การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม:...

39
การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย ฐิติภา คูประเสริฐ * ความนํา สมัยรัตนโกสินทรเปนสมัยหนึ่งที่มีความเจริญรุงเรืองทางดาน วรรณคดี ในสมัยนี้ปรากฏวรรณคดีที่ทรงคุณคามากมาย ไมวาจะเปน วรรณคดีที่ประพันธขึ้นใหม เชน เพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง กฎหมาย ตราสามดวง นิทานอิหรานราชธรรม เปนตน หรือวรรณคดีที่รับและแปล มาจากตางประเทศ เชน ไซฮั่น สามกก ราชาธิราช เปนตน นอกจากนียังปรากฏการนําวรรณคดีที่เคยประพันธไวแลวในสมัยกอนหนานี้มาเรียบ เรียงใหมใหมีความสมบูรณและเหมาะสมกับวัตถุประสงคที่จะนําไปใช โดยยังคงใชเคาโครงเรื่องเดิม เชน บทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทละคร เรื่องอิเหนา บทละครเรื่องดาหลัง เปนตน ในวรรณคดีแตละชิ้นที* อาจารยประจําสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

Transcript of การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม:...

Page 1: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเช่ือม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย

ฐิติภา คูประเสริฐ* ความนํา

สมัยรัตนโกสินทรเปนสมัยหน่ึงท่ีมีความเจริญรุงเรืองทางดานวรรณคดี ในสมัยน้ีปรากฏวรรณคดีท่ีทรงคุณคามากมาย ไมวาจะเปนวรรณคดีท่ีประพันธข้ึนใหม เชน เพลงยาวรบพมาท่ีทาดินแดง กฎหมายตราสามดวง นิทานอิหรานราชธรรม เปนตน หรือวรรณคดีท่ีรับและแปลมาจากตางประเทศ เชน ไซฮ่ัน สามกก ราชาธิราช เปนตน นอกจากน้ี ยังปรากฏการนําวรรณคดีท่ีเคยประพันธไวแลวในสมัยกอนหนาน้ีมาเรียบเรียงใหมใหมีความสมบูรณและเหมาะสมกับวัตถุประสงคท่ีจะนําไปใช โดยยังคงใชเคาโครงเร่ืองเดิม เชน บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ บทละครเร่ืองอิเหนา บทละครเร่ืองดาหลัง เปนตน ในวรรณคดีแตละช้ินท่ี

* อาจารยประจําสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 2: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 38

ประพันธข้ึนน้ัน ผูประพันธจําเปนตองใชทักษะท่ีดีในการเรียงรอยประโยคเขาดวยกันจึงจะสามารถสงสารท่ีผูประพันธตองการสื่อไปสูผูอานได และสิ่งหน่ึงท่ีมีความสําคัญและใชเรียงรอยประโยคเขาดวยกันใหเปนเร่ืองราวน้ันคือ “คําเช่ือม”

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเปนวรรณคดีเร่ืองเอกเร่ืองหน่ึงในสมัยรัตนโกสินทร ประพันธโดยพระยาธรรมปรีชา (แกว) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดเกลาใหเรียบเรียงไตรภูมิกถาข้ึนใหมเม่ือพ.ศ. 2345 เรียกวา “ไตรภูมิโลกวินิจฉัย” เน่ืองจากไตรภูมิกถาฉบับเดิม ท่ีใหพระสงฆราชาคณะและราชบัณฑิตแตง น้ันมีถอยคํา สํานวน ตลอดจนเน้ือหาไมแนบเนียนสมดังพระประสงค พระยาธรรมปรีชาขอใหพระพุทธโฆษาจารยเปนผูชวย พระธรรมอุดมเปนผูสอบ สมเด็จพระสังฆราชาธิบดีเปนท่ีปรึกษาไถถามขอความท่ีสนเทหสงสัย

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเปนหนังสือท่ีสําคัญเก่ียวกับพระพุทธศาสนาท่ีมีความยาวมากเร่ืองหน่ึง ตนฉบับเดิมมี 2 ฉบับหรือ 2 สํานวน ฉบับแรกมีความยาว 25 ผูก ฉบับท่ี 2 มีความยาว 60 ผูก ท้ังสองฉบับมีช่ือเรียกกันหลายช่ือ เชน เตภูมิกถาหรือไตรภูมิกถาบาง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถาหรือไตรภูมิโลกวินิจฉัยบาง แตท่ีนิยมเรียกคือ “ไตรภูมิฉบับหลวง” ซึ่งเปนหนังสือท่ีมีเคาโครงเดียวกันกับไตรภูมิพระรวง พระราชนิพนธของพญาลิไทสมัยสุโขทัย

ลักษณะคําประพันธใชคําประพนัธคลายหนังสือเวสสันดรชาดก โดยวางคาถาบาลีกอนแลวจึงบรรยายดวยรอยแกวธรรมดาทํานองเทศนาโวหาร พรอมท้ังสอดแทรกขอปญหาและวิสัชนาปญหาตางๆ อยางพิสดาร ไตรภูมิโลกวินิจฉัยแบงความสําคัญออกเปน 4 ภาค คือ

Page 3: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 39

1. ภาคมนุสสคาถา วาดวยประเทศท่ีอยูของมนุษย 2. ภาคนิสัยกถา วาดวยนรกอันเปนแดนแหงการทนทุกข

ทรมานของผูประพฤติช่ัว 3. ภาคเทวดา วาดวยสวรรคช้ันตางๆ ตลอดจนบรรยายเร่ือง

ของเทวดาอยางละเอียด 4. ภาควิสุทธิคาถา วาดวยขอปฏิบัติอันจะพึงเปนแนวทางใหถึง

ซึ่งธรรมบริสุทธ์ิและบรรลุพระนิพพาน (พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520: 1-5)

ทางดานรูปแบบการเขียนของไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันคอนขาง

แตกตางจากไตรภูมิพระรวง กลาวคือ ไตรภูมิพระรวงจะมีเพียงการข้ึนหัวขอใหญของแตละเร่ืองไวเทาน้ัน สวนเน้ือเร่ืองจะเขียนอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับหัวขอใหญยาวไปเร่ือยๆ โดยไมมีการยอหนาใหม แมวาเร่ืองท่ีกลาวถึงจะเปนเร่ืองใหมแลวก็ตาม สวนไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันพบวา นอกจากจะข้ึนหัวขอใหญของแตละเร่ืองท่ีกลาวถึงแลว ภายในเน้ือเร่ืองท่ีใหรายละเอียดเก่ียวกับหัวขอใหญมีการยอหนา และเม่ือจบเน้ือความหน่ึงๆ และข้ึนเน้ือความใหมจะข้ึนยอหนาใหมทุกคร้ัง ซึ่งรูปแบบการเขียนดังกลาวของไตรภูมิโลกวินิจฉัยมีผลทําใหผูอานเขาใจเน้ือหาตางๆ ไดงายข้ึน

เม่ือศึกษาประวัติการแตงและรูปแบบการเขียนไตรภูมิโลกวินิจฉัยพบวา แมวาไตรภูมิโลกวินิจฉัยจะนําเคาโครงเร่ืองของวรรณคดีในสมัยสุโขทัยคือ ไตรภูมิพระรวงมาเรียบเรียงข้ึนใหม แตสํานวนโวหารตลอดจนการผูกประโยคตางๆ ท่ีปรากฏในเร่ืองไมไดมีความย่ิงหยอนไป

Page 4: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 40

กวาไตรภูมิพระรวง นอกจากน้ันไตรภูมิโลกวินิจฉัยฉบับน้ียังใชภาษาและรูปประโยคท่ีใกลเคียงกับปจจุบันมากกวาไตรภูมิพระรวงในสมัยสุโขทัยจึงทําใหผูอานสามารถเขาใจเน้ือเร่ืองในไตรภูมิโลกวินิจฉัยไดงายมากกวาไตรภูมิพระรวง และสิ่งท่ีมีผลตอความเขาใจเน้ือเร่ืองของผูอานคือ การใชคําเช่ือม กลาวคือ คําเช่ือมสามารถบอกไดวาประโยคเร่ิมและจบท่ีใด และช้ีใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางคําและประโยค ซึ่งมีผลตอความชัดเจนของเน้ือหาอีกดวย ดังน้ันการศึกษาไตรภูมิโลกวินิจฉัยในเร่ืองเก่ียวกับคําเช่ือมน้ันจึงเปนเร่ืองท่ีนาสนใจ และนาศึกษาวา ไตรภูมิโลกวินิจฉัยมีลักษณะการใชคําเช่ือมในลักษณะใดและคําเช่ือมท่ีนํามาใชเหลาน้ันมีความสําคัญอยางไรตอเน้ือเร่ือง ซึ่งทฤษฎีท่ีนํามาประยุกตใชในการวิเคราะหขอมูลคือ ทฤษฎีคําเช่ือมของนววรรณ พันธุเมธา เน่ืองจากเปนทฤษฎีท่ีจําแนกคําเช่ือมตามความหมาย ซึ่งจะทําใหเห็นลักษณะการใชและความสําคัญของคําเช่ือมท่ีมีตอเน้ือเร่ืองไดอยางชัดเจน

คําเชื่อม ในเร่ืองเก่ียวกับคําเช่ือมน้ันมีผูใหความรูท่ีเก่ียวของกับคําเช่ือมไว

คือ พระยาอุปกิตศิลปสาร (2492: 97, 105) ไดแบงคําเช่ือมออกเปน

2 ประเภทคือ บุพบท ซึ่งใชเช่ือมคําใหติดตอกัน และสันธาน ซึ่งใชเช่ือมถอยคําใหติดตอเปนเร่ืองเดียวกัน สมทรง บุรุษพัฒน (2536: 62-63) ใชทฤษฎีแทกมีมิค (Tagmemics) ซึ่งเปนทฤษฎีท่ีใชวิเคราะหแบบแผนของภาษา และบรรยายระบบของภาษามาจําแนกชนิดของคําน้ันไดเรียกคําเช่ือมวา

