ระบาดวิทยากบัการป้องกนั...

101
ระบาดว ทยากับการป้ องกัน ควบคุม การ บาดเจ็บจากอุบัต เหตุทาง ถนน Epidemiology & Road Traffic Injury Prevention & Control แผนงานระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อความปลอดภัยทางถนน Road Safety Information System (RSIS) www.RSISthai.net ดร.นพ.วรสิทธิ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้

Transcript of ระบาดวิทยากบัการป้องกนั...

  • ระบาดวิทยากบัการป้องกนัควบคมุการบาดเจบ็จากอบุติัเหตทุางถนน

    Epidemiology & Road Traffic InjuryPrevention & Control

    แผนงานระบบข้อมลูข่าวสารเพ่ือความปลอดภยัทางถนน Road Safety Information System (RSIS) www.RSISthai.net

    ดร.นพ.วรสิทธ์ิ ศรศรีวิชยั

    มลูนิธิสขุภาพภาคใต้

  • ระบาดวิทยาคืออะไร ?

  • 3

    ระบาดวิทยา (Epidemiology)

    • การศกึษา การกระจาย และ ปจัจยั ของการเกดิโรค* ในประชากรกลุ่มหน่ึง เพือ่การควบคุมป้องกนั โรคนัน้

    • Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to control health problems.

    A Dictionary of Epidemiology, 4th EditionEdited by John M. Last

  • 4

    ระบาดวิทยากบัการป้องกนัควบคมุโรค

    ระบาดวิทยา : โรคอะไร เท่าไร กระจายอย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค :ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย

    ระบาดวิทยา : เกิดขึน้ได้อย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค :ปัจจยัสาเหตท่ีุต้องควบคมุ

    ระบาดวิทยา : มาตรการท่ีเหมาะสมคืออะไรการป้องกนัควบคมุโรค :กิจกรรมท่ีต้องด าเนินการ

    ระบาดวิทยา : จะด าเนินมาตรการอย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค : ประเมินผลกิจกรรม

  • 5

    ส่ิงท่ีท าให้เกิดโรค(Agent)

    มนุษย์(Host)

    ส่ิงแวดล้อม(Environment)

    ปัจจยัสามทางระบาดวิทยา(Epidemiological Triad)

  • 6

    ส่ิงท่ีท าให้เกิดโรค(Agent)

    มนุษย์(Host)

    ส่ิงแวดล้อม(Environment)

    ปัจจยัหกทางระบาดวิทยา(Double Epidemiological Triad)

    เวลา (Time)

    บคุคล(Person)

    สถานท่ี (Place)

  • 7

    ประโยชน์ของระบาดวิทยา

    • ทราบขนาดของปญัหา (โรคภยัไขเ้จบ็)• ทราบรปูแบบการกระจายของโรค ตามปจัจยัดา้น เวลา สถานที่

    บุคคล• ทราบสาเหตุและปจัจยัทีม่ผีลต่อการเกดิโรค• การก าหนดมาตรการควบคุมป้องกนัโรค• การประเมนิผลการด าเนินมาตรการและเฝ้าระวงัปญัหา

  • 8

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?• เกดิมากเทา่ไหร?่ How many? • เกดิกบัใคร? Whom? • เกดิทีไ่หน? Where?• เกดิเมือ่ไหร?่ When?• ท าไมจงึเกดิ? Why?• จะควบคุมป้องกนัอยา่งไร? How?

  • อะไร ? What ?

  • 10

    การก าหนดนิยามผูป่้วยCase definition

    • ควรระบุวา่ผูป้ว่ยเป็น ใคร ทีไ่หน และชว่งเวลาใด ใหช้ดัเจน:

    • ผูเ้สยีชวีติจากอุบตัเิหตุทางถนน คอื ผูท้ีเ่สยีชวีติภายใน 30 วนัหลงัจากเกดิอุบตัเิหตุทางถนน

  • ประกนั (E-claim)10,601

    ต ารวจ (POLIS)10,272

    มรณบตัร(Death)14,033

    ความครอบคลมุของข้อมลูตาย 3 ฐาน พ.ศ. 2554

    จ านวนผูเ้สียชีวิต จากอบุติัเหตจุราจร

    รวม = 22,745

    47%

    62%

    45%

    11

  • 12

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

  • เท่าไหร่ ? How many?

