเรียนธรรมะ เพื่อปฏิบัติตนใหมีศีลธรรม ถามิฉะนั้นแลว ความฉลาดและความร่ํารวยที่ไดมาจากการเลาเรียนนั้น จะกลายเปนสิ่งสงเสริมความเห็นแกตัว ทําตนเองใหตกจมอยูภายใตอํานาจของกิเลส คือ ตออุบายทั้งเปน ๆ นั้นเอง แลวยังพลอยทําใหเพื่อนมนุษยตองเดือนรอนเพราะความเปนอันธพาลของตนในลักษณะเชนนั้นดวย การศึกษาที่แทจริงยอมสงเสริมศีลธรรมทุกขั้นตอนแหงวิวัฒนาการของมนุษย การศึกษาที่บริสุทธิ์นั้นยิ่งเพื่อใหผูอื่นมากขึ้นเทาไร ก็ยิ่งบริสุทธิ์มากขึ้นเทานั้น บัดนี้ เรามีแตการศึกษาที่ทําลายตัวเองโดยไมรูสึกตัวไปเสียทั้งนั้นแลว จะเพื่อเปนไปเพื่อชวยผูอื่นไดอยางไร จะมีความรูสึกนึกคิดที่ไหนมาชวยผูอื่น โลกจึงมีแตการเอาเปรียบและเบียดเบียนกันอยางหนาแนน การศึกษาที่แทตองทําใหเรารูสึกรับผิดชอบรวมกันทั้งโลก เพื่อทุกคนเปนคนคนเดียวกัน...”

ในปจจุบันรัฐมีหนาที่จัดการศึกษาใหประชาชนทั้งประเทศ โดยมีวัตถุประสงค คือ การพัฒนาคนใหเปนคนดีมีศีลธรรม มีความรู ความสามารถ ที่จะอยูในสังคมอยางมีความสุข และสามารถชวยทําใหสังคมและประเทศชาติมีความผาสุก สงบสุข และความเจริญกาวหนาไปดวย จริยศึกษาหรือการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของประชาชนจึงเปนโครงสรางที่สมบูรณแบบ

2.1.1.4 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูและผูบริหารสถานศึกษาไดมีผูศึกษาศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรมของผูบริหารสถานศึกษาหลายทาน อาทิ สมใจ

เขียวสด (2534: 26 – 27) ทําการศึกษาเรื่อง คุณธรรมและ จริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผูบริหารสถานศึกษา ผูผลิตผูบริหารการศึกษาและผูบังคับบัญชาผูบริหาร

Page 36: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

28

สถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาไดขอควรกําหนดเปนแนวทางพฤติกรรมคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหาร และไดเห็นวา ผูบริหารควรมีพฤติกรรมจริยธรรมที่พึงประสงคตามหลักธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนหลักธรรมที่ใชในการครองตน ครองคน และครองงาน โดยไดสรุปหมวดธรรมที่สามารถนํามาประยุกตใชเพื่อเปนปจจัยในการสงเสริมความเปนนักบริหารการศึกษาที่ดี เปน 3 กลุมหมวดธรรมดังนี้

กลุมที่ 1 หมวดธรรมในการครองตน ไดแก สติ – สัมปชัญญะ หิริโอตัปปะ สัปปุริสธรรม 7 และนาถกรณธรรม 10 ซึ่งเปนหมวดธรรมที่นําไปสูความสําเร็จในการปกครองตนเอง

กลุมที่ 2 หมวดธรรมในการครองคน ไดแก ขันติ – โสรัจจะ พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 และอคติ 4 ซึ่งเปนหมวดธรรมที่นําไปสูความสําเร็จในการปกครองคนดวยความเปนธรรม

กลุมที่ 3 หมวดธรรมในการครองงาน ไดแก โยนิโสมนสิการ อิทธิบาท 4 คารวตา 6 และทศพิธราชธรรม ซึ่งเปนหมวดธรรมที่นําไปสูความสําเร็จในการทํางาน

1. พฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองตนความหมายและความสําคัญของหลักการครองตน มีผูศึกษาวิจัยไดใหความหมายไวดังน้ีเกษม วัฒนชัย (2552) กลาววา หลักและแนวปฏิบัติในการครองตน คือ หลักการครอง

ชีวิตของคฤหัสถ กลาวคือปฏิบัติตามฆราวาสธรรม 1 ไดแก1. สัจจะ มีสองความหมาย ความหมายแรกคือ ความจริง สวนอีกความหมายคือ พูดถึง

การใชชีวิตโดยยึดความจริงเปนที่ตั้ง ไดแก การเปนคนถือความจริงเปนหลักธรรม สําหรับคิด-พูดและกระทํา เรียกวา เปนคนจริง คนซื่อสัตย ซื่อตรง รวมทั้งการใชความจริงเปนหลักในการกําหนดความสัมพันธกับผูอื่น เรียกวา เปนจริงใจ พูดจริงและทําจริง

2. ทมะ มีสองความหมายเชนกัน ความหมายแรก คือ การฝกใจตนเอง หรือขมใจตนเองไมใหเปนทาสของกิเลส ไดแก โลภ โกรธ หลง เรียกวา เรียนรูดวยตนเอง ฝกใจตนเอง ฝกนิสัยตนเอง จนสามารถควบคุมใจ ควบคุมวาจา และควบคุมการกระทํา ใหเปนไปในสิ่งที่ดีที่ควรได อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง การแกไขขอบกพรองของตนเอง และการปรับปรุงตนใหเจริญกาวหนาดวยสติปญญา ทมะมีจุดมุงหมายที่ทําใหเกิดปญญา

3. ขันติ เปนความอดทนที่ทํางานดวยความขยันหมั่นเพียร โดยมุงมั่นอยูที่จุดหมายของงาน ไมทอถอย หนักเอาเบาสู ไมหวั่นไหว แตเปนคนแข็งแกรง ทนทานตออุปสรรค จนสุดทายไปถึงซึ่งความสําเร็จของงาน หรือความสําเร็จในแตละชวงชีวิต

4. จาคะ เปนคนใจกวางพรอมรับฟงความคิดเห็น และความตองการของผูอื่น เปนคนไมเห็นแกตนหรือเอาแตใจ แตพรอมที่จะรวมมือชวยเหลือเอื้อเฟอเผ่ือแผ เสียสละแมความสุขสบาย

Page 37: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

29

สวนตนหรือผลประโยชนสวนตนโกสินทร วรเศรษฐสิงห (2552) กลาววา การครองตนบุคคลจะตองประพฤติปฏิบัติตนให

เปนคนดีมีคุณภาพ เปนตัวอยางที่ดี เปนแบบอยางแกสมาชิก ยึดถือเปนแนวปฏิบัติ เสาะแสวงหาความรูมาพัฒนาการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพและเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานตลอดเวลาศึกษาขอระเบียบกฎหมาย สภาพเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองใหมีความรูที่เปนปจจุบันทันสมัย เพื่อใหการวางตนที่ถูกตองและเหมาะสม

นิยม ไผโสภา (2543) กลาววา หลักการครองตนเพื่ออยูรวมกับบุคคลจํานวนมาก จะตองใชผลงานเปนสิ่งที่ผูบริหารหรือหนวยงานจะตองนํามาใชยึดเปนหลักในการปฏิบัติตน โดยเฉพาะผูบริหารจะตองแสดงตนตอผูรวมงานและบุคคลอื่นๆ อยูเสมอ พฤติกรรมทุกๆ อยางของผูบริหารหรือหัวหนาหนวยงานจะเปนเปาสายตาแกผูพบเห็นและภาพที่ปรากฏแกสายตาครั้งแรกจะทําใหเกิดความทรงจํา ขอคิดและขอวินิจฉัยทั้งในทางดีและทางไมดี ตลอดจนการติชมของผูพบเห็น

2. พฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองคนความหมายและความสําคัญของหลักการครองคน มีผูศึกษาวิจัยไดใหความหมายไวดังนี้นิยม ไผโสภา (2543) กลาววา การครองคนเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับผูบริหารในการ

ที่จะทํางานใหสําเร็จลุลวงไปดวยความเรียบรอย คนทุกคนตองอยูในสังคม ตองทํางานกับคน เมื่อตองอยูกับคน ตองการทํางานกับคน ความสัมพันธที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวของจะทําใหการปฏิบัติงานและองคการประสบความสําเร็จไดตามวัตถุประสงค

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย โตวณะบุตร (2544) กลาววา คุณธรรมตอผูอื่นและสังคม ซึ่งหมายถึงการครองคนนั้น หมายถึง การเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิตและการทํางาน รูจิตใจคน รูจริตของเพื่อนรวมงานเพื่อใชงานใหเหมาะสม รูภาวะของคน ความตองการของบุคคลทองถิ่นและรูจักทันตนเอง รูจักใชหลักมนุษยสัมพันธเปนแนวทางครองใจคน สรางน้ําใจในการทํางาน ตระหนักในการนําความคิดและการปฏิบัติเพื่อแกปญหาและพัฒนาเสริมสรางภูมิธรรม ภูมิปญญา

องอาจ เหลืองออน (2547) กลาววา การครองคนเปนหลักหรือแนวทางประพฤติปฏิบัติตนดวยความอดทน ยุติธรรม อันทําใหเกิดความรัก เคารพ นับถือ และยึดเหนี่ยวน้ําใจของบุคคลอื่น โดยสามารถชนะใจผูใตบังคับบัญชา โดยไมเอารัดเอาเปรียบ หรือลวงล้ําก้ําเกินสิทธิและประโยชนของผูใตบังคับบัญชา ซึ่งเปนคุณลักษณะอันจําเปนสําหรับผูบริหารที่พึงมีตอผูใตบังคับบัญชา เพราะเปนหลักธรรมที่เกี่ยวกับการอนุเคราะห ความเมตตาและการให ผูบริหารควรประพฤติปฏิบัติเพื่อใหเปนธรรมในการครองคน อันจะทําใหสามารถครองหัวใจนายและลูกนอง ซึ่งเปนผูมีบทบาทสําคัญตอการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามความคาดหวังของตนเองและสังคม

Page 38: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

30

ผูปกครองจะตองกอปรไปดวยธรรมสําหรับการประพฤติปฏิบัติของผูใหญหรือผูปกครองไดแก พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมประจําใจของผูประเสริฐหรือผูมีจิตยิ่งใหญกวางขวางดุจพรหม คือ (กิตติทัศน ผกาทอง, 2551)

1. เมตตา (ความรัก) คือ ความปรารถนาดี มีไมตรี ตองการชวยเหลือใหทุกคนประสบประโยชนและความสุข

2.. กรุณา (ความสงสาร) คือ อยากชวยเหลือผูอื่นใหพนจากความทุกขใฝใจที่จะปลดเปลื้องบําบัดความทุกยาก เดือดรอนของคน และสัตวทั้งปวง

3. มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี) คือ เมื่อเห็นผูอื่นอยูดีมีความสุข ก็มีใจแชมชื่นเบิกบาน เมื่อเห็นเขาประสบความสําเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไป ก็พลอยยินดีบันเทิงใจดวย

4. อุเบกขา (ความมีใจเปนกลาง) คือ มองตามความเปนจริง โดยวางจิตเรียบสม่ําเสมอมั่นคงเที่ยงตรงดุจตราชั่ง มองเห็นการที่บุคคลจะไดรับผลดีหรือชั่วสมควรแกเหตุที่ตนประกอบ พรอมที่จะวินิจฉัย วางตน และปฏิบัติไปตามความเที่ยงธรรม

3. พฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองงานความหมายและความสําคัญของหลักการครองงาน มีผูศึกษาวิจัยไดใหความหมายไวดังนี้เกษม วัฒนชัย (2552) กลาววา หลักและแนวปฏิบัติในการครองงาน คือ ใหปฏิบัติตาม

อิทธิบาท4 ซึ่งเปนเครื่องมือไปสูความสําเร็จไดผลตามที่เปาหมาย1. ฉันทะ ความพอใจ คือ ตองการจะทํางานนั้น รักที่จะทํางานนั้น ไมถูกใครบังคับใหทํา

ทําดวยใจชอบใจรัก2. วิริยะ ความเพียร คือ ทุมเท ขยันทํางานอยางตอเนื่อง ไมทอแทแตเขมแข็ง อดทนสูงาน

นั้นจนกวาจะสําเร็จ3. จิตตะ ความคิดเนนมั่น คือ ตั้งจิตตั้งใจทําดวยความคิดเนนมั่น ไมปลอยจิตใหฟุงซาน

เลื่อนลอย4. วิมังสา การไตรตรอง เริ่มตั้งแตการวางแผน ตรวจตรา ตรวจสอบ หมั่นใชปญญา

ใครครวญ ทดลอง แกไขปรับปรุงและวัดผลจนงานสําเร็จนิยม ไผโสภา (2543) กลาววา การครองงานของบุคคลหรือผูบริหารหนวยงานมี

ความสําคัญเริ่มตั้งแตการกําหนดรูปแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงานและวิธีการทํางานใหบรรลุเปาหมายดวยการวางแผนที่ชัดเจนตอเนื่องและนําไปปฏิบัติได ผูบริหารจึงจําเปนจะตองมีความรูในกระบวนการบริหารหรือทฤษฎีของการบริหารงานและหลักการครองงาน แลวนํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับหนวยงานและบุคลากรในหนวยงาน ตลอดจนสถานการณในขณะนั้น

Page 39: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

31

สุเนตร ทองคํา (2544) กลาววา การครองงาน หมายถึง การกระทํารวมทั้งทาทีที่ผูบริหารแสดงออกมา เพื่อใหผูรวมงานหรือผูเกี่ยวของปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จตามความประสงค การครองงานสําหรับผูบริหารหรือหัวหนาหนวยงาน ควรจะตองมีความสามารถในการวางแผน จัดองคกร แตงตั้งบุคลากร อํานวยการและควบคุม หลักธรรมที่เกี่ยวของกับการครองงานไดแก อิทธิบาท

องอาจ เหลืองออน (2547) กลาววา การครองงานเปนหลักธรรมที่นําไปสูความสําเร็จ เพราะเปนหลักธรรมที่ผูปฏิบัติแลวเกิดความเจริญในหนาที่การงาน บุคคลหรือผูบริหารหนวยงานควรประพฤติปฏิบัติ เพื่อใหบังเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแกงาน สามารถทํางานสําเร็จตามเปาหมายดวยความเรียบรอย รวดเร็ว ราบรื่น และถูกตองตามระเบียบของทางราชการ อันจะสงผลดีตอตนเองและสังคม ตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารที่ควรจะตองดําเนินการใหงานบริหารประสบความสําเร็จและเปนที่พึงพอใจโดยทั่วไป

เมื่อกลาวถึงพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองงาน พบวา มีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาซึ่งเปนที่ยอมรับในดานนี้ คือ หลักอิทธิบาท 4 ซึ่งมีผูใหความหมายดังตอไปนี้ อิทธิบาท 4 นั้นผูศึกษาไดศึกษาตามหลักคําสั่งสอนของพระพุทธเจาเพื่อจะใชหลักการและแนวคิดใหประสบผลสําเร็จตามหลักอิทธิบาท ที่ปรากฏในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท ที่ไดตรัสไวในพระไตรปฎก เพื่อจะใหเปนขอปฏิบัติหรือ เปนแนวทางใหประสบผลสําเร็จและศึกษาเอกสาร เพื่อในการปฏิบัติธรรมก็ดี ในการเลาเรียนศึกษา หรือประกอบการงานก็ดีเมื่อตองการสมาธิเพื่อใหกิจที่ทํานั้นดําเนินไปอยางไดผลดีก็พึงปลุกเลาและชักจูงอิทธิบาท 4 อยางนี้ ใหเกิดเปนองคธรรมเดนนําขึ้นสักขอหนึ่ง แลวสมาธิความสุข สบายใจและการทํางานที่ไดผลก็หวังไดเปนอยางมากกวาจะเกิดมีตามมาเองพรอมกันนั้น การฝกสมาธิหรือการปฏิบัติธรรมสวนหนึ่งก็จะเกิดมีขึ้นในหองเรียน ในบาน นา ในที่ทํางานและสถานที่ทุกๆ แหง

หลักการครองตน ครองคน ครองงานของผูบริหารตามหลักคุณธรรม นําไปสูความสําเร็จในการบริหารงาน (นพดล สุวรรณสุนทร, 2556) ในปจจุบันสังคมไทยมีความคาดหวังและมีความตื่นตัวที่จะไดผูนํา ผูบริหารที่เปนคนดี มีความซื่อสัตย มีความตั้งใจในการบริหารงานเพื่อประโยชนสุขของประชาชนสวนรวม ซึ่งการที่จะเปนผูนํา ผูบริหารที่ดีพฤติกรรมอันพึงประสงคไดนั้นควรตองมีคุณธรรมพื้นฐานตอไปนี้

มีคุณธรรมตอตนเอง คือ มีการครองตนอยางเหมาะสมมีคุณธรรมตอผูรวมงาน คือ มีการครองคนอยางเหมาะสมมีคุณธรรมตอหนาที่การงาน คือ มีการครองงานอยางเหมาะสม

Page 40: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

32

มีคุณธรรมในการครองตน 1. ดํา เนินชีวิตตามหลักพุทธธรรมคําสอนทางพุทธศาสนา เพราะหลักธรรมของพระพุทธศาสนา เพราะหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเปนหลักสัจธรรม เปนสิ่งที่มีความจริงตามธรรมชาติ เชน มีเกิดก็มีดับไป “เกิดเทาไหรตายเทานั้น” “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” เปนตน การใชชีวิตอยางมีความสุขในเพศฆารวาสควรเริ่มตนที่การมีศีล 5 ไวประจําใจเปนอยางนอย กลาวคือ

เวนจากการทําบาปฆาสัตว เบียดเบียนผูอื่นเวนจากการลักขโมย อยากไดของจากผูอื่นที่ไมใชของตนเองเวนจากการประพฤติผิดในกามเวนจากการพูดปลด โกหก หลอกลวงเวนจากการดื่มสุรา ยาเสพติดใหโทษ

ในการประพฤติปฏิบัติในการใชชีวิตประจําวัน ตองอยูในภาวะที่มีความสมดุลยกันทุกดานจึงจะพบกับความสุขโดยแทจริง นอกจากการมีพื้นฐานดวยศีล 5 แลวยังมีหลักพุทธธรรม ซึ่งจะขอยกตัวอยางหลักพุทธธรรมบางหลักใหเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติใหมีการครองตนอยางสมบูรณ ดังนี้

สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นชอบสัมมาสังกัปปะ คือ ดําริชอบสัมมาวาจา คือ เจรจาชอบสัมมากัมมปนตะ คือ การกระทําชอบสัมมาอาชีวะ คือ เลี้ยงชีพชอบสัมมาวายามะ คือ ความพยายามชอบสัมมาสติ คือ ความระลึกชอบสัมมาสมาธิ คือ ความต้ังจิตมั่นชอบ

จากการใชพุทธธรรม ที่ เรียกวา มรรค 8 ใชเปนหลักการในการดําเนินชีวิตจากความหมายของมรรค 8 ทั้ง 8 ขอ จะทําชีวิตมีความสมดุลอันเปนรากฐานของความสุข ความเจริญทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และตนเอง

หลักพุทธธรรม สังหวัตถุ 4 เปนหลักพุทธธรรม ซึ่งจะเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ มีน้ําใจซึ่งกันและกัน เปนเหตุใหเกิดความรัก ความสามัคคี ดําเนินชีวิตดวยความสุข ดังนี้

ทาน คือ การใหเปนสิ่งของแกคนที่ควรมีจิตอาสา มีความเสียสละปยวาจา คือ การเจรจาพูดดวยวจีที่ออนหวาน มีวาจาเปนมิตร

Page 41: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

33

อัตถจริยา คือ การประพฤติในสิ่งที่เปนประโยชนทั้งตนเองและผูอื่นสมานนัตตา คือ การวางตนใหเหมาะสมกับฐานะตนเองสรุป พุทธธรรมดังตัวอยางที่ไดกลาวไวในขางตนพอสังเขปนั้นเปนหลักฐานที่นิยมอยาง

แพรหลาย แตสิ่งที่สําคัญที่สุดการครองตนใหมีพฤติกรรมอันประสงคเปนคนดีนี้มีรากฐานแหงความดีคือ การยึดถือปฏิบัติศีล 5 ประจําวันและดําเนินชีวิตดวยความไมประมาทดวยหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา ไดครองทุกสิ่งรอบขางตัวเราดวยตามรอยครอบครัวอยางแทจริง

มีคุณธรรมในการครองคน นอกจากการมีคุณธรรมและยึดถือหลักพุทธธรรมในการครองตนแลวยังตองมีคุณธรรม หลักพุทธธรรมในการครองคนดวย เพราะคนเราอยูคนเดียวทํางานคนเดียวไมได ยอมตองปฏิสัมพันธกับผูอื่นอยางมีคุณธรรม ซึ่งเปนธรรมดาของมนุษยในการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูนํา ผูบริหารยิ่งตองมีคุณธรรม ยึดหลักพุทธธรรมในการครองคน ครองใจคนใหมีจิตใจพองตองกันอันที่จะประกอบกิจการงานตาง ๆ รวมกันดวยความเต็มใจ จริงใจ และมีความสุข ซึ่งหลักพุทธธรรมที่ไวเปนแนวทางในการครองคน ซึ่งเปนพุทธธรรมของมนุษยสัมพันธ ยกตัวอยางพอเปนสังเขป ดังนี้

เมตตา : คือใหมีความรักใคร และปรารถนาที่จะใหผูอื่นมีความสุขกรุณา : ใหความสงสาร และคิดชวยเหลือใหผูอื่นดับทุกขมุฑิตา : คือ มีความยินดีเมื่อผูอื่นไดดี มีความสุขประสบผลสําเร็จในการดําเนินชีวิต และ

หนาที่การงาน และพรอมกับสนับสนุนผูใตบังคับบัญชา เพื่อรวมงาน มีความเจริญกาวหนาอุเบกขา : คือ วางตนเปนกลางปฏิบัติตอทุกคนที่เกี่ยวของดวยความยุติธรรม เสมอภาค

ปราศจากความลําเอียง

หลักพุทธธรรมที่ใชครองใจคนในการใหเปนมิตร มี 4 ประการ คือสัจจะ คือ การตั้งอยูในความสัตย พูดจริง มีความจริงใจในการคบมิตรธัมโม คือ การรูจักบาป-บุญ สิ่งที่เปนประโยชน และสิ่งที่ไมเปนประโยชน พึงละลึกอยู

เสมอวาสิ่งใดควรทํา สิ่งใดไมควรทําธิถิ คือ การมีความเพียรอันไดแก การทําความดี มีความเพียรในการปฏิบัติงานอยางเสมอ

ตนเสมอปลาย

Page 42: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

34

จาโค คือ มีความยินดีในการบริจาค แบงปน ชวยเหลือผูอื่นในการบริจาคดวยสิน เงินทอง แบงปนสิ่งของ ความรัก ความสามัคคี และแมกระทั่งเสียสละกาย กําลังใจ ที่จะชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกขละความสุข ตามความเหมาะสม

หลักพุทธธรรม ยุติธรรม 5 ในการครองคน ผูนําหรือผูบริหารตองมีหลักของความยุติธรรมในการปฏิบัติตอทุกคนที่เปนผูใตบังคับบัญชา หรือผูรวมงานดวยความเสมอภาคจึงเกิดความเลื่อมใส ศรัทธาในจริยา สรุปได 5 ประเภทคือ