Page 5: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 41

“ตัวเช่ือม” และไดแบงตัวเช่ือมออกเปน 2 ประเภทคือ คําบุพบท ซึ่งทําหนาท่ีในตําแหนงสวนประกอบของบุพบทวลีในฐานะเปนตัวเช่ือม และคําสันธาน ซึ่งทําหนาท่ีเช่ือมคํา วลี และอนุพากย นววรรณ พันธุเมธา (2549: 55-58) ไดกลาวถึงคําเ ช่ือมวา “คําเช่ือม คือ คําท่ีใชแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งตางๆ หรือระหวางเหตุการณตางๆ หรือระหวางสิ่งตางๆ กับเหตุการณ” และไดแบงคําเช่ือมออกเปน 2 ประเภทคือ คําเช่ือมท่ีจําแนกตามลักษณะการประกอบคํา ไดแก คําเช่ือมเดี่ยว และคําเช่ือมผสม และคําเช่ือมท่ีจําแนกตามความหมาย ไดแก คําเช่ือมบอกเจาของ คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวม คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ คําเช่ือมบอกแหลง คําเช่ือมบอกเวลา คําเช่ือมบอกลักษณะ คําเช่ือมบอกความคลอยตาม คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบ คําเช่ือมบอกสิ่งกําหนด คําเช่ือมบอกความขัดแยง คําเช่ือมบอกความใหเลือกเอา คําเช่ือมบอกเหตุ คําเช่ือมบอกผล คําเช่ือมบอกจุดมุงหมาย คําเช่ือมบอกเน้ือความ คําเช่ือมบอกการจํากัด และคําเช่ือมแสดงตัวอยาง

ความรู เ ก่ียวกับคําเช่ือมท่ีกลาวมาในขางตนน้ันสรุปไดวา “คําเช่ือม” คือ คําท่ีใชเช่ือมระหวางคํา วลี อนุพากย หรือประโยค ซึ่งเช่ือมแลวทําใหสิ่งท่ีเช่ือมน้ันมีความสัมพันธกัน การใชคําเชื่อมในไตรภูมิโลกวินิจฉัย

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยมีการใชคําเช่ือมหลายลักษณะ การแบงประเภทของคําเช่ือมในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันจะใชทฤษฎีการแบงคําเช่ือมของนววรรณ พันธุเมธา ซึ่งจะใชการแบงคําเช่ือมตามความหมาย

Page 6: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 42

เน่ืองจากการแบงคําเช่ือมในลักษณะดังกลาวน้ีจะทําใหเห็นลักษณะการใชคําเช่ือมและความสัมพันธของคําเช่ือมกับเน้ือเร่ืองไดอยางชัดเจน ปรากฏการใชคําเช่ือม 16 ประเภท คือ

1. คําเช่ือมบอกเวลา 2. คําเช่ือมบอกเหต ุ3. คําเช่ือมบอกผล 4. คําเช่ือมบอกความขัดแยง 5. คําเช่ือมบอกความคลอยตาม 6. คําเช่ือมบอกเน้ือความ 7. คําเช่ือมบอกความใหเลือกเอา 8. คําเช่ือมบอกแหลง 9. คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบ 10. คําเช่ือมบอกการจํากัด 11. คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ 12. คําเช่ือมบอกลักษณะ 13. คําเช่ือมบอกเจาของ 14. คําเช่ือมบอกจุดมุงหมาย 15. คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวม 16. คําเช่ือมแสดงตัวอยาง

โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

Page 7: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 43

1. คําเช่ือมบอกเวลา คําเช่ือมบอกเวลาในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันจะใชนําหนาคํานาม

หรือประโยคท่ีบอกเวลา โดยปรากฏลักษณะการใชคําเช่ือมบอกเวลา 3 ลักษณะ คือ

1.1 คําเช่ือมบอกเวลากอน จะใชนําหนาคํานามหรือประโยคท่ีเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนกอนหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอนอีกสิ่งหน่ึงหรืออีกเหตุการณหน่ึง ไดแก คําวา “เม่ือ” “แต” “คร้ัน” และ “แลว” คําเช่ือมบอกเวลากอนใชเพื่อช้ีใหผูอานเห็นวาเหตุการณเหลาน้ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอนเหตุการณอ่ืนๆ เชน ตัวอยางท่ี 1

“.......สมเด็จพระพุทธเจาท้ังปวงจะไดละเสียหาบมิได ยอมตรัสเทศนาทุกๆ พระองค เพราะเหตุใด? เหตุวา แสดงเทวทูตสูตรน้ี เปนท่ีจะให บังเกิดธรรมสังเวชแกบุคคลผู ไดสดับฟง เ ม่ือพิจารณาเห็นทุกขในนรกแลว ก็จะเห็นแจงในทุกข-อริยสัจ........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 95) ตัวอยางท่ี 2 “........กรรมท่ีตัวเลี้ยงสัตวไว ปรนปรือใหเกิดล่ําเน้ือเพื่อจะใหกินมีรสน้ัน มาบังเกิดเปนลมพัดตองอยูเย็นๆ ตายแลจึงกลับเปนข้ึนมาเลา แลเล็บมือกลายเปนหอกเปนดาบ ไลท่ิมแทงฟาดฟนกันน้ันดวยกรรมท่ีตัวสงเคร่ืองศาสตราอาวุธใหผู อ่ืนไปฆาสัตว แตบุพกาลชาติกอนทนทุกขเวทนาอยูในสัญชีพนรกน้ี.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 104)

Page 8: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 44

ในตัวอยางท่ี 1 ใชคําเช่ือมบอกเวลากอนคือ “เม่ือ” นําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนกอนอีกเหตุการณหน่ึง คือ ผูอานพิจารณาทุกขท่ีไดรับจากการอยูชดใชกรรมในนรกกอน แลวจึงเขาใจแจมแจงในอริยสัจสี่ตามมา ซึ่งเปนเหตุการณท่ีเกิดเปนลําดับหลัง สวนตัวอยางท่ี 2 มีการใชคําเช่ือมบอกเวลากอนเชนเดียวกันคือ “แต” โดยใชนําหนาคํานาม คือ “บุพกาลชาติกอน” เพื่อช้ีวา สิ่งท่ีเกิดข้ึนกอนท่ีสัตวท้ังหลายจะไดรับทุกขทรมานในนรกดวยลักษณะดังกลาวน้ัน คือ บุคคลผูน้ันไดเลี้ยงสัตวและฆามันเพื่อนํามาทําเปนอาหารในชาติกอนน้ันเอง

1.2 คําเ ช่ือมบอกเวลาภายหลัง ใช นําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนภายหลัง เพื่อช้ีใหผูอานเห็นวา เหตุการณเหลาน้ีเกิดข้ึนภายหลังอีกเหตุการณหน่ึง และเปนเหตุการณท่ีเกิดสืบเน่ืองกัน ไดแก คําวา “แลวก็” “ก็” “แลว” และ “คร้ันแลวก็” เชน ตัวอยางท่ี 1

“......เม่ือจะถือเอาประมาณวาภูเขาสัตตบริภัณฑท้ัง 7 ช้ัน มีกําหนดโดยหนาเทาสวนท่ีสูงพนนํ้าน้ันแลวก็พึงใหรูประมาณแหงเขาอัสสกัณณะเปนอยางเถิด.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 114) ตัวอยางท่ี 2

“.....เทพยดาน้ันก็ข้ึงโกรธมีกําลัง ปรารถนาจะฆาพระภิกษุน้ันเสียในประเทศท่ีน้ัน ครั้นแลวกก็ลับไดสติ มาดําริวา ภิกษุน้ีเปนบุตรกอปรดวยบิดา.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 4)

Page 9: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 45

ตัวอยางแรกใชคําเช่ือมบอกเวลาภายหลังคือ “แลวก็” นําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีกลาวถึงภายหลังอีกเหตุการณหน่ึง คือ ผูเขียนไดกลาวถึงขนาดของภูเขาสัตตบริภัณฑท้ัง 7 ช้ัน และจากน้ันจะไดกลาวถึงขนาดของภูเขาอัสสกัณณะเปนลําดับตอมา สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําวา “คร้ันแลวก็” เปนคําเช่ือมบอกเวลาภายหลังนําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนภายหลัง เหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอนคือ เทพยดาปรารถนาฆาพระภิกษุ แตเหตุการณท่ีเกิดข้ึนตามมาคือ เทพยดาไดสต ิ

1.3 คํ าเ ช่ือมบอกเวลาเดียว กัน ใช นําหนาประโยค ท่ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนเวลาเดียวกันกับเหตุการณท่ีกลาวถึงมาแลวขางหนา เพื่อช้ีใหผูอานเห็นวา เหตุการณท่ีกลาวถึงมากอนและเหตุการณท่ีกําลังจะกลาวถึงมีระยะเวลาในการเกิดพรอมกัน ไดแก “ในขณะเม่ือ” และ “ขณะน้ัน” เชน

“.....สัตวนรกท้ังหลายน้ันก็ย่ิงตระหนกตกใจ พากันวิ่งตระบึงไปเหนือแผนดินเหล็กอันรุงเรืองเปนเปลวเพลิง เหยียบลงท่ีใดเพลิงก็ติดเทาข้ึนมาท่ีน้ัน เหยียบลงท่ีไหน เพลิงติดเทาข้ึนมาท่ีน้ัน เพลิงน้ันไหมลามข้ึนๆ ตนแขงตนขา ไดความลําบากเวทนาซังตายวิ่งไป.. . . . .ขณะน้ันแผนกระดานเหล็กอันใหญรุงเรืองเปนเปลวไฟ มากกวาหม่ืนกวาแสน บังเกิดข้ึนแตแผนดินเหล็กมีเสียงดังคร้ืนๆ เปรียบประดุจเสียงฟาลั่น.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 106-107)