  • 0

    5

    10

    15

    20

    25

    30

    35

    40

    เขต

    1

    เขต

    2

    เขต

    3

    เขต

    4

    เขต

    5

    เขต

    6

    เขต

    7

    เขต

    8

    เขต

    9

    เขต

    10

    เขต

    11

    เขต

    12

    กรงุเท

    ประเท

    อตัราตายต่อแสนประชากร

    เขต

    2554 2555 2556

    อตัราตายตามเขตบริการสขุภาพจากข้อมลูมรณบตัร

    14

  • 15

    Iceberg Phenomenon

  • 16

    Tip of Icebergผูป่้วยท่ีตรวจพบ

    ผูป่้วยท่ียงัไม่พบ•ไปตรวจรกัษาท่ีอ่ืน•อาการน้อย•ไม่มีอาการ

  • 17

    การวดั (Measurement)

    • การวดัทางระบาดวทิยา แบ่งออกไดเ้ป็น 3 ชนิด คอื 1. การวดัขนาดของโรค

    2. การวดัความสมัพนัธร์ะหวา่งปจัจยัทีศ่กึษากบัการเกดิโรค

    3. การวดัผลกระทบของปจัจยัทีศ่กึษาต่อการเกดิโรค

  • 18

    การวดัขนาดของโรค

    • การวดัขนาดของโรค (Measurement of magnitude or frequency of disease occurrence) คอื การวดัจ านวนหรอืความมากน้อยของการเกิดโรค มีหลายลักษณะขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวตัถุประสงคข์องการวดั การวดัขนาดความชุกของโรค (Prevalence)

    การวดัอุบตักิารณ์ของโรค (Incidence)

  • 19

    การวดัขนาดความชุกของโรค

    • การวดัขนาดความชุกของโรค (Prevalence) คอื จ านวนของโรคทีม่ีอยูใ่นขณะทีท่ าการศกึษา แบ่งเป็น 2 ลกัษณะ Point Prevalence คอื จ านวนของโรคทีม่อียู่ ณ จุดเวลาใดเวลาหน่ึง

    เชน่ จ านวนผูป้ว่ยอุบตัเิหตุทางถนนในจงัหวดัสงขลา ณ วนัที่ 31ธนัวาคม 2558

    Period Prevalence คอื จ านวนของโรคทีม่อียูใ่นชว่งเวลาใดเวลาหน่ึงเชน่ จ านวนผูป้ว่ยอุบตัเิหตุทางถนนในจงัหวดัสงขลาในชว่ง 5 ปี พ.ศ.2554 ถงึ 2558

  • 20

    การวดัอบุติัการณ์ของโรค

    • การวดัอุบตักิารณ์ของโรค (Incidence) คอื การวดัจ านวนการเกดิขึน้ใหมข่องโรค (Occurrence of disease) ม ี2 ลกัษณะ คอื – การวดัความเสีย่ง

    – การวดัอตัรา

  • 21

    การวดัความเส่ียง

    • การวดัความเสีย่ง (Risk) หรอื โอกาส (Chance) ต่อการเกดิโรค ไดแ้ก่– Risk หรอื Cumulative incidence คอื โอกาสหรอืความเสีย่งต่อการเกดิ

    โรคในชว่งเวลาทีท่ าการศกึษา เชน่ ในต าบลหน่ึงมปีระชากร 10,000 คน มีคนบาดเจบ็จากอุบตัเิหตุทางถนนรายใหม ่100 คนในปีน้ี ดงันัน้ความเสีย่งต่อการบาดเจบ็จากอุบตัเิหตุทางถนนในต าบลน้ีเท่ากบั 100/10,000 หรอื 1% ต่อปี

  • 22

    การวดัความเส่ียง (ต่อ)

    – Case fatality (CF) เป็นการวดัความรนุแรงของโรคจากสดัสว่นการตายจากโรค เชน่ จากเหตุการณ์อุบตัเิหตุทางถนนในต าบลคอหงสข์องปีน้ี มีจ านวนผูบ้าดเจบ็ 100 คน มจี านวนผูเ้สยีชวีติ 25 คน สามารถค านวณโดยใชส้ตูร

    CF = จ านวนผูเ้สยีชวีติ ÷ จ านวนผูบ้าดเจบ็ ดงันัน้ CF = 25/100 = 0.25 = 25%

  • 23

    การวดัอตัรา

    • การวดัอตัรา (Rate) ของการเกดิโรค หรอื Person-time incidence หรอื Incidence density เป็นการวดัวา่การเกดิโรคในกลุ่มคนทีย่งัไมไ่ดม้โีรคนัน้ เกดิขึน้เรว็หรอืชา้เพยีงใด โดยใชร้ะยะเวลาของการเสีย่งต่อการเกดิโรค (Person-time at risk: PT) ของทุก ๆ คน ทีอ่ยู่ในการศกึษาเป็นฐานของการค านวณ สามารถค านวณโดยใชส้ตูร

    Rate = D ÷ PT– เชน่ การเฝ้าสงัเกตการเกดิโรคชนิดหน่ึง ในคน 6 คน ตัง้แต่ปี 2001 ถงึ

    2008 เป็นโรคไป 4 คน โดยระยะเวลาของการเสีย่งต่อการเกดิโรคของแต่ละคน ไดแ้ก่ 1, 7, 8, 3, 5 และ 8 ปี ตามล าดบั

