รายงานการประชุมเชิง ... · 2019-06-19 · 12....

67
1 รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2565 และจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ระหว่างวันที่ 6 8 ตุลาคม 2561 ณ โรงแรมโบ๊ท ลากูน รีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ....................................................... ผู้มาประชุม 1. นายสมชาย รองเหลือ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 2. นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 3. นายวิเชียร ศรีแก้วแฝก รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 4. นางสาวชฎาวัลย์ ชุมวรฐายี ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน 5. นางสุรภา อ่อนเกลี้ยง ผู้อานวยการกลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ 6. นางพจณิชา รอดภัย ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน 7. นางวัลภา นาคประสม ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 8. นางอารี ชนะสงคราม ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา 9. นางสายลม จิตระดับ ผู้อานวยการกลุ่มอานวยการ 10. นางสาวชฎาวัลย์ ชุมวรฐายี ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน 11. นางสาวนฤมล ทองสุข ผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล 12. นางสุพรพงศ์ ชัยดารงค์ฤทธินักประชาสัมพันธ์ชานาญการพิเศษ 13. นางสาวนันทวดี บุญจุ่น นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ 14. นายศักดา ขินทัตโต นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ 15. นางอุรีรัช ขันติไชย นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ 16. นางรัชดาภรณ์ ปฏิบัติ นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ 17. นางบุษกร เพ็ชรพวง นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ 18. นางสาวฐิติพร บุญษร นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ 19. นางสาวศศิตา โลกถวิล นักวิชาการศึกษาชานาญการ 20. นางกันทนา จันทร์ทอง นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ 21. นางภัทรินทร์ ชูมาก ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ 22. นางสาวอรชพร มีพัฒน์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ 23. นางสาวหัทยา ขยัน ศึกษานิเทศก์ชานาญการ 24. นางสุจินต์ ภิญญานิล ศึกษานิเทศก์ชานาญการ 25. นายณรงค์ศักดิคงทอง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ 26. นางณัฐจารักษ์ โสมติด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ 27. นางสาวทิพย์ธิภา ปานราม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ 28. นางอรฉัตร สุขนิตย์ เอี่ยมอ้น นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการ

Transcript of รายงานการประชุมเชิง ... · 2019-06-19 · 12....

1

รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 และจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ระหว่างวันที่ 6 – 8 ตุลาคม 2561

ณ โรงแรมโบ๊ท ลากูน รีสอร์ท อ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

.......................................................

ผู้มาประชุม

1. นายสมชาย รองเหลือ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 2. นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 3. นายวิเชียร ศรีแก้วแฝก รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 4. นางสาวชฎาวัลย์ ชุมวรฐายี ผู้อ านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน 5. นางสุรภา อ่อนเกลี้ยง ผู้อ านวยการกลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ 6. นางพจณิชา รอดภัย ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน 7. นางวัลภา นาคประสม ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 8. นางอารี ชนะสงคราม ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา 9. นางสายลม จิตระดับ ผู้อ านวยการกลุ่มอ านวยการ 10. นางสาวชฎาวัลย์ ชุมวรฐายี ผู้อ านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน 11. นางสาวนฤมล ทองสุข ผู้อ านวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล 12. นางสุพรพงศ์ ชัยด ารงค์ฤทธิ์ นักประชาสัมพันธ์ช านาญการพิเศษ 13. นางสาวนันทวดี บุญจุ่น นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ 14. นายศักดา ขินทัตโต นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ 15. นางอุรีรัช ขันติไชย นักวิชาการตรวจสอบภายในช านาญการพิเศษ 16. นางรัชดาภรณ์ ปฏิบัติ นักวิชาการศึกษาช านาญการพิเศษ 17. นางบุษกร เพ็ชรพวง นักวิชาการศึกษาช านาญการพิเศษ 18. นางสาวฐิติพร บุญษร นักวิชาการศึกษาช านาญการพิเศษ 19. นางสาวศศิตา โลกถวิล นักวิชาการศึกษาช านาญการ 20. นางกันทนา จันทร์ทอง นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ 21. นางภัทรินทร์ ชูมาก ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ 22. นางสาวอรชพร มีพัฒน์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ 23. นางสาวหัทยา ขยัน ศึกษานิเทศก์ช านาญการ 24. นางสุจินต์ ภิญญานิล ศึกษานิเทศก์ช านาญการ 25. นายณรงค์ศักดิ์ คงทอง ศึกษานิเทศก์ช านาญการ 26. นางณัฐจารักษ์ โสมติด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ 27. นางสาวทิพย์ธิภา ปานราม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ 28. นางอรฉัตร สุขนิตย์ เอ่ียมอ้น นักวิชาการคอมพิวเตอร์ช านาญการ

2

29. นางสาวเพ็ญวดี ชูช่วย นักทรัพยากรบุคคลช านาญการพิเศษ 30. นางล ายอง ทองเสน นักทรัพยากรบุคคลช านาญการพิเศษ 31. นางสาวอุไรวรรณ ตรีศิริเกษม นักทรัพยากรบุคคลช านาญการ 32. นางจารุวรรณ ณ นคร นักทรัพยากรบุคคลช านาญการ 33. นายสมศักดิ์ เข็มขาว นิติกรช านาญการพิเศษ 34. นายเฉลิมชัย นาคสวาท นิติกรช านาญการ 35. นายชวกร ชลสิทธิ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ 36. นางฐิติมา สุตระ เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน 37. นายสัญลักษณ์ เมืองโคตร นักวิชาการพัสดุปฏิบัติงาน 38. นางสาวอรวรรณ ปานประเสิรฐ อัตราจ้าง 39. นายสมยศ กระจ่างแจ้ง ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธภิาพมัธยมศึกษาจังหวัดสรุาษฎรธ์านี 40. นายประยงค์ อินนุพัฒน์ เลขานุการเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพมัธยมศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธาน ี41. นางสมร เผือกเดช ประธานสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 1 42. นางเพียงแข ชิตจุ้ย เลขานุการสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 1 43. นายสุรศักดิ์ อักษรสาร ประธานสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 2 44. นายธีรเดช จูทิ่น เลขานุการสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 2 45. นายสมชาย กิจคาม เลขานุการสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 3 46. นายสุรินทร์ เนียมสุวรรณ ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพมัธยมศึกษาจังหวัดชุมพร 47. ว่าที่ ร.ต. ปริญญา พงศ์กาสอ เลขานุการสหวิทยาเขตชุมพร เขต 1 48. นายประทีป มณีบางกา เลขานุการสหวิทยาเขตชุมพร เขต 2 49. นายเกรียงศักดิ์ อัจกลับ แทนประธานสหวิทยาเขตชุมพร เขต 2 50. นายส ารวย ภักด ี ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา ใน กตปน.

ผู้ไม่มาประชุม

1. นางสาวพรพรรณ ไตรมงคลเจริญ นักวิชาการศึกษาช านาญการ 2. นายเชษฐ ส าลีพันธ์ ประธานสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 3 3. นายเอกวุฒิ ไกรมาก ผู้อ านวยการโรงเรียนหงส์เจริญวิทยาคม 4. นางยุพดี สัตยธีรานนท์ ประธานสหวิทยาเขตชุมพร 1 5. นายวิเชียร ภู่สวุรรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ใน กตปน.

เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561

นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ได้กล่าวรายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 และจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11ระหว่างวันที่ 6 – 8 ตุลาคม 2561 ณ โรงแรมโบ๊ท ลากูน รีสอร์ท อ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ต่อประธานการประชุม นายสมชาย รองเหลือ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ถึงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุมในครั้งนี้ ดังนี้

3

1. เพ่ือวิแคราะห์สถานภาพของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 2. เพ่ือก าหนดทิศทางการด าเนินงานของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 3. เพ่ือก าหนดแผนงาน โครงการของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการจัดประชุม คือ บุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาที่ท าหน้าที่ ประธานและเลขานุการเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพมัธยมศึกษาจังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี ประธานและเลขานุการสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และชุมพร และผู้แทน กต.ปน.