เน้ือความตอนน้ีใชคําเช่ือมบอกเวลาเดียวกันคือ “ขณะน้ัน” นําหนาประโยคท่ีเกิดข้ึนเวลาเดียวกันกับเหตุการณขางหนาท่ีกลาวถึง

Page 10: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 46

เพือ่ช้ีวาเหตุการณท่ีสัตวนรกวิ่งไปบนแผนเหล็กท่ีเต็มไปดวยไฟน้ันเกิดข้ึนในเวลาเดียวกันกับเหตุการณท่ีแผนเหล็กสงเสียงดังดั่งเสียงฟาลั่น

คําเช่ือมบอกเวลาในไตรภูมิโลกวินิจฉัยปรากฏ 3 ประเภท คือ คําเช่ือมบอกเวลากอน คําเช่ือมบอกเวลาภายหลัง และคําเช่ือมบอกเวลาเดียวกัน โดยมีจุดมุงหมายในการใชแตกตางกัน คือ คําเช่ือมบอกเวลากอนใชเพื่อช้ีวาเหตุการณใดเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอน คําเช่ือมบอกเวลาภายหลังใชเพื่อช้ีวาเหตุการณใดเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนตามมาทีหลัง และคําเช่ือมบอกเวลาเดียวกันใชเพื่อช้ีวาเหตุการณท่ีเกิดข้ึนท้ังสองเหตุการณน้ันเกิดข้ึนในเวลาเดียวกัน

คําเช่ือมบอกเวลาทําใหผูอานสามารถลําดับเหตุการณและลําดับความคิดของตนเองไดอยางเปนระบบวาเหตุการณใดหรือสิ่งใดเกิดข้ึนกอน เหตุการณใดเกิดข้ึนหลัง และเหตุการณใดบางท่ีเกิดข้ึนพรอมๆ กัน ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือเร่ืองมากข้ึนและไมสับสนกับเน้ือหาท่ีผูเขียนถายทอดมาอีกดวย

2. คําเช่ือมบอกเหต ุคําเช่ือมบอกเหตุในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันนําหนาประโยคท่ีแสดง

เหตุ ปรากฏคําเช่ือมบอกเหตุ 2 ลักษณะ คือ 2.1 คําเช่ือมบอกเหตุท่ีเกิดผลตามมา คําเช่ือมบอกเหตุในลักษณะดังกลาวน้ีใชนําหนาประโยคท่ีบอก

เหตุ สวนอีกประโยคหน่ึงเปนประโยคท่ีบอกผล ซึ่งเปนผลของประโยคท่ีบอกเหตุขางหนา นอกจากน้ีคําเช่ือมบอกเหตุประเภทน้ียังสามารถแทนท่ี

Page 11: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 47

ประโยคท่ีเปนเหตุซึ่งไดกลาวถึงมาแลวในประโยคขางหนาอีกดวย ไดแก “เพราะเหต”ุ “เหตุฉะน้ี” “เหตุดังน้ัน” และ“เพราะเหตุวา” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “...... นัยหน่ึงวาเขาน้ันทรงไวซึ่งปทุมชาติอันบังเกิดในตระพังศิลากอบดวยดอกอันใหญๆ เทากงเกวียนแลกงรถ เหตุดังน้ัน ช่ือจึงปรากฏโดยนามช่ือเขาเนมินธร.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 111) ตัวอยางท่ี 2

“..........ถาก่ิงไมหักไปสองทิศ พิมานน้ันก็พังไป 2 ดาน หักไปสามทิศ ก็พังไป 3 ดาน หักไปสี่ทิศ ก็พังไป 4 ดาน สุดแทแตก่ิงไมหักในทิศใดพิมานในทิศน้ันก็พังลง ทําลายลง บมิไดคงอยูเปนปรกติ เพราะเหตุทิพยพิมานน้ันประดิษฐานอยูเหนือก่ิงพฤกษา.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 2)

ตัวอยางท่ี 1 ใชคําเช่ือมบอกเหตุคือ “เหตุดังน้ัน” ซึ่งใชแทนประโยคท่ีบอกเหตุในขางตนท้ังหมดคือ การพรรณนาวาภูเขาลูกน้ันมีดอกบัวขนาดใหญมาก สวนประโยคบอกผลคือ ทําใหภูเขาลูกน้ีช่ือวาเนมินธร และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกเหตุคือ “เพราะเหตุ” นําหนาประโยคบอกเหตุคือ ทิพยพิมานของพฤกษเทพยดาอยูเหนือก่ิงไม ผลคือ เม่ือก่ิงไมหัก ทิพยพิมานก็ถูกทําลายไปดวย

Page 12: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 48

2.2 คําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงเงื่อนไข คําเช่ือมบอกเหตุในลักษณะดังกลาวจะใชนําหนาประโยคท่ีบอก

เหตุ สวนอีกประโยคหน่ึงจะเปนประโยคบอกผล ซึ่งเกิดจากสาเหตุขางหนาเทาน้ัน ไดแก “ถา” “ถา......ก็” และ “ตอเม่ือใด” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “สัตวอันไปบังเกิดในกาฬสุตตนรกน้ัน ยมบาลท้ังหลายมัดดวยพวนเหล็กผูกขึงลงไวกับแผนดินเหล็กอันรุงเรืองเปนเปลวเพลิง แลวก็เอาสายบรรทัดเหล็กใหญเทาลําตาลดีดลง ถาดีดบรรทัดลงขางหนากายสัตวนรกน้ันก็แตกผาตลอดหลัง......”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ข: 106) ตัวอยางท่ี 2 “.......มาตรแมวาตนไมน้ันจะหักลงเองก็ดี มีผูตัดผูฟงลงก็ดี ถาตอไมน้ันมีอยูตราบใด พิมานก็ยังคงอยูเปนปกติตราบน้ัน ตอเม่ือใดตอไมน้ันหักโคนไปสิ้นแลว พิมานน้ันจึงอันตรธานสาบสูญไป....”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ค: 2)

ตัวอยางแรกใชคําบอกเหตุท่ีแสดงเงื่อนไขคือ “ถา....ก็” โดยใช “ถา” นําหนาประโยคท่ีบอกเหตุ และใช “ก็” นําหนาประโยคท่ีบอกผล ซึ่งเกิดจากสาเหตุท่ีกลาวถึงในขางตนเทาน้ัน คือ รางกายของสัตวนรกจะแตกผาตลอดหลังก็ตอเม่ือมาจากสาเหตุคือ ยมบาลนําสายบรรทัดเหล็กดีดลงขางหนารางกายของสัตวนรกเทาน้ัน สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําวา “ตอเม่ือใด” เปนคําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงเงื่อนไข ซึ่งผลท่ีทําใหพิมานของ

Page 13: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 49

เทวดาท่ีอยูในลําตนของตนไมสูญไปน้ันเกิดจากสาเหตุคือ ตอไมหักโคนลงเทาน้ัน

คําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงผลตามมา และคําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงเงื่อนไขน้ันปรากฏลักษณะการใชท่ีเหมือนกันคือ ตําแหนงท่ีใช โดยจะใชขางหนาประโยคท่ีบอกเหตุ แตคําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงผลตามมาบางคําอาจใชแทนประโยคเหตุท่ีกลาวมาแลวขางหนา สวนลักษณะท่ีตางกันของคําเช่ือมท้ัง 2 ประเภทน้ีคือ ผลท่ีตามมาจากประโยคบอกเหตุ กลาวคือ ผลของประโยคบอกเหตุท่ีใชคําเช่ือมท่ีแสดงเหตุผลตามมาน้ันจะเปนผลท่ีคลอยตามประโยคบอกเหตุขางหนา สวนผลของประโยคบอกเหตุท่ีใชคําเช่ือมท่ีแสดงเงื่อนไขน้ันนอกจากจะเปนผลท่ีคลอยตามประโยคบอกเหตุขางหนาแลวน้ัน ผลท่ีเกิดข้ึนน้ันจะตองมีสาเหตุมาจากประโยคบอกเหตุท่ีอยูขางหนาเทาน้ัน

การใชคําเช่ือมบอกเหตุในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันใชเพื่อใหผูอานทราบวาทุกอยางท่ีเกิดข้ึนตามเน้ือเร่ืองน้ันมีสาเหตุของการเกิด ซึ่งจะทําใหเน้ือเร่ืองมีความนาเช่ือถือมากย่ิงข้ึน

3. คําเช่ือมบอกผล คําเช่ือมบอกผลในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันจะนําหนาประโยคท่ี

แสดงผล ซึ่งเปนประโยคท่ีตามหลังประโยคบอกเหตุ ปรากฏใชเพียงคําเดียวไดแก คําวา “จึง” เชน

Page 14: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 50

“......... ดูกรบุรุษ ทานน้ีประมาทนักหนาไมคิดอานท่ีจะกระทําการกุศล ผลท่ีประมาทน้ันน้ันซัดใหแกทานแลว ทานจึงมาบังเกิดในทุคติภูมิโทษใครได..........”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ข: 97)

ตัวอยางขางตนใชคําเช่ือมบอกผลคือ “จึง” นําหนาประโยคท่ีบอกผลคือ การมาเกิดในทุติยภูมิ สวนประโยคท่ีแสดงเหตุท่ีทําใหเกิดประโยคท่ีแสดงผลน้ันคือ มนุษยประมาทไมทําการกุศล