    ดงันัน้ Rate = 4 / 32 Person-years = 12.5%

  • 24

    การวดัขนาดของปัญหาMeasurement of Magnitude

    • อุบดักิารณ์ (Incidence) = จ านวนผูป้ว่ยใหมท่ีเ่กดิขึน้ในชว่งเวลาทีก่ าหนด

    • ความชุก (Prevalence) = จ านวนผูป้ว่ยเก่า+ใหมท่ีม่อียูใ่นชว่งเวลาทีก่ าหนด

    • ความเสีย่ง (Risk) = จ านวนผูป้ว่ยทีเ่กดิขึน้ในชว่งเวลาทีก่ าหนด

    จ านวนปชก. ทัง้หมดทีเ่สีย่งต่อการเกดิโรคในชว่งเวลาทีก่ าหนด

    • อตัรา (Rate) = จ านวนผูป้ว่ยทีเ่กดิขึน้ในชว่งเวลาทีก่ าหนด

    ระยะเวลาทีเ่สีย่งต่อการเกดิโรคของปชก.ทัง้หมด

    • อตัราปว่ยตาย (Case Fatality Rate) = จ านวนผูต้ายดว้ยโรคหน่ึง

    จ านวนผูป้ว่ยดว้ยโรคนัน้ทัง้หมด

  • 25

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

    • เกดิมากเทา่ไหร?่ How many?

  • เกิดกบัใคร ? Whom?

  • 27

    ปัจจยัด้านบคุคล

    • จ าแนกขอ้มลูตามปจัจยัดา้นบุคคลทีเ่กีย่วขอ้ง เพือ่แสดงใหเ้หน็ลกัษณะการกระจายของโรควา่เกดิในกลุ่มเสีย่งกลุ่มใดในประชากร

    • อายุ เชน่ วยัรุน่จะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูส้งูอายุ

    • เพศ เชน่ ผูช้ายจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูห้ญงิ

    • เชือ้ชาติ เชน่ คนผวิด าจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่คนผวิขาว

  • 28

    ปัจจยัด้านบคุคล

    • การศกึษา เชน่ ผูท้ีม่กีารศกึษาต ่าจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูท้ีม่กีารศกึษาสงู

    • สถานภาพสมรส เชน่ ผูห้ญงิโสดจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูห้ญงิทีส่มรสแลว้

    • ฐานะทางเศรษฐกจิ เชน่ ผูท้ีม่รีายไดน้้อยจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูท้ีม่รีายไดส้งู

    • อาชพี เชน่ คนงานในโรงงานจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่ผูท้ีท่ างานในส านกังาน

  • การเสียชีวิตจากอบุติัเหตทุางถนน

  • 30

    การวิเคราะหก์ารกระจายตามปัจจยัด้านบคุคล

    • การแยกผูป้ว่ยออกตามเพศ กลุ่มอายุ อาชพี แลว้หา อตัราปว่ยเฉพาะของตวัแปรนัน้ๆ (Specific attack rate) จะสามารถทราบถงึลกัษณะของกลุ่มประชากรทีเ่สีย่งต่อโรคได้

  • 31

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

    • เกดิมากเทา่ไหร?่ How many?

    • เกดิกบัใคร? Whom?

  • ทีไ่หน ? Where?

  • 33

    ปัจจยัด้านสถานที ่

    • จ าแนกขอ้มลูผูป้ว่ยตามสถานทีเ่พือ่แสดงใหเ้หน็ลกัษณะของโรควา่เกดิและกระจายในพืน้ทีใ่ดบา้ง

    • แบง่ตามลกัษณะตามธรรมชาติ ภมูปิระเทศ– คนในประเทศเขตรอ้นมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่เขตหนาว

    • แบง่ตามลกัษณะเขตการปกครอง พืน้ทีท่างสงัคม เชน่ หมูบ่า้น จงัหวดั ภาค– คนภาคเหนือจะมคีวามเสีย่งต่ออุบตัเิหตุทางถนนมากกวา่คนภาค

    ตะวนัออกเฉียงเหนือ

  • 34

    การวิเคราะหก์ารกระจายตามปัจจยัด้านสถานที ่

    • การวเิคราะหค์วามสมัพนัธข์องจ านวนบาดเจบ็ กบั สถานทีเ่กดิเหตุ แลว้น าเสนอขอ้มลูในรปูแผนที่ (spot map หรอื area map) จะชว่ยใหเ้หน็ลกัษณะการกระจายของโรคในพืน้ทีไ่ด้

  • 35

    การกระจายของโรคตามปัจจยัด้านสถานท่ี

  • 36

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

    • เกดิมากเทา่ไหร?่ How many?

    • เกดิกบัใคร? Whom?

    • เกดิทีไ่หน? Where?

  • เมือ่ไหร่ ? When?

  • 38

    ปัจจยัด้านเวลา

    • จ าแนกขอ้มลูผูย้าดเจบ็ตามเวลาเกดิเหตุ เป็นชัว่โมง วนั เดอืนฤดู ปี เพือ่ใหเ้หน็รปูแบบและแนวโน้มการเปลีย่นแปลงของการเกดิอุบตัเิหตุในชว่งเวลาต่าง ๆ

    • การเปลีย่นแปลงระยะยาว (Secular trends): การเปลีย่นแปลงในชว่งเวลาทีย่าวนาน เชน่ ในชว่ง 10 ปีทีผ่า่นมาอตัราตายจากอุบตัเิหตุในชว่งเทศกาลสงกรานต์มแีนวโน้มลดลง

  • อตัราการเสียชีวิตจากอบุติัเหตทุางถนน (คน / วนั)

    R² = 0.015

    R² = 0.614

    R² = 0.1085

    0

    5

    10

    15

    20

    25

    30

    2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

    อตัราการเสียชีวิต (คน / วนั)

    พ.ศ.