สัจจวา คือ การแนะนําในสิ่งตาง ๆ เปนการดําเนินชีวิต การปฏิบัติดวยความจริงใจดวยใจที่สะอาด บริสุทธิ์

บัณฑิตา คือ มีความฉลาด และแนะนําสิ่งที่เปนสัจธรรมความจริง ความเลื่อมใสทั้งปวงดวยความฉลาดรอบคอบถูกกาลเทศะ

อุตสาหะเสนะ คือ การตัดสินใจปญหาตางๆ ดวยสติ ดวยปญญา โดยเฉพาะอยางยิ่งผูนํา หรือผูบริหารตองใชการตัดสินใจในการแกปญหาตาง ๆ ทั้งในเรื่องการงาน และขอพิพาทตาง ๆ ของผูใตบังคับบัญชาหรือเทียบเทา บุคคลตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวยสติปญญา ไมติดสินดวยอารมณที่โกรธ ควรมีหลีกไตรสิกขาเขาควบคุมจิตใจ การตัดสินใจ คือ ศีล สมาธิ และปญญา

เมธาวี คือ การนึกถึงธรรมเปนที่ตั้งไมเห็นแกสิ่งยั่วยุตาง ๆ เชน อามิสสินจาง การประจบสอพลอ เปนตน

ธัมมัญธะ คือ การไมอาฆาต จองเวร ขอนี้ผูบริหารควรตระหนักใหมาก ไมควรอาฆาตมาดราย จองเวร ตอเวร ตอกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใตบังคับบัญชาที่ทําใหตนเองไมพอใจ ในทางตรงกันขามควรใหอภัย เพราะในทางพระพุทธศาสนา นับถือวา การใหอภัยเปนกุศลสูงสุดดวยเชนกัน

หลักการครองคนที่ใชไวในการประกอบการดําเนินชีวิตในการทํางาน คือ 1. ผูบริหารตองยึดมั่นในกฎระเบียบขอบังคับ ขอกําหนด และวินัย-จรรยาบรรณวิชาชีพของขาราชการอยางเครงครัด ครบทุกประการ ทั้งนี้เปนตัวอยางของผูใตบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน และผูอื่นที่ไดพบเห็นเกิดความรัก เคารพเลื่อมใสศรัทธาในตัวผูบริหาร 2. การครองตนโดยเฉพาะอยางยิ่งกับผูใตบังคับบัญชาผูบริหารควรปกครองดวยหลักธรรมพรหมวิหาร 4 แบบพี่ปกครองนอง พอแมปกครองลูก ดูแลเอาใจใส เอื้ออาทร ใหความ

Page 43: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

35

รัก ความเห็นใจซึ่งกันและกัน รับฟงขอเสนอแนะตาง ๆ เปดใจกวาง สรุปปญหาอันเปนแนวทางพัฒนาใหความชวยเหลือในสวนที่เกี่ยวของตอไป 3. ใหความกาวหนาแกผูบังคับบัญชา ผูบริหารควรสนับสนุนใหผูใตบังคับบัญชาที่มีความรูความสามารถ เปนคนดีมีคุณธรรม ใหสามารถเลื่อนยศเลื่อนตําแหนง มีความกาวหนาในหนาที่การงานตามศักยภาพของแตละบุคคลดวยความจริงใจ

สรุป ในการครองคน ผูนําหรือผูบริหารควรมีใจคุณธรรม-จริยธรรม ใชหลักธรรม พุทธธรรม อันเปนธรรมที่สอดคลองกับการดําเนินชีวิตตามหลักของมนุษยสัมพันธอยางเปนรูปธรรม ยอมทําใหสามารถครองใจคน และคุมคนไดดวยวิธีที่ถูกตอง อันจะนําไปสูการพัฒนางานองคการใหดีขึ้นและประผลสําเร็จไดเปนอยางดียิ่ง

มีคุณธรรมเปนการครองงาน ผูบริหารที่มีหลักการครองงานที่ประสบความสําเร็จไดนั้น ควรตองมีพื้นฐานในการครองงาน ครองตน และครองคนใหไดดีเสียกอน เพราะการครองตนที่ดี และเปนตัวอยางในการเกิดความรักความศรัทธาของผูใตบังคับบัญชา และการครองตน เมื่อผูบริหารเกิดปญหาในการครองคน ยอมทําใหเกิด ความรัก ความสามัคคีในหมูคณะ เกิดแรงบันดาลใจ ความตั้งใจ มีความรับผิดชอบสูง ที่จะปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และเมื่อบริหารแบบมีหลักและทักษะในการครองงานอยางสมเหตุสมผล อยูในครรลองของวิธีการบริหารงานอันพึงประสงค ซึ่งเกิดจากการนําหลักบริหารงานตามหลักวิธีการที่เรียกวา POSDCROB มีรูปแบบขั้นตอน วิธีการควบคุมงาน 7 ขอ คือ

1. การวางแผน (Planning)2. การจัดองคการ (Organizing)3. การบริหารงานบุคคล (Staffing)4. การวินิจฉัยสั่งการ (Directing)5. การประสานงาน (Co-ordination)6. การรายงาน (Reporting)7. การจัดทํางบประมาณ (Bridgeting)

ซึ่งในที่นี้ผูบริหารของสถานศึกษาใด ๆ ไดเลือกวิธีการครองงานโดยวิธีการของ POSDCROB 7 ขั้นตอน เปนแนวทางในการบริหารงานในภาพรวมและใชกระบวนการคุณภาพที่เรียกวา PDCA งานยอยแตละหนวยงาน แตละไตรภาในสถานศึกษา 4 ขั้นตอนคือ

1. P (planting) การวางแผนงานในการปฏิบัติงาน2. D (doing) การลงมือปฏิบัติงานการวางแผนงานขอกําหนดขั้นตอนไว

Page 44: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

36

3. C (Cheering) การตรวจสอบผลการใชแผนงานและปฏิบัติงาน4. A (Accreting) การปรับปรุงและแกปญหาอุปสรรคตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน ตองมีการ

ควบคุมหรือการครองงานที่ เหมาะสมกัน นอกจากใชหลักวิธีการ หลักวิชาการ ทฤษฏีการบริหารงานของสถานศึกษาใด ๆ ที่เปนที่นิยมใชกันทั่วไป ในขางตนดังกลาว พุทธธรรมคําสอนเปนคติธรรมในการใชเตือนสติ และบรรทัดฐานในการบริหารงานในลักษณะของการครองงานที่ดีมีคุณธรรม โดยหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวของและสอดคลองกับการครองงานที่มีอยูมากมายหลายพุทธธรรม ซึ่งในที่นี้จะขอยกตัวอยางหลักพุทธธรรมในการครองงาน เพื่อเปนแนวทางพอเปนสังเขป ดังนี้

หลักพุทธธรรม อิทธิบาท 4 เปนหลักพุทธธรรมที่ทําใหประสบผลสําเร็จในการทํางาน คือ

1. ฉันทะ คือ มีความพึงพอใจในงานที่รับผิดชอบ2. วิริยะ คือ มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เสียสละในการทํางานโดยมุงหวังใหงาน

ประสบผลสําเร็จ3. จิตตะ คือ มีความฝกใฝเอาใจใสงานอยางตอเนื่อง และการทํางานดวยความระมัดระวัง

โดยหวังผลใหงานประสบผลสําเร็จ4. วิมังสา คือ มีความคิดไตรตรอง หาเหตุผลคิดแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และการพัฒนางานหลักพุทธธรรม สัปปุริธรรม 71. ธัมมัญุตา คือ ความเปนผูรูจักเหตุ เปนการรูหลักการและกฎเกณฑของสิ่งตางๆ จาก

การประพฤติปฏิบัติประจําวันสวนตัวและในการปฏิบัติหนาที่ซึ่งผูบริหารตองมีความตระหนักในภาระหนาที่ปฏิบัติโดยตั้งอยูในคุณธรรม จริยธรรม เสริมดวยความดีและดวยบุญกุศล รูทันในตําแหนงหนาที่มีอยูใชอํานาจหนาที่และการดําเนินชีวิต อยางสมดุล

2. อัตถัญุตา คือ ความเปนผูรูจักผล กลาวคือ ผูบริหาร ตองเขาใจ เปาหมาย วัตถุประสงคของกิจกรรมงานตางๆ ที่ปฏิบัติอยูใหบรรลุเปาหมายตามนโยบายที่กําหนดสงผลใหองคกรและผูที่เกี่ยวของทั้งมวลมีความสุข

3. อัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักตน กลาวคือ ตองรูจักฐานะ ตําแหนง หนาที่ ที่มีอยู รวมทั้งรูจักการใชชีวิตอันประกอบไปดวยการมีคุณธรรม จริยธรรม และ ประพฤติปฏิบัติใหเกิดความสมดุลยเหมาะสม รูจักการปรับปรุง แกไข เปลี่ยนแปลงในสิ่งที่เกี่ยวของตางๆ ใหบังเกิดผลดีเปนประโยชนตอสวนรวม ละเวนการแสวงหา ผลประโยชน สวนตน

4. มัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักประมาณ กลาวคือ ตองรูจักความพอดี โดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารองคกรตางๆ ถือวาเปนสัญญาลักษณขององคกรโดยที่จะนําพาองคกรใหเจริญรุงเรือง

Page 45: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

37

หรือลมสลาย ไดดังนั้น ผูบริหารควรมีความพอดียืดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางในการดําเนินชีวิตและการบริหารงาน

5. กาลัญุตา คือ ความเปนผูรูจักกาลเวลา กลาวคือ ตองตองรูจักกาลเทศะใชเวลาที่เหมาะสมในการประพฤติปฏิบัติในการงานตางๆ ผูบริหารตองรูวาเวลาใดควรทําอะไร ไมควรทําอะไร ใหเวลากับการบริหารงานในองคกร ใหมากที่สุดเพราะถาผูบริหารไมอยูบริหารงานในองคกรมากๆ ยอมมีผลเสียกับองคกรขาดผูนําถึงมีผูปฏิบัติงานแทนอํานาจการวินิจฉัยสิ่งการตางๆ มีจํากัดสงผลทําใหงานการตางๆ ไมราบรื่นไมบรรลุเปาหมายตามกรอบกําหนดเวลาได ซึ่งผูบริหารไมนอยที่ใชเวลาไปกับการติดตามเอาอกเอาใจผูบังคับบัญชาจนเกินเลยไป และผูบังคับบัญชาระดับสูงกวาไมแนะนําใหผูใตบังคับบัญชาประพฤติปฏิบัติอยางเหมาะสม ซึ่งจะเกิดผลเสียทั้งสองฝายได ซึ่งผูบริหารตองพึ่งระวังใหมาก

6. ปุริสัญุตา คือ ความเปนผูรูจักชุมชน สังคม กลาวคือ ตองมีความเขาใจ รูจักชุมชน การประพฤติปฏิบัติตองสงเสริมเอื้อประโยชนใหชุมชน ไดรับประโยชน ตามความตองการของชุมชน โดยทั้งนี้ใหเปนไปตามภาระหนาที่ ความรับผิดชอบดวยความขยันหมั่นเพียร ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ใหบรรลุเปาหมายใหสังคมมีความสุข

7. บุคคลโรปรัญุตา คือ ความเปนผูรูจักคบคน กลาวคือ ในขอนี้ตองคํานึงความแตกตางๆระหวางบุคคล ความรู ความสามารถ นิสัยใจคอ ของบุคคล เปนผูบริหาร ควรศึกษาและจําแนกบุคคลในองคกรไดอยางถองแท จนสามารถมอบหมายงานใหตรงกับความรูความสามารถ ความถนัด ผลสัมฤทธิ์ของงานจะบรรลุตามเปาหมาย และอีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญ คือ การสรางขวัญและกําลังใจใหเกิดความรัก ความสามัคคีในหมูคณะในองคกร ซึ่งผูบริหารจะละเลยไมไดตองตระหนักถึงปราการดวยเพราะเปนหนทางแหงความสําเร็จในการบริหารงาน นั่นคือบริหารคนและงานไปพรอมๆ กัน “งานสําเร็จ คนเปนสุข’

หลักธรรม อริยทรัพย 7 เปนหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวของกับการครองตน ครองคน ครองงาน คือ

1. ศรัทธา คือ เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ2. ศีล คือ มีความประพฤติเรียบรอย3. หริ คือ มีความละอายตอบาป การทุจริตไมซื่อตรง4. โอตตัปปะ คือ มีความสะดุง เกรงกลัวตอบาป5. พาหุสัจจะ คือ ความเปนคนที่ไดรับฟงมามาก6. จาคะ คือ การใหเปนสิ่งของสําหรับคนที่ควรให

Page 46: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

38

7. ปญญา คือ ความรอบรู ทําในสิ่งที่เปนประโยชน นอกจากนี้ การเปนผูบริหารที่ดีนั้น จะมีเหตุเปนปจจัยสําเร็จ “การตั้งใจดี” และมือสะอาด ซึ่งพระพุทธองคไดกําหนดแนวทางสูการปฏิบัติตามไว 3 ประการ ดังนี้

1. เวนจากการทุจริต การประพฤติชั่ว ทั้งกาย วาจา และใจ2. การประกอบการงาน อาชีพที่สุจริต ประพฤติชอบ ทั้งกาย วาจา และใจ3. การทําใจคนใหสะอาด บริสุทธิ์ ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูองอาจ เหลืองออน (2547) กลาววา การประพฤติปฏิบัติตน การแสดงออกในสิ่งที่ดี

งามจนเปนนิสัยหรือเคยชินโดยเปนปกติของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการครองตน ดานการครองคน และดานการครองงาน

ดานการครองตน หมายถึง การกระทําทาทีที่แสดงออกของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที่แสดงออกมาใหเพื่อนรวมงานและนักเรียนสามารถสังเกตเห็นไดในเรื่องของกริยา ทาทาง สอดคลองตามหลักฆราวาสธรรม ไดแก สัจจะ คือ ความจริง พูดจริง ทําจริง ทมะ คือ ฝกตน บังคับควบคุมจิตใจตนเอง ขันติ คือ อดทน มุงมั่นในการทํางาน และ จาคะ คือ เสียสละ มีน้ําใจ

ดานการครองคน หมายถึง การกระทํารวมถึงทาทีที่ครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แสดงปฏิสัมพันธตอผูรวมงานหรือผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดความพึงพอใจ สอดคลองตามหลักพรหมวิหารธรรม ไดแก เมตตา คือ ความรัก ความปรารถนาดี กรุณา คือ ความสงสาร อยากชวยเหลือผูอื่น มุทิตา คือ ความเบิกบานพลอยยินดีเมื่อเห็นผูอื่นมีความสุข และอุเบกขา คือ ความมีใจเปนกลาง

ดานการครองงาน หมายถึง การกระทํารวมถึงทาทีที่ครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครแสดงออกมาเพื่อใหผูรวมงานหรือผูที่ เกี่ยวของปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคสอดคลองตามหลักอิทธิบาทธรรม ไดแกฉันทะ คือ ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น วิริยะ คือ ความเพียรพยายามทําในสิ่งนั้น จิตตะ คือ การเอาใจฝกใฝในสิ่งนั้น และวิมังสา คือ การพิจารณาใครครวญหาเหตุผลในสิ่งนั้น

กลาวโดยสรุป สําหรับการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษานําแนวคิดของ กวาง เสียงล้ํา (2550) มาเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมครูซึ่งเปนการใชหลักพุทธธรรมเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของครู ซึ่งถือวาเปนผูมีอิทธิพลตอนักเรียนทุกคนในสถานศึกษา ประกอบดวย

Page 47: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

39

3 ดาน คือ 1.ดานการครองตน 2.ดานการครองคน 3.ดานการครองงาน เพื่อใหเกิดความสมดุลลงตัวสามารถมีบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนไดอยางแทจริง

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน2.2.1 การสงเสริมจริยธรรมในโรงเรียนการสงเสริมจริยธรรมในโรงเรียน จุดมุงหมายในการสงเสริมจริยธรรมเปนหลักสําคัญ 3

ประการ1. พฤติกรรมทางจริยธรรมกับพฤติกรรมดานคุณลักษณะ ซึ่ง Bloom, Maduaus, &

Hastings (1981) ไดกลาวเปนขอสรุปไวดังนี้1.1 พฤติกรรมในดานความรูความคิด (Cognitive Domain)1.2 พฤติกรรมดานความรูสึก (Affective Domain)1.3 พฤติกรรมดานความคลองแคลวของรางกาย (Psychomotor Domain) เนื่องจาก

พฤติกรรมทางดานจริยธรรม เปนลักษณะเฉพาะบุคคล อันเปนสวนหนึ่งของบุคลิกภาพ ซึ่งเกิดเปนองคประกอบหลาย ๆ ประการ ทั้งในดานตัวบุคคลเอง คือ ความรู ความคิด สติปญญา และองคประกอบภายนอก ไดแก การอบรมบมนิสัย และสภาพแวดลอมอื่น ๆ ดังนั้น บุคคลใดจะมีจริยธรรมหรือคุณธรรมสูงต่ํามิไดขึ้นอยูกับครูเปนผูฉลาด มีสติปญญาดีเพียงพออยางเดียว แตยังตองขึ้นอยูกับการฝกฝนอบรม สภาพแวดลอมทางครอบครัวและสังคมอีกดวย

2. มุงใหผูเรียนมีพื้นฐานที่ดีดานคุณธรรม และจริยธรรมตั้งแตเล็ก ๆ3. มุงใหมีความประพฤติปฏิบัติสิ่งที่ดีงามเพื่อการอยูรวมกันในสังคมอยางสงบสุข

โรงเรียนเปนสถานศึกษาและใหความสําคัญตลอดจนปลูกฝงดานจริยธรรมแกนักเรียนเพราะเยาวชนของประเทศชาติจะมีคุณภาพเพียงใด การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ไปพรอม ๆ กันกับวิชาที่ตนรับผิดชอบอยู เมื่อเยาวชนของชาติไดรับการอบรมบมนิสัยอันดีแลว เมื่อเขาไดเติบโตขึ้นจะเปนพลเมืองที่มีคุณภาพที่ดีมีจิตใจดีเสมอ การเอารัดเอาเปรียบเบียดเบียนซึ่งกันและกันจะนอยลงมาก สังคมก็จะเติบโตดวยความสันติสุข (ศิญาภรณ สุขพยัคฆ, 2533: 7)

ทานพุทธทาสภิกขุ ไดแสดงความคิดเห็นวา การที่ เรามีการศึกษาดี คือ จริยธรรมโดยเฉพาะจะสําเร็จประโยชนตอนักเรียนไดจริงตองมีองค 3 เปนอยางนอย คือ (พุทธทาสภิกขุ, 2505 อางถึงใน สุเทพ พันธโสลี, 2550: 20)

1. มีครูดี คือ มีครูซึ่งเปนผูมีคุณลักษณะสมบูรณพรอมทั้งดานความรู และความประพฤติ เหมาะสมตอการเปนผูสอนคนใหเปนคนดี มีความรูไดแทจริง

Page 48: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

40

2. มีวิธีการสอนดี คือ เปนผูสอน หรือพัฒนานักเรียนใหมีคุณลักษณะแหงความเปนพลเมืองดีตามที่สังคมตองการได

3. มีสิ่งแวดลอมดี คือ จัดพัฒนาสิ่งทั้งปวงที่นักเรียนจะไดเรียนรูไดดวยประสาทสัมผัสจากดานกายและใจ ใหมีคุณลักษณะที่เอื้อตอการพัฒนาใหนักเรียนเปนผูมีความประพฤติดี

จุดประสงคสําคัญในการสงเสริมจริยธรรมในโรงเรียน(พุทธทาสภิกขุ, 2505 อางถึงใน สุเทพ พันธโสลี, 2550: 20) กลาวโดยสรุป

1. การบริหารโรงเรียน ไดแก การปฏิบัติตนเปนแบบอยางทีดีของครูแกนักเรียน การกําหนดระเบียบ ขอบังคับ การติดตาม และประเมินผล

2. การสอนหรือวิธีการสอนของครูตลอดจนเทคนิคตาง ๆ ในการสอน3. การจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนใหสอดคลองกับการสอนของครู4. การจัดกิจกรรม จริยธรรมในโรงเรียนทั้ง 4 องคประกอบ ควรดําเนินการไดพรอม ๆ กัน และมีความสัมพันธกันทั้งหมดในการ

สงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนในโรงเรียน จึงจะบรรลุเปาหมายตามที่ไดคาดหวังไว

องคประกอบของการสงเสริมจริยธรรมในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ไดแสดงความคิดเห็นวา การใหการศึกษาในโรงเรียนมี

จุดมุงหมาย สําคัญ 2 ประการ คือ ใหมีความรูและความประพฤติดีควบคูกันไป และเพื่อบรรลุจุดมุงหมาย 2 ประการ คือ ตองอาศัยตัวจักรที่สําคัญ คือ ผูบริหารโรงเรียนและคณะครูในโรงเรียน (สมเด็จพระญาณสังวร, 2526, อางถึงใน สุเทพ พันธโสลี, 2550: 16) ดังนั้น บุคคลที่มีความสําคัญในการสงเสริม จริยธรรมในสถานศึกษา คือบุคลากรทางการศึกษา หรือก็คือ ผูบริหารสถานศึกษา และคณะครูนั่นเอง

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดแนวการจัดการศึกษาโดยยึดหลักวาผู เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผู เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ ประกอบกับมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมและเทคโนโลยี กอใหเกิดทั้งผลดีและผลเสีย วิถีการดําเนินชีวิตใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีคุณคา มีศักดิ์ศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน

Page 49: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

41

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) ไดตั้งจุดประสงคในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงมีความจําเปนที่จะตองพัฒนาผูเรียนใหเกิดความเจริญงอกงามในดานตาง ๆ คือ

1. ดานความรู จะใหความรูแกผูเรียนในเนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอดและหลักการสําคัญของวิชาการตาง ๆ ในสาขาสังคมศาสตร ไดแก ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร รัฐศาสตร จริยธรรม สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร กฎหมาย ประชากรศึกษา สิ่งแวดลอม ปรัชญา และศาสนาตามขอบเขตที่กําหนดไวในแตละระดับชั้น ในลักษณะบูรณาการ

2. ดานทักษะกระบวนการ ผูเรียนจะไดรับการพัฒนาใหเกิดทักษะและกระบวนการ ตาง ๆ เชน ทักษะทางวิชาการ ทักษะทางสังคม ทักษะทางการสืบสวนสอบสวน ทักษะการสื่อสาร ทักษะการแสวงหาความรู การสืบคน เปนตน

3. ดานเจตคติ และคานิยม กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชวยพัฒนาเจตคติ และคานิยมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความเปนมนุษย เชน รูจักตนเอง พึ่งตนเอง ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย มีความกตัญู รักเกียรติภูมิแหงตน มีนิสัยในการเปนผูผลิตที่ดี มีความพอดีในการบริโภค เห็นคุณคาของการทํางาน รูจักคิดวิเคราะห รูจักการทํางานเปนกลุมเคารพสิทธิของผูอื่น และเห็นแกประโยชนสวนรวม มีความผูกพันกับกลุม รักทองถิ่น รักประเทศชาติ เห็นคุณคา อนุรักษและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนาและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมที่กําหนดไวในโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโดยมุงสงเสริมใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง กระตุนใหผูเรียนไดศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน มีความสุขกับการทํางานเปนกลุมตามความถนัด ความสนใจ อยางแทจริงรวมประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องตามลักษณะความพรอม ความตองการ และความเปนไปไดในการปฏิบัติเพื่อการพัฒนาศักยภาพที่แทจริง อันสงผลตอการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาความรู ทักษะ ประสบการณ คุณธรรม จริยธรรม จากกระบวนการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูที่เปนพื้นฐานสําคัญ รวมถึงการเสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพเพื่อการพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยที่สมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม (กรมวิชาการ, 2544: 1)