นายสมชาย รองเหลือ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ประธานที่ประชุม ได้กล่าวเปิดประชุม และได้บรรบายพิเศษ ในหัวข้อ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยได้กล่าวถึงยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องน ามาบูรณาการและเชื่อมโยงเข้ากับการบริการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามเจตนาและเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และในโอกานนี้ได้เปิดโอกานให้ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาที่เข้าร่วมประชุม ได้เสนอแนวทาง ความต้องการ หรือสิ่งที่โรงเรียนต้องการให้ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ได้ปรับปรุง พัฒนา หรือน ามาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นส าคัญ ๆ ได้ดังนี้

การบริหารจัดการ 1. ให้น าระบบ Conference มาใช้ในการประชุมข้อราชการกับสถานศึกษาในสังกัด เพ่ือเป็นการ

ประหยัดงบประมาณและเวลาในการเดินทาง 2. ควรให้ความส าคัญในเรื่องของการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. การขับเคลื่อนโครงการที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนควรใช้ศูนย์กลุ่มสาระการเรียนรู้เป็น

ฐานในการด าเนินการ 4. ให้มีการใฃ้และมีการบูรณาการ ICT เพ่ือการเรียนการสอน 5. จัดท าปฏิทินการด าเนินงานโครงการให้มีความชัดเจนเพื่อป้องกันความซ้ าซ้อนในการด าเนินงาน 6. ข้อมูลสารสนเทศ เว็บไซต์โรงเรียนและของส านักงาน ข้อมูลต้องเป็นปัจจุบัน เพ่ือประโยชน์ใน

การใช้ข้อมูล โดยเฉพาะการด าเนินงานตามนโยบาย 7. ท าอย่างไรให้นักเรียนมีความสุข 8. โครงการคุณธรรม จริยธรรม ควรมีข้อก าหนดการปฏิบัติตนของครูในการเป็นแบบอย่างและการ

น าองค์ความรู้ไปสู่นักเรียนได้อย่างไร 9. ศูนย์ประสาน ซึ่งตั้งเพ่ือวัตถุประสงค์ในการอ านวยความสะดวกในการติดต่อประสานงาน

ระหว่างโรงเรียนกับส านักงาน ควรเป็นรูปธรรมและอ านวยความสะดวกท่ีแท้จริง 10. ควรมีข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็นข้อมูลกลาง 11. ความเสมอภาคทางการศึกษา ขอให้ผู้บริหารให้ดูแลโรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็กด้วย ไม่

ว่าในเรื่องของการระดมทุน การคัดเลือกนักเรียน คุณภาพของครู 12. ควรมีการประชุมผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนแนวคิด

ความรู้ใหม่ ๆ 13. การบริหารจัดการระหว่างเขตกับโรงเรียน ได้ประสิทธิภาพ และยังขาดประสิทธิภาพ ควร

ด าเนินการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 14. การพัฒนาตามนโยบายของ สพฐ.. เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายโลก 17 ข้อ ขอให้ส านักงานเขต

ได้น ามาสู่สถานศึกษาด้วย

4

15. กระบวนการท างานภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ต้องมีการเชื่อมโยง และประสานงานที่ดี เพื่อการบริการสู่ภายนอก

16. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาต้องมีนโยบายที่ชัดเจน เพ่ือสร้างความร่วมมือระหว่างส านักงานเขตพ้ืนที่การศีกษา และสถานศึกษา

17. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และหัวหน้ากลุ่มงานทุกระดับต้องมีการถ่ายทอดนโยบายสู่ผู้บริหารรุ่นใหม่ ๆ

การพัฒนาครู 1. การประชุมควรใช้วันหยุด 2. การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่บุคลากร ควรจะต้องมีการกลั่นกรองให้มีความเหมาะสมและ

เกิดความรู้กับครูที่แท้จริง 3. การพัฒนาควรมีการจัดท า ID Plan 4. การจัดโครงการฝึกอบรม จะต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (อบรมแล้วครูได้อะไร น าไปใช้อะไรได้)

และต้องมีการติดตามประเมินผลหลังการอบรม 5. ควรให้ความรู้และวิธีการประเมินครูผู้ช่วย 6. เมื่อมีการอบรมพัฒนาครู สาระความรู้จากการอบรมควรน ามาเผยแพร่ทางเว็บไซต์เพ่ือเป็น

ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 7. ให้มีการบูรณาการปฏิทินการอบรม เพ่ือลดการน าครูออกจากห้องเรียนให้น้อยที่สุด และ

ประหยัดงบประมาณในการเดินทาง และควรมีงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด 8. การประชุมควรมีการแจ้งล่วงหน้าให้มีระยะเวลาพอสมควร เพ่ือโรงเรียนจะได้บริหารจัดการใน

การจัดครูเข้าสอนแทนได้เหมาะสม และไม่ควรจัดในช่วงใกล้สิ้นปีงบประมาณ 9. การพัฒนาครูควรเน้นการพัฒนาผู้เรียนและพัฒนางานที่ได้รับมอบหมาย 10. การพัฒนาลุคลากรควรให้สหวิทยาเขตและเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพเป็นผู้ด าเนินการ

แนวทางการด าเนินงานของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

เนื่องด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นี้ ได้รับแจ้งจากผู้อ านวยการส านักนโยบายและแผนว่า งบประมาณส าหรับใช้จ่าย และบริหารจัดการและพัฒนางานภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานั้น มีประมาณ 5,0.00,000 บาท จึงจ าเป็นที่จะต้องท าความเข้าใจกันตั้งแต่ต้นปีงบประมาณว่าเราจะท าอย่างไรให้งบประมาณจ านวนดังกล่าวเพียงพอในการบริหารจัดการ และท าอย่างไรให้การบริหารงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ประธานได้ขอให้กลุ่มงานต่าง ได้ชี้แจงกรอบงานภารกิจที่กลุ่มจะต้องด าเนินการเป็นการเร่งด่วนในช่วงปีงบประมาณนี้

1. กลุ่มนโยบายและแผน คาดว่าโครงการต่าง ๆ ที่เคยด าเนินการอยู่ในปีงบประมาณที่ผ่านมา และคาดว่าจะด าเนินการต่อและเพ่ิมเติมในปีงบประมาณนี้ ก็คงจะต้องด าเนินการต่อไป และอาจจะไม่ใช้งบประมาณในการด าเนินการ เช่น การด าเนินการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ก็ได้ใช้งบประมาณเหลือจ่ายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แล้ว ส่วนโครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการจัดท าข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา นั้นก็คงต้องด าเนินการต่อ แต่อาจจะท าในรูปแบบของการจัดท าคู่มือแทนการจัดประชุม

5

ชี้แจง และการจัดท าเล่มข้อมูลสารสนเทศ และรายงานผลการด าเนินงานประจ าปี จะจัดท าเป็นไฟล์เอกสารวางไว้หน้าเว็บไซต์ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แทนการจัดท าเป็นรูปเล่ม

2. กลุ่มบริหารงานบุคคล ทางกลุ่มก็ได้วางแผนการด าเนินงานได้หลายโครงการที่จ าเป็นต้องท า ซึ่งบางโครงการก็จ าเป็นต้องใช้งบประมาณบ้าง บางโครงการก็มีงบประมาณมาจากหน่วยงานต้นสังกัดบ้าง แต่จะพยายามด าเนินงานโดยใช้จ่ายงบประมาณโดยประหยัดเท่าที่จ าเป็น

3. กลุ่มงานกฎหมายและคดี ได้วางแผนการด าเนินงานไว้ในงบประมาณนี้ว่าจะด าเนินการโครงการอบรมด้านวินัย ละเมิด และคดีปกครอง การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทางเว็บไซต์ รวบรวมค าพิพากษาที่เป็นประโยชน์แก่ข้าราชการน ามาเผยแพร่ และการด าเนินเกี่ยวกับการสอบสวนต่าง ๆ

4. กลุ่มอ านวยการ งานที่จ าเป็นจะต้องด าเนินการ คือ การจัดประชุมผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 2 ครั้ง และการด าเนินการปรับภูมิทัศน์ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

5. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา งานจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการเร่ งด่วนในระยะนี้ ก็คืองานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาค ซึ่งจะจัดประมาณเดือนมกราคม 2562 ซึ่งมีความจ าเป็นต้องใช้งบประมาณ และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ก็ไม่ได้สนับสนุนงบประมาณในส่วนนี้ให้ และงานที่ต้องตอบตัวชี้วัดตามค ารับรองต่าง ๆ และโครงการแข่งขันกีฬา สพฐ. คัพ

6. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ก็จะมีงานที่จะด้องด าเนินการตามนโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้สามารถตอบตัวชี้วัดได้ เน้นโครงการนิเทศฯ

7. หน่วยตรวจสอบภายใน มีภารงานที่จะต้องด าเนินการติดตาม ตรวจสอบการด าเนินงานทางการเงินและบัญชีของโรงเรียนอยู่ในปีนี้โดยมีเป้าหมาย 12 โรงเรียน ก็จะใช้งบประมาณไม่มาก

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2561

นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ได้ด าเนินการประชุม และชี้แจงกรอบแนวทาง ทิศทางการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการประจ าปี ของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โดยมีกรอบการด าเนินงาน ดังนี้

1. ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

2. นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

และในการนี้ได้กล่าวถึงยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนาประเทศ ภายใต้วิสัยทัศน์ มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกสาร อธิปไตย มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ

2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้า น ามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ

6

ในมิติต่างๆ และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต

3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนา ที่ส าคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ มีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น

4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนา ที่ให้ความส าคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ให้ เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเอง โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพ อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง

5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใช้พ้ืนที่ เป็นตัวตั้งในการก าหนดกลยุทธ์และแผนงานและการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรง ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการด าเนินการบนพ้ืนฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความส าคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะน าไปสู่ความยั่งยืนเพ่ือคน รุ่นต่อไปอย่างแท้จริง

6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมาย การพัฒนาที่ส าคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลา และจะต้องด าเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน "ภายใต้วิสัยทัศน์ “สร้างคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน” ซึ่งประกอบไปด้วยนโยบาย

นโยบายที่ 1 จัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคง นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน นโยบายที่ 3 พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา นโยบายที่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลื่อม

ล้ าทางการศึกษา นโยบายที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริการจัดการ

เมื่อได้พิจารณาถึงความเชื่อมโยงด้านยุทธศาสตร์ และนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วจึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่จะมาก าหนดทิศทางการด าเนินงาน ซึ่งบุคลากรผู้เข้าประชุมทุกคนได้ร่วมกันระดมความคิดเห็นเพ่ือก าหนดทิศทางการด าเนินงานของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ดังนี้

วิสัยทัศน์

“องค์กรธรรมาภิบาล สร้างคุณภาพการศึกษาสู่สากล บนพื้นฐานศาสตร์พระราชา

7

พันธกิจ

1. จัดการศึกษาเพ่ือปลูกฝังและสร้างจิตส านึกต่อสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีความรู้ ทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21

3. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ าให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

4. ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ 5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักของปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน 6. บริหารจัดการแบบบูรณาการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล

เป้าหมาย

1. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และปรับตัวเป็นพลเมืองและพลโลกที่ดี

2. ผู้เรียนมีความต้องการจ าเป็นพิเศษ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดารได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ พร้อมก้าวสู่สากลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. ครู เป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นย าทางวิชาการ และมีทักษะการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตอบสนองผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม และทักษะในการใช้เทคโนโลยี

4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้น าทางวิชาการ มีส านึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบร่วมมือ

5. สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู้ ร่วมมือกับชุมชน ภาคเอกชนและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นท่ี จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อการเรียนรู้ในทุกมิติ เป็นโรงเรียนนวัตกรรม

6. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีการบริการงานเชิงบูรณาการ เป็นส านักงานแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ ก ากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลอย่างเป็นระบบ

ค่านิยมองค์กร

“ยิ้มแย้มแจ่มใส ว่องไวทุกงาน บริการประทับใจ มีวินัยและคุณธรรม”

Smile Speed Service Sprit

กลยุทธ์

8

1. จัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคง 2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. เพ่ิมโอกาส ความเสมอภาค ความเท่าเทียม การเข้าถึงบริการทางการศึกษา 5. จัดการศึกษาเพ่ือสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

จุดเน้นการด าเนินงาน

1. ด้านผู้เรียน 1.1 นักเรียนเป็นคนดี มีระเบียบวินัย และเคารพกฎหมาย 1.2 นักเรียนเป็นคนเก่ง มีความสามารถและมีทักษะชีวิต

2. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.1 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน

3. ด้านการบริการจัดการ 3.1 โรงเรียนมีความเข้มแข็ง มีคุณภาพ 3.2 ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีการบริหารจัดการได้มาตรฐาน

9

ตารางก าหนดเป้าหมาย ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย มาตรการด าเนินงาน

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

นโยบายที่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง ประเด็นกลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีคุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ

ตัวชี้วัด ที่ 1. จ านวนผู้เรียนบ้านไกลได้รับโอกาสทางการศึกษา

จากการได้เข้าพักในโรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทางจากบ้านถึงโรงเรียนอย่างปลอดภัย

2. จ านวนโรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสภาพหอพักนอนให้มีคุณภาพท่ีด ีอย่างเหมาะสม

นโยบายและแผน ส่งเสริมการจัดการศึกษา นโยบายและแผน ส่งเสริมการจัดการศึกษา

10

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

3. จ านวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพทั้งด้านทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกับบริบท

4. จ านวนผู้บริหาร ครู ในสถานศึกษา/ห้องเรียนสาขา และที่ดูแลหอพักนอน ที่มีนักเรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาส กลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการพัฒนาและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบริบท

5. จ านวนผู้เรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการส่งเสริมการเรี ยนรู้ ที่ มี คุณภาพ และเกิดจิ ตส านึ กรั ก ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

6. การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนที่มีผู้เรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการปรับปรุงและมีรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ

7. ผู้เรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

นิเทศ ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา นิเทศ

11

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน

ประเด็นกลยุทธ ์ 2.1 ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ให้เอ้ือต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 น าไปสู่การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท า (Career Education)

ตัวชี้วัด ที่

1. ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีหลักคิดที่ถูกต้อง รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความต้องการ และมีทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคาม

80 82 85 90

๑.ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนละพ้ืนที่ จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความรักในสถาบันหลักของชาติ การปกครองใน

นิเทศ

12

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

รูปแบบใหม ่2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและพ้ืนที ่

2.2 พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิด ที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม

ระบอบประชาธิปไตย น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.นิเทศ ติดตามการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนละพ้ืนที่ สถาบันหลักของชาติ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นิเทศ

ตัวชี้วัด ที ่

1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

นิเทศ

13

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม

3. ร้อยละของสถานศึกษาที่ปรับปรุงหลักสูตร

จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบัน

100

100

100

100

1. ส่งเสริมและรวบรวมข้อมูลนักเรียน เกี่ยวกับการแสดงออกถึงการมีคุณธรรมจริยธรรม และน าผลมาใช้ ในการวางแผน พัฒนา และแก้ไขปัญหาเพ่ือส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนด ี2. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจั ดท าหรื อจั ดหานวั ตกรรมพัฒนาคุณธรรม 3. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการ หรือนวัตกรรมที่ท าให้นักเรียน แสดงออกถึ งการมีคุณธรรมจริยธรรม 4. นิเทศ ก ากับ ติดตาม ให้ครูด าเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมแก่นักเรียน 1. ส่งเสริมและรวบรวมข้อมูลโรงเรียน เกี่ยวกับการมีกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม

นิเทศ

14

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

หลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม

4. ร้อยละของสถานศึกษาที่น้อมน าพระบรมรา

โชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ก าหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

100 100 100 100

2. ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนมีการจัดท าหรือจัดหานวัตกรรมพัฒนาคุณธรรม 3. ส่งเสริมให้โรงเรียนมีการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ เกี่ ยวกั บเทคนิค วิธีการ หรือนวัตกรรมคุณธรมของโรงเรียน 4. นิ เทศ ก ากับ ติดตาม ให้ผู้บริหารด าเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริ ยธรรมแก่ ครู นักเรียน

นิเทศ

นิเทศ

15

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

2.3 พัฒนาคุณภาพของผู้ เรียน ให้มีทักษะการ

เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความเป็นเลิศ ด้านวิชาการ น าไปสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน

ตัวชี้วัด

ด้านผู้เรียน 1. ร้อยละของผู้เรียนระดับปฐมวัย ได้รับการพัฒนา

ร่ างกาย จิ ตใจ วินั ย อารมณ์ สั งคม และสติปัญญา และมีความพร้อมที่ จะเข้ ารับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น

2. ร้อยละของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน

3. ร้อยละของผู้เรียนที่อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และมีนิสัยรักการอ่าน

4. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะการคิด วิเคราะห์ 5. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะที่

จ าเป็นด้านการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) 6. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะที่

จ า เป็ นด้ านการรู้ เ รื่ อ งคณิ ตศาสตร์ (Mathematical Literacy)

7. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะที่

นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ

16

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

จ าเป็นด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)

8. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะสื่อสารอังกฤษ และสื่อสารภาษาที่ 3 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

9. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

10. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ และทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่

70

80

90

100

1. ส่งเสริมและรวบรวมข้อมูลนักเรียน เกี่ยวกับการมีทักษะด้าน Digital Literacy 2. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดท าหรือจัดหานวัตกรรมด้าน Digital Literacy 3. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการ หรือนวัตกรรมที่ท าให้นักเรียน แสดงออกถึงการมีทักษะด้าน Digital Literacy 4. นิเทศ ก ากับ ติดตาม ให้ครูด าเนินการส่งเสริมทักษะด้าน Digital Literacy แก่นักเรียน