    ปีใหม่

    สงกรานต์

    วนัอื่นๆ

    ตลอดปี

    Linear (ปีใหม)่

    Linear (สงกรานต)์

    Linear (ตลอดปี)

    39

  • 40

    ปัจจยัด้านเวลา

    • การเปลีย่นแปลงเป็นรอบ (Seasonal & cyclical variation): การเกดิโรคทีเ่ป็นวงจรตามฤดกูาล เชน่ อุบตัเิหตุในเดก็มกัเกดิในชว่งปิดเทอม

  • 41

  • 42

    ปัจจยัด้านเวลา

    • การเปลีย่นแปลงระยะสัน้ (Disease clustering in time): เป็นการเกดิโรคทีเ่พิม่มากอยา่งผดิปกตใินชว่งเวลาใดเวลาหน่ึง อาจเป็นชัว่โมงหรอืวนั เชน่ 7 วนัอนัตรายเทศกาลปีใหมแ่ละสงกรานต์

  • อตัราการเสียชีวิตจากอบุติัเหตทุางถนน (คน / แสนประชากร / วนั)

    43

    0

    0.02

    0.04

    0.06

    0.08

    0.1

    0.12

    0.14

    0.16

    2554 2555 2556

    อตัราการเสียชีวิต (คน / แสนประชากร / วนั)

    พ.ศ.

    ปีใหม่

    สงกรานต์

    วนัอื่นๆ

    ตลอดปี

  • 44

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

    • เกดิมากเทา่ไหร?่ How many?

    • เกดิกบัใคร? Whom?

    • เกดิทีไ่หน? Where?

    • เกดิเมือ่ไหร?่ When?

  • 45

  • งานบันดาลใจ = ใจบันดาลงาน

    ~ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ~

  • ท าไม ? Why?

  • ปัจจยัทีมี่ผลต่อการบาดเจบ็จากอบุติัเหตทุางถนน

  • ถนน

    50

  • รถ

    51

  • คนคาดเขม็ขดัด้วยนะ

    ฮ้าฟฟฟ

    52

  • การตอบสนองหลงัเกิดเหต ุPost-crash response

    53

  • ระยะ/ปัจจยั

    ด้านคน ด้านพาหนะและอปุกรณ์ ด้านถนนและส่ิงแวดล้อม

    ก่อน

    เกิดเหตุ

    ขอ้มลูขา่วสาร

    ทศันคติ

    สมรรถภาพในการขบัขี่

    การบงัคบัใชก้ฎหมาย

    สภาพรถและความเหมาะสมกบัการใชถ้นน

    ระบบไฟ

    ระบบเบรค

    ระบบควบคุมความเรว็

    การออกแบบถนน

    การจ ากดัความเรว็

    สิง่อ านวยความสะดวกส าหรบัคนเดนิถนน

    ระหว่างเกิดเหตุ

    การใชห้มวกและเขม็ขดันิรภยั การใชท้ีน่ัง่ส าหรบัเดก็

    อุปกรณ์ป้องกนัการบาดเจบ็ เขม็ขดั ถุงลม

    อุปกรณ์ดา้นความปลอดภยั

    การออกแบบดา้นความปลอดภยัของรถ

    อุปกรณ์ขา้งทางป้องกนัการบาดเจบ็

    หลงัเกิดเหตุ

    ทกัษะการปฐมพยาบาล

    การเขา้ถงึปฏบิตักิารการแพทยฉุ์กเฉิน

    ความสะดวกในการเคลื่อนยา้ยผูบ้าดเจบ็

    ความเสีย่งในการเกดิไฟไหม้

    ระบบการแพทยฉุ์กเฉิน

    54

    Haddon Matrix

  • 55

    ส่ิงท่ีท าให้เกิดโรค(Agent)

    มนุษย์(Host)

    ส่ิงแวดล้อม(Environment)

    ปัจจยัหกทางระบาดวิทยา(Double Epidemiological Triad)

    เวลา (Time)

    บคุคล(Person)

    สถานท่ี (Place)

  • 56

    7.9

    41.6

    50.6

    0.00

    10.00

    20.00

    30.00

    40.00

    50.00

    60.00

    รอ้ยละของผูบ้าดเจ็บเขตกะทู ้

    92.5

    7.5

    ไทย ตา่งชาติ

    รอ้ยละของผูบ้าดเจ็บเขตเมอืง

    86.7

    13.3

    ไทย ตา่งดา้ว

    รอ้ยละของผูบ้าดเจ็บเขตถลาง

    ต่างด้าว1 ใน 7

    นักท่องเท่ียวครึ่งหน่ึง

    ใคร (Person) ท่ีไหน (Place) เม่ือไหร่ (Time) -> มาตรการชุมชน

    คนไทยเป็นส่วนใหญ่

  • * อตัราการดืม่ฯ 43.0 % เวลา 00.00-07.59 น.