2.2.2 ความหมายของบทบาทบทบาท หมายถึง ความมุงหวังที่บุคคลอื่นคาดวาบุคคลในตําแหนงหนึ่ง ควรจะทําหรือ

แสดงพฤติกรรมอยางหนึ่งออกมา ในสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง บทบาทหนาที่นี้จะควบคูกับ

Page 50: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

42

ตําแหนงที่บุคคลดํารงอยูเสมอ บทบาททุกตําแหนงหรือชั้น จะถูกสมาชิกในชุมชนคาดหวังไวระดับหนึ่งวา พฤติกรรมของคนอยูในตําแหนงนั้นควรจะทําอะไรมีพฤติกรรมอยางไร คือบทบาทของแตละคนจะอยูในตําแหนงหนึ่ง ควรจะมีอะไรบางนั้นเอง บางที่บทบาทอาจหมายรวมไปถึงเรื่องเกี่ยวกับหนาที่หรือพันธะของตําแหนงนั้น ๆ (นิตยา ยิ้มแยม, 2555: 40-41)

อีกความหมายหนึ่งของบทบาทก็คือ หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามเงื่อนไขและอํานาจหนาที่ที่ตองกระทําในเมื่อบุคคลเขามาดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง บทบาทเปนหนาที่หรือพฤติกรรมที่สังคมกําหนดและคาดหมายใหบุคคลกระทํา โดยมีความสัมพันธเกี่ยวของกับตําแหนง บทบาทจะถูกกําหนดโดยบรรทัดฐานของสังคม (ออมเดือน สดมณี และคณะ , ม.ป.ป.,: 1) นอกจากนั้นบทบาทยังทําหนาที่เชื่อมโยงตําแหนงในสังคมและโครงสรางโรงเรียนในฐานะเปนองคการหนึ่งของสังคมเปนระบบสังคม บทบาทของครูอาจารยเปนสวนหนึ่งของระบบโรงเรียน โครงสรางและการบริหารโรงเรียนยอมมีอิทธิพบตอการปฏิบัติตามบทบาทของครู

สรุปไดวา บทบาท หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมของครูในการปฏิบัติงานในหนาที่เพื่อ จูงใจใหประพฤติปฏิบัติ ทั้งรางกาย วาจา ใจ เรงเราใหนักเรียนกระทําหนาที่อยางถูกตองสมบูรณเปนคนที่รูเหตุผล รูวาสิ่งใดควรทํา สิ่งใดไมควรเวน และการปฏิบัติในทางที่ดีตอตนเอง ผูอื่นและสังคม โดยใชวิธีการ 3 อยาง ซึ่งไดจาการตอบแบบสอบถามของครูผูสอน

2.2.3 บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมครูมีหลายบทบาทหนาที่ และหนึ่งในหนาที่ของครูก็คือหนาที่ในการสงเสริมจริยธรรม

ใหแกเด็กนักเรียน ซึ่งบทบาทของครูในการสั่งสอนจริยธรรมแกเด็กนักเรียนนั้นสามารถทําไดหลากหลายรูปแบบ ดังนี้ (ทิศนา แขมมณ,ี 2542: 11)

1. ครูเปนผูมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักเรียนควรใชหลักประกอบในการสงเสริมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในตัวนักเรียนหลายๆดานการสอนคุณธรรมจริยธรรมใหไดผลดีจริง ๆ ครูตองเปนแบบอยางและไดรับความเชื่อถือ และความสนใจจากผูเรียน

2. วิธีสอน จะตองใชวิธีสอนหลาย ๆ รูปแบบมาประยุกตเขากันเพื่อใหผูเรียนเกิดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม คานิยม เจตคติ พฤติกรรม และบุคลิกภาพที่ดี เนนการเปนคนชางคิดชางทํา และปรับตัวเขากับการเปลี่ยนแปลงได

3. เนื้อหาของวิชาที่สอน จะตองพิจารณาวาควรจะสอนเนื้อหาอันไหนกอนโดยใชกิจกรรมตาง ๆ เชน จริยธรรม ศิลปศึกษา พลศึกษา ดนตรีนาฏศิลป ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน การจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในที่นี้ หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่

Page 51: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

43

โรงเรียนจัดขึ้นทั้งในและนอกโรงเรียนที่เปนเพื่อประโยชนในดานการปลูกฝงพัฒนาบุคลิกลักษณะนิสัยนักเรียน ใหงอกงามดวยหลักของความรูและความประพฤติควบคูกันไป

4. การปฏิบัติตัวของครูที่สมควรอันเปนตัวอยางของความดีและความไมดี 5. สภาพแวดลอม จัดหรือพัฒนาสิ่งทั้งปวงที่นักเรียนจะเรียนรูไดดวยประสาทสัมผัส

ทางดานรางกายและจิตใจ มีลักษณะเอื้อตอการพัฒนาใหนักเรียนเปนผูมีความประพฤติดีตลอดเวลาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดพัฒนากระบวนการสอนขึ้น 6 ขั้น ซึ่งครูสามารถ

นําไปใชได (ทิศนา แขมมณ,ี 2542: 11) ดังนี้1. ขั้นการคิดอยางอิสระ2. ขั้นกําหนดทางเลือกหลาย ๆ ทาง3. ขั้นพิจารณาไตรตรอง4. ขั้นเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด5. ขั้นปฏิบัติตามทางเลือก6. ขั้นปฏิบัติซ้ําจนเปนประจํา

บทบาทของครูผูสอนในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนตามแนวความคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) มี 3 ดาน คือ 1. ดานการอบรมสั่งสอน 2. ดานการเปนแบบอยาง และ 3.ดานการติดตามผล ดังนี้

1. ดานการอบรมสั่งสอนในการอบรมสั่งสอน ครูมีความสําคัญในการปลูกฝงคานิยมที่ถูกที่ควรใหแกนักเรียน

ครูจึงตองจัดสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการพัฒนาคานิยมของนักเรียนการพัฒนาคานิยมดวยวิธีการทําใหคานิยมกระจาง ซึ่งเปนกระบวนการที่ครูเปนผูจัดสถานการณของผูเรียนเพื่อเปนแนวทางใหนักเรียนคิดและตัดสินใจโดยยึดหลัก 2 ประการ คือ

1. การยอมรับความคิดเห็นของนักเรียน โดยครูไมขัดแยงหรือชี้นําความเห็น ใหครูรวมออกความเห็นตามความจําเปน เปนการใชจิตวิทยาเสริมสรางกําลังใจและความคิดเห็นแกนักเรียน

2. ใหกระบวนการเปนยุทธศาสตร เพื่อทําใหคากระจางดวยการใชคําถามนําความคิดและใหนักเรียนวิเคราะหผลงานดวยตนเอง โดยการเปรียบเทียบขอดีขอเสียของเหตุและผลตลอดจนผลลัพธจากพฤติกรรม

Page 52: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

44

สิ่งสําคัญยิ่งตอการอบรมสั่งสอนจริยธรรม คือ การเปดโอกาสใหนักเรียนไดมีโอกาสตัดสินใจเลือกวิธีทางของเขาเอง ขั้นตอนเพื่อพิจารณาประกอบการสอนของครู มีดังนี้

1. สงเสริมใหเด็กเปนอิสระในการเลือกวิถีทางของตน2. ชวยใหเด็กไดตรวจสอบวิถีทางที่ตนเองเลือกอยางละเอียดรอบคอบ3. ชวยใหเด็กรูวาตัวเองในทัศนะของเขา กําไรคือสิ่งที่ดี ทําไมเขาจึงเลือกทําเชนนั้น

สิ่งที่เขาเห็นวาดี ผูอื่นเห็นดวยหรือไมถาเขาประกาศใหผูอื่นรับรู4. ชวยใหเด็กตรวจสอบการกระทําของเขาวาถูกตองเพียงใดหรือไม ตรงกับวิถีทาง

และความดีที่เคยเลือกหรือไมในการสรางความกระจางปกติจะเปนเรื่องเฉพาะตัว แมเรื่องเกี่ยวกับทั่วไปแตทุกคน

สวนนักเรียนที่เหลือควรจะไดติดตามไปดวย ครูไมควรจะชวยสรางความกระจางตอคําพูดหรือการกระทําทุกอยางที่นักเรียนแสดงออกมา และไมควรจะเปนความคิดที่อาจจะผิดหรือถูก แมแตจะมีคําตอบอยูแลวก็ไมเปนคําถามที่ดีนักที่จะชวยใหเกิดความกระจางแกความคิดนักเรียน

ครูอาจนําไปใชในการชวยสรางความกระจางในความคิดแกนักเรียนทุกวิธี ครูจะเลือกใชควรเปนไปในทางสรางสรรค โดยมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาจะชวยใหนักเรียนไดคิดและสรางความกระจางแกความคิดพฤติกรรมของเขา (พนัส หันนาคินทร, 2520: 140)

หลักเกณฑในการพัฒนาคานิยมมีดังนี้1. ครูตองหลีกเลี่ยงการใชหลักศีลธรรมหรือจริยธรรม การวิจารณ การชี้แนะ คานิยม

หรือประเมินคาของสิ่งที่นักเรียนแสดงออกมา ครูตองเวนจากการแนะสิ่งที่ครูเห็นวา “ดี” หรือ “ถูกตอง” หรือ “พอยอมรับได” หรือเปนไปในทางตรงกันขามกับสิ่งที่กลาวแลวก็ตาม การประเมินคาของครูยอมเปนการสรางเงื่อนไขในการยอมรับหรือปฏิเสธความคิดเดิมของเขา ทําใหเขาไมสามารถเลือกคานิยมไดโดยเสรีอยางแทจริง

2. ครูจะตองถือวาเปนความรับผิดชอบของนักเรียนเองในอันที่จะพิจารณาความคิดหรือพฤติกรรมของเขา แลวตัดสินใจวาเขาตองการอะไร

3. ครูตองไมหวังที่จะสรางคานิยมใหแกนักเรียน โดยฉับพลันหรือดวยคําถามเพียง 2-3 คําถาม จุดหมายในการชวยสรางความกระจางใหแกความคิดของนักเรียนนั้น เพื่อยั่วยุใหเขาไดคิดหรืออยางนอยก็เก็บเอาไปคิด

4. อยาใชคําถามเพื่อยั่วยุใหนักเรียนคิดเพื่อประโยชนในการสัมภาษณ เพราะจุดมุงหมายของคําถามประเภทนี้มิใชเพื่อเสาะหาขอมูลแตเปนการใหนักเรียนคิดและทําความกระจางใหแกความคิดและพฤติกรรมของเขา

Page 53: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

45

5. การใชคําถามจะมีไมมากนักในการถามแตละคราวเพราะตองการใหนักเรียนคิดโดยไมตองนั่งพิจารณา คําตอบของเขาเปนสิ่งที่ถูกตองตามเกณฑบางอยางเชน หลักเกณฑทางศีลธรรมหรือไม

6. การสรางความกระจางนั้นตามปกติจะเปนเรื่องเฉพาะตัวถึงแมจะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคนทั่วไป แตทุกคนจะตองพิจารราในแงสวนตัวของเขาเทานั้น ครูอาจจะสรางความกระจางใหนักเรียนคนใดคนหนึ่ง สวนนักเรียนที่เหลือก็ควรที่จะไดติดตามไปดวย และในหลายกรณีครูไมจําเปนจะตองชวยตอการกระทําของนักเรียนใหนักเรียนไดแสดงออกมาเอง

7.ความคิดของนักเรียนที่ครูชวยสรางความกระจางใหนั้น ไมควรจะเปนความคิดที่อาจตอบวาถูกหรือผิดแมวาคําถามประเภทนี้จะมีคําตอบแลว เพราะลักษณะเปนสูตรสําเร็จรูปยิ่งกวาเปนปญหาที่เรียกรองความคิดอยางรอบคอบที่อาจมีคําตอบได

8.ไมมีสูตรตายตัวที่ครูจะนําไปใชทุกวิธีที่ครูเลือกควรเปนทางสรางสรรคโดยมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาจะชวยใหนักเรียนไดคิดและสรางความกระจางแกความคิดหรือพฤติกรรมของเขา

กระบวนการใหไดมาซึ่งคานิยมและการที่บุคคลจะเห็นคุณคาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นอยูกับตัวของบุคคลนั้นเลือกสรรดวยตนเอง เห็นคุณคาของสิ่งนั้นแลวแสดงออกมาเปนพฤติกรรมเมื่อทุกคนมีเกณฑมาตรฐาน (นาตยา ปลันธนานนท, 2526: 34-35) การพัฒนาคานิยมดวย

การศึกษาของ Raths, Merrill, & Simon (1966: 30) ไดกําหนดเกณฑที่จะทําใหบุคคลมีคานิยมที่สมบูรณได เกณฑเหลานี้ใชเปนแนวทางการพัฒนาคานิยม กระบวนการกระจางคานิยม หากคานิยมที่บุคคลมีอยูนั้นมาจากเกณฑ 7 ประการ ซึ่งถือวาคานิยมนั้นเปนคานิยมที่สมบูรณ ไดแก

1. เลือกอยางอิสระ2. เลือกจากแนวทางตาง ๆ3. เลือกหลังจากที่ไดพิจารณาถึงผลที่จะเกิดจากทางเลือกแตละอยาง4. มีความสุขกับสิ่งที่ไดเลือกนั้น5. เต็มใจที่จะยึดมั่นในสิ่งที่เลือกน้ันโดยเปดเผย6. ทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดกับสิ่งที่เลือกนั้นแลว7. ทําสิ่งนั้นซ้ํา ๆ จนกลายเปนแบบแผนการดําเนินชีวิตCasteel & Stahle, (1975: 6) ไดเสนอขั้นตอนของกระบวนการกระจางคานิยมมี 4

ขั้นตอน ดังนี้1. ขั้นทําความเขาใจ ใหผูเรียนเขาใจถึงสิ่งที่เขาจะศึกษา อาจจะมาในรูปวัสดุสารหรือ

สื่อการเรียนการสอนตาง ๆ

Page 54: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

46

2. ขั้นแสวงหาความสัมพันธ ในขั้นนี้จะเนนความเขาใจและการตีความขอมูลความรูในลักษณะของงานมโนคติ (Concept) โดยผูเรียนพยายามสรางความสัมพันธระหวางความรูและความคิดที่ผูเรียนไดมาจากขั้นที่ 1

3. ขั้นกําหนดคุณคา มุงใหผูเรียนแสดงคานิยมและความรูสึกที่มีตอสิ่งตาง ๆ ไมวาสิ่งนั้นจะเปนสภาพการณปญหาหรือวัสดุสิ่งของที่สามารถประเมินคุณคาไดจากมโนคติ (Concept) ที่ไดศึกษาจากเรื่องนั้น หรือประเมินสิ่งที่เขาไดกระทําในขั้นตอนที่ 2

4. ขั้นแสดงออก ในขั้นนี้จะเปนการสงเสริมใหผูเรียนแสดงคานิยมออกมาใหผูอื่นทราบอันเนื่องมาจากขั้นที่ 3 จะเห็นวา ขั้นที่ 1-3 เปนเพียงความคิดติดที่มีอยูภายในจิตใจของผูเรียน แตยังมิไดแสดงออกมาเปนพฤติกรรมใหปรากฏ

สุเทพ พันธโสลี (2550: 44) ไดสรุปจากแนวทางตาง ๆ และนํามาประมวลจัดเปนกิจกรรมเพื่อสงเสริมจริยธรรมในสถานศึกษาได ดังนี้

1. จัดกิจกรรมทางศาสนาในสถานศึกษา โดยจัดทุกศาสนาเทาเทียมกัน ถามีนักเรียนที่นับถือศาสนาตางกัน

2. จัดการประกวดตาง ๆ เชน การเขียนเรียงความ การอานหรือสวดมนต หรือการตอบคําถามธรรมะหรือตอบความรูจากพระคัมภีร

3. ประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่มีจริยธรรมสูงใหสังคมรับทราบ เพื่อเปนกําลังใจแกผูปฏิบัติ และเปนแบบอยางที่ดีงามแกสังคม

4. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เชน กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมตามความสนใจ5. ติดขอความตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับจริยธรรมไวในบริเวณสถานศึกษา เพื่อเปนเครื่อง

เตือนใจใหนักเรียนไดอานบอย ๆ6. เชิญวิทยากรที่มีคุณธรรมมาบรรยายหรือแนะนํานักเรียนเพื่อสงเสริมจริยธรรม

ใหกับนักเรียน7. สงเสริมและจัดใหมีการอบรมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตรระยะสั้น

บทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน1. การจัดการเรียนการสอนควรจัดในลักษณะของกระบวนการกลุมเนนการปฏิบัติ

จริง เพื่อใหนักเรียนไดทํางานรวมกัน คิดรวมกัน คิดอยางมีเหตุผล ไดชวยเหลือกันในขณะที่ฝกปฏิบัติ ไดคนพบขอบกพรอง หาวิธีการแกปญหา แกไขปรับปรุงผลงานใหดีขึ้นจนเกิดความมั่นใจและเกิดความภาคภูมิใจ

Page 55: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

47

2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผู เรียนเปนสําคัญ ครูหาแบบอยางที่หลากหลายใหนักเรียนไดเลือกเองบาง ไมใชครูเปนผูกํากับเองทั้งหมด พยายามดึงความสามารถออกจากตัวนักเรียนใหมากที่สุด

3. ครูควรกระตุนยั่วยุดวยคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล4. เมื่อผูเรียนไดเลือกในสิ่งที่ตนชอบและคิดวาสามารถทําได ใหทดลองฝกปฏิบัติและ

สํารวจปญหา ขอบกพรอง หาทางแกปญหา ปรับปรุงตนเองจนเกิดความมั่นใจวาสามารถนําความรูไปประยุกตใชในโอกาสตาง ๆ ตอไปได

ผูที่ทําหนาที่สั่งสอนหรือผูใหการศึกษา โดยเฉพาะครูอาจารยนั้นพึงประกอบดวยกัลยาณมิตร 7 ประการ (พระราชวรมุนี, 2525: 70-71) คือ

1. ปโย นารัก คือ สรางความรูสึกสบายใจ และสนิทสนมชวนใจใหแกนักเรียนไดอยากเขาไปปรึกษาไตถาม

2. ครู นาเคารพ คือ มีความประพฤติสมแกฐานะ แทนเกิดความรูสึกอบอุนใจเปนที่พึ่งไดและปลอดภัย

3. ภาวนีโย นาเจริญดวยทรงคุณ คือ ความรูและภูมิปญญาแทจริง ทั้งเปนผูอบรมและปรับปรุงตนเองเสมอเปนที่นายกยองควรเอาอยางทําใหศิษยเอยอางและรําลึกถึงดวยความซาบซึ้งมั่นใจและภูมิใจ

4. วัตตา รูจักพูด รูจักชี้แจงใหเขาใจ รูวาเมื่อไรควรพูดวาอยางไร คอยใหคําแนะนําวากลาวตักเตือน เปนที่ปรึกษาที่ดี

5. วจนักขโม ทนตอถอยคําหรือรูจักฟง และมีความสามารถในการรับฟงคําปรึกษาและคําซักถาม อดทนไดไมเบื่อ

6. คัมภีรญจะ กะถัง กัตตา กลาวชี้แจงแถลงเรื่องราวตาง ๆ ที่ลึกซึ้งใหเขาใจได7. โน จัฎฐาเน นิโยชะเย ไมแนะนําในเรื่องเหลวไหลหรือชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย

หรือเรื่องเหลวไหลไมสมควรธนู แสวงศักด (2505: 84-100) ไดกลาวไวนานมาแลว แตก็ยังเชื่อถือไดวาลักษณะของ

ครูที่ดีนั้นตองมี 5 ประการคือ1. มีความสัมพันธกับนักเรียนดี เอาใจใสปญหาของนักเรียน ไมแสดงอารมณรุนแรง

มีน้ําใจนักกีฬา มีเหตุผล2. มีความรักในอาชีพครู มีสวนชวยแนะนําเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน รับฟง

คําแนะนําปรับปรุงตนเองเสมอ ทันสมัยตอความรูและกิจกรรมครู เห็นวาอาชีพครูดีไมอมภูมิและใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอการสอน

Page 56: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

48

3. มีจรรยาบรรณครู ไมแพรขาวลือ ซื่อสัตยตออาชีพ มีมารยาทในการติดตอราชการ รักษาความลับของนักเรียน ไมโฆษณาชวนเชื่อ ไมนินทาผูอื่นใหนักเรียนฟง ไมเรียกรองเงินทองเพื่อตนเอง

4. มีคุณสมบัติสวนตัวดี มีความซื่อตรง สติปญญาดี มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีน้ําใส ใจจริง ตรงตอเวลา เขาใจระเบียบและปฏิบัติอยางเครงครัด

5. มีรูปรางทาทางดีสะอาด สุภาพเรียบรอยสามารถเปนแบบอยางที่ดีของนักเรียนไดสรุปไดวาการอบรมสั่งสอน หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณใหผูเรียนเกิดการ

เรียนรู เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดพัฒนาการ โดยวิธีการตาง ๆ ไดแก ใหนักเรียนฝกพฤติกรรม หมายถึงการที่ครูไดจัดใหนักเรียนไดเรียนรูอยางหลากหลาย และไดรับประสบการณตรง หรือการใชบทบาทสมมุติ บอก แนะนํา สั่งสอน โดยครูเปนผูแสดง นักเรียนเปนผูฟง หรือการใชวิธีการสอนแบบบูรณาการที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การเสริมแรง โดยการใหรางวัล ยกยองชมเชย จูงใจ หรือการลงโทษ การจัดการเรียนการสอนเพื่อปรับเปลี่ยนนิสัยจากจุดดอยเปนจุดเรียนจากวิกฤติใหเปนโอกาสแกผูเรียน การสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหตระหนักในบทบาทของผูเรียนที่จะกอใหเกิดผลในการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

การอบรมสั่งสอนจึงควรเนนการสงเสริมจริยธรรมใหกับนักเรียนการปรับพฤติกรรมของนักเรียนใหเปนผูมีจริยธรรม จําเปนตองใชการเสริมแรงชวย เชน ถานักเรียนคนใดประพฤติดีก็จะไดรับคํายกยองชมเชย ถาทําผิดก็จะไดรับโทษตามควรแตกรณี การสรรเสริญและใหเกียรติก็จะมีผลทางดานดีตอจริยธรรม เมื่อนักเรียนไดรับการเสริมแรงในทางบวกก็จะเกิดกําลังใจที่จะประพฤติปฏิบัติกรรมนั้น ๆ อยูเสมอ จนเกิดเปนนิสัย และเปนบุคลิกภาพที่ดีงามทางจริยธรรมจนนําไปปฏิบัติดําเนินตนเปนแบบอยางและนําไปใชในชีวิตประจําวันได ซึ่งจะเปนลักษณะที่พึงประสงคของคุณภาพของนักเรียนนั่นเอง

2. ดานการเปนแบบอยางดานการเปนแบบอยาง การใชพฤติกรรมเปนแบบอยาง (Modeling) ในการสงเสริม