นิเทศ

นิเทศ

นิเทศ

17

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

11. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา ที่ผ่านมา

12. ร้อยละ 60 ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีสมรรถนะการเรียนรู้เรื่องการอ่านตั้งแต่ระดับขั้นพ้ืนฐานขึ้นไป (ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมิน PISA

13. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมดได้รับการประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA

ด้านสถานศึกษา 1. ร้อยละของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน

ได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม การปฏิบัติจริง (Active Learning)

2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในลักษณะของ STEM ศึกษา

3. ร้อยละของสถานศึกษาที่การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น (IS: Independent Study)

4. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ และ

นิเทศ นิเทศ นิเทศ

นิเทศ นิเทศ นิเทศ

18

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

บรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นิเทศ

2.4 พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพและทักษะ

ชีวิต มีสุขภาวะที่ดีสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของผู้เรียน มี ID plan และ Portfolio

เพ่ือการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ 2. ร้ อยละของสถานศึ กษาที่ จั ดการเรี ยนรู้

และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนาทักษะอาชีพตามความถนัด

3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย 4. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบป้องกันและ

แก้ไขปัญหาในสถานศึกษา

นิเทศ นิเทศ

นิเทศ นิเทศ

2.5 การจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายโลก

เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

19

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงการ

ด าเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดสภาพแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานสิ่งแวดล้อม สังคม และเ ศ รษฐกิ จ เ พ่ื อ ก า ร พั ฒนาที่ ยั่ ง ยื น (Environmental Education Sustainable Development: EESD)

3. ทุกสถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายโลก เพ่ือการพัฒนา อย่างยั่ งยืน (Global Goals for Sustainable Development)

นิเทศ นิเทศ นิเทศ

3.6 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีความต้องการ

จ าเป็นพิเศษ

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ

มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของแต่ละระดับ

2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ

นิเทศ/ ส่งเสริมการจัดการศึกษา นิเทศ/ ส่งเสริมการจัดการศึกษา

20

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ได้ รับการพัฒนาด้านทักษะอาชีพ ทักษะ การด ารงชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสาธารณะ

3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มีความสามารถพิเศษด้าน ต่าง ๆอาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี เป็นต้น

นิเทศ/ ส่งเสริมการจัดการศึกษา

3.7 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา น า Digital

Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนั ด สร้ างสั งคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของผู้เรียนที่เรียนรู้ผ่าน Digital Platform 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้เพ่ือให้

พัฒนาตนเองผ่าน Digital Platform

นิเทศ/ ICT นิเทศ/ ICT

นโยบายที่ 3 พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา

21

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นกลยุทธ์ 3.1 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันทาง

การศึกษาที่ผลิตครู ในการผลิตและพัฒนาครู ให้ตรงกับสาขาวิชา และสอดคล้องกับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21

ตัวชี้วัด 1. สถานศึกษามีแผนความต้องการครูระยะ

20 ปี 2. สถานศึ กษามี ก ร อบสมร รถนะครู ที่

สอดคล้องกับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่

3. สถานศึกษาทุกแห่ งมีจ านวนครูอย่างเหมาะสม และพอเพียงต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน

70

80

90

100 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการ

จัดท าแผน อัตราก าลัง/มาตรฐานวิชาเอกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

2. ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเกลี่ย อัตราก าลังข้าราชการครู/พนักงานราชการ/ลูกจ้าง

บุคคล

บุคคล

บุคคล

3.2 พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ

ศึกษาทุกประเภท ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม

ตัวชี้วัด

22

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

1. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศักยภาพในการปฏิบัติงานครบตามความจ าเป็น ในการจัดการเรียนรู้ อย่ างมีประสิทธิภาพ

2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลอย่างมีคุณภาพในรูปแบบ ที่หลากหลาย ตามศักยภาพของผู้ เรียนแต่ละบุคคล

85 90 95 100 1. การพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร 2. ประชุมชี้แจงการพัฒนาครู

ด้วยระบบ TEPE Online 3. อบรมการจัดท าแผนพัฒนา

ตนเอง ID Plan ของข้าราชการที่ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

4. ส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา

5. ปฐมนิเทศข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครูผู้ช่วย

6. ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา

7. ประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะ

บุคคล

23

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

8. พัฒนาหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ การท า PLC สู่การลง Logbook

3.3 น า Digital Technology มาใช้ในการพัฒนา

ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภททั้งระบบ

ตัวชี้วัด 1. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุก

แห่งมีระบบฐานข้อมูลผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือวางแผนการผลิตและพัฒนาครูทั้งระบบ

2. ร้อยละของบุคลากรในสังกัดที่ พัฒนาตนเองผ่านระบบ Digital Technology

3. ร้อยละของ Digital Content เกี่ยวกับองค์ความรู้ในสาขาที่ขาดแคลน

บุคคล/ ICT บุคคล/ ICT บุคคล/ ICT

นโยบายที่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา

ประเด็นกลยุทธ์

24

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

4.1 ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที ่

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่เข้ารับการศึกษา

ในแต่ละระดับการศึกษา 2. ร้อยละของนักเรียนออกกลางคัน 3. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบการดูแล

ช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนวที่มีประสิทธิภาพ

4. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถน ามาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษา

4.2 ยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับ และ

ทุกประเภท ให้มีมาตรฐานตามบริบทของพื้นที่ เพื่อให้พัฒนาผู้เรียนมีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอกัน

25

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ตัวชี้วัด 1. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีกรอบ

มาตรฐานสถานศึกษา 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านการประเมิน

มาตรฐานสถานศึกษาตามที่ก าหนด

นิเทศ นิเทศ

4.3 สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัด

การศึกษาส าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ

ตัวชี้วัด 1. มีข้อมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษา

พิเศษ ที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ

2. ส านักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษมียุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น และแผนปฏิบัติการที่ตอบสนองส าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพิการ

3. ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมทั้ง

นิเทศ นิเทศ นิเทศ

26

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ระบบ เ พ่ือสามารถการจั ดการศึ กษาแบบเรียนรวม

4.4 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียน

และสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ

ตัวชี้วัด 1. มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรร

งบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษาโดยตรงอย่างเหมาะสม

2. ผู้ เรียนทุกคน และสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3. จ านวนโครงการ/ กิจกรรมที่ได้รับความร่ ว มมื อจ ากกองทุ นคว าม เสมอภาค ทางการศึกษา

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

สพท. ก ากับ ติดตาม การรายงานข้อมูลนักเรียนของสถานศึกษา เพื่อรับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ.

สพท.สร้างความเข้าใจให้กับสถานศึกษา ตรวจสอบและติดตาม การรายงานข้อมูลของสถานศึกษา

นโยบายและแผน นโยบายและแผน นโยบายและแผน

4.4ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา หน่วยงาน

ทุกระดับน า Digital Technology มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน

27

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ตัวชี้วัด 1. สถานศึกษาทุกแห่ งมี ระบบโครงข่าย

สื่อสารโทรคมนาคมที่สามารถเชื่อมต่อกับโ ค ร ง ข่ า ย อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย

2. สถานศึกษามี Digital Device เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน และเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ICT/ นิเทศ ICT/ นิเทศ

นโยบายที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

ประเด็นกลยุทธ์ 5.1 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษา ขั้นพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา

ตัวชี้วัด

1. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีผลการด าเนินงานผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนราชการที่ส านักงานคณะกรรมการพัฒนา

อ านวยการ

28

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ระบบราชการก าหนด 2. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาผ่านเกณฑ์การ

ประเมินคุณภาพมาตรฐานส านักงานเขตพ้ืนทีก่ารศึกษา

3. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีผลการประเมินภายนอกในระดับดีข้ึนไป

4. ร้อยละของหน่วยงานผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA: Integrity & Transparency Assessment)

85.49

87

88

89

90

1. ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการท างานตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA : Integrity & Transparency Assessment)

อ านวยการ นิเทศ ส่งเสริมการจัดการศึกษา นิเทศ

5.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริม

ให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการศึกษา

ตัวชี้วัด ร้อยละของสถานศึกษามีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

อ านวยการ

29

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

5.3 ยกระดับการบริหารงานของสถานศึกษาให้มี

อิสระ น าไปสู่ การกระจายอ านาจ 4 ด้ าน ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษาตามบริบทของพื้นที ่

ตัวชี้วัด

1. มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการของโรงเรียนให้เกิดคุณภาพ