คําเช่ือมบอกผลในไตรภูมิโลกวินิจฉัยทําใหเน้ือเร่ืองมีความนาเช่ือถือ โดยช้ีใหเห็นวาผลท่ีไดรับยอมมาจากเหตุท่ีไดคิดหรือไดกระทําไว และทําใหผูอานทราบผลของการกระทําไดอยางชัดเจน ซึ่งจะชวยใหเน้ือเร่ืองสามารถโนมนาวใหคนเช่ือและปฏบัิติตามไตรภูมิโลกวินิจฉัยได

4. คําเช่ือมบอกความขัดแยง คําเช่ือมบอกความขัดแยงในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันเปนคําเช่ือมท่ี

เช่ือมประโยค 2 ประโยคเขาดวยกัน ซึ่งท้ัง 2 ประโยคท่ีมาเช่ือมกันน้ันมีเน้ือความขัดแยงกัน ปรากฏการใชคําเช่ือมบอกความขัดแยง ไดแก “แตทวา” “แต” และ “มาตรแมวา........ก็......” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “บัดน้ีจะแสดงนิรยกถาสืบตอไป ตามนัยพระบาลีอันคัดออกจากคัมภีรท้ังหลายตางๆ แตจะเอาเทวทูตสูตรเปนหลักเปนประธาน.......”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ข: 95)

Page 15: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 51

ตัวอยางท่ี 2 “.........ถาทิพยพิมานน้ันประดิษฐานในลําตน ตั้งข้ึนในตนไมน้ัน มาตรแมวาก่ิงไมจะหักจะทําลายไป ทิศหน่ึง 2 ทิศ 3 ทิศ 4 ทิศ หักทําลายไปจนหมดจนสิ้นก็ดี พิมาน้ันก็ยังดีอยูเปนปรกติ จะไดพังลงทําลายลงเหมือนอยางพิมานประดิษฐานเหนือก่ิงไมน้ันหาบมิได......”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ค: 2)

ตัวอยางแรกใชคําเ ช่ือมบอกความขัดแยงคือ “แต” เ ช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยคท่ีมีเน้ือความขัดแยงกัน คือ ประโยคแรกกลาววา ผูเขียนจะแสดงเน้ือหาเก่ียวกับนิรยกถาตามพระบาลี ซึ่งคัดออกมาจากคัมภีรหลายๆ คัมภีร สวนประโยคท่ีสองจะเปนประโยคท่ีมีเน้ือความขัดแยงกับประโยคแรกคือ แมวาจะคัดเน้ือหาเก่ียวกับนิรยกถามาจากหลายๆ คัมภีร แตผูเขียนจะนําเทวทูตสูตรมากลาวเปนเน้ือหาหลัก และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกความขัดแยงคือ “มาตรแมวา.....ก็” เช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยคท่ีมีเน้ือความขัดแยงกันคือ ประโยคแรก ถาทิพยพมิานของเทวดาตั้งอยูในลําตนของตนไมและก่ิงไมหักไปไมวาจะก่ีทิศ ประโยคท่ีสองเปนประโยคท่ีมีเน้ือความขัดแยงกับประโยคแรกคือ พิมานของเทวดายังคงอยูเหมือนเดิม ไมเหมือนพิมานของเทวดาท่ีตั้งเหนือก่ิงไม

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกความขัดแยงเพื่อใหผูอานสามารถแยกแยะเน้ือความไดวาเน้ือความใดเปนเน้ือความท่ีไมไดอยูใน

Page 16: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 52

กลุมเดียวกัน หรือหมวดหมูเดียวกันกับสิ่งท่ีผูเขียนกลาวถึง ซึ่งจะมีผลตอความเขาใจเน้ือหาของผูอาน

5. คําเช่ือมบอกความคลอยตาม คําเช่ือมบอกความคลอยตามในไตรภูมิโลกวินิจฉัยอาจใชนําหนา

คํานาม หรือประโยค 2 ประโยคท่ีบอกเน้ือความเปนไปในทํานองเดียวกัน ปรากฏคําเช่ือมบอกความคลอยตามไดแก “แล” “ก็” “และ” และ “ใชแตเทาน้ัน” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “แตน้ีจะวิสัชชนาดวยคณนสังขยา นับกวางแลยาวสูงแลต่ําตื้นแลลึกใหญแลนอยแหงแผนปฐพีแลเขาจักรวาล เขาพระเมรุราช แลเขาสัตตบริภัณฑ เขาหิมวันต แลทวีปใหญ ทวีปนอยท้ังปวง”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 104) ตัวอยางท่ี 2

“.......คนเหลาน้ีก็ไปตกในกาฬสุตตนรก ควันเพลิงอบเขาไปในทวารหนัก ทวารเบา ทางจมูกแลปาก ทนทุกขลําบากดุจพรรณนามาแตหลัง ใชแตเทาน้ัน........บุคคลท่ีริษยาเขา สอเสียดเขาน้ันก็ดีบุคคลท่ีหยาบชาดาวาบิดามารดาน้ันก็ดี.......ยอมไปตกในกาฬสุตตนรกทนทุกขเวทนาหยาบชากลาแข็งหนักหนา ดังพรรณนามาน้ัน”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 109)

Page 17: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 53

ตัวอยางแรกใชคําเช่ือมบอกความคลอยตามคือ “แล” เช่ือมระหวางคํานามตางๆ เพื่อบอกเน้ือความท่ีเปนไปในทํานองเดียวกันวา ผูเขียนจะกลาวถึงขนาดของสิ่งตางๆ ท้ังท่ีอยูบนแผนดิน ภูเขาและทวีปตางๆ ไปในทิศทางเดียวกัน คือ ระบุขนาดจากความกวาง ความยาว ความสูง ความต่ํา ความตื้น ความลึก และความใหญนอยของสิ่งน้ันๆ สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกความคลอยตามคือ “ใชแตเทาน้ัน” เช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยค เพื่อช้ีวาประโยคท้ัง 2 ประโยคน้ันมีเน้ือความเปนไปในทิศทางเดียวกัน คือ คนทําบาปดังท่ีกลาวมาในขางตนลวนตกในกาฬสุตตนรกและตองชดใชกรรมในแบบเดียวกัน

คําเ ช่ือมบอกความคลอยตามใชเพื่อให ผู อานสามารถจัดหมวดหมูของสิ่งตางๆท่ีกลาวถึงในไตรภูมิโลกวินิจฉัย และแยกแยะเน้ือความของประโยคไดวา เน้ือความไดอยูในกลุมเดียวกัน ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือหาไตรภูมิโลกวินิจฉัยมากข้ึน

6. คําเช่ือมบอกความใหเลือกเอา คําเช่ือมประเภทน้ีจะใชเช่ือมประโยค 2 ประโยคท่ีมีเน้ือความให

เลือกอยางใดอยางหน่ึง มักปรากฏใชในประโยคคําถาม ไดแกคําวา “หรือ” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “..........ทารกนอยๆ ท่ีนอนหงายเกลือกอยูในคูถแลมูตรแหงตนน้ัน ทานไดเห็นหรือหาไมเลา?.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 96)

Page 18: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 54

ตัวอยางท่ี 2 “.........ดูกรบุรุษ ทานคิดฉะน้ีหรือหาบมิได?...........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 97)

ตัวอยางท่ี 1 และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกความใหเลือกเอาคือ “หรือ” เช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยค และใชในประโยคคําถาม โดยตัวอยางท่ี 1 ใช “หรือ” เช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยคคือ ทานเห็นและทานไมเห็น และตัวอยางท่ี 2 ใช “หรือ” เช่ือมระหวางประโยค 2 ประโยคคือ ทานคิดฉะน้ีและทานไมคิด ท้ังสองตัวอยางตองการใหตัวละครภายในเร่ืองเลือกคําตอบอยางใดอยางหน่ึง

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกความใหเลือกเอาเพื่อใหผูอานเนนยํ้าและทบทวนความคิดของตนเก่ียวกับเร่ืองท่ีไดกลาวมาวา ถาผูอานเปนตัวละครภายในเน้ือเร่ืองจะทําอยางไร ซึ่งเปนวิธีหน่ึงท่ีทําใหผูอานอานเน้ือหาแลวกลับมาคิดทบทวนสิ่งท่ีอานน้ันอยางไมรูตัว

7. คําเช่ือมบอกเน้ือความ คําเช่ือมบอกเน้ือความในไตรภูมิโลกวินิจฉัยปรากฏใชคําเดียวคือ

คําวา “วา” โดยใชนําหนาเน้ือความซึ่งอาจเปนคํานาม หรือประโยคท่ีผูเขียนตองการสื่อไปยังผูอาน หรือประโยคท่ีตัวละครภายในเน้ือเร่ืองกลาวเน้ือความน้ันๆ เชน

ตัวอยางท่ี 1 “........แลเขาพระเมรุดานขางปจฉิมทิศตะวันตกน้ันแลวดวยแกวผลึกรัศมีแกวผลึกน้ัน แผซานครอบงํานํ้าในมหาสมุทรใหมีสี

Page 19: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 55

เหมือนสีนํ้าท่ีใสๆ เหตุดังน้ัน มหาสมุทรในทิศตะวันตกจึงไดนามบัญญัติช่ือวา ผลิกสาคร........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 117) ตัวอยางท่ี 2 “......ในลําดับน้ัน มหิสรเทพบุตรจึงมีวาจาวา ขาแตพระโคดมผูจําเริญ พระองคจึงปดพระเนตรไว ดวยน้ิวพระหัตถแหงพระองคเถิดขาพเจาจะเรนจะซอนกอน จะใหพระองคเปนผูหา............”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 9)