จริยธรรม การใชพฤติกรรมเปนแบบอยาง หมายถึง การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยอาศัยการจัดพฤติกรรมเปนตัวอยางหรือพฤติกรรมตนแบบ เพื่อใหบุคคลสังเกต ยึดถือ และแสดงพฤติกรรมเชนเดียวกับพฤติกรรมที่นํามาเปนตนแบบนั้น มหาตมะ คานธี ไดใหความคิดเห็นวา

“โดยสวนตัวของขาพเจาแลวรูสึกวา สิ่งที่ครูสอนขาพเจาจากตํารานั้น ขาพเจาจําไดนอยมาก และอะไรที่ครูสอนไมใชตําราแมนแตทุกวันนี้ขาพเจารูสึกวาขาพเจายังจําไดแมนยํา เด็กที่

Page 57: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

49

รูดวยหู ไดมากกวาดวยตา การฝกกายตองออกกําลังกายฉันใด การออกกําลังใจก็จําเปนอยางยิ่งที่ตองดูชีวิตและความประพฤติของครูเปนตัวอยาง” (นิตยา ยิ้มแยม, 2555: 46)

Striefel (1981: 57) ไดกลาววา การใชตัวแบบเปนกระบวนการที่เสนอตัวแบบเพื่อใหบุคคลสังเกต และลอกเลียนพฤติกรรมของตัวแบบนี้ ซึ่งแบบใชตัวแบบในการเสริมสรางพฤติกรรมที่มีจริยธรรมของบุคคลนั้นอาจกลาวไดวาเปนวิธีธรรมชาติที่สุด เนื่องจากวาบุคคลอยูในสังคม และในสังคมนั้นมีตัวแทนอยูมากมาย ทุกอยางที่อยูในระยะที่เห็นหรือไดยินมีโอกาสที่จะเปนตัวแบบไดทั้งสิ้น ดังนั้นจึงกลาวไดวา บุคคลนั้นเลียนแบบซึ่งกันและกันภายในสังคมตลอดเวลา ในการทดลองของ Bandura & McDonald (1977: 274-281) พบวา การเรียนรูในลักษณะของการเลียนแบบเทานั้นที่จะนําไปสูการสรางคานิยมทางศีลธรรมของเด็ก อิทธิพลของรูปแบบทางสังคมที่มีผลตอความคิดทางศีลธรรมของเด็ก อิทธิพลของรูปแบบทางสังคมจะมีผลตอความคิดทางศีลธรรมของบุคคลอยางยิ่ง (นวลสิริ เปาโรหิตย อางถึงใน กาญจนา ชาติรัมย, 2555: 33)

Bandura & McDonald (1963: 274-281) สรุปเกี่ยวกับอิทธิพลของแมแบบที่มีตอผูสังเกตแบบมี 3 ประการ ดังนี้

1. ผลของแมแบบ หมายถึง สถานการณที่ผูเรียนสามารถเรียนรูการตอบสนองใหมตอสิ่งเราโดยการสังเกตพฤติกรรมของแบบ ผูเรียนจะรวบรวมแบบแผนพฤติกรรมของแมแบบแลวเชื่อมโยงกับความรูสึกที่มีอยูจนสามารถวางรูปแบบการตอบสนองของตนเองได ดังนั้นแมแบบจะตองแสดงถึงแบบแผนของการตอบสนองใหม ๆ ออกมาใหเห็นชัดเจน เพื่อใหสังเกตการณแสดงการตอบสนองไดเหมือนกับที่ไดรับ และเก็บไวอยางถาวร

2. ผลจากการขีดขวางและการสงเสริม หมายถึง สถานการณที่ผูเรียนไมสนใจ หรือกระทําแบบแผนพฤติกรรมที่มีแมแบบกระทําแลวไดรับผลไมดีตอบสนอง เชน การลงโทษ แตผูเรียนมักจะสนใจเลียนแบบพฤติกรรมที่แมแบบแสดงแลวไดรับรางวัล หรือการยอมรับจากสังคม

3. ผลจากการตอบสนอง เปนการตอบสนองตอแมแบบของผูรับแบบ ซึ่งแสดงออกมาตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับภูมิหลัง และประสบการณของแตละบุคคล กลาวคือ การอบรมเลี้ยงดูหรือไดรับการเรียนรูของแตละคนจะไมเหมือนกัน ทําใหลักษณะการตอบสนองตอตัวแบบตางกัน เชน พฤติกรรมบางอยางของแมแบบเปนสิ่งที่ผูรับแบบไดรับการอบรมสั่งสอนมาวาเปนสิ่งที่ขัดกับสังคม ในกรณีเชนนี้ผูรับแบบจะไมตอบสนองตามแบบที่รับจากแมแบบ เพราะผลการเรียนรูมากกวาพฤติกรรมตามแมแบบแสดงมานั้น เปนสิ่งที่ขัดกับการยอมรับทางสังคม ผูรับแบบจะเกิดการเลียนแบบจากแมแบบนั้นได

Mikulus (1978: 121-122) จัดกระบวนการที่จัดเปนสถานการณ เพื่อใหผูสังเกตไดเปนแบบอยางมี 4 กระบวนการ ดังนี้

Page 58: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

50

1. กระบวนการเอาใจจดจอ หมายถึง กระบวนการกําหนดการสัมผัสและการรับรูเหตุการณหรือพฤติกรรมตนแบบ รวมทั้งคุณลักษณะของพฤติกรรมตนแบบที่จะโนมนาวใหผูสังเกตเกิดความตั้งใจจดจอ เฝาสังเกตเหตุการณหรือพฤติกรรมตนแบบนั้น

2. กระบวนการประมวลพฤติกรรม หมายถึง กระบวนประมวลเหตุการณพฤติกรรมตนแบบที่สังเกตไวแลว เปล่ียนไปสูปฏิบัติจนกลายเปนพฤติกรรมในอนาคต

3. กระบวนการกระทําใหเกิดการปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการที่สังเกตไดรวบรวมเอาองคประกอบตาง ๆ ของพฤติกรรมตนแบบ เพื่อเปลี่ยนไปสูกระบวนการของพฤติกรรมใหม

4. กระบวนการจูงใจ หมายถึง กระบวนการที่ชี้ใหเห็นวาพฤติกรรมที่ผูสังเกตรับมานั้นจะตองถูกนําไปปฏิบัติโดยผานกระบวนการจูงใจหรือเสริมกําลังใจ เพื่อใหผูสังเกตพรอมที่จะนําเอาพฤติกรรมที่สังเกตไปปฏิบัติ

การเลียนแบบเกิดขึ้นไดทั่วไป ทุกวัฒนธรรม ทุกเพศ วัย และทุกอาชีพแมแบบที่กอใหเกิดการเรียนแบบนั้น อาจเปนชีวิตจริงในสังคมหรือเปนสัญลักษณก็ได และสามารถแสดงออกไดหลายๆ รูปแบบ เชน ทางคําพูด การเขียนภาพหรือหลาย ๆ รูปแบบของสัญลักษณรวมกันเปนแมแบบอันหนึ่ง การเสนอในลักษณะของรูปภาพ อาจเสนอเปนภาพยนตร โทรทัศน หรือโสตทัศนูปกรณอื่น ๆ อยูตลอดเวลา และการสื่อสารทางคําพูดมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคลนอยกวาการสื่อสารโดยใชโสตทัศนูปกรณ

จากทฤษฏีการเรียนรูและการสังเกตแมแบบแลว การเลียนแบบเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดทุกขณะในสังคม โดยมีองคประกอบหลากหลายรวมตัวกัน กอใหเกิดการเลียนแบบหรือการไมเลียนแบบของผูรับแบบ การศึกษาถึงอิทธิพลของแมแบบที่มีตอการเรียนการสอนนั้นจะชวยใหผูที่เกี่ยวของเขาใจ และเห็นประโยชนขอบกพรอง ขอควรคํานึงในการใชแมแบบ เพื่อการเรียนการสอนไดกวางยิ่งขึ้น

การเปนแมแบบของครูนั้น หมายถึงวา ครูจะตองเปนตัวอยางที่ดีแกศิษย โรงเรียนและบานจะตองรวมมือกันอยางสม่ําเสมอตลอดเวลา ทุกคนควรเคารพในสิทธิเสรีภาพของกันและกันไมยกตนขมทาน ไมวิวาทบาดหมางเปนศัตรูกันใหนักเรียนเห็น ครู อาจารย จะถือวาสิ่งนี้ครูทําไดนักเรียนทําไมได หาไดไม เพราะนักเรียนจะเกิดความคิดวา เรื่องจริยธรรมที่ครูสอนเปนเรื่องหนาไหวหลังหลอก ในทางตรงกันขาม แบบอยางของครูอาจารยในโรงเรียนเปนการทักทายไหวกราบระหวางครูใหญ- ครู, ครู-นักเรียน การไมคุยกันในหองประชุม การไมแสดงอารมณฉุนเฉียวใสนักเรียน การไมกลาวคําเสียดสี ประชดประชันกันยามเมื่อนักเรียนทําผิด การทักทายนักเรียน การใหความเอาใจใสแกนักเรียน ฯลฯ เหลานี้เปนชองทางใหนักเรียนไดพบเห็นจริยธรรมประพฤติ

Page 59: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

51

ปฏิบัติจากครู ซึ่งเปนอาจารยของเขานั่นเอง (กองแกว เจริญอักษร อางถึงในกาญจนา ชาติรัมย , 2555: 34)

เสนีย มีทรัพย (2522: 22-25) ไดแสดงทัศนะไวในฐานะครูตนแบบหรือแมแบบวาจําเปนจะตองมีจริยธรรมของครูเพื่อเปนบรรทัดฐานในการประพฤติปฏิบัติในชีวิตเพื่อใหนักเรียนไดเลียนแบบในทางบวก จริยธรรมครูในที่นี้หมายถึง การแสดงออกในสิ่งที่ควรประพฤติปฏิบัติอันเปนหนาที่ที่ครูพึงกระทํา ไดแก

1. ประพฤติตนดีสม่ําเสมอ2. ดํารงชีวิตและปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีของชุมชน3. ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีของสังคมในดานศีลธรรม วัฒนธรรม4. นํานักเรียนใหพนจากทางเสื่อม5. ไมทําโทษนักเรียนเกินกวาเหตุ6. เปนคนตรงตอเวลา7. รักษาชื่อเสียง คานิยม ของโรงเรียนและคณะครู8. รับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย9. แตงกายเรียบรอย10. มีระเบียบวินัย11. มีกิริยาวาจาสุภาพออนโยน ยิ้มงาย12. ปฏิบัติกับนักเรียนไดเหมาะสมกับเพศและวัย13. หลีกเลี่ยงที่กอใหเกิดความแตกราวในหมูคณะ14. สงเสริมใหนักเรียนมีความเมตตา กรุณา อดทน ซื่อสัตย และสุภาพออนโยน15. สั่งสอนใหผูเรียนเกิดความรูจริง สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี

ความสุขสรุปไดวา การเปนแบบอยาง หมายถึง การที่ครูจะตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแมแบบ

เปนครูตนแบบที่ดีใหแกนักเรียนทั้งดาน กาย วาจา ใจ อันเปนแบบแผนที่ดีงามที่จะกอใหเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค การเลียนแบบเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดทุกขณะในสังคมโดยมีองคประกอบหลายประการเปนตัวรวมใหเกิดการเลียนแบบหรือเกิดการไมเลียนแบบของผูรับแบบ การศึกษาอิทธิพลของแมแบบที่มีตอการเรียนการสอนนาจะเปนการชวยใหผูเกี่ยวของเขาใจและเห็นประโยชน ขอบกพรอง ขัดความคํานึงในการใชแมแบบเพื่อการเรียนการสอนของครูที่ทําหนาที่ในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนใหเปนบุคคลที่มีคุณภาพ และตองพัฒนาไปอยางตอเนื่องไมวาจะเปนทางดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญา และจะตองเปนแบบอยางที่ดีใหผูเรียนเกิดความ

Page 60: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

52

ศรัทธา เพราะสิ่งเหลานี้มีผลตอการสงเสริมจริยธรรม การที่ครูทําตนเปนแบบอยางที่ดีแกเด็กนักเรียนนั้นยังชวยใหการอบรมสั่งสอนของครูเอง และที่ครูคนอื่น ๆ อบรมสั่งสอนเด็กเอาไวเกิดผลดีมีประสิทธิภาพ เพราะเมื่อครูทําตนดีตามที่สั่งสอนเด็ก เด็กก็จะทําตามครู ทําใหการอบรมสั่งสอนไดผลดียิ่งขึ้น

3. ดานการติดตามผลพฤติกรรมดานตาง ๆ หลังจากที่ไดรับการปรับและควบคุมซึ่งไมสะดวกแกนักเรียน

การวัดและการประเมินผล ขอมูลตาง ๆ ที่จะนํามาประเมินผล สวนมากการประเมินมักเปนรูปธรรม จึงใชวิธีการประเมินผลโดยการสังเกต สัมภาษณ สอบถาม และเฝาติดตามจากตัวเด็ก ตลอดจนมีการบันทึกพฤติกรรมที่เกิดขึ้น โดยมีการบันทึกพฤติกรรมตาง ๆ ที่นักเรียนไดแสดงออกมาในรูปของระเบียนพฤติกรรม

การวัดเปนการกําหนดตัวเลขใหวัตถุ เหตุการณอยางมีกฎเกณฑ ซึ่งการประเมินเปนการตัดสินคุณคาที่จะวัดได การวัดและการประเมินผลก็ดี ตองผานกระบวนการที่ไดมาซึ่งขอมูลทางการศึกษา อาจจะไดมาโดยการใชขอสอบไววัดอยางเดียว บางกรณีอาจใชวิธีการสังเกต สัมภาษณ การดูงาน ผลงานที่ทํา เปนตน ขอมูลที่ไดหลังจากการวัดแลวจะนําไปสูการประเมินผลอีกทีหนึ่งจึงถือวาเปนการประเมินผล (ขวัญใจ พลอยลอมเพชร, 2541: 46)

ในขณะเดียวกัน ยังมีการวัดผลแนวใหม ในรูปของแฟมสะสมงาน (Portfolio) ก็สามารถประเมินเด็กได การจัดเก็บเปนแฟมสะสมงาน การคัดเลือกงานที่เก็บไว ผลงานที่สนับสนุนการคนพบ เชน ผลงานตาง ๆ ที่เขียนเปนกลอน นักเรียนบางคนอาจพัฒนาไปไดเร็วบางคนอาจพัฒนาชา แฟมสะสมงานที่มีคุณภาพจึงสะทอนการทํางานที่แทจริง มีหลักฐานพรอมขอสรุปความรูเกี่ยวกับการทํางาน สามารถนําไปเผยแพรได สามารถนําไปประกอบการสัมภาษณและตรวจผลงานและผลของการทดสอบการประเมินตาง ๆ แฟมสะสมงานจึงสะทอนไดทั้งภาพครูและนักเรียน (คําหมาน คนไค, 2543: 141) การติดตามผลจะสมบูรณแบบโดยเนนความเปนมนุษยที่สมบูรณแบบ พระราชวรมุนี (2544: 18-20) ไดอธิบายในเรื่องธรรม 7 ขอ ที่เรียกวา สัปปุริสธรรม 7 ดังนี้

1. ธัมมัญุตา รูหลักและรูจักเหตุ คือ รูหลักการและกฎเกณฑของสิ่งทั้งหลายที่ตนเขาไปเกี่ยวของในการดําเนินชีวิตและในการปฏิบัติกิจหนาที่ตาง ๆ รูวาตําแหนงหนาที่และการวางนั้น ๆ จึงเปนเหตุใหบรรลุผลสําเร็จ รูเทาทันกฎธรรมชาติ มีใจอิสระไมตกเปนทาสของโลก

2. อัตถัญุตา รูความหมายและรูจักผล รูความหมายและหลักการที่ตนปฏิบัติเขาใจวัตถุประสงคของกิจการที่ตนกระทํา รูวาตนกําลังทําอะไร ควรไดบรรลุถึงผลอะไรเขากําหนดงาน

Page 61: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

53

และความมุงหมายไวอยางไร จะเปนผลดีและผลเสียอยางไร รูความหมายของคติธรรมและประโยชนที่เปนจุดมุงหมายแทจริงของชีวิต

3. อัตตัญุตา รูตน คือรูตามความจริงวา ตัวเรานั้นวาโดยฐานะ ภาวะ เพศ ความรู ความถนัด ความสามารถ คุณธรรม แลวประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสม ทําการตาง ๆ ใหสอดคลองถูกจุดที่จะสัมฤทธิผล ตลอดจนเขาไปใหสมบูรณยิ่งขึ้น

4. มัตตัญุตา รูประมาณ คือ รูจักพอดี รูจักประมาณ ในการบริโภคในการใชจายทรัพย รูจักความพอเหมาะพอดีในการพูด ปฏิบัติทําการตาง ๆ ตลอดจนการพักผอนนอนหลับและสนุกสนาน ทําดวยความเขาใจและเกิดผลดี มิใชเพียงเพื่อเห็นแกความพอใจ ชอบใจ เอาแตใจตนเอง ทําแลวมีความพอดีลงตัวใหเกิดผลที่มองเห็นดวยปญญา

5. กาลัญุตา รูกาล คือ รูกาลเวลาอันเหมาะสม ระยะเวลาที่พึงใชการประกอบกิจ ทําหนาที่ปฏิบัติการตาง ๆ เกี่ยวกับผูอื่น เชน รูวาเวลาไหนควรทําอะไร อยางไร ใหตรงกับเวลา ใหเปนเวลา ทันเวลา เหมาะเวลา และใหถูกเวลา รูจักการกะเวลาและวางแผน การใชเวลาอยางเหมาะสม

6. ปริสัญุตา รูชุมชน คือ รูจักถิ่น รูจักชุมชน รูกาลเวลาที่ประพฤติปฏิบัติในถิ่นที่ชุมชนตอชุมชน เมื่อเขาไปหาควรทําอยางไร ควรพูดอยางไร ชุมชนมีระเบียบวินัย และมีความตองการดานวัฒนธรรมประเพณี ควรรับใชและจะบําเพ็ญประโยชนไดอยางไรตอชุมชนนั้น

7. บุคคลัญุตา รูบุคคล คือ รูจักและเขาใจความแตกตางแหงบุคคลวาโดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุณธรรม ใครยิ่งหยอนอยางไร และรูจักที่จะปฏิบัติตอบุคคลอื่น ๆ ดวยดีวาควรคบหรือไม ไดคติอะไรจะเกี่ยวของ ยกยอง หรือตําหนิแนะนําสั่งสอนอยางไร จึงจะเกิดผลดี การติดตามผลจะเริ่มไดต้ังแตสุดทาย เพื่อรายงานความกาวหนาของสําเร็จตามแผน

สรุปไดวาการติดตามผล หมายถึง กระบวนการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนหลังจากที่ไดรับการอบรมสั่งสอน และการเห็นแบบอยางที่ดีมาแลว โดยใชวิธีการสังเกต สัมภาษณ การตรวจติดตามผลงานของนักเรียน ใหมีการประเมินผูเรียนเพื่อสรางพฤติกรรมบมเพาะการเปนแบบอยางที่ดี และเปนการสรางพื้นฐานใหเกิดลักษณะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตาง ๆ

เพื่อศึกษาถึงความกาวหนาของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนวาจะกาวหนาหรือบกพรองเพียงใดนั้น ครูจะตองทราบไดโดยการติดตามผล เพราะนอกจากจะใชเปนขอมูลสําหรับสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนใหมีระดับที่พึงปรารถนาแลวยังสามารถใชเปนขอมูลปอนกลับเพื่อใหนักเรียนทราบสถานะของตนและทําใหเกิดการปรับปรุงตนเอง จนบรรลุความสําเร็จทางระดับพฤติกรรมจริยธรรมใหเปนที่พอใจได

Page 62: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

54

การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม โดยวิธีสอนแบบตาง ๆ ในปจจุบันไดมีการสงเสริมใหครูมีการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลางมากขึ้น ซึ่งการที่ครูจะสามารถจัดไดตองอาศัยวิธีการสอนแบบตาง ๆ เขามาชวยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนที่ใชกันอยูนี้สามารถนํามาใชในการสอนคุณธรรม จริยธรรม (ทิศนา แขมมณ,ี 2542: 30) เชน

1. การเลานิทานเปนการสอนที่ใชนิทานเปนสื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเนื้อหาสาระที่ตองการ ซึ่งครูอาจใชสื่ออื่น ๆ ประกอบได เชน หุน ภาพ แผนปายสําลี การตูน เปนตน นิทานที่ใชมีหลายประเภท เชน นิทานปรัมปรา (Fairy Tale) นิทานทองถิ่น (Legend) นิทานเทพนิยาย (Myth) นิทานเกี่ยวกับสัตว (Animal) นิทานคติธรรม (Fable) นิทานไมรูจบ (Cumulative Tales) และนิทานตลก (Humorous) นิทานใชไดดีกับเด็กเล็กและเด็กระดับประถมศึกษา สําหรับเด็กโตและเยาวชนนิทานก็ยังใชได แตเน้ือหานิทานตองเหมาะกับระดับของผูเรียน

2. การเลนเกมสเปนการเลนภายใตกติกาที่กําหนดโดยมีจุดมุงหมายของการเลนโดยทั่วไปแลวจะมีการแขงขันเพื่อใหเกิดความสนุกตื่นเตน เกมการเลนหลายเกมสามารถใชการสอนและฝกคุณธรรม และจริยธรรมตาง ๆ ไดดี เชน ความเอื้อเฟอเผื่อแผ การเสียสละ ความอดทน การมีน้ําใจนักกีฬา รูแพ รูชนะ การใหอภัย การเลนและทํางานเปนทีม การเคารพสิทธิผูอื่น เปนตน

3.การใชกรณีตัวอยางเปนการสอนที่ใชเรื่องที่คัดสรรมาหรือเขียนขึ้นใหผูเรียนไดศึกษา โดยมีประเด็นคําถามใหผูเรียนฝกการคิดวิเคราะหและแกปญหา เรื่อที่คัดสรรมาหรือเขียนขึ้นนี้ควรจะเปนเรื่องที่คลายคลึงกับความเปนจริง การที่ผูเรียนไดอภิปรายประเด็นตาง ๆ รวมกันจะชวยใหผูเรียนไดวิเคราะหหาคําตอบที่เหมาะสม การสอนแบบนี้นํามาใชไดดีในการสอนคุณธรรม จริยธรรม โดยครูอาจนําขาวจากหนังสือพิมพ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เปนประเด็นปญหาทางสังคมในดานคุณธรรม จริยธรรม มาใชเปนกรณีตัวอยาง

4. การใชบทบาทสมมุติเปนการสอนโดยใหผู เรียนสวมบทบาทเปนตัวละครในสถานการณที่สมมุติขึ้น เพื่อชวยใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับบทบาทที่สวม อันจะชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจในความคิด ความรูสึก เจตคติ และอคติตาง ๆ ของตน ดวยเหตุการณสอนแบบนี้จึงสามารถใชสอนคุณธรรม จริยธรรม เพราะมีความเกี่ยวของกับจิตใจ และความรูสึกโดยตรง

5. การใชสถานการณจําลองเปนการสอนโดยการใหผูเรียนเขาไปมีปฏิสัมพันธกันในสถานการณที่จําลองจากสถานการณจริงเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูความเปนจริงของสถานการณนั้น สถานการณจําลองใชในการสอนจริยธรรมคุณธรรมตาง ๆ ไดดี ตัวอยางเชน เรื่องการเห็นประโยชนสวนตนและสวนรวม มีการจําลองสถานการณที่ผูเรียนสามารถลงไปเลนแลวใหเห็นวาหากทุกคนเห็นประโยชนสวนตน อะไรจะเกิดเปนเหตุใหคนตองเห็นแกประโยชนตน รวมทั้งได