2. มีข้อเสนอเชิงนโยบายในการกระจายอ านาจทั้งระบบ

3. มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กให้เกิดคุณภาพ

4. ร้อยละของสถานศึกษามีคุณภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึ กษาขั้ น พ้ืนฐาน/ปฐมวั ย /ศูนย์การศึกษาพิเศษ) และพัฒนาสู่ระดับสากล

5. จ านวนโรงเรียนขนาดเล็กลดลง 6. ร้อยละของผู้เรียนที่อยู่ในโรงเรียนขนาด

เล็กมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ นิเทศ

5.4 ปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเพื่อ

สนับสนุนผู้ เรียนและสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ

30

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ตัวชี้วัด

1. มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้ เรียน และสถานศึกษาโดยตรงอย่างเหมาะสม

2. ผู้เรียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3. จ านวนโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

สพท. ก ากับ ติดตาม การรายงานข้อมูลนักเรียนของสถานศึกษา เพ่ือรับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. สพท.สร้ างความเข้ าใจให้ กั บสถานศึกษา ตรวจสอบและติดตาม การรายงานข้อมูลของสถานศึกษา

นโยบายและแผน นโยบายและแผน นโยบายและแผน

5.5 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา หน่วยงาน

ทุกระดับน า Digital Technology มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็นระบบ น าไปสู่การน าเทคโนโลยี Big Data เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ข้อมูลผู้เรียน ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอ่ืน ๆ ที่จ าเป็นมาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถ

31

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

วิเคราะห์เป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศต่อไป

ตัวชี้วัด

1. ส ถ า น ศึ ก ษ า ทุ ก แ ห่ ง มี ร ะ บ บ ข้ อ มู ลสารสนเทศที่สามารถใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. สถา นศึ กษา ทุ ก แห่ ง มี ข้ อ มู ล ผู้ เ รี ย นรายบุคคลที่สามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ น าไปสู่การวิเคราะห์เพ่ือวางแผนการจั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ

ICT ICT

มาตรฐานส านักงานเขต

มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความ

เป็นเลิศ ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ประเด็นที่ 1 ภาวะผู้น าของผู้บริหารในการน าองค์การไปสู่เป้าหมาย

1. การแสดงถึงภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์การที่ยึดหลักธรรมาภิบาล โดยการก าหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ วิธีการท างานที่ชัดเจน เพ่ือให้

32

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ 2. การบริหารจัดการและการน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารองค์การ สอดคล้องกับบริบทของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประเด็นที่ 2 การใช้ข้อมูลสารสนเทศในการ

บริหารและการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

1. มีการจัดท าและใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารและการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาครอบคลุ มภารกิ จ 4 ด้ าน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และพร้อมใช้ 2. มีวิธีการตรวจตรวจความถูกต้องของข้อมูลให้พร้อมใช้ในการบริหารและการจัดการศึกษา 3. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามี ก า ร จั ด ท า ร ะ บ บ ข้ อ มู ลสารสนเทศที่เป็นข้อมูลกลางเพ่ือใช้ในการจัดท าตามภารกิจ 4 ด้าน

33

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นที่ 3 การใช้แผนเป็นเครื่องมือในการ

บริหารและการจัดการศึกษา 1. การน าแผนปฏิ บั ติ การ

ประจ าปี แผนพัฒนาการศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปใช้ในในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาคุณภาพของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประเด็นที่ 4 การสร้างหรือประยุกต์ ใช้

นวัตกรรม เทคโนโลยี รูปแบบในการบริหารและการจัดการศึกษา

1. ส ร้ า งห รื อป ระยุ กต์ ใ ช้นวัตกรรม เทคโนโลยีรูปแบบในการบริการและการจัดการศึกษาของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ทั้ง 4 ด้าน

ประเด็นที่ 5 การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์

ภายในและภายนอกส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

1. มีรูปแบบและวิธีการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 2. ผลส าเร็จที่เกิดจากการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และท าให้เกิดความร่วมมือจนบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย

34

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นที่ 6 การน าผลการด าเนินงานมา

พัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษา 1.มี กระบวนการวิ เคราะห์

สั งเคราะห์ และสรุปผลการด าเนินงานรอบปีที่ผ่านมา 2. มีการน าผลการด าเนินงานมาพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ท่ี 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้

ประเด็นที่ 1 การส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีความกระตือรือร้น ค้นหาความรู้ มีความคิดเชิงระบบ สามารถเรียนรู้ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง ประเด็นที่ 2 การส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management : MK) และการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional

Learning Community : PLC)

1. ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคน มีความกระตือรือร้นในการศึกษา ค้นหาความรู้ มีความคิดเชิ งระบบ มี ความสามารถรั บรู้ เรียนรู้ และน าไปใช้ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง 2. พัฒนาบุคลากรของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจากภายในและภายนอก 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนา การจั ดการความรู้ (Knowledge Management : MK ของบุคลากรในส านักงานเขต

35

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นที่ 3 การส่งเสริม สนับสนุน ให้มีแหล่งเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้บุคลากรมีโอกาสได้เรียนรู้ตามบริบทของเขตพ้ืนที่การศึกษา ประเด็นที่ 4 การน าองค์ความรู้มาพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์ การ โดยใช้กระบวนการวิจัย

พ้ืนที่การศึกษา 2. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้มีการสร้างชุมชนการเรยีนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)

3. สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการท า KM/PLC 4. การน าผลจาการท า KM/PLC ไปใช้ในการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งเรียนรู้ ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากรได้เรียนรู้ตามบริบทของเขตพ้ืนที่การศึกษา 2. มีแหล่งเรียนรู้ของบุคลากรในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาที่สามารถเรียนรู้และใช้บริการ 1. การน าองค์ความรู้มาพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์การ โดยใช้กระบวนการวิจัย ห รื อ เ ท ค นิ ค ก า ร วิ จั ย ม า

36

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประยุกต์ใช้เพ่ือการพัฒนา

ตัวบ่งชี้ท่ี 3 การกระจายอ านาจและการส่งเสริม

การมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดการศึกษา ประเด็นที่ 1 การกระจายอ านาจในการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา

1. กระจายอ านาจในการบริหาร

และการจัดการศึกษาภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยมีรูปแบบ วิธีการที่สามารถตรวจสอบและประเมินความส าเร็จได้ ท าให้งานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนด ตามภารกิจหลัก 4 ด้าน

ประเด็นที่ 2 การส่งเสริม ประสานเชื่อมโยงการ

ท างานขององค์คณะบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามที่กฎหมายก าหนด

1. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน อ านวยความสะดวก และเชื่อมโยงการท างานขององค์คณะบุคคล (ก.ต.ป.น. กศจ. อกศจ. และ Cluster) ที่ เกี่ ยวข้ องกั บส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามที่กฎหมายก าหนด 2. จัดท าข้อมูลสารสนเทศ การ

37

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างองค์คณะบุคคล (ก.ต.ป.น. กศจ. อกศจ. และ Cluster) อย่างเป็นระบบ

ประเด็นที่ 3 การส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วน

ร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของบุคคล ครอบครัว เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน

ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาขั้ นพ้ืนฐาน ของบุคคล ครอบครัว เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน

1. ประสานและสร้างความเข้าใจกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

2. น าผลมาใช้ในการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ประเด็นที่ 4 การสร้าง พัฒนา และประสาน

เชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษา

1. สร้าง พัฒนา และประสานเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษาทั้งภายในและภายนอก ที่เป็นทางการและ

38

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ไม่เป็นทางการ 2. จัดรูปแบบ วิธีการท างานอย่างเป็นระบบ มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน 3. จัดท าข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ ยวข้องกับเครือข่ ายความร่วมมือในการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา

ที่มีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี ้1 การบริหารงานด้านวิชาการ ประเด็นที่ 1 พัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นที่สอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่นและสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -2579

1. จัดท ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นที่ระบุแนวทาง เป้าหมาย จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น และแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น 2. สถานศึกษาน ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นไปใช้เป็นแนวทางใ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต รสถานศึกษา 3. ติดตามการน ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่ นที่ สถานศึกษาน าไปใช้ และน าข้อมูลที่ ได้มาวิเคราะห์พัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นให้ครอบคลุม

39

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นที่ 2 ส่ งเสริมการพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและความต้องการของสถานศึกษา

1. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กรอบหลักสูตรระดับท้ องถิ่ น ความต้ องการของสถานศึ กษาและทันกั บการเปลี่ยนแปลง 2. นิเทศ ก ากับ ติดตาม ประเมินเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดท าและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 4. น าผลการนิ เทศ ก ากั บ ติดตาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การศึกษาวิจัยไปส่งเสริมพัฒนาหลักสูตร 5. ศึกษา วิจัยเกี่ยวกับการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาและผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา

ประเด็นที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้จัด 1. ส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรใน

ระดั บสถานศึ กษาให้ มี การ

40

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ แลกเปลี่ ยนเรียนรู้ และสร้ างเครื อข่ า ย เกี่ ย วกั บการจั ดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญทุกกลุ่มเป้าหมาย 2. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้มีการนิเทศภายใน 3. ส่งเสริม สนับสนุนครูให้จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ เน้นการปฏิบัติจริง เชื่อมโยงบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคมหรือประเทศชาติ นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอ

ประเด็นที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามี

การผลิต จัดหา และพัฒนาสื่ อ เครื่ องมือ อุปกรณ์ ในการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

1. ส่ ง เสริ ม สนั บสนุ น ให้สถานศึกษาผลิต จัดหา และพัฒนาสื่อเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ห ล า ก ห ล า ย ทั น ต่ อ ก า รเปลี่ยนแปลง สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้และความแตกต่างของผู้เรียน 2. จั ดให้มี เครื อข่ ายบริการเกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยีเพ่ือ

41

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ กั บ ค รู แ ล ะสถานศึกษา 3. สนับสนุนให้มีการพัฒนาครู เพ่ือให้ครูสามารถผลิต และใช้สื่อ อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพ่ือการศึกษา 3. สนับสนุนให้มีการพัฒนาครู เพ่ือให้ครูสามารถผลิตและใช้สื่อ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพ่ือการศึกษา 4. สนับสนุนครูให้มีการวิจัย พั ฒนาสื่ อ นวั ตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และน าผ ล ก า ร วิ จั ย ไ ป ใ ช้ ใ น ก า รพัฒนาการจัดการเรียนรู้

ประเด็นที่ 5 ส่งเสริม สนับสนุนการวัดผล

ประเมินผล และน าผลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา

1. ส่งเสริมและจัดท าข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และน าผลมาใช้ในการวางแผน พัฒนา และแก้ไขปัญหาการเรียนเพ่ือส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนทุกด้าน 2. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยน

42

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

เรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการวัดและประเมินผลโดยเน้นตามสภาพจริง 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดท าหรือจั ดหาและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล 4. นิเทศ ก ากับ ติดตาม ให้ครูด าเนินการวัดผล ประเมินผลการเรียน การสอน โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง

ประเด็นที่ 6 พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก ากับ

ดูแล ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

1. จัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2. จัดท าแผนการด าเนินงานเกี่ ยวกั บระบบการประกั นคุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะดั บการศึ กษาขั้ น พ้ื นฐ านของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 3. ส่ ง เ ส ริ ม สนั บสนุ น ให้สถานศึกษา ด าเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 4. ติดตาม ทบทวน ตรวจสอบ

43

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ งสถานศึกษา และน าผลมาใช้ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5. จัดท าสรุปรายงานผลการด า เนิ นการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ประเด็นที่ 8 จัดท าวิจัย ส่งเสริมการวิจัย และน า

ผลการวิจัยไปใช้พัฒนางานวิชาการ 1. ส่ ง เสริ ม ให้ บุ คลากรใน

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีการวิจัยในการปฏิบัติงาน และการน าผลการวิจัยมาใช้พัฒนางานวิชาการ 2. ส่งเสริมให้สถานศึกษา มีการวิจัยในการปฏิบัติงาน และน าผลการวิจั ยมาใช้ พัฒนางานวิชาการ 3. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผลการวิจัย 4. รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และน าผ ล ง า น วิ จั ย ม า ใ ช้ ใ น ก า รพัฒนาการบริหารและการจัด

44

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

การศึ กษาและการ พั ฒนาคุณภาพการศึกษาของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และเผยแพร่ผลการวิจัย

ประเด็นที่ 8 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา

พัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

1. ส่ ง เสริ ม สนั บสนุ น ให้สถานศึ กษาพั ฒนาการจั ดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เน้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการดูแลช่วยเหลือ 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึ กษาพั ฒนาการจั ดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เน้นให้นักเรียนทุกคนมีส่ วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1.2 ส่ ง เสริ มสนั บสนุ นให้สถานศึกษาพัฒนาระบบดูแลช่ วย เหลื อนั ก เรี ยน เน้ น ให้นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือ 2. ส่งเสริมให้สถานศึกษามีการประสานความร่ ว มมื อกั บ

45

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ผู้ปกครองในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียน 3. ประสานความร่วมมือทั้ งภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3.1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3.2 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 4. สรุปรายงานผลการด าเนินงานด้ านการจั ดกิ จกรรมพัฒนาผู้ เรี ยน และระบบการดู แลช่วยเหลือนักเรียน 4 .1 สรุ ปรายงานผลการด าเนินงานด้านการจัดกิจกรราพัฒนาผู้เรียน 4 .2 สรุ ปรายงานผลการด าเนินงานเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ประเด็นที่ 9 ประสาน ส่งเสริมให้บุคลากร

ครอบครัว เอกชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ

1. ส่ ง เสริ ม สนั บสนุ น ให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้โดยให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเครือข่ายวิชาการ

46

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งเป็นเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2. ประสานงาน และจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการระหว่างเครือข่าย 3. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้ แหล่ งเรี ยนรู้ ภู มิ ปัญญาท้องถิ่นและเครือข่ายวิชาการ 4. สรุปรายงานการใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเครือข่ายวิชาการ และน าผลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ท่ี 2 การบริหารด้านงบประมาณ

ประเด็นที่ 1 การวางแผนการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับนโยบาย ปัญหา และความต้องการ

1. วางแผนการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ 2. จั ดท าแผนปฏิ บั ติ การที่สอดคล้องกับภารกิจ นโยบาย ปัญหา ความต้องการในการบริหาร และการจัดการศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ใช้ แผนปฏิ บั ติ การตามวัตถุประสงค์ และตามระยะเวลาที่ก าหนด

ประเด็นที่ 2 การจัดระบบการบริหารการเงิน 1. จัดและใช้ระบบการบริหาร

ด้านการเงิน บัญชี และพัสดุ

47

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

บัญชี และพัสดุ 2. สร้าง หรือพัฒนานวัตกรรม เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ใ ช้ ใ น ก า รบริหารงานงบประมาณ ท าให้งานมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. น านวัตกรรม เทคโนโลยี มาใช้ในการบริหารงานงบประมาณท าให้ งานมี ความถู กต้ อง เป็ นปัจจุบัน โปร่งใส ตรวจสอบได้

ประเด็นที่ 3 การควบคุมการใช้งบประมาณอย่าง

เป็นระบบ 1. ควบคุมการใช้งบประมาณ

อย่ าง เป็ นระบบ ชั ดเจน มีความถู กต้ อง เป็ นปั จจุ บั น โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ในการบริหารงบประมาณ 2. ตรวจสอบการเบิ กจ่ ายงบประมาณ การด าเนินงาน ตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ปฏิทินที่ก าหนดไว้ในแผนงาน โครงการ กิจกรรม และรายงานผลการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS 3. รายงานการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณทุกหมวดรายจ่าย

48

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

เป็นปัจจุบัน และมีการเผยแพร่ผลการใช้งบประมาณ 4. มีผลการเบิกจ่ ายได้ตามเป้าหมายที่ก าหนด 5. น านวัตกรรม เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางาน

ประเด็นที่ 4 การตรวจสอบภายในอย่างเป็นระบบ 1. ประเมินความเสี่ ยงด้ าน

การเงิน การบัญชี และพัสดุ ของห น่ ว ย รั บ ต ร ว จ ไ ด้ แ ก่ สถานศึ กษาในสั งกั ด และส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอย่างเป็นระบบ 2.จัดท าแผนการตรวจสอบภายในประจ าปี ครอบคลุ มภารกิจ ความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจ และครอบคลุมประเด็นการต ร ว จ ส อ บ ที่ ส า นั ก ง า นคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพ้ืนฐานก าหนด 3. การด าเนินการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบภายในประจ าปีได้ครบถ้วน และเป็นไปตามระยะเวลาที่ก าหนด

49

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

4. การสรุปผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ แจ้งหน่วยรับตรวจทราบเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้ ถู กต้ องเป็ นไปตามระบบ ที่ก าหนด โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5. การสรุปผลการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบภายในประจ าปี รายงานต่อส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพ้ืนฐานภายในระยะเวลาที่ก าหนด