ตัวอยางท่ี 1 เปนการใชคําเช่ือมบอกเน้ือความวา “วา” นําหนาคํานามท่ีเปนเน้ือความซึ่งผูเขียนตองการสื่อถึงผูอาน คือ ช่ือของมหาสมุทรทางทิศตะวันตก ซึ่งช่ือวา “ผลิกสาคร” สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกเน้ือความคือ “วา” นําหนาประโยคท่ีตัวละครในเน้ือเร่ืองตองการสื่อเน้ือความออกมาใหตัวละครในเร่ืองอีกตัวหน่ึงรับรู ในท่ีน้ีเปนเน้ือความของ มหิสรเทพบุตรท่ีตองการสงไปถึงพระสัมมาสัมพุทธเจา

คําเช่ือมบอกเน้ือความน้ันใชเพื่อขยายรายละเอียดของเน้ือเร่ืองใหกระจางชัดมากย่ิงข้ึน ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือเร่ืองไดอยางชัดเจนและแจมแจงมากย่ิงข้ึน

8. คําเช่ือมบอกแหลง คําเช่ือมบอกแหลงในไตรภูมิโลกวินิจฉัยจะนําหนาคํานาม หรือ

ประโยคท่ีบอกแหลงของสิ่งตางๆ โดยแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

Page 20: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 56

8.1 คําเช่ือมบอกแหลงท่ีมีสิ่งตางๆ คําเช่ือมประเภทน้ีบางคร้ังอาจอยูหนาคํานาม หรือประโยคท่ีบอกแหลง แตในบางคร้ังอาจอยูหลังคํานาม หรือประโยคท่ีบอกแหลง คําเช่ือมประเภทน้ีทําใหผูอานทราบวาสิ่งท่ีผูเขียนกลาวถึงน้ันมีตําแหนงอยูท่ีใด ไดแก “ในทามกลาง” “ในระหวาง” “ใน” “เหนือ” “ช้ันใน” “ช้ันนอก” “หนา” “หลัง ” “ใกล ” “ภายใต” และ “เบ้ืองบน”เชน

ตัวอยางท่ี 1 “........มเหศรท่ีเปนสามีแหงนางอุมาภควติน้ันมีพระบาลีในพลจักกสูตร วิสัชนาวา อยูเหนือยอดเขาไกรลาสในปาพระหิมพานตางหาก จะไดอยูเหนือยอดเขาอิสินธรน้ีหาบมิได.....”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 110) ตัวอยางท่ี ๒ “.........สมเด็จพระมหากรุณาก็เสด็จข้ึนประดิษฐานอยูในเบ้ืองบนนภดลประเทศอากาศ...... ในท่ีใกลศีรษะแหงมหิสเทพบุตร………….”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 10)

ตัวอยางแรกใชคําเช่ือมบอกแหลงท่ีมีสิ่งตางๆ คือ “เหนือ” และ “ใน” นําหนาคํานามเพื่อบอกตําแหนงท่ีอยูของพระมเหศร และบอกตําแหนงของภูเขาไกรลาสวาตั้งอยูท่ีใด และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกแหลงท่ีมีสิ่งตางๆ คือ “ใน” “เบ้ืองบน” และ “ใกล” นําหนาคํานาม เพื่อบอกตําแหนงของพระสัมมาสัมพุทธเจา

8.2 คําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตาง ๆในไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ ใชนําหนาคํานามท่ีเปนตนกําเนิด

Page 21: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 57

หรือท่ีมาของสิง่น้ันๆ เพื่อช้ีใหผูอานเห็นวาสิ่งตางๆ เหลาน้ันมีตนกําเนิดมาจากสิ่งใด ปรากฏคําเช่ือมไดแก “แต” “จาก” และ “โดย” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “......สัตวนรกท้ังหลายน้ันลมกลิ้งอยูกับแผนดินเหล็ก เพลิงอันเกิดข้ึนแตแผนดินเหล็กน้ัน ก็ไหมทวมเน้ือทวมตัว.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 107) ตัวอยางท่ี ๒ “........เสด็จลงมาตามบันไดแกวเฉพาะหนามหิสรเทพบุตร สําแดงพระอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริยเปลงพระรัศมี 6 ประการใหสวางชวงโชติออกจากพระองค.........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 12) ตัวอยางท่ี ๓ “.......มีกายอันพองเขียวไปท้ังตัว มีบุพโพโลหิตอันลนไหลออกมาโดยทวารท้ัง ๙ น้ัน.........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 99)

ตัวอยางท่ี 1 ใชคําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ คือ “แต” นําหนาคํานาม เพื่อช้ีใหผูอานทราบวาไฟท่ีไหมทวมตัวสัตวนรกน้ันมีกําเนิดมาจากท่ีใด ตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ คือ “จาก” นําหนาคํานามท่ีเปนตนกําเนิดของรัศมีท้ัง 6 ประการน้ัน คือ พระสัมมาสัมพุทธเจา และตัวอยางท่ี 3 ใชคําวา “โดย” เปนคําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ นําหนาคํานามท่ีเปนแหลงท่ีมาของเลือดคือ ทวารท้ัง 9

Page 22: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 58

8.3 คําเช่ือมบอกจุดมุงหมายของสิ่งตางๆ ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกจุดมุงหมายของสิ่งตางๆ ตามหลังคํากริยาและนําหนาคํานามท่ีเปนจุดมุงหมายของกริยาน้ันๆ เพื่อช้ีวาประธานกระทํากริยาเหลาน้ันมุงไปทางใด หรือท่ีใด หรือทําสิ่งใดใหกับใคร ไดแก “สู” “แก” “ถึง” และ “ตอ” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “..........นายนิรยบาลท้ังหลายก็จับเอาแขนท้ังสอง พาไปสูสํานักแหงพญายมราช พญายมราชก็ถามวา.........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 96) ตัวอยางท่ี ๒ “.........บางจําพวกไดฟงเทวทูตเปนคํารบ 3 จึงระลึกไดถึงการกุศลบางจําพวกไดฟงเทวทูตเปนคํารบ 4 จึงระลึกไดถึงการกุศล..........”

(พระยาธรรมปรีชา(แกว), 2520ข: 100) ตัวอยางท่ี ๓ “........... พระผูเปนเจางดกอน อยาเพอตัดเพอฟน......ภิกษุน้ันจะไดเอ้ือเฟอตอถอยคําแหงเทพยดาน้ันหาบมิได.........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 4)

ตัวอยางท่ี 1 ตัวอยางท่ี 2 และตัวอยางท่ี 3 ตางก็ใชคําเช่ือมบอกจุดมุงหมายของสิ่งตางๆ ท้ังสิ้น และใชตามหลังคํากริยาและนําหนาคํานามท่ีเปนจุดมุงหมายของคํากริยาน้ันๆ โดยตัวอยางท่ี 1 ใชคําวา “สู”

Page 23: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 59

เพื่อบอกจุดมุงหมายของนายนิรบาลวาจะพาผูกระทําบาปน้ันไปหาพญายมราช สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําวา “ถึง” เพื่อบอกจุดมุงหมายของกริยา “ระลึก” วา มีจุดมุงหมายอยูท่ีการทํากุศล และตัวอยางท่ี 3 ใชคําวา “ตอ” เพื่อบอกจุดมุงหมายของกริยา “เอ้ือเฟอ” วา มีจุดมุงหมายอยูท่ีเทวดา

ในไตรภูมิโลกวินิจฉัย ผูเขียนใชคําเช่ือมบอกแหลง 3 ประเภทคือ คําเช่ือมบอกแหลงท่ีมีสิ่งตางๆ คําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ และคําเช่ือมบอกจุดหมายของสิ่งตางๆ ใชเพื่อเพิ่มความชัดเจนใหกับเน้ือเร่ืองวา สิ่งท่ีกลาวถึงภายในเน้ือเร่ืองน้ันมีตําแหนงอยูท่ีใด มาจากท่ีใด และการกระทําของตัวละครในเน้ือเ ร่ืองน้ันมีจุดมุงหมายไปท่ีใด นอกจากน้ีคําเช่ือมเหลาน้ียังสามารถสรางจินตนาการของผูอานและผูเขียนใหเขาใจในสิ่งเดียวกันไดอีกดวย ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือเร่ืองไดมากย่ิงข้ึน

9. คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบ คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบในไตรภูมิโลกวินิจฉัยน้ันจะใช

นําหนา หรือตามหลังคํานามหรือ ประโยคท่ีใชเปรียบเทียบโดยนําสิ่งท่ีผูอานไมเคยพบเห็นในชีวิตประจําวัน หรือสิ่ง ท่ีเปนนามธรรมมาเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีผูอานในสมัยน้ันคุนเคย หรือประโยคท่ีใหภาพเปนรูปธรรม ไดแกคําวา “เหมือน” “เปรียบประดุจ” “ประดุจดัง” “เหมือนกัน” “ดัง” “เทากัน” “ดุจ” “เทา” “เสมอ” “เปรียบปาน” “กวา” และ “ประหน่ึงวา” เชน

Page 24: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 60

ตัวอยางท่ี 1 “........จะไดผิดกันหามิได เพราะเหตุดุจจักรวาลท้ังปวงน้ัน มีสัณฐานกลมเหมือนจักรรถแลกงเกวียน......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 105) ตัวอยางท่ี 2 “.........อุสาหะอดกลั้นบรรเทาเสียซึ่งโทโสอันบังเกิดข้ึนในจิตสันดาน เปรียบปานหมองูอันรํางบัเสียซึ่งพิษงูดวยโอสถ..........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 5)

ตัวอยางท่ี 1 และตัวอยางท่ี 2 ตางก็ใชคําเ ช่ือมบอกการเปรียบเทียบเชนเดียวกัน และใชนําหนาคํานามท่ีนํามาเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีผูเขียนไดกลาวอธิบายไว โดยตัวอยางท่ี 1 ใชคําวา “เหมือน” นําหนาคํานามคือ จักรรถ และกงเกวียน ซึ่งเปนคํานามท่ีเปนท่ีคุนเคยของคนในสมัยน้ันมาเปรียบเทียบกับรูปลักษณะของจักรวาล ซึ่งผูอานไมเคยเห็น สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําวา “เปรียบปาน” นําหนาประโยคท่ีนํามาเปรียบเทียบคือ หมองูระงับพิษงูดวยโอสถ ซึ่ง เปน รูปธรรมมาเปรียบเทียบกับประโยคท่ีเปนนามธรรมคือ การอดกลั้นอดทนตอโทโส หรือความโกรธ

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบเพื่อใหผูอานสามารถมองเห็นภาพ และจินตนาการจากสิ่งท่ีไมเคยเห็น หรือสิ่งท่ีเปนนามธรรมไดชัดเจนมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ีการเห็นภาพตามการบรรยายของผูเขียนยังทําใหผูอานเกิดอารมณรวมไปกับเน้ือเร่ืองของผูเขียนทําใหเพลิดเพลินไปกับเน้ือเร่ือง และติดตามเน้ือเร่ืองไปจนจบ

Page 25: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 61

10. คําเช่ือมบอกการจํากัด คําเช่ือมประเภทน้ีเปนคําเช่ือมท่ีใชจํากัดความหมายของคํานาม

และคํากริยา โดยใชตามหลังคํานามท่ีตองการขยายและนําหนาประโยคท่ีนํามาขยาย ปรากฏคําเช่ือมบอกการจํากัด ไดแก “ท่ี” “ซึ่ง” และ “อัน” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “..........มีขออรรถาธิบายไววาขอซึ่งพญาเขาใหญไดนามบัญญัติช่ือวาสิเนรุราชน้ัน......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 109) ตัวอยางท่ี 2 “........บุคคลท่ีริษยาเขา สอเสียดเขาน้ันก็ดีบุคคลท่ีหยาบชาดาวาบิดามารดาน้ันก็ด.ี.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 109) ตัวอยางท่ี 3 “.. .. . .. . .งามเปรียบประดุจดังพระองคสมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจาอันมีพระชนมอยู ........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 14)

ตัวอยางแรก ตัวอยางท่ี 2 และตัวอยางสุดทายใชคําเช่ือมบอกการจํากัดใชตามหลังคํานามท่ีขยาย และนําหนาประโยคท่ีนํามาขยาย คือ ตัวอยางแรกใชคําเช่ือมบอกการจํากัดคือ “ซึ่ง” ตามหลังคํานามคือ “ขอ” เพื่อใหรายละเอียดและจําเพาะเจาะจงลงไปวา “ขอ” ท่ีเน้ือความตอนน้ีกลาวถึงคือ ขอท่ีมีเน้ือหาเก่ียวกับการเรียกช่ือพญาเขาใหญ สวน

Page 26: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 62

ตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกการจํากัดคือ “ท่ี” ตามหลังคํานามคือ“บุคคล” เพื่อใหรายละเอียดและจําเพาะเจาะจงลงไปวา บุคคลท่ีเน้ือความตอนน้ีกลาวถึงอยูคือ บุคคลท่ีกระทํากิริยาหยาบชาดาวาบิดามารดา และตัวอยางท่ี 3 ใชคําเช่ือมบอกการจํากัดคือ “อัน” ตามหลังคํานามคือ “สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจา” เพื่อใหรายละเอียดและจําเพาะเจาะจงลงไปวาพระสัมมาสัมพุทธเจาท่ีเน้ือความตอนน้ีกําลังกลาวถึงน้ันคือ องคท่ีมีชีวิตอยูในปจจุบัน

ไตรภู มิ โ ลกวิ นิจฉั ยใช คํ า เ ช่ือมบอกการจํา กัดเพื่ อขยายรายละเอียดเก่ียวกับคํานามน้ันและจําเพาะเจาะจงคํานามน้ันๆ วา เน้ือหาในตอนน้ันๆ กําลังกลาวถึงรายละเอียดของสิ่งน้ีมิใชกลาวถึงรายละเอียดของสิ่งอ่ืน ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือหามากย่ิงข้ึน และไมหลงประเด็นเม่ืออานอีกดวย

11. คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ คําเช่ือมประเภทน้ีจะใชนําหนาคํานามท่ีใชเปนเคร่ืองมือในการ

กระทํากริยาใดกริยาหน่ึงของประธานในเน้ือเร่ือง ไดแก คําวา “ดวย” และ “โดย” เชน

ตัวอยางท่ี 1 “......ถาจะวัดโดยวงกลมรอบนอกแหงเขาสุทัสสนะน้ันได 14 แสน 3 หม่ืน 3 พัน 2 รอย......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 112)

Page 27: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 63

ตัวอยางท่ี ๒ “........เม่ือพญายมราชพิจารณาไปดวยทิพยจักษุ มิไดเห็นกุศลอันใดอันหน่ึง.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 101)

ตัวอยางท่ี 1 ใชคําเช่ือมบอกเคร่ืองมือคือ “โดย” นําหนาคํานามคือ “วงกลมรอบนอก” เพื่อช้ีวาการวัดขนาดของภูเขาน้ันจะใชวงกลมรอบนอกเปนเคร่ืองมือ สวนตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกเคร่ืองมือคือ “ดวย” นําหนาคํานามคือ “ทิพยจักษุ” เพื่อช้ีวาพญายมราชมองและใชตาทิพยเปนเคร่ืองมือ

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกเคร่ืองมือเพื่อขยายกริยาวาประธานใชสิ่งใดทํากริยาน้ัน ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือหามากย่ิงข้ึน

12. คําเช่ือมบอกลักษณะ คําเช่ือมบอกลักษณะใชนําหนาคําคุณศัพท หรือคํานามท่ีบอก

ลักษณะของคํากริยา ไดแก คําวา “ดวย” และ “โดย” เชน ตัวอยางท่ี 1 “............ท่ีหนาน้ันพระอรรถาจารยบมิไดกําหนดไว เพราะเหตุวา กําหนดโดยหนาน้ัน สําเร็จดวยกําหนดโดยสูง ภูเขาท้ัง 7 ช้ันน้ัน..........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 114)

Page 28: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 64

ตัวอยางท่ี 2 “......สมณอันมิไดกระทําสมณธรรม ฉันแลวก็นอน ไมเมตตาภาวนาของเขาใหดวยศรัทธา.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 109)

ตัวอยางแรก และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกลักษณะ คือ “โดย” และ “ดวย” ตามหลังคํากริยาและนําหนาคําคุณศัพทและคํานามเพื่อบอกลักษณะของกริยาเหลาน้ัน คือ ตัวอยางแรกใชคําคุณศัพทคือ “หนา” บอกลักษณะการกําหนดหรือวัดขนาดของภูเขาวาใชความหนาเปนตัวกําหนด สวนตัวอยางท่ี 2 ใชนําหนาคํานามคือ “ศรัทธา” บอกลักษณะการใหวามีลักษณะทําไปดวยความศรัทธา

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกลักษณะเพื่อขยายคํากริยาใหมีความชัดเจนข้ึนวา ประธานทํากริยาเหลาน้ันในลักษณะเชนไร ซึ่งจะทําใหเน้ือเร่ืองชัดเจนมากย่ิงข้ึน

13. คําเช่ือมบอกเจาของ คําเช่ือมประเภทน้ีจะใชนําหนาคํานามท่ีเปนเจาของของสิ่งน้ันๆ

ไดแก คําวา “แหง” และ “เปนของ” เชน ตัวอยางท่ี 1 “...........แลเขาท่ีลอมพระเมรุราชอยูช้ัน 6 มีนามปรากฏช่ือวาวินันตกะน้ัน ดวยอรรถวาเปนท่ีอยูแหงมารดาพระยาครุฑ นัยหน่ึงวาตระพังศิลาท่ีกวาง ๆ เหมือน.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 111)

Page 29: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 65

ตัวอยางท่ี 2 “............หาเทพยดาจะอยูบมิได เทพยดาอันเปนของตนไมน้ันจุติไปแลว..........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 5)

ตัวอยางแรกใชคําเช่ือมบอกเจาของคือ “แหง” เพื่อช้ีวาภูเขาวินันตกะน้ันเปนท่ีอยูของแมพญาครุฑ สวนตัวอยางท่ีสองใชคําเช่ือมบอกเจาของคือ “เปนของ” เพื่อช้ีวาเจาของตนไมคือ เทพยดา

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกเจาของเพื่อจําเพาะเจาะจงวาสิ่งตางๆท่ีกลาวถึงน้ันมีความสัมพันธหรือเก่ียวของกับสิ่งอ่ืนในเร่ืองอยางไร นอกจากน้ียังเปนการใหรายละเอียดเก่ียวกับเน้ือเร่ืองกับผูอานทําใหผูอานเขาใจเน้ือหาไดอยางชัดเจน

14. คําเช่ือมบอกจุดมุงหมาย คําเช่ือมบอกจุดมุงหมายใชนําหนาประโยคท่ีเปนจุดมุงหมายของ

กริยาของประธาน ไดแกคําวา “เพื่อ” เชน ตัวอยางท่ี 1 “.........เม่ือพิจารณาละเอียดเขาดังน้ียังเปนท่ีสนเทหสงสัยอยูฉะน้ี เหตุดังน้ัน พระคันถรจนาจารยผูตกแตงคัมภีรโลกสัณฐานปรารถนาเพ่ือแกสนเทหสงสัย จึง......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ก: 113)