    ใคร (Person) ท่ีไหน (Place) เม่ือไหร ่(Time) -> มาตรการชุมชน

    * อตัราการดืม่ฯ 26.7 % เวลา 2.00-2.59 น.

    * อตัราการดืม่ฯ 42.1 % เวลา 16.00-17.59 & 22.00 -01.59 น.

    1

    3

    0

    1

    0 0 0

    1

    3

    1

    2 2

    4

    1

    4

    2 2

    0

    2

    3

    1

    2

    3

    0

    3

    0

    1

    0 0 0 0 0

    1

    0 0 0 0

    1

    2 2

    0

    1 1

    0

    2 2

    00

    .00

    01

    .00

    02

    .00

    03

    .00

    04

    .00

    05

    .00

    06

    .00

    08

    .00

    09

    .00

    10

    .00

    11

    .00

    12

    .00

    13

    .00

    14

    .00

    15

    .00

    16

    .00

    17

    .00

    18

    .00

    19

    .00

    20

    .00

    21

    .00

    22

    .00

    23

    .00

    เวลาเกดิเหตแุละการดืม่ฯ เขตเมอืง

    ผูบ้าดเจ็บ ดืม่

    12

    3

    0 0

    3

    0 0

    2 21 1

    2

    0

    7

    1 1 1

    8

    0

    2 2 2

    4

    01

    3

    0 01

    0 01

    01

    01

    0 01

    0 0 0 0 0 01

    00

    .00

    -…

    01

    .00

    -…

    02

    .00

    -…

    03

    .00

    -…

    04

    .00

    -…

    05

    .00

    -…

    06

    .00

    -…

    07

    .00

    -…

    08

    .00

    -…

    09

    .00

    -…

    10

    .00

    -…

    11

    .00

    -…

    12

    .00

    -…

    13

    .00

    -…

    14

    .00

    -…

    15

    .00

    -…

    16

    .00

    -…

    17

    .00

    -…

    18

    .00

    -…

    19

    .00

    -…

    20

    .00

    -…

    21

    .00

    -…

    22

    .00

    -…

    23

    .00

    -…

    เวลาเกดิเหตแุละการดืม่ฯ เขตถลาง

    ผูบ้าดเจ็บ ดืม่

    5

    3

    2

    3

    1

    6

    2

    3

    2

    3

    1

    4

    2

    3 3

    4

    3

    4

    7

    6

    2

    1

    6

    34

    22

    3

    1

    4

    2

    3

    0

    1 1 1

    0 0 0

    1 1

    0

    1

    2

    1

    0

    3

    00

    .00

    -…

    01

    .00

    -…

    02

    .00

    -…

    03

    .00

    -…

    04

    .00

    -…

    05

    .00

    -…

    06

    .00

    -…

    07

    .00

    -…

    08

    .00

    -…

    09

    .00

    -…

    10

    .00

    -…

    11

    .00

    -…

    12

    .00

    -…

    13

    .00

    -…

    14

    .00

    -…

    15

    .00

    -…

    16

    .00

    -…

    17

    .00

    -…

    18

    .00

    -…

    19

    .00

    -…

    20

    .00

    -…

    21

    .00

    -…

    22

    .00

    -…

    23

    .00

    -…

    เวลาเกดิเหตแุละการดืม่ฯ เขตกะทู ้

    ผูบ้าดเจ็บ ดืม่

    เยน็กบัดึก

    ดึกยนัสว่าง

    ดึก

  • 58

    ระบาดวิทยากบัการป้องกนัควบคมุโรค

    ระบาดวิทยา : โรคอะไร เท่าไร กระจายอย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค :ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย

    ระบาดวิทยา : เกิดขึน้ได้อย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค :ปัจจยัสาเหตท่ีุต้องควบคมุ

    ระบาดวิทยา : มาตรการท่ีเหมาะสมคืออะไรการป้องกนัควบคมุโรค :กิจกรรมท่ีต้องด าเนินการ

    ระบาดวิทยา : จะด าเนินมาตรการอย่างไรการป้องกนัควบคมุโรค : ประเมินผลกิจกรรม

  • 59

    ปัจจยัทีมี่ผลต่อการเกิดการบาดเจบ็จากอบุติัเหตทุางถนน

    • ใชก้ารศกึษาระบาดวทิยาเชงิวเิคราะหห์รอืเชงิทดลอง

    • เป็นการศกึษาเพือ่ พสิจูน์สมมตฐิานความสมัพนัธร์ะหวา่ง ปจัจยัเสีย่ง กบั การเกดิการบาดเจบ็จากอุบตัเิหตุทางถนน

  • 60

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัเสีย่งกบัการเกิดโรคMeasure of Association