ตัวบ่งชี้ท่ี 3 การบริหารงานด้านการบริหารงาน

บุคคล ประเด็นที่ 1 การวางแผนอัตราก าลังครูและบุคลากรทางการศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย ปัญหา และความต้องการ

1. ท าข้อมูลสารสนเทศด้านอั ต ร า ก า ลั ง ขอ ง เ ขต พ้ื น ที่ก า ร ศึ ก ษ า ( ก า ร เ พ่ิ ม ล ดอัตราก าลังครู บุคลากรทางการศึกษา และอัตราการเกษียณ) 2. วางแผนอัตราก าลังครูและบุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า สอดคล้ องกั บนโยบายเ พ่ื อแก้ปัญหาและความต้องการ ตามความจ าเป็นของสถานศึกษา โดยมี การวิ เคราะห์ และศึ กษาแนวโน้มการเพ่ิมหรือลดของ

50

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

จ านวนประชากรวัยเรียน 3. สรุปและรายงานผลตามแผนอัตราก าลังและน าผลไปวางแผนอัตราก าลังครูและบุคลากรทางการศึกษา

ประเด็นที่ 2 การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้งครู

และบุคลากรทางการศึกษาอย่างถูกต้องเป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้

1. จัดท าแผนหรือแนวทางเพ่ือใช้ในการสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ย้าย โอน การออกจากราชการของครูและบุคลากรทางการศึกษา 2. สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ย้ายโอน การออกจากราชการของครูและบุคลากรทางการศึกษาและน าผลไปใช้ในการพัฒนางาน

ประเด็นที่ 3 การพัฒนาส่งเสริม ยกย่องเชิดชู

เกียรติครู และบุคลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพสอดคล้องกับปัญหาความต้องการจ าเป็นและส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษา

1. วางแผนพั ฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ความก้าวหน้า 2. พัฒนาครู และบุ คลากรทางการศึ กษา ให้ มี ความรู้ ความสามารถตรงตามวิชาชีพ ทุกกลุ่มเป้าหมาย 3. ส่ งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพครูและบุคลากรทางการ

51

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย 4. ยกย่อง เชิดชูเกียรติครูและบุ คลากรทางการศึ กษาทุ กกลุ่มเป้าหมาย 5. สรุปและรายงานผลการด า เ นิ น ง าน พั ฒนา ครู และบุคลากรทางการศึกษาและน าไปใช้ในการพัฒนางาน

ประเด็นที่ 4 การเสริมสร้างวินัย คุณธรรม

จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. วางแผนการเสริมสร้างวินัย

คุ ณธ รรม จริ ยธ รรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมถึงวางแผนการด าเนินงานวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการด าเนินคดีของรัฐ 2. เสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพให้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย ส่งผลให้มีผู้กระท าผิดวินัยลดลงในรอบปีที่ ผ่ านมาหรื อไม่ มีผู้กระท าผิดวินัย 3. จัดระบบในการด าเนินงานวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการ

52

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ด าเนินคดีของรัฐให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย 4. สรุปและรายงานผลการด าเนินงานการเสริมสร้างวินัย คุ ณธ รรม จริ ยธ รรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมถึงสรุปและรายงานผล การด าเนินงานวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการด าเนินคดีของรัฐและน าผลไปใช้ในการพัฒนางาน

ตัวบ่งชี้ที่ 4 การบริหารงานด้านการบริหาร

ทั่วไป ประเด็นที่ 1 การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ

1. สร้างหรือพัฒนาเครือข่าย และบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงภายในและภายนอกเขตพ้ืนที่การศึกษา และส่วนกลาง 2. พัฒนาบุคลากรให้ เข้ าถึ งเครือข่าย สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรในการประสานงาน และประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศส าหรับการบริหาร ประสานเชื่อมโยงประยุกต์ใช้สารสนเทศ 3. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ

53

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

4. สร้ าง หรื อพัฒนา หรื อนวัตกรรม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ 5. ปรับปรุง พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

ประเด็นที่ 2 การจัดท าส ามะโนนักเรียนและการ

รับนักเรียน 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดท า

ส ามะโนประชากรวัยเรียนที่จะเข้ารับการบริการทางการศึกษาในเขตบริการของสถานศึกษา ในเขตพ้ืนที่ การศึ กษาให้ เป็ นปัจจุบันทั่วถึงเขตบริการและครอบคลุมประชากรวัยเรียนตามส ามะโนประชากรวัยเรียน 2. ด าเนินการส าหรับการรับนักเรียนนอกเขตบริการของเขตพ้ืนที่การศึกษา 3. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ด าเนินการรับนักเรียนให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติการรับนักเรียน 4. ประสานและเชื่อมโยงข้อมูลความร่วมมือกับชุมชน ท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

54

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประเด็นที่ 3 การดูแลอาคารสถานที่ ระบบ

สาธารณูปโภคและสภาพแวดล้อม 1 . ม อ บ ห ม า ย ภ า ร กิ จ

ผู้รับผิดชอบ ในการดูแลอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภค ทั้งในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษา 2. ดูแล ปรับปรุ ง ซ่อมแซม ตกแต่ง บ ารุงรักษาอาคารให้มีสภาพสะอาดเป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ น าเทคโนโลยีมาใช้ในการ รั กษาคว ามปลอดภั ย ทันสมัยพร้อมใช้ ทั้งในส านักงานเ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะสถานศึกษา 3. ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานและรายงานผลการด าเนินการ พร้อมทั้งน าผลการปร ะ เ มิ น ไ ป พั ฒ น า แ ก้ ไ ข ปรับปรุง เพ่ือให้อาคาร สถานที่ มีสภาพสะอาด เป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย ทั้งในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา 4. จั ดกิจกรรมรณรงค์ปลู ก

55

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

จิตส านึก สุขนิสัยที่ดีในการใช้อ า ค า ร ส ถ า น ที่ ร ะ บ บส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค แ ล ะสภาพแวดล้อม ทั้งในส านักงานเ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะสถานศึกษา

ประเด็นที่ 4 การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน 1. พัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัด

การปฏิบัติงานในทุกภารกิจ 2. ติ ดตามประเมิ นผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. ปรับปรุง พัฒนาทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงาน และระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริม สนับสนุน แนะน า ช่ วยเหลือ ปรับปรุ ง พัฒนา มาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานแก่สถานศึกษา 5. รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและตั วชี้ วั ดการปฏิบัติงาน 6. น าผลการปฏิบัติ งานตาม

56

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

มาตรฐานและตั ว ชี้ วั ดการปฏิบัติงาน มาใช้ในการปรับปรุง พัฒนา

ประเด็นที่ 5 การจัดวางระบบการควบคุมภายใน

หน่วยงาน 1. วางแผนจัดวางระบบการ

ควบคุมภายในที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาการด าเนินงานตามภารกิจ 2. วิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดวางล าดับความส าคัญของความเสี่ยงและวางแผนปรับปรุงตามแนวทางการควบคุมภายในของส านักงานตรวจเงินแผ่นดิน 3. ด าเนินการควบคุมภายในตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ก าหนด 4. ด าเนิ นการติ ดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 5 . ร า ย ง านต่ อส า นั ก ง านคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพ้ืนฐาน และส านักงานตรวจเงินแผ่นดิน 6. น าผลการรายงานจากการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน มาใช้ในการวาง

57

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

แผนการควบคุมภายใน

ประเด็นที่ 6 การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพครูและ

บุคลากรทางการศึกษา 1. วางแผนและก าหนดรูปแบบ

ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า รประชาสัมพันธ์ การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพให้ครูและบุคลการทางการศึกษา 2. รับฟังความคิดเห็นการจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพของบุ คลากรในหน่ วยงาน และก า ห น ด ใ ห้ มี ผู้ รั บ ผิ ด ช อบประสานงานการด าเนินงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 3 . ด า เ นิ น ก า ร ให้ บ ริ ก า รสวัสดิการและสวัสดิภาพตามแนวทางและเงื่อนไขและไม่ขัดต่อระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 4. สรุปผลและรายงานผลการจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา 5. สรุปการรายงานผลการจัด

58

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

สวัสดิการ สวัสดิภาพครูและบุ คลากรทางการศึ กษา มาจัดสวัสดิภาพเป็นขวัญก าลังใจ

ประเด็นที่ 7 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 1. วางแผนและก าหนดรูปแบบ

ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า รประชาสั ม พั นธ์ การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 2. ก าหนดผู้รับผิดชอบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และประสานงานการด าเนินงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 3. ประสานและสร้างเครือข่ายค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก บุ ค ค ล หน่วยงาน สถาบัน องค์กรภาครัฐ แล ะ เ อกชน เ ข้ า มา ร ะดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 4. จัดท าแนวทางการปฏิบัติการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 5. ด าเนินการระดมทรัพยากรเ พ่ื อการศึ กษาหลากหลายช่องทาง 6. สรุปผลและรายงานผลการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

59

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

7. สรุปการรายงานผลการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาการศึกษา

ตัวบ่งชี้ท่ี 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล

และนิเทศการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 1 การจัดระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาภารกิจหลัก 4 ด้าน และน านโยบายสู่การปฏิบัติ

1. จั ดท าแผนการติ ดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาครบภารกิจหลัก 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริการงานบุคคล ด้านการบริหารทั่ วไป และการน านโยบายสู่การปฏิบัติ 2. ส่งเสริมให้คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และนิ เทศการจัดการศึกษา และคณะกรรมการในรูปแบบอ่ืนเป็นกลไกในการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมาย 3 . ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาครบภารกิจหลัก 4 ด้ าน คือ ด้ านวิชาการ ด้ านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่ วไป และการน านโยบายสู่การปฏิบัติ

60

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

4. สรุปและรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาครบภารกิจหลัก 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และการน านโยบายไปสู่การปฏิบัติและการน าผลไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลการบริหารและการจัด

การศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 1 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามีผลงานที่ แสดงถึ งความส าเร็ จและเป็ นแบบอย่างได ้ประเด็นที่ 1 ผลงานหรือผลการด าเนินงานของกลุ่ม/หน่วย ในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาที่บรรลุเป้าหมาย ประสบความส าเร็จตามภารกิจของแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้เป็นผลงานที่เกิดจากการด าเนินงานภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาที่เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาและสถานศึกษา เพ่ิม

1 . มี ผ ล ง า น ห รื อ ผ ล ก า รด าเนินงานของกลุ่ม/หน่วย ในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ที่บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ป ร ะส บความส าเร็จตามภารกิจของแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้เป็นผลงานที่เกิดจากการด าเนินงานภายในส านักงาน

61

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทั้งภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา จนเกิดประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับและสามารถยึดเป็นแบบอย่างได้

เ ขต พ้ื นที่ ก า รศึ กษาที่ เ กิ ดประโยชน์ต่ อการศึกษาและสถานศึกษา เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทั้ งภายในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา จนเกิดประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับและสามารถยึดเป็นแบบอย่างได้

ตัวบ่ งชี้ ที่ 2 สถานศึกษามีคุณภาพตาม

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา

1. ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จ าแนกรายโรง (ย้อนไป 1 ปี) 2. แต่ งตั้ ง และปฏิ ทิ นการปฏิบัติงาน 3. โครงการ กิจกรรม ที่ส่งเสริมส นั บ ส นุ น ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ าด าเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายใน หรือเตรียมความพร้อมเพ่ือเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ

ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มีคุณภาพตามหลักสูตร ประเด็นที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษา

62

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-net)

ประเด็นที่ 2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ประเด็นที่ 3 ผลการประเมินความสามารถในการ

อ่าน การคิดวิเคราะห์ การเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

1. ประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2 5 6 1 ข อ ง ผู้ เ รี ย น ชั้ นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ าแนกตามผลการประเมิน 2. ประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2 5 6 1 ข อ ง ผู้ เ รี ย น ชั้ นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ าแนกตามผลการประเมิน 3. ประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการ

63

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

เขียน ตามหลักสูตรแกนกลางก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2 5 6 1 ข อ ง ผู้ เ รี ย น ชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ 3 และ 6 จ าแนกตามสถานศึกษา และผลการประเมิน

ประเด็นที่ 4 ผลการประเมินสมรรถนะส าคัญใน

การเรียนเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผลการประเมินสมรรถนะส าคัญในการเรี ยนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2561 ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3/6 จ าแนกตามสมรรถนะ และผลการประเมิน

ประเด็นที่ 5 ผลการประเมินสุขภาพกายและ

สุขภาพจิตของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1. ผลการประเมินสุขภาพกาย

และสุขภาพจิตของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่มีผลการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน จ าแนกรายด้าน 2. ผลการบันทึกน้ าหนัก ส่วนสูง ผลการทดสอบสมรรถภาพทาง

64

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

กายตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. ผลการประเมินด้านจิตใจตามเกณฑ์มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 4 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและ

โอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือมีความรู้ทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ ประเด็นที่ 1 อัตราการออกกลางคันลดลง

ประเด็นที่ 2 อัตราการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6

ประเด็นที่ 3 จ านวนผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ที่จบหลักสูตรได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โครงการ กิจกรรม ส่งเสริมให้

ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

ประเด็นที่ 4 ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ที่มีความต้องการพิเศษได้รับการดูแลช่วยเหลือ และส่งเสริมให้ ได้ รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ 4.1 เด็กพิการเรียนร่วม 4.2 เด็กด้อยโอกาส

1. กิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุน 1.ช่วยเหลือ 2. ผลการประเมินตามแนวทางการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) รายบุคคล 3. ข้อมูลในระบบ SET แสดงจ านวนเด็กพิการ 4. การคัดกรองของโรงเรียน (เด็กยากจนและเด็กด้อยโอกาส)

65

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

4.3 เด็กที่มีความสามารถพิเศษ

5. ฐานข้อมูล DMC แสดงจ านวนนักเรียนด้อยโอกาส 6. ผลการคั ดกรองเด็ กที่ มีความสามารถพิเศษ

7. โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ

ประเด็นที่ 5 ผู้ เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี

ความรู้ทักษะพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ 1. ผลการด าเนินงาน โครงการ/

กิจกรรม ที่ส่งเสริมอาชีพ 2. บันทึกการวางแผนการศึกษาแ ล ะอ า ชี พ / เ ป้ า ห ม า ย ใ นการศึกษาและอาชีพ

ประเด็นที่ 6 ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จบ

หลักสูตรได้ศึกษาต่อในสายอาชีพ โครงการ/กิจกรรม ส่ งเสริม

สนับสนุนผู้เรียนให้ศึกษาต่อในสายอาชีพ

ตัวบ่งชี้ที่ 5 ข้าราชการครูและบุคลกรทาง

การศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้ างในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีผลงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ประเด็นที่ 1 ผลงานดีเด่นที่ประสบความส าเร็จเป็นที่ประจักษ์ของข้าราชการครูและบุคลากร

1. รายงานสรุปรางวัลที่ได้รับ 2. ส าเนาประกาศรางวัล/โล่

66

ที ่

เป้าหมาย

ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ข้อมูลปีฐาน

ค่าเป้าหมาย

มาตรการด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ/กลุ่ม/หน่วย ปี 2562

ปี 2563

ปี 2564

ปี 2565

ทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้าง ในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาเป็นผลงานที่ได้รับรางวัลในระดับชาติขึ้นไป โดยต้องเป็นรางวัลชนะเลิศที่ ก.ค.ศ. ให้การรับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. ก าหนด หรือรางวัลเทียบเคียงและเป็นรางวัลในปีการศึกษาปัจจุบัน

รางวัลที่ได้รับ

ตัวบ่งชี้ท่ี 6 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

มีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการศึกษา รวมทั้งการให้บริการ ประเด็นที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจด้านการบริหารและการจัดการศึกษา รวมทั้งการให้บริการของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามกระบวนการบริหารของกลุ่มในส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยใช้แบบสอบถามเพ่ือประเมินความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการครอบคลุมภารกิจของกลุ่ม

รายงานผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

67

ที่ประชุมได้มอบหมายผู้รับผิดชอบในแต่ละตัวชี้วัดแล้ว จึงขอให้กลุ่มหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในแต่ละตัวชี้วัดได้ด าเนินการก าหนดมาตรการในการด าเนินงานของแต่ละตัวชี้วัด และก าหนดค่าเป้าหมายการด าเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแต่ละปีให้ชัดเจน เพ่ือจะน าไปสู่การจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีต่อไป

ในการด าเนินการก าหนดมาตรการด าเนินการและค่าเป้าหมายการด าเนินงานมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบด าเนินการให้แล้วเสร็จและจัดส่งให้กลุ่มนโยบายและแผนภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 เพ่ือจะได้น าไปรวบรวมจัดท าเป็นเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

(นางพจณิชา รอดภัย) ผู้บันทึกการประชุม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

(นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร) ผู้ตรวขรายงานการประชุม รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา