สรุปข้อมูลการด...

16
1 สรุปข้อมูลการดาเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจาปีงบประมาณ 2559 นางสาว สุวิชรินทร์ สฤษฏ์กุล เภสัชกร จากการประชุมองค์กรแพทย์ ได้มีการพิจารณามูลค่าการใช้ยาในโรงพยาบาลสอยดาว โดยใช้ข้อมูล จากโปรแกรม HosXP ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นมา ซึ่งที่ประชุมมีมติให้กาหนดเกณฑ์การสั่งใช้และ ติดตามปริมาณมูลค่าการใช้ยาตามรายการดังตารางต่อไปนีรายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มติเมื่อวันที26 มกราคม 2559 Berodual MDI ให้จ่ายเฉพาะ COPD งดจ่ายใน Asthma ยอดการใช้ยาดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 8.12 % จากปีงบประมาณ 2558 ยังคงไว้มติเดิม Augmentin 625 mg ในแผลสุนัขกัดให้เลือกใช้ Amoxicillin ก่อน ในรายที่จาเป็นให้เลือกใช้เป็น Augmentin 625 mg + Amoxicillin 500 mg วันละ 2 ครั้งแทนการใชAugmentin 625 mg วันละ 3 ครั้ง ยอดการใช้ยามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 4.61% จากปีงบประมาณ 2558 1. ใช้ Augmentin 625 mg 1 tab+ Amoxicillin 500 mg tab q 12 hr แทน Augmentin 625 mg1*3 pc 2. ข้อบ่งใช้ แผลเบาหวาน แผลติดเชื้อ มาก แผลคนกัด ไม่ใช้ในแผลสัตว์กัด ทั่วไป Seretide evohaler อาจพิจารณายา local made โดยให้ ใช้ใน case COPD stage 3 ขึ้นไปทั้ง ในผู้ป่วยที่สูบและไม่สูบบุหรีและใช้ ใน case asthma ที่เข้าเกณฑ์ uncontrolled จ่ายได้เฉพาะ IPD และใน clinic asthma/COPD เท่านั้น งดจ่ายใน case OPD ทั่วไป ยอดการใช้ยามีแนวโน้มลดลง 5.20 % จากปีงบประมาณ 2558 และราคาถูกลง เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ local made อีก ทั้งไม่มี complain จากผู้ป่วยในด้าน ประสิทธิภาพและ side effect ยังคงใช้ มติเดิม (COPD เนื่องจากผู้ป่วยที่มารับ บริการเป็น stage3 ขึ้นไปโดยใช้ทั้งใน ผู้ป่วยสูบและไม่สูบบุหรี่ในcase asthma ขอให้ใช้ใน selected case ที่เข้าเกณฑ์ uncontrolled งดจ่ายใน OPD ทั่วไป จ่ายเฉพาะIPD และ clinic asthma/COPD) มติเพิ่มเติมสาหรับผู้ป่วย COPD ที่ยังสูบ บุหรี่ จะเปลี่ยนจาก Seretide evohaler รายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มติเมื่อวันที26 มกราคม 2559 Seretide evohaler (ต่อ) ให้ Budesonide MDI แทน -เพิ่มกระบวน rehabilitation โดยปรับ เวลากับกายภาพอีกครั้ง -มีการเยี่ยมบ้าน พูดคุยเรื่อง

Transcript of สรุปข้อมูลการด...

Page 1: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

1

สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ าปีงบประมาณ 2559 นางสาว สุวิชรินทร ์สฤษฏ์กุล เภสัชกร

จากการประชุมองค์กรแพทย์ ได้มีการพิจารณามูลค่าการใช้ยาในโรงพยาบาลสอยดาว โดยใช้ข้อมูลจากโปรแกรม HosXP ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นมา ซึ่งที่ประชุมมีมติให้ก าหนดเกณฑ์การสั่งใช้และติดตามปริมาณมูลค่าการใช้ยาตามรายการดังตารางต่อไปนี ้

รายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มตเิมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559