Page 63: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

55

เรียนรูถึงการรูจักประสานประโยชนสวนตนและสวนรวม การมองการณไกลและการคํานึงถึงประโยชนระยะยาว ซึ่งเปนสวนจําเปนในการอยูรวมกันและทํางานรวมกัน

6. การสอนโดยใชกระบวนการและกิจกรรมกลุมสัมพันธ การสอนโดยใชกระบวนการกลุมสัมพันธ หมายถึง การสอนโดยใชกลุมเปนเครื่องมือในการสอนชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดหมายที่กําหนด รวมทั้งไดเรียนรูในเรื่องการทํางานรวมกันดวยความสัมพันธอันดี และไดผลงานที่ดีควบคูไปดวย ดวยเหตุการณนี้การสอนแบบนี้จึงมักมีการจัดกิจกรรมกลุมยอย เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสรวมกิจกรรมอยางทั่วถึงและเรียนรูจากกันและกัน การสอนแบบนี้มักใชการอภิปรายกลุมยอยแบบตาง ๆ ซึ่งการสอนวิธีอื่น ๆ โดยเฉพาะวิธีที่กลาวมาขางตนลวนนําเอาการอภิปรายกลุมยอยไปใชประกอบทั้งสิ้น ซึ่งสวนใหญใชการอภิปรายสรุป หลังจากไดทํากิจกรรมตามวิธีนั้นแลว

สรุปไดวา สําหรับการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษามุงศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยครูเปนผูมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักเรียนควรใชหลักประกอบในการสงเสริมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในตัวนักเรียนหลาย ๆ ดาน การสอนคุณธรรมจริยธรรมใหไดผลดีจริง ๆ ครูตองเปนแบบอยางและไดรับความเชื่อถือ และความสนใจจากผูเรียน ดังนั้นผูศึกษาจึงเลือกศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) ใน3 ดาน คือ 1. ดานการอบรมสั่งสอน 2. ดานการเปนแบบอยาง และ 3. ดานการติดตามผล

2.3 ผลงานศึกษาที่เกี่ยวของกาญจนา ชาติรัมย (2555) ทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรม

นักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนโดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดานแลวเรียงอันดับจากมากไปนอย ไดดังนี้ ดานการเปนแบบอยาง ดานการอบรมสั่งสอน และดานการติดตามผล ผลการเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามเพศและวุฒิการศึกษา โดยรวมแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลการเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามประสบการณการสอน โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณการสอนนอยกวา 10 ป มีบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนสูงกวาครูที่มีประสบการณการสอนตั้งแต 10 ปขึ้นไป และผลการเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามสถานศึกษา โดยรวม

Page 64: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

56

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 3 มีบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนสูงกวาครูโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 และครูโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 มีบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนสูงกวาครูโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1

นิตยา ยิ้มแยม (2555) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ผลการศึกษาพบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก เปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายดาน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเวนดานการติดตามผล แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ และเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จําแนกตามประสบการณสอน โดยรวมและรายดาน แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

อุไรวรรณ เจียรประดิษฐ (2553) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษา พบวา ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ 1. บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียน สังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยรวมและรายดานพบวาอยูในระดับมาก 2. บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ระหวางความคิดเห็นของครูที่สอนในโรงเรียนที่มีขนาดแตกตางกัน พบวา ความแตกตางของบทบาทผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญทั้ง 3 ดาน โดยรวมและรายดานมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ 3. บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียน สังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ระหวางความคิดเห็นของครู จําแนกตามชวงชั้นพบวาความแตกตางของบทบาทผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จังหวัดชลบุรี ของชวงชั้น ทั้ง 3 ดาน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 65: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

57

ฐิติพร บานดาน (2554) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากทุกดาน และเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จําแนกตามเพศโดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน เปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามประสบการณการสอน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน

วิภานันท ขวัญสุวรรณ (2552) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูอนุบาลในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาลเอกชน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ผลการศึกษาพบวา บท บา ท ขอ งค รูอนุ บ า ลใน การ ส ง เส ริ มคุณธ รร มจริยธรรมเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาลเอกชน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ในภาพรวมอยูในระดับมาก คือ ดานการเปนแบบอยางที่ดี ดานการสรางจิตสํานึกในการยอมรับคุณธรรมและขอบกพรองของตน ดานการจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียน ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการฝกปฏิบัติตามคุณธรรมจริยธรรม ตามลําดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ครูอนุบาลโรงเรียนอนุบาลเอกชน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ที่มีสถานภาพดานอายุ ประสบการณการสอน และดานสาขาที่สําเร็จการศึกษาตางกัน มีบทบาทในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวัยในภาพรวมไมแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ครูที่สําเร็จการศึกษาสาขาปฐมวัย และครูที่สําเร็จการศึกษาในสาขาอื่น มีบทบาทในดานการเปนแบบอยางที่ดีแกเด็กแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

วิรัตน รัตนกําเนิด (2551) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนในสหวิทยาเขตรัชมังคลาภิเษก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนในสหวิทยาเขตรัชมังคลาภิเษก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 ตามความคิดเห็นของผูบริหารและครู ในภาพรวมทั้ง 3 ดานและรายดานทุกดานอยูในระดับมาก เรียงคาเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ําสุด ดังนี้ คือ ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดานการจัดระเบียบงานการใชหลักสูตร ดานการวัดผลประเมินผล

Page 66: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

58

ศุภชัย มีผล (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขตอําเภอขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขตอําเภอขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการเปนแบบอยาง ดานการอบรมสั่งสอน และดานการติดตามผล สวนผลการเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขต อําเภอขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 จําแนกตามเพศและประสบการณในการสอนแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

เจริญ มาเรือง (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ผลการศึกษาพบวา บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยองโดยรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานการจัดระเบียบงานการใชหลักสูตร ดานการวัดผลประเมินผลอยูในระดับปานกลาง ยกเวนดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมจริยธรรมนักเรียนอยูในระดับมาก บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวม และรายดานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยองจําแนกตามระยะเวลาของผูบริหารที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนปจจุบันไมแตกตางกัน

ชูชาติ สามารถกุล (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 ผลการศึกษาพบวา บทบาทของผูบริหารนักศึกษาในการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต4 ตามความคิดของครูและกรรมการสถานศึกษาโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานการเปนแบบอยางและดานการอบรมสั่งสอนอยูในระดับมาก สวนดานการติดตามประเมินผลอยู ในระดับปานกลาง ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและคุณธรรมการสถานศึกษาตอบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมคุธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานในพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จําแนกตามสถานภาพโดยภาพรวมแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ .01 เมื่อพิจารณารายดาน

Page 67: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

59

พบวาดานการจัดกิจกรรมและดานการนิเทศติดตามประเมินผลแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ .01

ภวัต โฆษิตณรงค (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนของครูผูสอนจริยศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการศึกษา พบวา บทบาทในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนของครูผูสอนจริยศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้ง 3 ดาน อยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน คือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง อยูในระดับมาก และดานการติดตามผล อยูในระดับปานกลาง เปรียบเทียบบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนของครูผูสอนจริยศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการระถมศึกษาอําเภอบางน้ําเปรี้ยว ทั้ง 3 ดาน คือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง ดานการติดตามผล ระหวางกลุมโรงเรียนหมอนทอง กับกลุมโรงเรียนดอนเกาะกา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สุเทพ พันธโสลี (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอบอทอง สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยศึกษาจากครูผูสอนในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษา 3 ดาน คือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และดานการติดตามผล พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอบอทอง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก และโรงเรียนที่มีขนาดตางกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และประสบการณตางกัน แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

สลิลทิพ ชูชาติ (2556) ไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ผลการศึกษาพบวา ครูผูสอนมีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา ครูผูสอนมีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา อยูในระดับมากทุกดาน จําแนกเปนรายดาน ไดแกดานการครองตน ตามหลักฆราวาสธรรม ภาพรวมอยูในระดับมาก ดานการครองคน ตามหลักพรหมวิหารธรรม ภาพรวมอยูในระดับมาก และดานการครองงาน ตามหลักอิทธิบาทธรรมภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผูสอนตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 โดยจําแนกตาม

Page 68: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

60

ปจจัยสวนบุคคลแลวพบวา ครูผูสอนที่มีเพศ, อายุ และขนาดสถานศึกษาตางกัน มีความคิดเห็นของครูผูสอนตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ไมแตกตางกันทุกดาน ที่มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

กวาง เสียงล้ํา (2550) ไดทําการศึกษาพฤติกรรมจริยธรรมของครูผูสอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3 พบวา โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดแก ดานการครองตน ดานการครองงานและดานการครองคน และเมื่อเปรียบเทียบดานพฤติกรรมจริยธรรมของครูผูสอนในสถานศึกษาที่มีขนาดตางกัน พบวา ครูผูสอนสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลางมีพฤติกรรมดานจริยธรรมสูงกวาครูผูสอนสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดใหญ

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษาสําหรับการศึกษา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริม

จริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ตัวแปรตน ประกอบดวย1. ปจจัยสวนบุคลของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราช

ภัฏพระนคร ประกอบดวย อายุ และระดับชั้นที่ศึกษา2. พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ตามแนวทางการศึกษาของ กวาง เสียงล้ํา (2550) มาใชเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูซึ่งเปนการใชหลักพุทธธรรมเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของครู ซึ่งถือวาเปนผูมีอิทธิพลตอนักเรียนทุกคนในสถานศึกษา ประกอบดวย 3 ดานคือ

1. ดานการครองตน2. ดานการครองคน3. ดานการครองงานตัวแปรตาม คือ บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โดยศึกษาตาม

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) ประกอบดวย 3 ดาน คือ

1. ดานการอบรมสั่งสอน 2. ดานการเปนแบบอยาง

Page 69: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

61

3. ดานการติดตามผลมาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังน้ี

ตัวแปรตน (IV) ตัวแปรตาม (DV)

แผนภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

2.5 สมมติฐานในการศึกษา สมมติฐานที่ 1 นักเรียนที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการ

สงเสริมจริยธรรมของนักเรียน แตกตางกันสมมติฐานที่ 2 นักเรียนที่มีระดับชั้นที่ศึกษาที่ตางกันตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ

บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน แตกตางกันสมมติฐานที่ 3 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริม

จริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.1 ดานการครองตนมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.2 ดานการครองคนมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.3 ดานการครองงานมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

ปจจัยสวนบุคล1. เพศ2. ระดับชั้นที่ศึกษา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรม

ของนักเรียน1. ดานการอบรมสั่งสอน2. ดานการเปนแบบอยาง3. ดานการติดตามผล

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู1. ดานการครองตน2. ดานการครองคน3. ดานการครองงาน

Page 70: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

62

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน หมายถึง พฤติกรรมในการ

ปฏิบัติการในหนาที่เพื่อจูงใจ เปนแบบอยางใหประพฤติปฏิบัติ ทั้งทางกาย วาจา ใจ เรงเราใหนักเรียนกระทําหนาที่อยางถูกตอง สมบูรณ เปนคนมีเหตุมีผล ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ที่สังคมยอมรับเพื่อใหบรรลุถึงสภาพชีวิตที่มีคุณคาอันพึงประสงคของตนเองและสังคม

การอบรมสั่งสอน หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดพัฒนาการ โดยวิธีการตาง ๆ ไดแก ใหนักเรียนฝกพฤติกรรม หมายถึงการที่ครูไดจัดใหนักเรียนไดเรียนรูอยางหลากหลาย และไดรับประสบการณตรง หรือการใชบทบาทสมมุติ บอก แนะนํา สั่งสอน โดยครูเปนผูแสดง นักเรียนเปนผูฟง หรือการใชวิธีการสอนแบบบูรณาการที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การเสริมแรง โดยการใหรางวัล ยกยองชมเชย จูงใจ หรือการลงโทษ การจัดการเรียนการสอนเพื่อปรับเปลี่ยนนิสัยจากจุดดอยเปนจุดเรียนจากวิกฤติใหเปนโอกาสแกผูเรียน การสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหตระหนักในบทบาทของผูเรียนที่จะกอใหเกิดผลในการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

การเปนแบบอยาง หมายถึง การที่ครูจะตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแมแบบ เปนครูตนแบบที่ดีใหแกนักเรียนทั้งดาน กาย วาจา ใจ อันเปนแบบแผนที่ดีงามที่จะกอใหเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค การใชแมแบบเพื่อการเรียนการสอนของครูที่ทําหนาที่ในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนใหเปนบุคคลที่มีคุณภาพ และตองพัฒนาไปอยางตอเนื่องไมวาจะเปนทางดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญา และจะตองเปนแบบอยางที่ดีใหผูเรียนเกิดความศรัทธา เพราะสิ่งเหลานี้มีผลตอการสงเสริมจริยธรรม การที่ครูทําตนเปนแบบอยางที่ดีแกเด็กนักเรียนนั้นยังชวยใหการอบรมสั่งสอนของครูเอง และที่ครูคนอื่น ๆ อบรมสั่งสอนเด็กเอาไวเกิดผลดีมีประสิทธิภาพ เพราะเมื่อครูทําตนดีตามที่สั่งสอนเด็ก เด็กก็จะทําตามครู ทําใหการอบรมสั่งสอนไดผลดียิ่งขึ้น

การติดตามผล หมายถึง กระบวนการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนหลังจากที่ไดรับการอบรมสั่งสอน และการเห็นแบบอยางที่ดีมาแลว โดยใชวิธีการสังเกต สัมภาษณ การตรวจติดตามผลงานของนักเรียน ใหมีการประเมินผูเรียนเพื่อสรางพฤติกรรมบมเพาะการเปนแบบอยางที่ดี และเปนการสรางพื้นฐานใหเกิดลักษณะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตาง ๆ

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตน การแสดงออกในสิ่งที่ดีงามจนเปนนิสัยหรือเคยชินโดยเปนปกติของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการครองตน ดานการครองคน และดานการครองงาน

Page 71: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

63

ดานการครองตน หมายถึง การกระทําทาทีที่แสดงออกของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที่แสดงออกมาใหนักเรียนและผูที่เกี่ยวของ สามารถสังเกตเห็นไดในเรื่องของกริยา ทาทาง สอดคลองตามหลักฆราวาสธรรม ไดแก สัจจะ คือ ความจริง พูดจริง ทําจริง ทมะ คือ ฝกตน บังคับควบคุมจิตใจตนเอง ขันติ คือ อดทน มุงมั่นในการทํางาน และ จาคะ คือ เสียสละ มีน้ําใจ

ดานการครองคน หมายถึง การกระทํารวมถึงทาทีที่ครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แสดงปฏิสัมพันธตอนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดความพึงพอใจ สอดคลองตามหลักพรหมวิหารธรรม ไดแก เมตตา คือ ความรัก ความปรารถนาดี กรุณา คือ ความสงสาร อยากชวยเหลือผูอื่น มุทิตา คือ ความเบิกบานพลอยยินดีเมื่อเห็นผูอื่นมีความสุข และอุเบกขา คือ ความมีใจเปนกลาง

ดานการครองงาน หมายถึง การกระทํารวมถึงทาทีที่ครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครแสดงออกมาเพื่อใหนักเรียนหรือผูที่ เกี่ยวของ ปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคสอดคลองตามหลักอิทธิบาทธรรม ไดแกฉันทะ คือ ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น วิริยะ คือ ความเพียรพยายามทําในสิ่งนั้น จิตตะ คือ การเอาใจฝกใฝในสิ่งนั้น และวิมังสา คือ การพิจารณาใครครวญหาเหตุผลในสิ่งนั้น

Page 72: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

64

บทที่ 3วิธีการศึกษา

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนนักเรียน เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลและเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยมีขั้นตอนการดําเนินการ ดังน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 1,269 คนกลุมตัวอยางในการศึกษา ไดแก นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยใชเกณฑกําหนดจํานวนกลุมตัวอยาง จากตารางกําหนดกลุมตัวอยางของ Krejcie and Morgen (1970: 608) จํานวน 295 คน

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก แบบสอบถามที่สรางขึ้นโดยมีขั้นตอนตามลําดับ

ดังนี้ 1. การศึกษาเอกสาร ตํารา และงานศึกษาตาง ๆ ที่เก่ียวของกับงานศึกษาครั้งนี้ 2. การจัดทําโครงสรางของแบบสอบถาม ใหมีเนื้อหาครอบคลุมวัตถุประสงคของการ

ศึกษาครั้งนี้ แบบสอบถามมี 3 สวนคือ สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย อายุ และระดับชั้นที่

ศึกษา

Page 73: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

65

สวนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการครองตน ดานการครองคน และ ดานการครองงาน ซึ่งใชคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย และนอยที่สุด

สวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และดานการติดตามผล ซึ่งใชคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย และนอยที่สุด

3. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษารายงานการศึกษาคนควาดวยตนเองของมหาวิทยาลัยเกริกไดตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหา กับวัตถุประสงคของการศึกษา เปนการศึกษา ความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถาม แลวนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใหคําถามชัดเจนสามารถ สื่อความหมายไดตรงประเด็นและเหมาะสมยิ่งขึ้น

4. การทดสอบเครื่องมือที่ใชในการศึกษา โดยการหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของเครื่องมือโดยการนําแบบสอบถาม ไปสอบถามครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 30 คนแลวจึงนํามาคํานวณหาคาความเชื่อมั่น ตามวิธีของ Cronbach (Cronbach’s Reliability Coeffcient Alpha) ซึ่งไดคาความเชื่อมั่น (Alpha) ดังนี้

ตัวแปร คาแอลฟา (Alpha) พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู

1. ดานการครองตน .78452. ดานการครองคน .76673. ดานการครองงาน .7991

บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน1. ดานการอบรมสั่งสอน .84552. ดานการเปนแบบอยาง .87413. ดานการติดตามผล .7838

3.3 การวิเคราะหขอมูลการนําขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถาม จะนํามาตรวจสอบความถูกตองสมบูรณทุก

ชุดและนํามาลงรหัสเพื่อวิเคราะหขอมูลประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการศึกษาทางสังคมศาสตร กําหนดการวัดระดับคะแนน ดังนี้

Page 74: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

66

1. คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการครองตน ดานการครองคน และ ดานการครองงาน กําหนดระดับลักษณะแบบสอบถามแบบมาตรวัด Likert’s Scale ทั้งหมด 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย และนอยที่สุด

มากที่สุด มีคาเทากับ 4 คะแนนมาก มีคาเทากับ 3 คะแนนนอย มีคาเทากับ 2 คะแนนนอยที่สุด มีคาเทากับ 1 คะแนน

โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

เกณฑในการแปลความหมายของคะแนน แบงออกเปน 4 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย ความหมาย3.26 – 4.00 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูอยูในระดับมากที่สุด2.51 – 3.25 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูอยูในระดับมาก1.76 – 2.50 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูอยูในระดับนอย1.00 – 1.75 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูอยูในระดับนอยที่สุด

2. คําถามเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานคือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และดานการติดตามผล กําหนดระดับลักษณะแบบสอบถามแบบมาตรวัด Likert’s Scale ทั้งหมด 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย และนอยที่สุด

4จํานวน

Page 75: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

67

มากที่สุด มีคาเทากับ 4 คะแนนมาก มีคาเทากับ 3 คะแนนนอย มีคาเทากับ 2 คะแนนนอยที่สุด มีคาเทากับ 1 คะแนน

โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

เกณฑในการแปลความหมายของคะแนน แบงออกเปน 4 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย ความหมาย3.26 – 4.00 การสงเสริมจริยธรรมนักเรียนอยูในระดับมากที่สุด2.51 – 3.25 การสงเสริมจริยธรรมนักเรียนอยูในระดับมาก1.76 – 2.50 การสงเสริมจริยธรรมนักเรียนอยูในระดับนอย1.00 – 1.75 การสงเสริมจริยธรรมนักเรียนอยูในระดับนอยที่สุด

3.4 การรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาไดดําเนินการเก็บขอมูล ดวยการขอความรวมมือจากกลุม

ตัวอยางนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 295 คน โดยนําแบบสอบถามไปแจกใหกลุมตัวอยางกรอกขอมูล และขอรับคืนแบบสอบถามดวยตนเอง

3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้1. วิเคราะหปจจัยสวนบุคลของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย อายุ และระดับชั้นที่

ศึกษา โดยใชความถี่ (Frequency ) และคารอยละ (Percentage)

4จํานวน

Page 76: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

68

2. วิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมและบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยใชคาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

3. สถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิเคราะหเปรียบเทียบระดับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนที่จําแนกตามขอมูลสวนบุคคลที่แตกตางกัน คือ สถิติ t - test เพื่อทดสอบสมมติฐาน สําหรับกรณีกลุมตัวแปรอิสระ 2 กลุม คือ เพศ และระดับชั้นที่ศึกษา

4. การทดสอบสมมติฐานหาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โดยใชสถิติ Pearson Correlation เปนการหาความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัวที่อยูในมาตรการวัดระดับ Interval หรือ Ratio Scale คาที่ไดเรียกวา “สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ” โดยปกติจะมีคาอยูระหวาง 1.00 ถึง 1.00 ถามีคาติดลบหมายความวา ตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขาม ถามีคาเปนบวกหมายความวา ตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันถามีคาเปน 0 หมายความวาตัวแปร 2 ตัวไมมีความสัมพันธกัน

เกณฑในการแปลความหมายของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Cohen, 1988) เปนดังนี้ คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตั้งแต 0.10 – 0.30 มีความสัมพันธในระดับต่ํา

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตั้งแต 0.31 – 0.50 มีความสัมพันธในระดับปานกลางคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตั้งแต 0.51 – 0.70 มีความสัมพันธในระดับสูงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตั้งแต 0.71 – 1.00 มีความสัมพันธในระดับสูงมาก

Page 77: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนนักเรียน ศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล และเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลออกเปน 4 สวน ดังตอไปนี้

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม4.2 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู4.3 ผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัด

พระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร4.4 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนจําแนกตาม

ขอมูลสวนบุคคล4.5 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครู

ในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามขอมูลสวนบุคคลซึ่งไดจากการตอบแบบสอบถามของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรี

มหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย เพศ และระดับชั้นที่ศึกษา โดยใชคาความถี่ และคารอยละ ปรากฏดังรายละเอียดดังนี้

69

Page 78: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

70ตารางที่ 2 แสดงจํานวนและรอยละขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

( n = 295)ขอมูลสวนบุคคล จํานวน รอยละ

เพศ ชาย หญิง

127168

43.1 56.9

รวม 295 100.0ระดับชั้นที่ศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย

106189

35.9 64.1

รวม 295 100.0

จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาขอมูลสวนบุคคลของของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 295 คน มีรายละเอียดดังนี้

จําแนกตามเพศ พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 168 คน คิดเปนรอยละ 56.9 รองลงมาคือเพศชาย จํานวน 127 คน คิดเปนรอยละ 43.1 ตามลําดับ

จําแนกตามระดับชั้นที่ศึกษา พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สวนใหญศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 189 คน คิดเปนรอยละ 64.1 และระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 35.9 ตามลําดับ