    • Risk ratio• Rate ratio• Odds ratio• Prevalence ratio• Standardized morbity

    ratio• Proportional morbidity

    ratio

    • Risk difference

    • Rate difference

    • Correlation coefficient

    • Regression coefficient

  • 61

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

    • การวดัความสมัพนัธร์ะหวา่งปจัจยัทีศ่กึษากบัการเกดิโรค(Measurement of association) มหีลายลกัษณะ เชน่– วดัในลกัษณะของ Ratio scale ไดแ้ก่

    • Cumulative incidence ratio หรอื Risk ratio

    • Incidence density ratio หรอื Rate ratio

    • Odds ratio

    • Prevalence ratio

    – วดัในลกัษณะของ Difference scale ไดแ้ก่• Cumulative incidence difference หรอื Risk difference

    • Incidence density difference หรอื Rate difference

  • 62

    Retrospective Cohort Study

    Not exposed Exposed

    Case

    Non-case

    Case

    Non-case

    Shigellosis outbreak : สงสยัว่าผกัดองเป็นอาหารท่ีเป็นสาเหตขุองการป่วย

    ผูที้ร่บัประทานผกัดองมีความเสีย่งทีจ่ะป่วยเป็น 6เท่าของผูที้ไ่ม่รบัประทาน

    ป่วย ไม่ป่วย Total

    กิน 9 16 25

    ไม่กิน 7 113 120

    RR = 6.2, 95% CI (2.5, 15.1)

  • 63

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

    • ตวัอยา่ง การศกึษาความสมัพนัธร์ะหวา่ง การไดร้บัรงัสี และ มะเรง็

    การได้รบัรงัสี

    มะเรง็

  • 64

    จากขอ้มลูในตาราง จะสามารถค านวณ

    – Cumulative incidence (Risk) ของ มะเรง็ ใน กลุ่มท่ีได้รบัรงัสี

    = 17 ÷ 1,722 = 9.87 ต่อพนั– Cumulative incidence (Risk) ของ มะเรง็ ใน กลุ่มท่ีไม่ได้รบัรงัสี

    = 5 ÷ 1,895 = 2.79 ต่อพนั

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

    การได้รบัรงัสี

    มะเรง็

  • 65

    – Cumulative incidence ratio หรอื “Risk ratio”

    = 9.87 ÷ 2.79 = 3.54ซึง่มคีวามหมายวา่ โอกาสเกดิ มะเรง็ ใน กลุ่มท่ีได้รบัรงัสี เป็น 3.54 “เท่า” เมือ่เทยีบกบักลุ่มทีไ่มไ่ดร้บัรงัสี

    – Cumulative incidence difference หรอื “Risk difference”

    = (9.87 ต่อพนั) – (2.79 ต่อพนั) = 7.09 ต่อพนั

    ซึง่มคีวามหมายวา่ โอกาสเกดิ มะเรง็ ใน กลุ่มท่ีได้รบัรงัสี “มากกว่า” กลุ่มที่ไมไ่ดร้บัรงัสี 7.09 ต่อพนั

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

  • 66

    Case-control Study

    ControlCase

    Exposed

    Non-exp.

    Exposed

    Non-exp.

    Botulism outbreak : สงสยัว่าหน่อไม้อดัป๊ีบเป็นอาหารท่ีเป็นสาเหตขุองการป่วย

    ผูที้ร่บัประทานหน่อไม้อดัป๊ีบ มีความเสีย่งทีจ่ะป่วยเป็น 201 เท่าของผูที้ไ่ม่ได้รบัประทาน

    ป่วย ไม่ป่วยOR = 201, 95% CI (18, 5410)

    กิน 13 4

    ไม่กิน 1 62

    Total 14 66

  • 67

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

    • ตวัอยา่ง การศกึษาความสมัพนัธร์ะหวา่งการใช ้ฮอรโ์มน Estrogen และการเกดิมะเรง็ โดยใชข้อ้มลูจาก Case และ Control กลุ่มละ 317 คน (Smith DC. N Engl J Med 1975.) ดงัตารางขา้งล่าง

    การใช้ฮอรโ์มน

    กลุ่มในการศึกษา

  • 68

    การวดัความสมัพนัธร์ะหว่างปัจจยัท่ีศึกษากบัการเกิดโรค

    จากขอ้มลูตวัเลขในตาราง จะสามารถค านวณ

    – Odds ของการใช ้ฮอรโ์มน ใน Case = 152 ÷ 165 = 0.92

    – Odds ของการใช ้ฮอรโ์มน ใน Control = 54 ÷ 263 = 0.21

    – Odds ratio = 0.92 ÷ 0.21 = 4.49ซึง่มคีวามหมายวา่ โอกาสการเกดิ มะเรง็ ใน ผูใ้ช้ฮอรโ์มน เป็น 4.49 “เท่า” เมือ่เทยีบกบั ผูท่ี้ไม่ได้ใช้ฮอรโ์มน

    การใช้ฮอรโ์มน

    กลุ่มในการศึกษา

  • 692554 2555

    อตัราการจบัปรบั ร้อยละการสวมหมวก และการบาดเจบ็ท่ีศีรษะ จ.ภเูกต็

    รณรงคห์มวกเข้มข้นทัง้จงัหวดั

    IS

    ตร.