Page 30: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 66

ตัวอยางท่ี 2 “.......กรรมท่ีตัวเลี้ยงสัตวไว ปรนปรือใหเกิดล่ําเน้ือเพื่อจะใหกินมีรสน้ัน........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 104)

ตัวอยางท่ี 1 และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกจุดมุงหมายคือ “เพื่อ” นําหนาประโยคท่ีเปนจุดมุงหมายของกริยาของประธาน คือ ตัวอยางท่ี 1 ช้ีวาประธานคือ พระคันถรจารย ซึ่งปรารถนามุงแกขอสนเทหสงสัย สวนตัวอยางท่ี 2 ช้ีวาประธานคือ สัตวโลก ซึ่งเลี้ยงสัตวไวมุงใหตนรับประทานอยางมีรสชาต ิ

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชคําเช่ือมบอกจุดมุงหมายเพื่อช้ีใหเห็นถึงความมุงหมายของกริยาท่ีประธานทํา ซึ่งนอกจากจะทําใหผูอานทราบความมุงหมายของประธานในเน้ือเร่ืองแลว ยังทําใหผูอานเช่ือถือเน้ือเร่ืองมากข้ึนดวย เพราะการกระทําท่ีเกิดข้ึนภายในเน้ือเร่ืองยอมทําไปอยางมีจุดมุงหมาย

15. คําเช่ือมแสดงตัวอยาง คําเช่ือมประเภทน้ีใชนําหนาหรือตามหลังตัวอยาง ไดแก คําวา

“มีตนวา” “ไดแก” “เปนตนวา” และ “เปนอาทิ” เชน ตัวอยางท่ี 1 “.. . . . . . . .บุคคลท่ีเผาโพรงสัตว ใหสัตวดิรัจฉานมีตนวาหนูแล งูเหลือม.........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 108)

Page 31: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 67

ตัวอยางท่ี 2 “............ไดทรงพระกรุณาโปรดเถิด จงสําแดงพระองคอันประดับดวยทวัตติงสมหาปุริลักษณะอันประเสริฐ ใหปรากฏแกฝูงเทพนิกร อินทร พรหมเปนอาทิ...............”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 12)

ตัวอยางแรก และตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมแสดงตัวอยางคือ “มีตนวา” และ “เปนอาทิ” โดยคําเช่ือมแสดงตัวอยางของตัวอยางแรกจะนําหนาคํานามท่ีเปนตัวอยาง และตามหลังคํานามท่ีตองการขยาย คือ ผูเขียนตองการอธิบายคําวา “สัตวดิรัจฉาน” โดยใชตัวอยางของสัตวมาอธิบายใหผูอานเห็นภาพวา สัตวชนิดใดบางท่ีเปนสัตว เดรัจฉาน สวนคําเช่ือมแสดงตัวอยางในตัวอยางท่ี 2 จะใชตามหลังคํานามท่ีเปนตัวอยาง ซึ่ง เปนการใหรายละเอียดกับผูอานวา บุคคลใดบาง ท่ีพระพุทธเจาจะแสดงลักษณะอันประเสริฐของพระองค

คํ า เ ช่ือมแสดงตั วอยาง ใน ไตรภู มิ โลกวิ นิจฉั ยใช เพื่ อ ใหรายละเอียดเก่ียวกับคํานามท่ีกลาวถึงใหชัดเจนมากย่ิงข้ึน คํานามท่ีนํามาเปนตัวอยางอาจเปนคํานามท่ีอยูในประเภทเดียวกัน หรือมีลักษณะบางอยางรวมกันกับคํานามท่ีตองการอธิบาย ซึ่งจะทําใหผูอานเขาใจเน้ือหามากย่ิงข้ึน

16. คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวม คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวมจะใชนําหนาคํานามท่ีเปนผูมีสวนรวมใน

การกระทําของประธาน ซึ่งบางคร้ังเปนสิ่งของ บางคร้ังเปนบุคคล ไดแกคําวา “กับ” เชน

Page 32: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 68

ตัวอยางท่ี 1 “...........ยมบาลท้ังหลายมัดดวยพวนเหล็กผูกขึงลงไวกับแผนดินเหล็กอันรุงเรืองเปนเปลวเพลิง.......”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ข: 105-106) ตัวอยางท่ี ๒ “...........ขาพเจาประเสริฐในโลกไมมีผูจะเทียมสอง พระองคกับขาพเจาจะไดลองฤทธ์ิกันในเพลาวา ใครจะดีกวากัน...........”

(พระยาธรรมปรีชา (แกว), 2520ค: 8)

ตัวอยางแรกและตัวอยางท่ี 2 ใชคําเช่ือมบอกผูมีสวนรวมคือ “กับ” โดยตัวอยางแรกผูมีสวนรวมคือ แผนดินเหล็กท่ีลุกดวยเปลวไฟ และช้ีวาท้ังพวนเหล็กและแผนดินเหล็กท่ีลุกดวยเปลวไฟน้ันตางก็มีสวนรวมในการทําโทษคนท่ีชดใชกรรมในนรก สวนตัวอยางท่ี ๒ ผูมีสวนรวมคือ ขาพเจา และช้ีวาท้ังพระองคและขาพเจาตางก็มีสวนรวมในการประลองฤทธ์ิ

คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวมในไตรภูมิโลกวินิจฉัยใชเพื่อช้ีวา ใครทําอะไรรวมกับใครบาง หรือทําสิ่งใดรวมกันบาง ซึ่งเปนวิ ธีการใหรายละเอียดกับเน้ือเร่ืองทําใหผูอานเขาใจเน้ือเร่ืองมากย่ิงข้ึน สรุป

ไตรภูมิโลกวินิจฉัยปรากฏประเภทของคําเช่ือม 16 ประเภท คือ คําเช่ือมบอกเวลา คําเช่ือมบอกเหตุ คําเช่ือมบอกผล คําเช่ือมบอกความขัดแยง คําเช่ือมบอกความคลอยตาม คําเช่ือมบอกความใหเลือกเอา

Page 33: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 69

คําเช่ือมบอกเน้ือความ คําเช่ือมบอกแหลง คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบ คําเช่ือมบอกการจํากัด คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ คําเช่ือมบอกลักษณะ คําเช่ือมบอกเจาของ คําเช่ือมบอกจุดมุงหมาย คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวม และคําเช่ือมแสดงตัวอยาง ซึ่งคําเช่ือมแตละประเภทก็มีลักษณะการใชแตกตางกันไป ดังน้ี

1. คําเช่ือมบอกเวลา ใชนําหนาคํานามหรือประโยคท่ีบอกเวลา โดยปรากฏลักษณะการใช 3 ลักษณะ คือ 1.1 คําเช่ือมบอกเวลากอน ใชนําหนาคํานามหรือประโยคท่ีเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนกอนหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอนอีกสิ่งหน่ึงหรืออีกเหตุการณหน่ึง ไดแก “เม่ือ” “แต” “คร้ัน” และ “แลว” 1.2 คําเ ช่ือมบอกเวลาภายหลัง ใช นําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนภายหลัง ไดแก “แลวก็” “ก็” “แลว” และ “คร้ันแลวก็” 1.3 คําเช่ือมบอกเวลาเดียวกันใชนําหนาประโยคท่ีเปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนเวลาเดียวกันกับเหตุการณท่ีกลาวถึงมาแลวขางหนา ไดแก “ในขณะเม่ือ” และ “ขณะน้ัน”

2. คําเช่ือมบอกเหตุ ใชนําหนาประโยคท่ีแสดงเหตุ ปรากฏ 2 ลักษณะ คือ 2.1 คําเช่ือมบอกเหตุท่ีเกิดผลตามมา ใชนําหนาประโยคท่ีบอกเหตุ สวนอีกประโยคหน่ึงเปนประโยคท่ีบอกผลของประโยคท่ีบอกเหตุขางหนา นอกจากน้ีคําเช่ือมบอกเหตุประเภทน้ียังสามารถแทนท่ีประโยคท่ีเปนเหตุท่ีไดกลาวถึงมาแลวในประโยค

Page 34: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 70

ขางหนาไดอีกดวย ไดแก “เพราะเหตุ” “เหตุฉะน้ี” “เหตุดังน้ัน” และ “เพราะเหตุวา” 2.2 คําเช่ือมบอกเหตุท่ีแสดงเงื่อนไขใชนําหนาประโยคท่ีบอกเหตุ สวนอีกประโยคหน่ึงจะเปนประโยคบอกผลท่ีตองเกิดจากสาเหตุขางหนาเทาน้ัน ไดแก “ถา” “ถา......ก็” และ “ตอเม่ือใด”

3. คําเช่ือมบอกผลใชนําหนาประโยคท่ีแสดงผล ซึ่งเปนประโยคท่ีตามหลังประโยคบอกเหตุ ไดแก “จึง”

4. คําเช่ือมบอกความขัดแยงใชเช่ือมประโยค 2 ประโยคเขาดวยกัน ซึ่งท้ังสองประโยคท่ีมาเช่ือมกันน้ันมีเน้ือความขัดแยงกัน ไดแก “แตทวา” “แต” และ “มาตรแมวา........ก็......”