Page 79: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

71

4.2 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พิจารณาจาก 3 ดาน ประกอบดวย 1.ดานการครองตน 2.ดานการครองคนและ 3.ดานการครอง มีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

ตารางที่ 3 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในภาพรวม

ระดับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู

X SDแปลผล ลําดับ

1. ดานการครองตน 3.70 .308 มากที่สุด 12. ดานการครองคน 3.65 .333 มากที่สุด 33. ดานการครองงาน 3.66 .334 มากที่สุด 2

รวม 3.67 .277 มากที่สุด

จากตารางที่ 3 ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวมอยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 (SD =.277)

เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในระดับมากที่สุดทั้ง 3 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการครองตน มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 3.70 (SD =.308) รองลงมาคือ ดานการครองงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 (SD =.334) และดานการครองคน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 (SD = .333)

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผลไดละเอียดมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูทั้ง 3 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 80: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

72ตารางที่ 4 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองตน

ระดับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองตน

X SDแปลผล

1.ครูเปนคนพูดจริงและปฏิบัติตามที่ไดพูดไวเสมอ 3.67 .533 มากที่สุด2.ครูยึดมั่นในความซื่อตรง ซื่อสัตย มีคุณธรรม 3.77 .420 มากที่สุด3.ครูมีความอดทนอดกลั้นตอคําพูดและการกระทําของผูอื่น 3.64 .540 มากที่สุด4.ครูขมใจตนเองไมใหมัวเมากับสิ่งเพลิดเพลินจนเกินฐานะ 3.74 .442 มากที่สุด5.ครูทุมเทปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถแมจะมีปญหาหรือขอจํากัด

3.82 .385มากที่สุด

6.ครูรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนหรือผูอื่น 3.62 .545 มากที่สุด7.ครูสละเวลาสวนตัวเพื่อประโยชนสวนรวม 3.66 .473 มากที่สุด

รวม 3.70 .308 มากที่สุด

จากตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองตน พบวา อยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.70 (SD =.308)

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในระดับมากที่สุดทั้ง 7 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ครูทุมเทปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถแมจะมีปญหาหรือขอจํากัด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.82 (SD = .385) รองลงมาคือ ครูยึดมั่นในความซื่อตรง ซื่อสัตย มีคุณธรรม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.77 (SD =.420) ครูขมใจตนเองไมใหมัวเมากับสิ่งเพลิดเพลินจนเกินฐานะ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.74 (SD =.442) ครูเปนคนพูดจริงและปฏิบัติตามที่ไดพูดไวเสมอ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 (SD =.533) ครูสละเวลาสวนตัวเพื่อประโยชนสวนรวม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 (SD =.473) ครูมีความอดทนอดกลั้นตอคําพูดและการกระทําของผูอื่น มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.64 (SD =.540) และอันดับสุดทายคือ ครูรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนหรือผูอื่น มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.62 (SD =.545)ตารางที่ 5 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองคน

Page 81: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

73

ระดับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองคน

X SDแปลผล

1.ครูเอาใจใสดูแลทุกขสุขและใหคําปรึกษากับนักเรียนเสมอ 3.76 .428 มากที่สุด2.ครูรูสึกเห็นอกเห็นใจเมื่อนักเรียนมีความทุกข 3.76 .496 มากที่สุด3.ครูใหความชวยเหลือนักเรียนเมื่อเกิดปญหาไมหนีเอาตัวรอดอยางเดียว

3.34 .685 มากที่สุด

4.ครูแสดงความยินดี ชมเชยนักเรียนเมื่อปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายอยางจริงใจ

3.69 .525 มากที่สุด

5.ครูสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถใหมีความเจริญกาวหนาในหนาที่การทํางาน

3.79 .477 มากที่สุด

6.ครูใหขวัญกําลังใจหรือยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนทํางานบรรลุผลสําเร็จ

3.57 .567 มากที่สุด

7.ครูมีความยุติธรรม ไมเอนเอียงดวยรักหรือชังตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุมใดกลุมหนึ่ง

3.61 .488 มากที่สุด

รวม 3.65 .333 มากที่สุด

จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองคน พบวา อยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 (SD =.333)

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในระดับมากที่สุด 7 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ครูสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถใหมีความเจริญกาวหนาในหนาที่การทํางาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.79 (SD = .477) รองลงมาคือ ครูเอาใจใสดูแลทุกขสุขและใหคําปรึกษากับนักเรียนเสมอ และครูรูสึกเห็นอกเห็นใจเมื่อนักเรียนมีความทุกข มีคาเฉลี่ยเทากัน คือ 3.76 (SD =.428, 496) ครูแสดงความยินดี ชมเชยนักเรียนเมื่อปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายอยางจริงใจ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.69 (SD =.525) ครูมีความยุติธรรม ไมเอนเอียงดวยรักหรือ

Page 82: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

74ชังตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุมใดกลุมหนึ่ง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.61 (SD =.488) ครูใหขวัญกําลังใจหรือยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนทํางานบรรลุผลสําเร็จ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.57 (SD =.567) และอันดับสุดทายคือ ครูใหความชวยเหลือนักเรียนเมื่อเกิดปญหาไมหนีเอาตัวรอดอยางเดียว มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.34 (SD=.685)

ตารางที่ 6 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการครองงาน

ระดับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานการครองงาน

X SDแปลผล

1.ครูปฏิบัติหนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือมอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบ

3.83 .376 มากที่สุด

2.ครูเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการวางแผนกําหนดนโยบายและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน

3.58 .655 มากที่สุด

3.ครูเปนผูมุงมั่นทํางานใหสําเร็จ โดยไมยอทอตออุปสรรคความยากลําบาก

3.73 .447 มากที่สุด

4.ครูสรางทัศนคติที่ดีในการทํางาน เชน ใหทํางานเพื่อเห็นประโยชนตอสวนรวม

3.74 .442 มากที่สุด

5.ครูสงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยยกระดับคุณภาพใหไดมาตรฐาน

3.41 .653 มากที่สุด

6.ครูมีการใหคําปรึกษาหรือนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียนอยางเปนธรรม

3.66 .474 มากที่สุด

7.ครูแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ

3.68 .467 มากที่สุด

รวม 3.66 .334 มากที่สุด

Page 83: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

75จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิต

วัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองงาน พบวา อยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 (SD =.334)

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในระดับมากที่สุด 7 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ครูปฏิบัติหนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือมอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.83 (SD = .376) รองลงมาคือ ครูสรางทัศนคติที่ดีในการทํางาน เชน ใหทํางานเพื่อเห็นประโยชนตอสวนรวมมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.74 (SD =.442) ครูเปนผูมุงมั่นทํางานใหสําเร็จ โดยไมยอทอตออุปสรรคความยากลําบาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.73 (SD =.447) ครูแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 (SD =.467) ครูครูมีการใหคําปรึกษาหรือนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียนอยางเปนธรรม 3.66 (SD =.474) ครูเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการวางแผนกําหนดนโยบายและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.58 (SD =.655) และอันดับสุดทายคือ ครูสงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยยกระดับคุณภาพใหไดมาตรฐาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.41 (SD =.653)

4.3 ผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

การวิเคราะหผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) ประกอบดวย 3 ดาน คือ 1. ดานการอบรมสั่งสอน 2. ดานการเปนแบบอยาง และ3. ดานการติดตามผล ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

Page 84: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

76ตารางที่ 7 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวม

ระดับบทบาทบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

X SDแปลผล ลําดับ

1. ดานการอบรมสั่งสอน 3.52 .326 มากที่สุด 22. ดานการเปนแบบอยาง 3.54 .308 มากที่สุด 13. ดานการติดตามผล 3.16 .297 มาก 3

รวม 3.41 .341 มากที่สุด

จากตารางที่ 7 ผลการศึกษา พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวมอยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.41 (SD =.341) เมื่อพิจารณาในรายดาน พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นอยูในระดับมากที่สุด 2 ดานและระดับมาก 1 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ ลําดับแรกคือ ดานการเปนแบบอยาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 (SD = .308) รองลงมาคือ ดานการอบรมสั่งสอน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 (SD = .326) และดานการติดตามผล มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 (SD = .297)

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผลไดละเอียดมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครทั้ง 3 ดาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Page 85: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

77ตารางที่ 8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการอบรมสั่งสอน

ระดับบทบาทดานการอบรมสั่งสอน

X SDแปลผล

1.ครูสอนโดยสอดแทรกจริยธรรมในทุกวิชาที่สอนเชน การยกตัวอยางตาง ๆ เพิ่มเขามาในวิชาที่เรียน

3.58 .495 มากที่สุด

2.ครูไดปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนใหสอดคลองกับคุณธรรมจริยธรรมทางสังคม เชน การแสดงความเคารพตอผูอาวุโส

3.31 .446 มากที่สุด

3.ครูเอาใจใสและดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน 3.52 .664 มากที่สุด4.ครูใหนักเรียนเขารวมพิธีกรรมและกิจกรรมที่สําคัญทางศาสนา 3.83 .376 มากที่สุด5.ครูสนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการฝกฝนตนเองใหเปนผูเสียสละ

3.65 .479 มากที่สุด

6.ครูจัดใหมีการอบรมจรรยามารยาทตามประเพณีไทยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติและนําไปใชในชีวิตประจําวันได

3.73 .447 มากที่สุด

7.ครูจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับความซื่อสัตยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติไดจริงและนําไปใชในชีวิตประจําวัน

3.57 .655 มากที่สุด

8.ครูสงเสริมใหนักเรียนชวยเหลือเพื่อนและบุคคลอื่น 3.41 .653 มากที่สุด9.ครูใชวิธีการลงโทษอยางเหมาะสมเมื่อนักเรียนประพฤติผิดศีลธรรมอันดี

3.66 .474 มากที่สุด

10.ครูใหรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่ประพฤติดีงามมีคุณคาแกสังคม

3.65 .446 มากที่สุด

11.ครูยกยองและประกาศผลงานนักเรียนที่ประพฤติในแนวทางที่นายกยอง

3.66 .451 มากที่สุด

12.ครูสอนจริยธรรมดวยการย้ําและใหปฏิบัติจริง 3.68 .467 มากที่สุดรวม 3.52 .326 มากที่สุด

จากตารางที่ 8 ผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการอบรมสั่งสอน พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 (SD = .326)

Page 86: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

78อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัด

พระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดทั้ง 12 ขอ นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรก ครูใหนักเรียนเขารวมพิธีกรรมและกิจกรรมที่สําคัญทางศาสนา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.83 (SD = .376) รองลงมาคือ ครูจัดใหมีการอบรมจรรยามารยาทตามประเพณีไทยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติและนําไปใชในชีวิตประจําวันได มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.73 (SD = .447) ครูสอนจริยธรรมดวยการย้ําและใหปฏิบัติจริง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 (SD = .467) ครูใชวิธีการลงโทษอยางเหมาะสมเมื่อนักเรียนประพฤติผิดศีลธรรมอันดี และครูยกยองและประกาศผลงานนักเรียนที่ประพฤติในแนวทางที่นายกยอง มีคาเฉลี่ยเทากัน 3.66 (SD = .474, 451) ครูสนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการฝกฝนตนเองใหเปนผูเสียสละและครูใหรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่ประพฤติดีงามมีคุณคาแกสังคม มีคาเฉลี่ยเทากัน คือ 3.65 (SD = .479, 446) ครูสอนโดยสอดแทรกจริยธรรมในทุกวิชาที่สอนเชน การยกตัวอยางตาง ๆ เพิ่มเขามาในวิชาที่เรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.58 (SD = .495) ครูจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับความซื่อสัตยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติไดจริงและนําไปใชในชีวิตประจําวัน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.57 (SD = .655) ครูเอาใจใสและดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 (SD = .664) ครูสงเสริมใหนักเรียนชวยเหลือเพื่อนและบุคคลอื่น มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.41 (SD = .653) และอันดับสุดทายคือ ครูไดปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนใหสอดคลองกับคุณธรรมจริยธรรมทางสังคม เชน การแสดงความเคารพตอผูอาวุโส มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.31 (SD = .446)

Page 87: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

79ตารางที่ 9 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการเปนแบบอยาง

ระดับบทบาทดานการเปนแบบอยาง

X SDแปลผล

1.ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน 3.31 .767 มากที่สุด2.ครูมีบุคลิกภาพที่ออนโยนสามารถควบคุมอารมณไดดี 3.65 .479 มากที่สุด3.ครูรักษาความสะอาดและแตงกายเรียบรอย 3.64 .481 มากที่สุด4.ครูมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับนักเรียน 3.66 .474 มากที่สุด5.ครูทําตนเปนที่รักไววางใจนาเลื่อมใสและเปนที่ศรัทธาของนักเรียน

3.52 .611 มากที่สุด

6.ครูไมกลาววาจาเสียดสีประชดประชันเมื่อนักเรียนกระทําผิด 3.67 .532 มากที่สุด7.ครูไมประพฤติตนกระดางกระเดื่องตอผูบังคับบัญชา 3.63 .483 มากที่สุด8.ครูมีความซื่อสัตยสุจริต 3.32 .581 มากที่สุด9.ครูไมกระทําผิดทางวินัย เชน เรื่องชูสาว ความซื่อสัตยสุจริต เปนตน

3.59 .492 มากที่สุด

10.ครูมีน้ําใจชวยเหลือนักเรียนและเพื่อนครูดวยกัน 3.50 .622 มากที่สุด11.ครูประพฤติตนตามหลักศาสนาและเขารวมพิธีทางศาสนาในวันสําคัญตาง ๆ

3.43 .560 มากที่สุด

รวม 3.54 .308 มากที่สุด

จากตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการเปนแบบอยาง พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 (SD = .326)

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดทั้ง 12 ขอ นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรก ครูไมกลาววาจาเสียดสีประชดประชันเมื่อนักเรียนกระทําผิด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 (SD = .532) รองลงมาคือ ครูมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 (SD = .474) ครูมีบุคลิกภาพที่ออนโยนสามารถควบคุมอารมณไดดี มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 (SD = .479) .ครูไมประพฤติตนกระดางกระเดื่องตอผูบังคับบัญชา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.63 (SD = .483) ครูไมกระทําผิด

Page 88: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

80ทางวินัย เชน เรื่องชูสาว ความซื่อสัตยสุจริต เปนตน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.59 (SD = .492) ครูทําตนเปนที่รักไววางใจนาเลื่อมใสและเปนที่ศรัทธาของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 (SD = .611) ครูมีน้ําใจชวยเหลือนักเรียนและเพื่อนครูดวยกัน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.50 (SD = .622) ครูเอาใจใสและดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 (SD = .664) ครูประพฤติตนตามหลักศาสนาและเขารวมพิธีทางศาสนาในวันสําคัญตาง ๆ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.43 (SD = .560) ครูมีความซื่อสัตยสุจริต มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.32 (SD = .581) และอันดับสุดทายคือ ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.31 (SD = .767)

Page 89: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

81ตารางที่ 10 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการติดตามผล

ระดับบทบาทดานการติดตามผล

X SDแปลผล

1.ครูมีความเขาใจและเห็นความสําคัญของการติดตามผลในดานพัฒนาการเชิงจริยธรรมของนักเรียน

3.66 .473 มากที่สุด

2 . ค รู จั ด กิ จ ก ร ร ม ต า ง ๆ เ พื่ อ ส ง เ ส ริ ม ใ ห นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม รู ความสามารถในการประเมินตนเอง

3.59 .492 มากที่สุด

3.ครูติดตามผลปฏิบัติจริยธรรมของนักเรียนอยางตอเนื่อง 3.57 .496 มากที่สุด4.ครูจัดใหมีการติดตามผลการประพฤติปฏิบัติของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน

3.64 .474 มากที่สุด

5.ครูสงเสริมใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรายงานใหครูทราบ

3.51 .622 มากที่สุด

6.ครูฝกฝนนักเรียนเพื่อใหประเมินผลตนเองในการปฏิบัติจริยธรรมได

3.56 .497 มากที่สุด

7.ครูฝกใหนักเรียนยอมรับผลการประเมินเพื่อปรับปรุงแกไขตนเอง 2.30 .537 นอย8.ครูมีการตรวจผลงานบันทึกในสมุดของนักเรียน 3.53 .669 มากที่สุด9.ครูนําผลที่ไดจากการประเมินมาปรับปรุงและแกไขพฤติกรรมทางจริยธรรม

3.83 .376 มากที่สุด

10.ครูจัดใหมีการประเมินผลและติดตามผลดานจริยธรรมเพื่อพัฒนาสูเกณฑมาตรฐานของโรงเรียน

3.59 .668 มากที่สุด

11.ครูมีการจัดทํารายงานผลปฏิบัติงานทางดานจริยธรรมของนักเรียนใหผูปกครองทราบ

3.50 .620 มากที่สุด

12.ครูชี้แนะและขอความรวมมือใหบิดามารดาหรือผูปกครองประเมินบุตรหลานตามความเปนจริงใหโรงเรียนทราบ

3.43 .560 มากที่สุด

รวม 3.16 .297 มาก

จากตารางที่ 10 ผลการวิเคราะหบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการติดตามผล พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 (SD = .297)

Page 90: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

82อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัด

พระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดทั้ง 11 ขอ และระดับนอย 1 ขอ นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรก ครูนําผลที่ไดจากการประเมินมาปรับปรุงและแกไขพฤติกรรมทางจริยธรรม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.83 (SD = .376) รองลงมาคือ ครูมีความเขาใจและเห็นความสําคัญของการติดตามผลในดานพัฒนาการเชิงจริยธรรมของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 (SD = .473) ครูจัดใหมีการติดตามผลการประพฤติปฏิบัติของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.64 (SD = .474) ครูจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีความรู ความสามารถในการประเมินตนเอง และครูจัดใหมีการประเมินผลและติดตามผลดานจริยธรรมเพื่อพัฒนาสูเกณฑมาตรฐานของโรงเรียน มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 3.59 (SD = .492, 668) ครูติดตามผลปฏิบัติจริยธรรมของนักเรียนอยางตอเนื่อง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.57 (SD = .496) ครูฝกฝนนักเรียนเพื่อใหประเมินผลตนเองในการปฏิบัติจริยธรรมได มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.56 (SD = .497) ครูมีการตรวจผลงานบันทึกในสมุดของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.53 (SD = .669) ครูสงเสริมใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรายงานใหครูทราบ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.51 (SD = .622) ครูมีการจัดทํารายงานผลปฏิบัติงานทางดานจริยธรรมของนักเรียนใหผูปกครองทราบ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.50 (SD = .620) ครูชี้แนะและขอความรวมมือใหบิดามารดาหรือผูปกครองประเมินบุตรหลานตามความเปนจริงใหโรงเรียนทราบ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.43 (SD= .560) และอันดับสุดทายคือ ครูฝกใหนักเรียนยอมรับผลการประเมินเพื่อปรับปรุงแกไขตนเอง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.30 (SD = .537)

Page 91: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

83

4.4 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดตั้งสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ประกอบดวย เพศ และระดับชั้นที่ศึกษาที่ตางกันจะมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนแตกตางกัน นําเสนอผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 11 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามเพศ

ชาย หญิงบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรม

นักเรียน

X SD ระดับความ

คิดเห็น

X SD ระดับความ

คิดเห็น

t Sig.

1. ดานการอบรมสั่งสอน 3.67 .245 มากที่สุด 3.41 .332 มากที่สุด 5.343 .021*

2. ดานการเปนแบบอยาง 3.60 .286 มากที่สุด 3.49 .317 มากที่สุด 2.008 .158

3. ดานการติดตามผล 3.20 .286 มาก 3.13 .303 มาก .494 .483

ภาพรวม 3.49 .230 มากที่สุด 3.34 .262 มากที่สุด 1.432 .232

จากตารางที่ 11 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ t-test ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวาคา Sig. มากกวา 0.05 คือ ดานการเปนแบบอยาง ดานการติดตามผล และภาพรวม แสดงวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ดานการเปนแบบอยาง ดานการติดตามผล และภาพรวมแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 1 โดยพบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครเพศชายมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนสูงที่สุด รองลงมาคือเพศหญิง

สวนคา Sig. ที่นอยกวา 0.05 คือ ดานการอบรมสั่งสอน แสดงวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ดานการอบรมสั่งสอนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 92: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

84ตารางที่ 12 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามระดับชั้นที่ศึกษา

มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรม

นักเรียน

X SD ระดับความ

คิดเห็น

X SD ระดับความ

คิดเห็น

t Sig.

1. ดานการอบรมสั่งสอน 3.49 .414 มากที่สุด 3.53 .264 มากที่สุด 23.979 .000**

2. ดานการเปนแบบอยาง 3.43 .335 มากที่สุด 3.60 .276 มากที่สุด 10.152 .002**

3. ดานการติดตามผล 3.19 .307 มาก 3.14 .291 มาก .447 .504

ภาพรวม 3.37 .312 มากที่สุด 3.42 .223 มากที่สุด 24.227 .000**

จากตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ t-test ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวาคา Sig. นอยกวา 0.05 คือ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และภาพรวม แสดงวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีระดับชั้นที่ศึกษา ตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ 2 โดยพบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนสูงที่สุด รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนตน

สวนคา Sig. ที่มากกวา 0.05 คือ ดานการติดตามผล แสดงวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีระดับชั้นที่ศึกษา ตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ดานการติดตามผลแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 93: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

85

4.5 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร

การวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครครั้งนี้ ผูศึกษาจะใชสถิติสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Correlation ) เพื่อทดสอบหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ เพื่อตอบวัตถุประสงคที่ 3 ที่วา เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การวิเคราะหขอมูลปรากฏผล ดังนี้

ตารางที่ 13 ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู

r Sigแปลผล

1. ดานการครองตน .433** .000 ปานกลาง2. ดานการครองคน .581** .000 สูง3. ดานการครองงาน .697** .000 สูง

รวม .673** .000 สูง** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตารางที่ 13 แสดงใหเห็นวาสหสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในภาพรวมในระดับสูง (r = .673) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่มีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครสูงที่สุด คือ ดานการครองงาน (r = .697) รองลงมา คือ ดานการครองคน (r = .581)

Page 94: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

86พบวา ความสัมพันธอยูในระดับสูง และดานการครองตน (r = .433) พบวา ความสัมพันธอยูในระดับปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ตารางที่ 14 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับ ปฏิเสธสมมติฐานที่ 1 นักเรียนที่มีเพศตางกัน มีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน แตกตางกัน สมมติฐานที่ 2 นักเรียนที่มีระดับชั้นที่ศึกษาที่ตางกันตางกัน มีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน แตกตางกัน

สมมติฐานที่ 3 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.1 ดานการครองตนมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.2 ดานการครองคนมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน สมมติฐานยอยที่ 3.3 ดานการครองงานมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

Page 95: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

87

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน ศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ศึกษาเปรียบเทียบบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล และศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 1,269 คน โดยใชเกณฑกําหนดจํานวนกลุมตัวอยาง จากตารางกําหนดกลุมตัวอยางของ Krejcie and Morgen (1970: 608) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 295 คน ทําการสํารวจเก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม (Questionnaire) สําหรับการวิเคราะหขอมูลใชสถิติ เชิงพรรณนา ไดแก คาแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉล่ีย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐานคือสถิติ t - test เพื่อทดสอบความแตกตางและสถิติ Pearson Correlation ในการวิเคราะหสหสัมพันธ

สําหรับในบทนี้เปนการสรุป การอภิปรายผล และขอเสนอแนะ นําเสนอตามลําดับดังนี้5.1 สรุปผล5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา5.4 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งตอไป

5.1 สรุปผล5.1.1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 295 คน สวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 56.9 รองลงมาคือเพศชาย คิดเปนรอยละ 43.1 และศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเปนรอยละ 64.1 และระดับมัธยมศึกษาตอนตน คิดเปนรอยละ 35.9 ตามลําดับ

Page 96: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

88

5.1.2 ระดับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูผลการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดานไดแก ดานการครองตน ดานการครองคน และ ดานการครอง ซึ่งโดยภาพรวมแลวอยูในระดับมากที่สุด คือมีคาเฉลี่ย 3.67 และเมื่อแยกพิจารณาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ทั้ง 3 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการครองตน มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 3.70 รองลงมาคือ ดานการครองงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 และดานการครองคน มีคาเฉล่ียเทากับ 3.65 ตามลําดับ

5.1.3 ระดับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ผลการศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย 3 ดาน ดังนี้ ดานการอบรมสั่งสอน ดานการเปนแบบอยาง และดานการติดตามผล ซึ่งโดยภาพรวมอยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.41 เมื่อพิจารณาในแตละดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ ลําดับแรกคือ ดานการเปนแบบอยาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 รองลงมาคือ ดานการอบรมสั่งสอน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 และดานการติดตามผล มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 ตามลําดับ

5.1.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของ

นักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในภาพรวมแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ 1 ที่ตั้งไว

สวนนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีระดับชั้นที่ศึกษาตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ 2

ผลการทดสอบสมมติฐานความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พบวา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูความมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราช

Page 97: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

89

ภัฏพระนครในภาพรวมในระดับสูง (r = .697) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคลองกับสมมติฐานที่ 3

เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่มีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครสูงที่สุด คือ ดานการครองงาน (r = .697) รองลงมา คือ ดานการครองคน (r = .581) และดานการครองตน (r = .433) พบวา ความสัมพันธอยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จึงสอดคลองกับสมมติฐานยอยที่ 3.1 3.2 และ 3.3

5.2 อภิปรายผลจากผลการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริม

จริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีประเด็นที่สามารถนํามาอภิปรายผล ดังนี้

5.2.1 พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดตามแนวคิดของ องอาจ เหลืองออน (2547)

มาเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมครูซึ่งเปนการใชหลักพุทธธรรมเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของครู ซึ่ งถือวา เปนผูมีอิทธิพลตอนักเรียนทุกคนในสถานศึกษา ซึ่ ง ผลการศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวมอยูระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 สอดคลองกับผลการศึกษาของกวาง เสียงล้ํา (2550) เรื่อง พฤติกรรมจริยธรรมของครูผูสอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3 พบวา โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด และสอดคลองกับแนวคิดของสมเด็จพระญาณสังวร (2526) ที่กลาววา บุคคลที่มีความสําคัญในการสงเสริม จริยธรรมในสถานศึกษา คือ บุคลากรทางการศึกษา ก็คือ ผูบริหารสถานศึกษา และคณะครู จากผลการศึกษาครั้งนี้สามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญในแตละดานไดดังนี้

ดานการครองตน พบวา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.70 แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองตนอยูระดับมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความคิดเห็นวาครูทุมเทปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถแมจะมีปญหาหรือขอจํากัด ในการปฏิบัติงาน แตครูก็ยังยึดมั่นในความซื่อตรง ซื่อสัตย มีคุณธรรม โดยขมใจตนเองไมใหมัวเมากับสิ่งเพลิดเพลินจนเกินฐานะ ที่สําคัญคือครูเปนคนพูดจริงและปฏิบัติตามที่ไดพูดไวเสมอโดยเฉพาะคําพูดที่พูดกับนักเรียน มีการสละเวลาสวนตัวเพื่อประโยชนสวนรวม เชน ในการทํา

Page 98: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

90

กิจกรรมรวมกับนักเรียนนอกเหนือเวลาในการทํางาน นอกจากนี้ครูยังมีความอดทนอดกลั้นตอคําพูดและการกระทําของผูอื่น เชน เมื่อนักเรียนพูดจากาวราว ครูจะอดทันและมีสติในการสอนและอธิบายใหนักเรียนเขาใจ โดยครูพรอมรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนหรือผูอื่นเสมอสอดคลองกับแนวคิดของ เกษม วัฒนชัย (2552) กลาววา หลักและแนวปฏิบัติในการครองตน คือ การเปนคนถือความจริงเปนหลักธรรม สําหรับคิด-พูดและกระทํา เรียกวา เปนคนจริง คนซื่อสัตย ซื่อตรง รวมทั้งการใชความจริงเปนหลักในการกําหนด ความสัมพันธกับผูอื่น เรียกวา เปนจริงใจ พูดจริงและทําจริง รวมถึง การฝกใจตนเอง หรือขมใจตนเองไมใหเปนทาสของกิเลส ไดแก โลภ โกรธ หลง เรียกวา เรียนรูดวยตนเอง ฝกใจตนเอง ฝกนิสัยตนเอง จนสามารถควบคุมใจ ควบคุมวาจา และควบคุมการกระทําใหเปนไปในสิ่งที่ดีที่ควรได

ดานการครองคน พบวา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองคนอยูระดับมากที่สุดเชนกัน ทั้งนี้เปนเพราะครูมีความยุติธรรม ไมเอนเอียงดวยรักหรือชังตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุมใดกลุมหนึ่ง โดยครูเอาใจใสดูแลทุกขสุขและใหคําปรึกษากับนักเรียนเสมอและรูสึกเห็นอกเห็นใจเมื่อนักเรียนมีความทุกขพรอมรับฟงปญหาของนักเรียน โดยพรอมใหความชวยเหลือนักเรียนเมื่อเกิดปญหาไมหนีเอาตัวรอดอยางเดียว นอกจากนี้ครูยังสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถใหมีความเจริญกาวหนาในหนาที่การทํางาน แสดงความยินดี ชมเชยนักเรียนเมื่อปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายอยางจริงใจ และใหขวัญกําลังใจหรือยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนทํางานบรรลุผลสําเร็จสงผลใหนักเรียนชื่นชมในพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูดานการครองคนเปนอยางมาก สอดคลองกับแนวคิดของภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย โตวณะบุตร (2544) กลาววา การเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิตและการทํางาน รูจิตใจคน รูจริตของบุคคล รูภาวะของคน ความตองการของบุคคลและรูจักทันตนเอง รูจักใชหลักมนุษยสัมพันธเปนแนวทางครองใจคน สรางน้ําใจในการทํางาน ตระหนักในการนําความคิดและการปฏิบัติเพื่อแกปญหาและพัฒนาเสริมสรางภูมิธรรม ภูมิปญญา นั่นคือ ความสําคัญของการการครองคน

ดานการครองงาน พบวา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดานการครองงานอยูระดับมากที่สุด สอดคลองกับผลการศึกษาของกวาง เสียงล้ํา (2550) เรื่อง พฤติกรรมจริยธรรมของครูผูสอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3 พบวา ดานการครองงานโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร มีความคิดเห็นตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูในเรื่องความผูมุงมั่นทํางานใหสําเร็จ โดยไมยอทอตออุปสรรคความยากลําบาก โดยครูพรอมการปฏิบัติ

Page 99: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

91

หนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือมอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบ นอกจากนี้ครูยังสรางทัศนคติที่ดีในการทํางาน เชน ใหทํางานเพื่อเห็นประโยชนตอสวนรวม มีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ รวมถึงครูยังมีการใหคําปรึกษาหรือนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียนอยางเปนธรรม โดยเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการวางแผนกําหนดนโยบายและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน และที่สําคัญครูสงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนใหไดมาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ สอดคลองกับแนวคิดของ องอาจ เหลืองออน (2547) กลาววา การครองงานเปนหลักธรรมที่นําไปสูความสําเร็จ เพราะเปนหลักธรรมที่ผูปฏิบัติแลวเกิดความเจริญในหนาที่การงาน บุคคลหรือผูบริหารหนวยงานควรประพฤติปฏิบัติ เพื่อใหบังเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแกงาน สามารถทํางานสําเร็จตามเปาหมายดวยความเรียบรอย รวดเร็ว ราบรื่น และถูกตองตามระเบียบของทางราชการ อันจะสงผลดีตอตนเองและสังคม ตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารที่ควรจะตองดําเนินการใหงานบริหารประสบความสําเร็จและเปนที่พึงพอใจโดยทั่วไป

5.2.2 บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) มาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิด ผลการศึกษาพบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาพรวมอยูระดับมากที่สุด สอดคลองกับผลการศึกษาของกาญจนา ชาติรัมย (2555) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และนิตยา ยิ้มแยม (2555) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 และฐิติพร บานดาน (2554) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 อยูในระดับมากเชนกัน

ผลการศึกษาครั้งนี้เมื่อพิจารณาในแตละดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ ลําดับแรกคือ ดานการเปนแบบอยาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 รองลงมาคือ ดานการอบรมสั่งสอน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 และดานการติดตามผล มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 ตามลําดับ สอดคลองกับผลการศึกษาของศุภชัย

Page 100: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

92

มีผล (2550) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขตอําเภอขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขตอําเภอขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการเปนแบบอยาง ดานการอบรมสั่งสอน และดานการติดตามผล จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญแตละดานดังนี้

ดานการเปนแบบอยาง พบวา มีคาเฉลี่ย 3.54 แสดงใหเห็นวาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครนั้นใหความสําคัญกับดานการเปนแบบอยางมากที่สุด สอดคลองกับผลการศึกษาของ ภวัต โฆษิตณรงค (2550) พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนของครูผูสอนจริยศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ดานการเปนแบบอยาง อยูในระดับมาก ทั้งนี้เนื่องจากครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุไมกลาววาจาเสียดสีประชดประชันเมื่อนักเรียนกระทําผิด รวมถึงใหคําสอนและโอกาสในการปรับปรุงแกไข ซึ่งถือวาเปนแบบอยางที่ดีใหนักเรียนสามารถนําไปปฏิบัติได หากเจอเหตุการณที่มีผูอื่นกระทําผิด อีกทั้งครูยังมีมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับนักเรียนทุกคนมีบุคลิกภาพที่ออนโยนสามารถควบคุมอารมณไดดี ดูแลเอาใจใสดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน รวมถึงความน้ําใจชวยเหลือนักเรียนและเพื่อนครูดวยกัน ทําใหครูเปนที่รัก ไววางใจ นาเลื่อมใสและเปนที่ศรัทธาของนักเรียน โดยเฉพาะครูไมประพฤติตนกระดางกระเดื่องตอผูบังคับบัญชา และครูไมกระทําผิดทางวินัย เชน เรื่องชูสาว ความซื่อสัตยสุจริต เปนตน ในทางตรงกันขามครูกลับประพฤติตนตามหลักศาสนาและเขารวมพิธีทางศาสนาในวันสําคัญตาง ๆ มีความซื่อสัตยสุจริต จึงสงผลใหครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียนไดอยางนาเหลื่อมใส ดังนั้นครูจะตองเปนตัวอยางที่ดีแกศิษย โรงเรียนและบานจะตองรวมมือกันอยางสม่ําเสมอตลอดเวลา แบบอยางของครูอาจารยในโรงเรียนเปนการทักทายไหวกราบระหวางครูใหญ- ครู, ครู-นักเรียน การไมคุยกันในหองประชุม การไมแสดงอารมณฉุนเฉียวใสนักเรียน การไมกลาวคําเสียดสี ประชดประชันกันยามเมื่อนักเรียนทําผิด การทักทายนักเรียน การใหความเอาใจใสแกนักเรียน ฯลฯ เหลานี้เปนชองทางใหนักเรียนไดพบเห็นจริยธรรมประพฤติปฏิบัติจากครู ซึ่งเปนอาจารยของเขานั่นเอง (กองแกว เจริญอักษร อางถึงในกาญจนา ชาติรัมย , 2555: 34)

ดานการอบรมสั่งสอน พบวา มีคาเฉลี่ย 3.52 แสดงใหเห็นวาวาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครนั้นใหความสําคัญกับดานการอบรมสั่งสอนเพื่อสงเสริมจริยธรรมนักเรียนเปนอยางยิ่ง สอดคลองกับ

Page 101: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

93

ผลการศึกษาของสุเทพ พันธโสลี (2550) พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอบอทอง สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 ดานการอบรมสั่งสอนอยูในระดับมาก ทั้งนี้เปนเพราะครูใหนักเรียนเขารวมพิธีกรรมและกิจกรรมที่สําคัญทางศาสนาเพื่อกลอมเกลาจิตใจใหประพฤติปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธองคโดยครูสามารถประพฤติตนใหเปนแบบอยางในการเขารวมพิธีกรรมทางศาสนาทุกครั้ง อีกทั้งครูยังจัดใหมีการอบรมจรรยามารยาทตามประเพณีไทยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติและนําไปใชในชีวิตประจําวันได โดยเฉพาะครูสอนจริยธรรมจะสอนดวยการย้ําและใหปฏิบัติจริง มีการสอดแทรกจริยธรรมในทุกวิชาที่สอน เชน การยกตัวอยางตาง ๆ เพิ่มเขามาในวิชาที่เรียน เพื่อใหนักเรียนเขาใจและซึมซับจริยธรรมดวยความเอาใจใสและดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน ครูสนับสนุนใหนักเรี ยนมีสวนรวมในการฝกฝนตนเองให เปนผู เสียสละ สิ่ งที่สํ าคัญยิ่ งตอการอบรม สั่งสอนจริยธรรม คือ การเปดโอกาสใหนักเรียนไดมีโอกาสตัดสินใจเลือกวิธีทางดวยตัวเอง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 92) สงเสริมใหนักเรียนชวยเหลือเพื่อนและบุคคลอื่น ยกยอง ชมเชยและประกาศผลงานนักเรียนที่ประพฤติในแนวทางที่ดีงามและเปนแบบอยางที่ดีแกสังคม รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมที่ เกี่ยวกับความซื่อสัตย เพื่อใหนักเรียนใหปฏิบัติไดจริงและนําไปใชในชีวิตประจําวัน โดยครูใหรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่ประพฤติดีงามมีคุณคาแกสังคม เพื่อเปนแบบอยางใหกับนักเรียนทุกคน หรือหากพบนักเรียนประพฤติผิดศีลธรรมอันดี ครูจะเลือกใชวิธีการลงโทษอยางเหมาะสม เพื่ออบรมสั่งสอนใหนักเรียนสามารถประพฤติตนเปนคนดี นอกจากนี้ครูยังไดปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนใหสอดคลองกับคุณธรรมจริยธรรมทางสังคม เชน การแสดงความเคารพตอผูอาวุโส ครูบาอาจารยเปนตน ผานการจัดกิจกรรมตางๆ เชน การจัดประกวดการเขียนเรียงความ การอานหรือสวดมนต หรือการตอบคําถามธรรมะเปนตน สอดคลองกับแนวคิดของทิศนา แขมมณี (2542: 11) กลาววา กิจกรรมตาง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้นทั้งในและนอกโรงเรียนที่เปนเพื่อประโยชนในดานการปลูกฝงพัฒนาบุคลิกลักษณะนิสัยนักเรียน ใหงอกงามดวยหลักของความรูและความประพฤติควบคูกันไป

ดานการติดตามผล พบวา มีคาเฉลี่ย 3.16 แสดงใหเห็นวาวาบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครนั้นใหความสําคัญกับดานการติดตามผลในระดับมาก เปนเพราะครูมีความเขาใจและเห็นความสําคัญของการติดตามผลในดานพัฒนาการเชิงจริยธรรมของนักเรียน จัดใหมีการประเมินผลและติดตามผลดานจริยธรรมเพื่อพัฒนาสูเกณฑมาตรฐานของโรงเรียน โดยนําผลที่ไดจากการประเมินมาปรับปรุงและแกไขพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน อีกทั้งครูยังจัดใหมีการติดตามผลการประพฤติปฏิบัติของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อติดตามผลปฏิบัติจริยธรรมของนักเรียน

Page 102: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

94

อยางตอเนื่อง มีการตรวจผลงานบันทึกในสมุดของนักเรียน จัดทํารายงานผลปฏิบัติงานทางดานจริยธรรมของนักเรียนใหผูปกครองทราบ โดยครูไดชี้แนะและขอความรวมมือใหบิดามารดาหรือผูปกครองประเมินบุตรหลานตามความเปนจริงใหโรงเรียนทราบ นอกจากนี้ ครูไดจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีความรู ความสามารถในการประเมินตนเอง ฝกฝนนักเรียนเพื่อใหประเมินผลตนเองในการปฏิบัติจริยธรรมได รวมถึงสงเสริมใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรายงานใหครูทราบ เพื่อฝกใหนักเรียนยอมรับผลการประเมินเพื่อปรับปรุงแกไขตนเองตอไป สอดคลองกับผลการศึกษาของกาญจนา ชาติรัมย (2555) ที่พบวา บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียน ดานการติดตามผลอยูในระดับมาก

5.2.3 เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

จากการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ผลการศึกษามีดังนี้ จําแนกตามเพศ พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนในภาพรวมแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ 1 ที่ตั้งไวในการศึกษาครั้งนี้ สอดคลองกับผลการศึกษาของฐิติพร บานดาน (2554) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ผลการศึกาเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จําแนกตามเพศโดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน และสอดคลองกับผลการศึกษาของสลิลทิพ ชูชาติ (2556) ที่พบวา ครูผูสอนที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นของครูผูสอนตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ไมแตกตางกันที่มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งชี้ใหเห็นวาไมวานักเรียนจะเพศชายหรือเพศหญิง เพศใดก็ตาม มีความคิดเห็นตอบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครไมแตกตางกัน เนื่องจากตางเห็นพองตองกันวาเปนพฤติกรรมที่ครูพึงปฏิบัติเพื่อจูงใจ เปนแบบอยางใหกับนักเรียน ทั้งทางกาย วาจา ใจ เพื่อใหนักเรียนกระทําหนาที่อยางถูกตอง สมบูรณ เปนคนมีเหตุมีผล ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ที่สังคมยอมรับ

Page 103: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

95

เพื่อใหบรรลุถึงสภาพชีวิตที่มีคุณคาอันพึงประสงคของตนเองและสังคม ดังนั้น จึงไมพบความแตกตางในการศึกษาครั้งนี้

จําแนกตามระดับชั้นที่ศึกษา พบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีระดับชั้นที่ศึกษาตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ 2 โดยพบวา นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนสูงที่สุด รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนตน ทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเริ่มเติบโตเปนผูใหญมีการคิดวิเคราะห พิจารณาเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนที่รอบดานมากกวานักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน ดังนั้น การอบรมสั่งสอน การเปนแบบอยาง และการติดตามผลตามบทบาทของครูจึงสงผลตอความคิดเห็นของนักเรียนในแตละระดับชั้นที่ศึกษาตางกัน จึงเปนสิ่งที่ครูควรคํานึงถึงอยางยิ่งสําหรับบทบาทในการสงเสริมจริยธรรมใหกับนักเรียน ไมสอดคลองกับผลการศึกษาของกาญจนา ชาติรัมย (2555) เรื่อง บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี พบวา ผลการเปรียบเทียบบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน จําแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

5.2.4 ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

สําหรับผลการทดสอบสมมติฐานความสัมพันธระหวางพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พบวา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในภาพรวมมีความสัมพันธสูง (r = .673) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครสูงที่สุดคือ ดานการครองงาน(r = .697) ทั้งนี้เปนเพราะพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรี

Page 104: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

96

มหาธาตุ มุงเนนในเรื่องการปฏิบัติหนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือมอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบ พรอมทํางานเพื่อเห็นประโยชนตอสวนรวม โดยคํานึงถึงการศึกษาเปนที่ตั้ง นอกจากนี้ยังแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ แสดงใหเห็นวาครูผูสอนสามารถนําหลักอิทธิบาทธรรมมาประพฤติปฏิบัติ ซึ่งจะกอใหเกิดพฤติกรรมดานการครองงานที่ดี ดังนี้ 1) ปฏิบัติหนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือมอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบ 2) เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการวางแผน กําหนดนโยบายและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน 3) เปนผูมุงมั่นทํางานใหสําเร็จ โดยไมยอทอตออุปสรรคความยากลําบาก 4). สรางทัศนคติที่ดีในการทํางาน เชน การทํางานโดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวม 5) สงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยกระดับคุณภาพใหไดมาตรฐาน 6) มีการใหคําปรึกษาการเรียนการสอนภายในโรงเรียนอยางเปนธรรม และ 7) แกไขปญหาที่เกิดขึ้นจาการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ จึงทําใหนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครตระหนักถึงความสําคัญของพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูดานการครองงานอยูในระดับมากที่สุดสงผลใหมีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครสูงที่สุด ตามหลักและแนวปฏิบัติในการครองงาน คือ ใหปฏิบัติตามอิทธิบาท 4 ซึ่งเปนเครื่องมือไปสูความสําเร็จไดผลตามที่เปาหมาย (เกษม วัฒนชัย, 2552) รองลงมา คือ ดานการครองคน (r = .581) พบวา ทั้งนี้เปนเพราะการกระทํารวมถึงทาทีที่ครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แสดงปฏิสัมพันธตอนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของจนสามารถทําใหเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเกิดจากการที่ครูผูสอนมีพฤติกรรมพฤติกรมดานการครองคน ที่สําคัญ คือ 1) การเอาใจใสดูแลทุกข สุขและใหคําปรึกษากับนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของ เชน เพื่อนรวมงาน 2) รู สึกเห็นอกเห็นใจเมื่อนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของ เชน เพื่อนรวมงานมีความทุกข 3) พรอมให ความชวยเหลือนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของ เชน เพื่อนรวมงาน เมื่อเกิดปญหา โดยไมคิดหนีเอาตัวรอดอยางเดียว 4). แสดงความยินดี ชมเชยนักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของ เชน เพื่อนรวมงาน เมื่อประพฤติตนดี ปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายอยางจริงใจ 5) สนับสนุนนักเรียนหรือเพื่อนรวมงาน ที่มีความสามารถใหมีความเจริญกาวหนาทั้งในการศึกษาและในหนาที่การทํางาน 6) ใหขวัญและกําลังใจหรือยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนหรือเพื่อนรวมงานทํางานบรรลุผลสําเร็จ และ 7) มีความยุติธรรม ไมเอนเอียงทั้งดวยรักหรือชังตอบุคคลใดบุคลหนึ่ง หรือกลมใดกลุมหนึ่ง สอดคลองกับหลักคําสอนของพระพุทธองคที่วา พรหมวิหาร 4 คือ พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมประจําใจของผูประเสริฐหรือผูมีจิตยิ่งใหญกวางขวางดุจพรหม คือ 1) เมตตา (ความรัก) คือ ความปรารถนาดี มีไมตรี ตองการชวยเหลือใหทุกคนประสบประโยชนและความสุข 2) กรุณา (ความสงสาร) คือ อยากชวยเหลือผูอื่นใหพนจากความทุกขใฝใจที่จะปลดเปลื้องบําบัดความทุกยาก