    ส ารวจ CCTV

    สภาพปกติ

  • การบาดเจบ็ท่ีศีรษะ จ าแนกรพ. 2556

    70

  • การส ารวจการสวมหมวกนิรภยั thaiROADS

  • สถิติคดีอบุติัเหตจุราจร สตช.http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries21.html

    72

  • 73

  • 74

    การวดัผลกระทบของปัจจยัเสีย่งต่อการเกิดโรคMeasurement of Impact

    • Attributable fraction among the exposed (AFe) = Ie – Iu / Ie

    • Attributable fraction in the population (AFp) = Ip – Iu / Ip

  • 75

    การวดัผลกระทบของปัจจยัท่ีศึกษาต่อการเกิดโรค

    • การวดัผลกระทบของปจัจยัทีศ่กึษาต่อการเกดิโรค (Measurement ofimpact) ม ี2 ลกัษณะ คอื– การวดัผลกระทบของปัจจยัท่ีศึกษาต่อการเกิดโรคในกลุ่มผูท่ี้มีปัจจยันัน้ๆ

    Attributable fraction among the exposed (AFe) =

    le = Incidence ในผูท้ีม่ปีจัจยั

    lu = Incidence ในผูท้ีไ่มม่ปีจัจยั

    – การวดัผลกระทบของปัจจยัท่ีศึกษาต่อการเกิดโรคในประชากรทัง้หมด

    Attributable fraction among in the whole population (AFp) =

    lp = Incidence ทัง้หมด

    lu = Incidence ในผูท้ีไ่มม่ปีจัจยั

    40%10%40%

    lelule

    25%10%25%

    lplulp

  • 76

    การวดัผลกระทบของปัจจยัท่ีศึกษาต่อการเกิดโรค

    – AFe = = 0.75 = 75%

    – AFp = = 0.60 = 60%

    40%10%40%

    lelule

    25%10%25%

    lplulp

    การสบูบหุร่ี

    มะเรง็ปอด

  • 77

    ค าถามในระบาดวิทยา: อะไร ? ท าไม ? อย่างไร ?

    • โรคอะไร? What?

    • เกดิมากเทา่ไหร?่ How many?

    • เกดิกบัใคร? Whom?

    • เกดิทีไ่หน? Where?

    • เกดิเมือ่ไหร?่ When?• ท าไมจงึเกดิ? Why?

  • ระบบเฝ้าระวงั 5 มิติ

    78

  • การเฝ้าระวงัทางระบาดวิทยาคืออะไร ?

  • 80

    การเฝ้าระวงัทางระบาดวิทยา

    • การติดตาม สงัเกต พินิจพิจารณา ลกัษณะการเปลีย่นแปลงของการเกิด การกระจายของโรค หรือปัญหาสาธารณสขุ รวมทัง้ ปัจจยัทีมี่ผลต่อการเปลีย่นแปลงนัน้ ๆ อย่างต่อเนือ่งด้วยกระบวนการทีเ่ป็นระบบ ประกอบด้วย การรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะหแ์ปลผล และกระจายข้อมลูข่าวสารสู่ผูใ้ช้ประโยชน์ เพือ่การวางแผน ก าหนดนโยบาย การปฏิบติังาน และการประเมินมาตรการควบคมุป้องกนัโรค อย่างรวดเรว็และมีประสิทธิภาพ

  • Behavioral risks

    จ ำนวนรถจดทะเบยีนตอ่ปีจ ำนวนจุดเสีย่งและจุดอนัตรำย

    Determinants

    Morbidity/Mortality

    Event-based surveillance

    Program response

    กำรสวมหมวก เขม็ขดัใชโ้ทรศพัท ์ขบัเรว็ เมำ

    จ ำนวนผูเ้สยีชวีติจ ำนวนผูบ้ำดเจบ็

    อตัรำกำรบำดเจบ็ศรีษะ

    คุณภำพกำรดูแลผูบ้ำดเจบ็

    Response time EMS

    กำรตรวจจบั 10 ขอ้หำหลกั

    จ ำนวนนโยบำยระดบัประเทศ

    รำยงำนเบือ้งตน้จำกสสจ/

    กำรแจง้จำกสพฉ โดย SMS /

    ขำ่วหนงัสอืพมิพ ์/ สอบสวน

    อบุติัเหตทุางถนน ขอ้มูล

  • 1. Determinantsปัจจยัต้นเหตุ

    82

  • พิกดัจดุเกิดเหต ุจ. สงขลา

  • ขอ้มลูรถจดทะเบยีน กรมการขนสง่ทางบกhttp://apps.dlt.go.th/statistics_web/statistics.html

    85

    http://apps.dlt.go.th/statistics_web/statistics.html

  • ขอ้มลูการใชพ้ลงังานเชือ้เพลงิ กระทรวงพลงังานhttp://show.energy.go.th/energy_data.html