5. คําเช่ือมบอกความคลอยตามใชนําหนาคํานาม หรือประโยค 2 ประโยคท่ีบอกเน้ือความเปนไปในทํานองเดียวกัน ไดแก “แล” “ก็” “และ” และ “ใชแตเทาน้ัน”

6. คําเช่ือมบอกความใหเลือกเอาใชเช่ือมประโยค 2 ประโยคเขาดวยกัน โดยจะใชในประโยคคําถาม ไดแก “หรือ”

7. คําเช่ือมบอกเน้ือความใชนําหนาเน้ือความซึ่งอาจเปนคํานาม หรือประโยคท่ีผูเขียนตองการสื่อไปยังผูอาน หรือประโยคท่ีตัวละครภายในเน้ือเร่ืองกลาวเน้ือความน้ันๆ ไดแก “วา”

8. คําเช่ือมบอกแหลงใชนําหนาคํานาม หรือประโยคท่ีบอกแหลงของสิ่งตางๆ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 8.1 คําเช่ือมบอกแหลงท่ีมีสิ่งตางๆ ใชหนาคํานาม หรือประโยคท่ีบอกแหลง แตในบางคร้ังอาจใชหลังคํานาม หรือประโยคท่ีบอกแหลง ไดแก “ในทามกลาง” “ในระหวาง” “ใน” “เหนือ”

Page 35: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 71

“ช้ันใน” “ช้ันนอก” “หนา” “หลัง” “ใกล” “ภายใต” และ “เบ้ืองบน” 8.2 คําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ ใชนําหนาคํานามท่ีเปนตนกําเนิด หรือท่ีมาของสิ่งน้ันๆ ปรากฏคําเช่ือมไดแก “แต” “จาก” และ “โดย” 8.3 คําเช่ือมบอกจุดมุงหมายของสิ่งตางๆใชตามหลังคํากริยาและนําหนาคํานามท่ีเปนจุดมุงหมายของกริยาน้ันๆ ไดแก “สู” “แก” “ถึง” และ “ตอ”

9. คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบใชนําหนา หรือตามหลังคํานามหรือ ประโยคท่ีใชเปรียบเทียบโดยนําสิ่งท่ีผูอานไมเคยพบเห็นในชีวิตประจําวัน หรือสิ่งท่ีเปนนามธรรมมาเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีผูอานในสมัยน้ันคุนเคย หรือประโยคท่ีใหภาพเปนรูปธรรม ไดแก “เหมือน” “เปรียบประดุจ” “ประดุจดัง” “เหมือนกัน” “ดัง” “เทากัน” “ดุจ” “เทา” “เสมอ” “เปรียบปาน” “กวา” และ “ประหน่ึงวา”

10. คําเช่ือมบอกการจํากัดใชจํากัดความหมายของคํานามและคํากริยา โดยใชตามหลังคํานามตองการขยายและนําหนาประโยคท่ีนํามาขยาย ไดแก “ท่ี” “ซึ่ง” และ “อัน”

11. คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือใชนําหนาคํานามท่ีใชเปนเคร่ืองมือในการกระทํากริยาใดกริยาหน่ึงของประธานในเน้ือเร่ือง ไดแก “ดวย” และ “โดย”

12. คําเช่ือมบอกลักษณะใชนําหนาคําคุณศัพท หรือคํานามท่ีบอก ลักษณะของคํากริยา ไดแก “ดวย” และ “โดย”

Page 36: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 72

13. คําเช่ือมบอกเจาของใชนําหนาคํานามท่ีเปนเจาของของสิ่งน้ันๆ ไดแก “แหง” และ “เปนของ” 14. คําเช่ือมบอกจุดมุงหมายใชนําหนาประโยคท่ีเปนจุดมุงหมาย

ของกริยาของประธาน ไดแก “เพือ่” 15. คําเช่ือมบอกผูมีสวนรวมใชนําหนาคํานามท่ีเปนผูมีสวนรวมใน

การกระทําของประธาน ซึ่งบางคร้ังเปนสิ่งของ บางคร้ังเปนบุคคล ไดแก “กับ”

16. คําเช่ือมแสดงตัวอยางใชนําหนาหรือตามหลังตัวอยาง ไดแก “มีตนวา” “ไดแก” “เปนตนวา” และ “เปนอาทิ” ลักษณะการใชคําเช่ือมประเภทตางๆ ในไตรภูมิโลกวินิจฉัยมี

ลักษณะการใชรวมกันบางประการ ซึ่งสามารถแบงออกเปน 3 ประเภทใหญ คือ คําเช่ือมประเภทแรกจะใชนําหนาคํานามหรือนําหนาประโยคท่ีนํามาขยาย คือ คําเช่ือมบอกเวลา คําเช่ือมบอกเหตุ คําเช่ือมบอกผล คําเช่ือมบอกเน้ือความ คําเช่ือมบอกแหลง คําเช่ือมบอกการเปรียบเทียบ คําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ คําเช่ือมบอกลักษณะ คําเช่ือมบอกเจาของ คําเช่ือมบอกจุดมุงหมาย และคําเช่ือมบอกผูมีสวนรวม สวนคําเช่ือมประเภทท่ี 2 คือประเภทท่ีใชเช่ือมประโยคสองประโยคเขาดวยกันคือ คําเช่ือมบอกความขัดแยง คําเช่ือมบอกความคลอยตาม และคําเช่ือมบอกความใหเลือกเอา และคําเช่ือมประเภทสุดทายเปนคําเช่ือมท่ีใชตามหลังคํานาม และนําหนาคําคุณศัพท คือ คําเช่ือมบอกตัวอยาง และคําเช่ือมบอกลักษณะตามลําดับ

Page 37: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 73

นอกจากลักษณะการใชคําเช่ือมดังกลาวแลว ยังปรากฏลักษณะการใชอีกแบบหน่ึงคือ คําเช่ือมในไตรภูมิโลกวินิฉัยบางคําใชเปนคําเช่ือมไดหลายประเภท เชน “แต” สามารถใชเปนคําเช่ือมบอกความขัดแยง คําเช่ือมบอกเวลากอน คําเช่ือมบอกเหตุท่ีเปนเงื่อนไข คําเช่ือมบอกแหลงเดิมของสิ่งตางๆ หรือ “ก็” สามารถใชเปนคําเช่ือมบอกความคลอยตาม และคําเช่ือมบอกเวลาภายหลัง หรือ “โดย” และ “ดวย” สามารถใชเปนคําเช่ือมบอกเคร่ืองมือ และคําเช่ือมบอกลักษณะ เปนตน เหตุท่ีทําใหเกิดลักษณะดังกลาวคือ คําเช่ือมเหลาน้ันมีหลายความหมาย ซึ่งความหมายของคําเช่ือมจะข้ึนอยูกับบริบทรอบขางท่ีมาประกอบ ดังน้ันคําเช่ือมจะเปนประเภทใดจะตองพิจารณาบริบทรอบขางดวยจึงจะสามารถแยกแยะคําเช่ือมออกเปนประเภทตางๆ ไดอยางถูกตอง

การใชคําเ ช่ือมประเภทตางๆ ในไตรภูมิโลกวิ นิจฉัยน้ันมีความสําคัญตอเน้ือเร่ืองเปนอยางมาก ซึ่งสามารถสรุปได ดังน้ี

1. คําเช่ือมประเภทตางๆ ในไตรภูมิโลกวินิจฉัยสามารถทําใหผูอานเขาใจเน้ือหาไดอยางชัดเจน เน่ืองจากผูเขียนใหรายละเอียดในแตละตอนของเร่ืองเปนอยางดี และทําใหผูอานไมสับสนกับเร่ืองราวท่ีซับซอน

2. คําเ ช่ือมประเภทตางๆ ในไตรภูมิโลกวิ นิจฉัยทําให เน้ือหานาเช่ือถือ เน่ืองจากมีความเปนเหตุเปนผล ซึ่งจะสามารถโนมนาวให ผูอานปฏิบัติตามได กลาวคือ คําเ ช่ือมทําให ผูอานตระหนักวา ทุกอยางท่ีเกิดข้ึนมีเหตุท่ีทําใหเกิด ผลท่ีไดรับมามาจากการกระทํา และการกระทําภายในเร่ืองทุกอยางยอมทําไปอยางมีความหมาย

Page 38: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

การศึกษาวิเคราะหการใชคําเชื่อม : ไตรภูมิโลกวินิจฉัย หนา 74

3. คําเช่ือมประเภทตางๆ ในไตรภูมิโลกวินิจฉัยสามารถสรางจินตนาการและอารมณรวมใหกับผูอานไดทําใหผูอานเพลิดเพลินไปกับเน้ือเร่ือง และติดตามเร่ืองราวเหลาน้ันจนจบ การศึกษาวิเคราะหการใชคําเช่ือมในไตรภูมิโลกวินิจฉัยนอกจาก

จะทําใหเราเห็นลักษณะการใชคําเช่ือมในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนแลว ยังทําใหเราเห็นบทบาทสําคัญของคําเช่ือมท่ีมีตอเน้ือเร่ืองอีกดวย

บรรณานุกรม กตัญู ชูช่ืน. (2543). ความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ:

โอเดียนสโตร. ธรรมปรีชา (แกว), พระยา. (2520). ไตรภูมิโลกวินิฉัยกถา ฉบับท่ี ๑–๓.

กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. นววรรณ พันธุเมธา. (2525). ไวยากรณไทย. (พิมพคร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ:

หางหุนสวนจํากัด รุงเรือง สาสนการพิมพ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2526). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.

2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคช่ันส.

Page 39: การศึกษาวิเคราะห การใช คําเชื่อม: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย · พระยาอุปกิตศิลปสาร

วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 6 ฉบับที่ 10 หนา 75

สมทรง บุรุษพัฒน. (2535). วากยสัมพันธ (Syntax). นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.

อุทัย ไชยานนท. (2546). วรรณกรรมกรุงรัตนโกสินทร สมันร.๑-๒-๓. (พิมพคร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: นํ้าฝน.

อุปกิตศิลปะสาร(น่ิม), พระยา. (2507). หลักภาษาไทย (อักขรวิธ ีวจีวิภาค วากยสัมพันธฉันทลักษณ). พระนคร: ไทยวัฒนพาณิช.

เอกรัตน อุดมพร. (2544). วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: พัฒนศึกษา.