Page 105: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

97

เดือดรอนของคน และสัตวทั้งปวง 3) มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี) คือ เมื่อเห็นผูอื่นอยูดีมีความสุข ก็มีใจแชมชื่นเบิกบาน เมื่อเห็นเขาประสบความสําเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไป ก็พลอยยินดีบันเทิงใจดวยและ 4) อุเบกขา (ความมีใจเปนกลาง) คือ มองตามความเปนจริง โดยวางจิตเรียบสม่ําเสมอมั่นคงเที่ยงตรงดุจตราชั่ง มองเห็นการที่บุคคลจะไดรับผลดีหรือชั่วสมควรแกเหตุที่ตนประกอบ พรอมที่จะวินิจฉัย วางตน และปฏิบัติไปตามความเที่ยงธรรม (กิตติทัศน ผกาทอง, 2551)ดังนั้น การครองคนจึงเปนพฤติกรรมที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับครูผูสอนในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนใหสําเร็จลุลวงไปดวยความเรียบรอย ทั้งนี้คนทุกคนตองอยูในสังคม ตองทํางานกับคน เมื่อตองอยูกับคน ตองการทํางานกับคน ความสัมพันธที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวของจะทําใหการปฏิบัติงานประสบความสําเร็จไดตามวัตถุประสงค และดานการครองตน (r = .433) พบวา มีสหสัมพันธกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในระดับปานกลาง ทั้งนี้ เนื่องจากการกระทําทาทีที่แสดงออกของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไมวาจะเปน พฤติกรรม วางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ มีอารมณเยือกเย็นและมั่นคง บุคลิกภาพ แนวทางการสอน การดําเนินชีวิต คําสั่งสอน ลวนอยูในสายตาของนักเรียนและผูที่เกี่ยวของทั้งสิ้น เพราะนักเรียนจะจดจําและทําตามแบบอยางครูเปนสวนมาก เพราะความเคารพนับถือ รัก เชื่อมั่นและศรัทธาในแบบอยาง ถาครูผูสอนที่เปนแบบอยาง มีพฤติกรรมที่ดี เหมาะสม มีเหตุมีผล และมีคุณธรรมจริยธรรม ผูเรียนก็จะเปนไปตามแบบอยางนั้น ในทางตรงกันขามหากครูผูสอนมีพฤติกรรมที่ไมดีก็จะทําใหไมสามารถสรางบทบาทในการในการสงเสริมจริยธรรมใหกับนักเรียนได ดังนั้นสิ่งที่สําคัญที่สุดสําหรับพฤติกรรมการครองตนของครูใหมีพฤติกรรมอันพึงประสงคเปนคนดีมีรากฐานแหงความดีคือ การยึดถือปฏิบัติศีล 5 ประจําวันและดําเนินชีวิตดวยความไมประมาทดวยหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติใหมีการครองตนอยางสมบูรณ (นพดล สุวรรณสุนทร, 2556)

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากผลการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริม

จริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สรุปเปนขอเสนอแนะไดดังนี้

พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู1. ดานการครองตน ครูควรรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนหรือผูอื่น เชนเพื่อนรวมงาน

เพื่อนํามาปรับปรุงตนเองใหมีความเหมาะสมในทุก ๆ ดาน โดยเฉพาะในดานการแสดงออกทาทาง

Page 106: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

98

และอารมณที่บางครั้งอาจจะไมรูตัวเอง ดังนั้นการรับฟงจะมีสวนชวยใหไดขอมูลเพื่อรับทราบและนําไปแกไขพัฒนาใหดีขึ้น นอกจากนี้ครูควรประพฤติตนเปนแมแบบสําหรับนักเรียนในเรื่องการรักษาคําพูดและปฏิบัติตามที่ไดพูดไวกับนักเรียนเสมอ เพราะจะเปนแบบอยางที่ดีใหกับนักเรียนเพื่อนําไปปฏิบัติตาม และครูควรมีความอดทนอดกลั้นตอคําพูดและการกระทําของนักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนที่อาจจะใชคําพูดไมเหมาะสมเนื่องจากสถานภาพทางครอบครัวที่มีความแตกตางกัน ดังนั้นครูจึงตองพยายามอดทนเพื่อเปนตัวอยางแกนักเรียนคนอื่น ๆ และพร่ําสอนใหนักเรียนรูจักใชคําพูดที่เหมาะสมตอไป

2. ดานการครองคน ครูควรใหความชวยเหลือนักเรียนเมื่อเกิดปญหาตางๆ โดยไมปฏิเสธความรับผิดชอบหนีเอาตัวรอดอยางเดียว ควรอยูเคียงขางนักเรียน เพื่อปกปองและรวมแกไขปญหาที่เกิดขึ้น จะทําใหนักเรียนตระหนักอยูเสมอวามีครูเปนคนที่พรอมจะชวยเหลือและใหคําปรึกษาในทุกเรื่อง สงผลใหพรอมที่จะปฏิบัติตามคําสอนของครู นอกจากนี้ครูควรมีการใหขวัญและกําลังใจ หรือยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนทํางานบรรลุผลสําเร็จ เพื่อใหนักเรียนมีความรูสึกถึงคุณคาในการประพฤติตนเปนคนดี

3. ดานการครองงาน ครูควรมีสวนรวมสงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยยกระดับคุณภาพใหไดมาตรฐาน โดยเฉพาะในดานการเรียนการสอนจริยธรรม โดยเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการวางแผนกําหนดนโยบายเพื่อสงเสริมพัฒนาโรงเรียน ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนใหไดมาตรฐาน โดยการแสดงความคิดเห็นในรูปของบทความ เอกสาร หรือกลาวในฐานะตัวแทนนักเรียน ซึ่งจะทําใหนักเรียนรูสึกเปนสวนหนึ่งของโรงเรียนที่พรอมจะปฏิบัติตน เพื่อใหการเรียนการสอนในโรงเรียนดําเนินไปอยางมีคุณภาพ บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน

1. ดานการอบรมสั่งสอน ครูควรเพิ่มบทบาทในการสงเสริมในเรื่องปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนใหสอดคลองกับคุณธรรมจริยธรรมทางสังคมปจจุบัน โดยควรรณรงคใหนักเรียนยึดมั่นในคําสอนสิ่งที่ดีงามที่ประพฤติปฏิบัติมาตั้งแตในอดีต เชน การแสดงความเคารพตอบิดามารดาและผูอาวุโส การเคารพครูบาอาจารย และการเมตตาตอผูดอยโอกาส โดยมีการสนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมที่เปนการฝกฝนตนเอง และ ปรับเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติของนักเรียนในเรื่องคุณธรรมทั้งดานสวนตัวและสวนรวม เชน การแสดงออกถึงความเคารพ เปนตน และควรมีการประกาศเชิดชูนักเรียนที่มีความประพฤติดีมีจริยธรรมของโรงเรียนใหเปนตัวอยางที่ดี

2. ดานการเปนแบบอยาง การสอนคุณธรรมจริยธรรม ความซื่อสัตยสุจริตใหไดผลดีนั้นครูควรวางใหเปนที่ไววางใจนาเลื่อมใสและศรัทธา เปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน โดยครูควรมีการปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอก เชน การแตงกาย การวางตน บุคลิกภาพภายใน เชน การมีมนุษย

Page 107: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

99

สัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมงานดวยกันและกับนักเรียน เพราะเมื่อครูทําตนดีตามที่สั่งสอนเด็ก เด็กก็จะทําตามครู ทําใหการอบรมสั่งสอนไดผลดียิ่งขึ้น

3. ดานการติดตามผล ครูควรจัดใหมีการประเมินผลและติดตามผลดานจริยธรรมเพื่อพัฒนาเขาสูเกณฑมาตรฐานของโรงเรียน โดยครูควรมีการฝกฝนนักเรียนเพื่อใหประเมินผลตนเองในปฏิบัติจริยธรรม และครูควรมีการติดตามความประพฤติของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียนเพื่อปรับปรุงพฤติกรรมของนักเรียนอยางตอเนื่อง

5.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป1. ควรศึกษารูปแบบและวิธีการในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตวัด

พระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร2. ควรมีการศึกษาโดยทําการวิจัยซ้ํา (Replication) โดยใชเทคนิควิธีการวิจัยอื่น ๆ เชน

การใชกรณีศึกษา (Case Study) หรือ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) 4. ควรมีการศึกษาโดยเปลี่ยนประชากรในการศึกษา เชน ครูประจําชั้น ครูที่ปฏิบัติการสอนดานจริยธรรมโดยตรง ผูปกครองของนักเรียน เปนตน

Page 108: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

100

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กรมวิชาการ. แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา, 2533.

กรมวิชาการ. แผนการศึกษาแหงชาต.ิ กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ, 2544.

กองวิจัยการศึกษา. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ, 2545.

กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ, 2546.

________________. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ, 2547.

________________. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ, 2542.

กิตติทัศน ผกาทอง. ภาวะผูนําตามแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.

กีรติ บุญเจือ. จริยศาสตรสําหรับผูเริ่มเรียน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2534.

เกษม วัฒนชัย. องคการที่มีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมติชน, 2552.

โกสินทร วรเศรษฐสิงห. เสนทางสูความกาวหนาผูบริหารระดับสูงภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ธีรพงษการพิมพ, 2552.

คําหมาน คนไค. ทางกาวหนาสูครูมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: สายธาร, 2543.

Page 109: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

101

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. ทฤษฎีตนไมจริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพมหานคร: กิจการองคการสงเคราะหทหารผานศึก, 2544.

ทิศนา แข มมณี . กา รพัฒน าคุณธรร ม จริ ยธร รมและค า นิยม: จากทฤษฎีสู การป ฏิบัติ . กรุงเทพมหานคร: สมชายการพิมพ, 2542.

ธนู แสวงศักด. ครูด.ี กรุงเทพมหานคร: วิทยาจารย, 2505.

นาตยา ปลันธนานนท. อนาคตศาสตร. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2526.

นพดล สุวรรณสุนทร. การบริหารงานตามหลักพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร:บพิธการพิมพจํากัด, 2556.

ประภาศรี สหอําไพ. พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535.

ประเวศ วะสี. พุทธธรรมกับสังคม. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน, ม.ป.ป..

ปราชญา กลาผจัญ. ศาสนาธรรมกับการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2542.

พระประยูร ธัมมจิตโต. คุณธรรมสําหรับนักบริหาร: ปญญา ขยัน ซื่อสัตย มนุษยสัมพันธ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, 2536

พระราชวรมุนี. ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา, ม.ป.ป..

พุทธทาสภิกขุ. ศีลธรรมกับมนุษยโลก. กรุงเทพมหานคร: ธรรมทางมูลนิธิ, 2530.

เพ็ฐศรี วายวานนท. การจัดการทรัพยากรคน. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: โครงการสงเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2537.

Page 110: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

102

ภา วิดา ธา รา ศรีสุ ท ธิ แล ะคณะ . ภาว ะผูนํ าแล ะจ ริ ยธร รมสํ าห รับผู บริ ห ารก ารศึ กษ า . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2544.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน, 2554.

วารี เกิดคํา. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม. กรุงเทพมหานคร: สมชายการพิมพ, 2538.

วิชัย วงษใหญ. พลังการเรียนรูในกระบวนทัศนใหม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2542.

วิศิน อินทสระ. จริยศาสตร. กรุงเทพมหานคร: ทองกวาว, 2541.

เสนีย มีทรัพย. คุณธรรมนิยมในทัศนะของพุทธทาสภิกขุ (ฉบับจริยธรรม). ม.ป.ท. , 2522.

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. จริยศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, 2539.

___________________________________________. จริยศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, 2546.

สํานักนายกรัฐมนตรี. การบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, ม.ป.ป.

เอกสารอื่น ๆ

กระทรวงศึกษาธิการ. “หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช นักเรียนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2544.

Page 111: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

103

กาญจนา ชาติรัมย. “บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555.

กวาง เสียงล้ํา. “พฤติกรรมดานคุณธรรมของผูบริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครูผูสอนและคณะกรรการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคายเขต 3”. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2550.

ขวัญใจ พลอยลอมเพชร. “บทบาทในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนของครูผูสอนจริยศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษากิ่งอําเภอเขาคิชฌกูฎ จังหวัดจันทบุรี”. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2541.

เจริญ มาเรือง. “บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียน ของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง”. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2550.

ชูชาติ สามารถกุล. “บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4”. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิตการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย, 2550.

ฐิติพร บานดาน. “บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2”. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554.

Page 112: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

104

นิตยา ยิ้มแยม. “บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอกบินทรบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาคณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา, 2555.

นิยม ไผโสภา. “พฤติกรรมการครองตน ครองคน ครองงาน ตามแนวพุทธธรรมของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดนครพนม”. การคนควาอิสระการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยามหาสารคาม, 2543.

วิภานันท ขวัญสุวรรณ. “บทบาทของครูอนุบาลในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาลเอกชน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1”. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, 2552.

วิรัตน รัตนกําเนิด. “บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนของโรงเรียนในสหวิทยาเขตรัชมังคลาภิเษก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1”. ภาคนิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร, 2551.

ศุภชัย มีผล. “บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาในเขตอําเภอ ขลุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.

สมใจ เขียวสด. “คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของ ผูบริหารสถานศึกษา ผูผลิตผูบริหารการศึกษา และผูบังคับบัญชาผูบริหารสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร”. การคนควาอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูธนบุรี, 2534.

สมพร สอนสนาม. “ศึกษาพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมของครู อาจารยโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดรอยเอ็ด”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543.

Page 113: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

105

สุเนตร ทองคํา. “พฤติกรรมดานคุณธรรมของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ”. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.

สุเทพ พันธโสลี. “บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในอําเภอบอทอง สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.

สลิลทิพ ชูชาติ. “พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2”. วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.

องอาจ เหลืองออน. “การศึกษาคุณลักษณะของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามความคิดเห็นของครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา , 2547.

ออมเดือน สดมณี และคณะ. “บทบาทของครูประถมศึกษาในการถายทอดคานิยมทางศาสนา”. วิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ม.ป.ป..

อุไรวรรณ เจียรประดิษฐ. “บทบาทผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 2553.

Books.

Bandura, A. Social Learning Theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall, 1977.

Casteel, J. D., & Stahle, J. R. Value Classification in The Classroom: A Primer. New York: Goodyear Publishing, 1975.

Page 114: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

106

Bloom, Banjamin S., Hastings, Thomas J. and Madaus, George F. Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw-Hill, 1981.

Mikulus, W. L. Behavior Modification. New York: Harper & Row, 1978.

Raths, L. E., Merrill, H., & Simon, S. Values in Teaching. Columbus, OH: Charles E. Merrill, 1966.

Skinner, B. F. Beyond Freedom and Dignity. New York: Alfred Knopt, 1971.

Striefel, S. How to Teach Through Modeling and Imitation. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall, 1981.

Articles

Bandura, A., & McDonald, F. J. “Influences of social reinforcement and the behavior of models in shaping children’s moral judgment”. Journal of Abnormal and Social Psychology, 1963: 274-281.

Kohlberg, L. “Moral Stage and Moralization : The Cognitive Development Approach”, Moral Development and Behavior. Ed. By Thomas Lickona. New York : Holt Rinehart and Winston, 1976.

Page 115: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

ภาคผนวก

Page 116: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

แบบสอบถาม

เรื่อง พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครูกับบทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมของนักเรียน โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในเครื่องหมาย ( ) ใหตรงกับขอมูลตามความเปนจริงเกี่ยวกับตัวทานในแตละขอ

1. เพศ ( ) ชาย

( ) หญิง

2. ระดับชั้นที่ศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย

สวนที่ 2 พฤติกรมเชิงจริยธรรมของครูคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย � ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทานใหมากที่สุดเพียง 1 ขอ

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก นอย

นอยที่สุด

ดานการครองตน1 ครูเปนคนพูดจริงและปฏิบัติตามที่ไดพูดไวเสมอ2 ครูยึดมั่นในความซื่อตรง ซื่อสัตย มีคุณธรรม3 ครูมีความอดทนอดกลั้นตอคําพูดและการกระทํา

ของผูอื่น4 ครูขมใจตนเองไมใหมัวเมากับสิ่งเพลิดเพลินจน

108

Page 117: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

109

เกินฐานะระดับความคิดเห็น

ขอ ขอคําถาม มากที่สุด

มาก นอยมากที่สุด

5 ครูทุมเทปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถแมจะมีปญหาหรือขอจํากัด

6* ครูไมรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนหรือผูอื่น7* ครูไมสละเวลาสวนตัวเพื่อประโยชนสวนรวม

ดานการครองคน8 ครูเอาใจใสดูแลทุกขสุขและใหคําปรึกษากับ

นักเรียนเสมอรวมงาน9 ครูรูสึกเห็นอกเห็นใจเมื่อนักเรียนมีความทุกข10 ครูใหความชวยเหลือนักเรียนเมื่อเกิดปญหาไมหนี

เอาตัวรอดอยางเดียว11 ครูแสดงความยินดี ชมเชยนักเรียนเมื่อปฏิบัติงาน

บรรลุเปาหมายอยางจริงใจ12* ครูไมเคยสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถใหมี

ความเจริญกาวหนาในหนาที่การทํางาน13* ครูไมใหขวัญกําลังใจหรือยกยองชมเชยเมื่อ

นักเรียนทํางานบรรลุผลสําเร็จ14 ครูมีความยุติธรรม ไมเอนเอียงดวยรักหรือชังตอ

บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุมใดกลุมหนึ่ง ดานการครองงาน15 ครูปฏิบัติหนาที่ดวยความยินดี ไมหลีกเลี่ยงหรือ

มอบหมายงานที่สําคัญใหผูอื่นรับผิดชอบ16* ครูไมเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการ

วางแผนกําหนดนโยบายและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน

17 ครูเปนผูมุงมั่นทํางานใหสําเร็จ โดยไมยอทอตอ

Page 118: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

110

อุปสรรคความยากลําบากระดับความคิดเห็น

ขอ ขอคําถาม มากที่สุด

มาก นอยมากที่สุด

18 ครูสรางทัศนคติที่ดีในการทํางาน เชน ใหทํางานเพื่อเห็นประโยชนตอสวนรวม

19* ครูไมสงเสริมพัฒนาโรงเรียน โดยยกระดับคุณภาพใหไดมาตรฐาน

20 ครูมีการใหคําปรึกษาหรือนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียนอยางเปนธรรม

21 ครูแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานดวยการใชเหตุผลมากกวาใชอารมณ

สวนที่ 3 บทบาทของครูในการสงเสริมจริยธรรมนักเรียนคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทานใหมากที่สุดเพียง 1 ขอ

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก นอย

นอยที่สุด

ดานการอบรมสั่งสอน1 ครูสอนโดยสอดแทรกจริยธรรมในทุกวิชาที่สอน

เชน การยกตัวอยางตาง ๆ เพิ่มเขามาในวิชาที่เรียน2 ครูไดปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนใหสอดคลอง

กับคุณธรรมจริยธรรมทางสังคม เชน การแสดงความเคารพตอผูอาวุโส

3* ครูไมเอาใจใสและดูแลพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักเรียน

4 ครูใหนักเรียนเขารวมพิธีกรรมและกิจกรรมที่สําคัญทางศาสนา

Page 119: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

111

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก นอย

มากที่สุด

5* ครูไมสนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการฝกฝนตนเองใหเปนผูเสียสละ

6 ครูจัดใหมีการอบรมจรรยามารยาทตามประเพณีไทยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติและนําไปใชในชีวิตประจําวันได

7 ครูจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับความซื่อสัตยแกนักเรียนใหสามารถปฏิบัติไดจริงและนําไปใชในชีวิตประจําวัน

8 ครูสงเสริมใหนักเรียนชวยเหลือเพื่อนและบุคคลอื่น9 ครูใชวิธีการลงโทษอยางเหมาะสมเมื่อนักเรียน

ประพฤติผิดศีลธรรมอันดี10 ครูใหรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่

ประพฤติดีงามมีคุณคาแกสังคม11 ครูยกยองและประกาศผลงานนักเรียนที่ประพฤติ

ในแนวทางที่นายกยอง12* ครูไมสอนจริยธรรมดวยการย้ําและใหปฏิบัติจริง ดานการเปนแบบอยาง13 ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน14 ครูมีบุคลิกภาพที่ออนโยนสามารถควบคุมอารมณ

ไดดี15 ครูรักษาความสะอาดและแตงกายเรียบรอย16 ครูมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับนักเรียน17* ครูไมทําตนเปนที่รักไววางใจนาเลื่อมใสและเปนที่

ศรัทธาของนักเรียน18 ครูกลาววาจาเสียดสีประชดประชันเมื่อนักเรียน

กระทําผิด

Page 120: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

112

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก นอย

มากที่สุด

19* ครูประพฤติตนกระดางกระเดื่องตอผูบังคับบัญชา20* ครูไมมีความซื่อสัตยสุจริต21 ครูไมกระทําผิดทางวินัย เชน เรื่องชูสาว ความ

ซื่อสัตยสุจริต เปนตน22 ครูมีน้ําใจชวยเหลือนักเรียนและเพื่อนครูดวยกัน23 ครูประพฤติตนตามหลักศาสนาและเขารวมพิธีทาง

ศาสนาในวันสําคัญตาง ๆ ดานติดตามผล24 ครูมีความเขาใจและเห็นความสําคัญของการ

ติดตามผลในดานพัฒนาการเชิงจริยธรรมของนักเรียน

25* ครูไมจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีความรู ความสามารถในการประเมินตนเอง

26 ครูติดตามผลปฏิบัติจริยธรรมของนักเรียนอยางตอเนื่อง

27 ครูจัดใหมีการติดตามผลการประพฤติปฏิบัติของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน

28* ครูไมสงเสริมใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรายงานใหครูทราบ

29 ครูฝกฝนนักเรียนเพื่อใหประเมินผลตนเองในการปฏิบัติจริยธรรมได

30 ครูฝกใหนักเรียนยอมรับผลการประเมินเพื่อปรับปรุงแกไขตนเอง

31 ครูมีการตรวจผลงานบันทึกในสมุดของนักเรียน32 ครูนําผลที่ไดจากการประเมินมาปรับปรุงและ

แกไขพฤติกรรมทางจริยธรรม

Page 121: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

113

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก นอย

มากที่สุด

33 ครูจัดใหมีการประเมินผลและติดตามผลดานจริ ย ธรร ม เพื่ อพัฒ นา สู เ กณฑ มา ตรฐ าน ขอ งโรงเรียน

34* ครูไมมีการจัดทํารายงานผลปฏิบัติงานทางดานจริยธรรมของนักเรียนใหผูปกครองทราบ

35 ครูชี้แนะและขอความรวมมือใหบิดามารดาหรือผูปกครองประเมินบุตรหลานตามความเปนจริงใหโรงเรียนทราบ

Page 122: พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของครู ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Suphakchaya... · 2014-11-21 · ว าบทบาทของครูในการส

ประวัติผูศึกษา ชื่อ - สกุล นางสุภัคชญา โลกิตสถาพรวัน/เดือน/ปเกิด วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2504ที่อยู 42/59 ถนนนวลจันทร แขวงนวลจันทร เขตบึงกุม กรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2537 ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2557 ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการบริษัท สถาพรบุคส จํากัด

เลขที่ 18 ซ.ลาดปลาเคา 63 ถนนลาดปลาเคา แขวงอนุสาวรียกรุงเทพมหานคร 10210 โทร. 0 2940 3855 -6 ตอ 23

114