    86

    http://show.energy.go.th/energy_data.html

  • 2. Behavioral Riskพฤติกรรมเส่ียง

    87

  • 88

    ระบบสารสนเทศการเฝ้าระวงัการบาดเจบ็Injury Surveillance Information System (ISIS)

    (URL: www.RSISthai.net/isis)

    ดร.นพ. วรสิทธ์ิ ศรศรีวิชยัชญานิษฐ ์เพช็รรตัน์

    มลูนิธิสขุภาพภาคใต้

  • 89

    ระบบสารสนเทศการเฝ้าระวงัการบาดเจบ็Injury Surveillance Information System (ISIS)

    (URL: www.RSISthai.net/isis)

  • 90

    การด่ืมแอลกอฮอล ์การไม่สวมหมวก จ าแนกช่วงอาย ุ

    90

  • การส ารวจการสวมหมวกนิรภัย ปี 2556

    มูลนิธิไทยโรดส์ (thaiROADS)

  • ตรัง 10%ตรัง 54%

  • อัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขับขี่และผู้โดยสาร ปี 2556

  • แนวโน้มอัตราการสวมหมวกนิรภัย

    จังหวัดตรังปี 2553-2556

  • บาดเจบ็และ

  • มูลนิธิไทยโรดส์ (thaiROADS)http://trso.thairoads.org/statistic/summary

    แนวโน้มสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนน ปี 2554

  • http://trso.thairoads.org/statistic/summary

    99

  • แนวโน้มสถานการณ์ ความเรว็ เมา จ.ขอนแก่น

    แหล่งข้อมลู: http://trso.thairoads.org/statistic/summary

  • Behavioral risks

    จ ำนวนรถจดทะเบยีนตอ่ปีจ ำนวนจุดเสีย่งและจุดอนัตรำย

    Determinants

    Morbidity/Mortality

    Event-based surveillance

    Program response

    กำรสวมหมวก เขม็ขดัใชโ้ทรศพัท ์ขบัเรว็ เมำ

    จ ำนวนผูเ้สยีชวีติจ ำนวนผูบ้ำดเจบ็

    อตัรำกำรบำดเจบ็ศรีษะ

    คุณภำพกำรดูแลผูบ้ำดเจบ็

    Response time EMS

    กำรตรวจจบั 10 ขอ้หำหลกั

    จ ำนวนนโยบำยระดบัประเทศ

    รำยงำนเบือ้งตน้จำกสสจ/

    กำรแจง้จำกสพฉ โดย SMS /

    ขำ่วหนงัสอืพมิพ ์/ สอบสวน

    มูลนิธไิทยโรดส ์ส ำนกัระบำด ส ำนกัโรคไมต่ดิต่อ

    กรมกำรขนสง่ทำงบกกรมทำงหลวง/ทำงหลวงชนบท

    ส ำนกันโยบำยและยุทธศำสตร ์สปส ำนกัระบำด ส ำนกัโรคไมต่ดิต่อ

    สถำบนักำรแพทยฉุ์กเฉินแหง่ชำติ

    ส ำนกัระบำดวทิยำส ำนกังำนต ำรวจแหง่ชำติ

    สถำบนักำรแพทยฉุ์กเฉินแหง่ชำติ

    ส ำนกัระบำดวทิยำส ำนกัโรคไมต่ดิตอ่

    อบุติัเหตทุางถนน ขอ้มูล แหล่งขอ้มูล

  • แหล่งข้อมลูข้อมูล รวมลิงค์

    ข้อมลูรถจดทะเบียน http://apps.dlt.go.th/statistics_web/statistics.html

    ข้อมลูการใช้พลงังานเช้ือเพลิง

    http://show.energy.go.th/energy_data.htmlhttp://show.energy.go.th/

    ข้อมลูบาดเจบ็ตายรายงาน ๑๙ สาเหตุ

    http://bps.moph.go.th/contenthttp://www.thaincd.com/information-statistic/injured-data.phphttp://thairsc.comhttp://www.roadsafetythailand.com/main/index.phpOnline IS www.RSISthai.net/isis

    Head injury Online IS www.RSISthai.net/isis

    ข้อมลูคดีอบุติัเหตจุราจร http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries21.html

    ข้อมลูสืบสวน อบถ. ต ารวจ http://www.rstpolice.com/RoadAccidentForm/GIS/GIS_Min.aspx

    ข้อมลู Ranking สอจร. 2555 www.RSISthai.net/download/rsis/ThaiNationalStatusReport2555.pdf

    http://apps.dlt.go.th/statistics_web/statistics.htmlhttp://show.energy.go.th/energy_data.htmlhttp://show.energy.go.th/http://bps.moph.go.th/contenthttp://www.thaincd.com/information-statistic/injured-data.phphttp://thairsc.com/http://www.roadsafetythailand.com/main/index.phphttp://www.rsisthai.net/isishttp://www.rsisthai.net/isishttp://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries21.htmlhttp://www.rstpolice.com/RoadAccidentForm/GIS/GIS_Min.aspxhttp://www.rsisthai.net/download/rsis/ThaiNationalStatusReport2555.pdf