Berodual MDI ให้จ่ายเฉพาะ COPD งดจ่ายใน Asthma

ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 8.12 % จากปีงบประมาณ 2558 ยังคงไว้มติเดิม

Augmentin 625 mg ในแผลสุนัขกัดให้เลือกใช้ Amoxicillin ก่อน ในรายที่จ าเป็นให้เลือกใช้เป็น Augmentin 625 mg + Amoxicillin 500 mg วันละ 2 ครั้งแทนการใช้ Augmentin 625 mg วันละ 3 ครั้ง

ยอดการใช้ยามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 4.61% จากปีงบประมาณ 2558 1. ใช้ Augmentin 625 mg 1 tab+ Amoxicillin 500 mg tab q 12 hr แทน Augmentin 625 mg1*3 pc 2. ข้อบ่งใช้ แผลเบาหวาน แผลติดเชื้อมาก แผลคนกัด ไม่ใชใ้นแผลสัตว์กัดทั่วไป

Seretide evohaler อาจพจิารณายา local made โดยให้ใช้ใน case COPD stage 3 ขึ้นไปทั้งในผู้ป่วยที่สูบและไม่สูบบุหรี่ และใช้ใน case asthma ที่เข้าเกณฑ์ uncontrolled จ่ายได้เฉพาะ IPD และใน clinic asthma/COPD เท่านั้น งดจ่ายใน case OPD ทัว่ไป

ยอดการใช้ยามีแนวโน้มลดลง 5.20 % จากปีงบประมาณ 2558 และราคาถูกลงเน่ืองจากเปลี่ยนมาใช้ local made อีกทั้งไม่มี complain จากผู้ป่วยในด้านประสิทธิภาพและ side effect ยังคงใช้มติเดิม (COPD เน่ืองจากผู้ป่วยที่มารับบริการเป็น stage3 ขึ้นไปโดยใช้ทั้งในผู้ป่วยสูบและไม่สูบบุหรี่ในcase asthma ขอให้ใช้ใน selected case ที่เข้าเกณฑ์uncontrolled งดจ่ายใน OPD ทั่วไปจ่ายเฉพาะIPD และ clinic asthma/COPD) มติเพิ่มเติมส าหรับผู้ป่วย COPD ที่ยังสูบบุหรี่ จะเปลี่ยนจาก Seretide evohaler

รายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มตเิมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559 Seretide evohaler (ต่อ)

ให้ Budesonide MDI แทน -เพิ่มกระบวน rehabilitation โดยปรับเวลากับกายภาพอีกครั้ง -มีการเยี่ยมบ้าน พูดคุยเรื่อง

Page 2: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

2

สภาพแวดล้อมภายในทอ้งถิ่น -ยารว่มโรงพยาบาลพระปกเกล้า ท า specification non alcoholจะได้ Seretide evohalerที่เป็น original ซึ่งจะเพิ่มเงินในการซื้ออีกประมาณ 1.4แสนบาท

Omeprazole 20 mg มีมติให้งดใช ้prophylaxis ในผู้ป่วยที่ได้รับ Aspirin 81 mg

ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 30.40 % จากปี 2558 มติให้งดprophylaxisในรายทีใ่ช้ aspirin 81mg ใช้ตามข้อบ่งใช ้มติเพิ่มเติม -ให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีอายุ 65 ปีข้ึนไป -ผู้ป่วยที่มีประวัต ิGI bleeding

Theophylline SR 200 mg

มีมติให้ใช้ low dose โดยต้องการฤทธิ์ anti-inflammation ใน COPD และใช้ใน asthma กรณีหยุดใช้controller

ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 7 % จากป2ี558 มติใช ้low dose ½ tab 1*hs หรือ ½ *2 ใช้ฤทธิ์ antiinflamation ใน COPD มีการใช้อยู่ตามมติเดิม

Tolperisone 50 mg มีมติลดปริมาณการใช้เน่ืองจากเป็นยา NED และขอให้เป็นทางเลือกของผู้ป่วยที่ใช้ยากลุ่ม NSAIDs ไม่ได ้

ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มลดลง 20.87% จากปีงบประมาณ 2558 เป็นยา NED จะลดจ านวนการใช้ลงเนื่องจากจะลดการจา่ย Paracetamol ลง เพราะผู้ป่วยไม่ชอบใช้ แพทย์เสนอให้ใช้ Norgesic® (Paracetamol 500 mg+ Orphenadrine 35 mg) เป็นยา NED เหมือนกันหากจ่าย Norgesic® ผู้ป่วยจะพึงพอใจมากขึ้นและสามารถลดจ านวนการจ่าย Paracetamol 500

รายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มตเิมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559 mg ลงได้ Salbutamol MDI ปริมาณการใช้ควรลดลง หากมีการใช้

intranasal steroid ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 8.44% จากปีงบประมาณ 2558 ยังต้องติดตามการใช ้

Fluticasone furoate nasal spray

-น าเข้ากรอบโรงพยาบาล ให้ใช้ใน case uncontrolled allergic rhinitis impact on asthma โดยให้จ่ายเฉพาะในคลินิคasthma/COPD ในผู้ป่วย asthma ที่มี allergic rhinitis

ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มลดลง 12.82% จากปีงบประมาณ 2558 ใช้ในกรณี Asthma ร่วมกับ Allergic rhinitis หรือ Allergic rhinitis ที่คุมอาการไม่ได ้มติเพิ่มเติม

Page 3: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

3

เท่านั้น และให้ปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกันในผู้ป่วยทุกสิทธริวมถึงเจา้หน้าที่ในโรงพยาบาล

-กรณีเจา้หน้าที่เบิกได้หรอืข้าราชการที่เป็น Allergic rhinitis สามารถจา่ย Fluticasone furoate 27.5 mcg/spray เป็น OPD case ได ้-กรณีผู้ป่วยใช้ยาไม่ถูกตอ้ง 1. สอนพ่นยารายใหม่ 2. มีการประเมนิซ้ า 3. ประเมินซ้ าทุก 6 เดือน

Budesonide MDI - ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 3.31% จากปีงบประมาณ 2558 ยังคงไว้มติเดิม

Amoxicillin 500 mg - ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 8.70% จากปีงบประมาณ 2558 มีปริมาณใช้เพิ่มขึ้นจากปทีี่แล้ว แต่ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดอตัราการใช ้antibiotic ใน URI ที่ลดลงจาก34.02% เป็น33.88% มติเพิ่มเติม -ให้แพทย์และพยาบาลหอ้งอุบัติเหตุและฉุกเฉินสั่งจ่ายยาตามเกณฑ์ ASU-โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน โดยฝ่ายเภสัชกรรมเอาเกณฑต์ิดที่ห้องตรวจแพทย์และห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

รายการยา มติเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 มติเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559 Dicloxacillin 250 mg - ยอดการใช้ยาดังกลา่วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

1.52% จากป2ี558 มติเพิ่มเติม -ให้แพทย์และพยาบาลหอ้งอุบัติเหตุและฉุกเฉินสั่งจ่ายยาตามเกณฑ์ ASU-แผลเลือดออกโดยฝ่ายเภสัชกรรมเอาเกณฑ์ติดที่ห้องตรวจแพทย์และห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

ในปีงบประมาณ 2559 ได้การด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยาที่มีมติเฝ้าระวังและติดตาม ต่อเน่ืองจากปี 2557-2559 ได้ข้อมูลดังนี ้ 1. ยามูลค่าสูง

Page 4: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

4

-

50,000.00

100,000.00

150,000.00

200,000.00

250,000.00

2556 2557 2558 2559

มูลค่าการเบิก-จ่ายยาจากคลังแต่ละปีงบประมาณ

amoxicillin 500 mg augmentin 625 mg omeprazole 20 mg theophylline 200 mg tolperisone 50 mg

จากกราฟแสดงมูลค่าการเบิก-จ่ายยาจากคลังประจ าปีงบประมาณ 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2558 โดยมีมูลค่าการเบิก-จ่าย Amoxicillin 500 mg เพิ่มมากที่สุด

จากกราฟแสดงจ านวนการเบิก -จ่ายยาจากคลังประจ าปีงบประมาณ 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2558 โดยมีจ านวนการเบิก-จ่ายยา Omeprazole 20 mg เพิ่มมากที่สุด

0

500

1000

1500

2000

2500

3000

2556 2557 2558 2559

จ านวนการเบิก-จ่ายยาจากคลังแต่ละปีงบประมาณ

amox500t augmentin12t omeprazole100t theophylline100t tolperisone1000t

Page 5: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

5

0,000

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

14,000

16,000

18,000

20,000

ต.ค.-58 พ.ย.-58 ธ.ค.-58 ม.ค.-59 ก.พ.-59 มี.ค.-59 เม.ย.-59 พ.ค.-59 มิ.ย.-59 ก.ค.-59 ส.ค.-59 ก.ย.-59

จ านว

น (เม

็ด)ปริมาณการส่ังยาเม็ดผ่าน HosXp ประจ าปีงบประมาณ 2559

Amoxicillin 500 mg

Augmentin 625 mg

Dicloxacillin 250 mg

Omeprazole 20 mg

Theophylline 200 mg

Tolperisone 50 mg

Page 6: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

6

จากกราฟแสดงปริมาณการสั่งยาเม็ดผา่น HosXp พบว่า 1. Omeprazole 20 mg มีแนวโน้มการใช้เพิ่มขึน้อย่างต่อเน่ือง เนื่องจากในปีงบประมาณ 2558 มติให้งดprophylaxisในรายที่ใช้ aspirin 81mg โดยใช้ตามข้อบ่งใช ้แต่มีมตเิพิ่มเติม ใหใ้ช้ในผู้ป่วยทีม่ีอายุ 65 ปีขึ้นไป และผู้ป่วยที่มีประวัติ GI bleeding 2. Tolperisone 50 mg มีแนวโน้มการใช้ลดลงในตอนแรกและในช่วงปลายปีงบประมาณมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากแพทย์มีการสั่งใช้รว่มกับ Paracetamol NSAIDs ทั้งในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการปวดแบบเฉียบพลันและปวดแบบเรื้อรัง(ผู้ป่วยกายภาพ) 3. Thepohylline 200 mg มีแนวโน้มการใช้เพิม่ข้ึนไม่มากนัก จึงยังให้คงตามมติเดิม 4. Augmentin 625 mg มีแนวโน้มการใช้ลดลงในปี 59 โดยแพทย์ได้มีการสั่งใช ้Augmentin 625 mg 1 tab+ Amoxicillin 500 mg tab q 12 hr ใน Sinusitis, Otitis media และแผลเบาหวาน แผลติดเชื้อมาก แผลคนกัด ไม่ใชใ้นแผลสัตว์กัดทั่วไปเพิ่มมากขึ้นแทน Augmentin 625 mg 1*3 pc 5. Dicloxacillin 250 mg มีแนวโน้มการใช้เพิม่ข้ึนไม่มากนัก จึงยังให้คงตามมติเดิม โดยให้แพทย์และพยาบาลห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินสั่งจ่ายยาตามเกณฑ์ ASU-แผลเลือดออกโดยฝา่ยเภสัชกรรมเอาเกณฑ์ติดที่ห้องตรวจแพทย์และห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 6. Amoxicillin 500 mg จะขอกล่าวในความเหมาะสมในการใช้ยาปฏิชีวนะต่อไป 2. ยาราคาแพง

Page 7: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

7

จากกราฟแสดงมูลค่าการเบิก-จ่ายจากคลังประจ าปีงบประมาณ 2559 พบว่า 1. Seretide มีแนวโน้มมูลค่าลดลง เน่ืองจากราคายาในปีงบประมาณ 2558 ลดลงจาก 460.10บาท/หลอด เป็น 310.06บาท/หลอด ถึงแม้ยอดการเบิก-จ่ายจากคลังในปีงบประมาณ 2559 จะเพิ่มเป็น 1,619.00 หลอดจากเดิมในปีงบประมาณ 2558 จ านวน 1539 หลอด

2. Berodual มีแนวโน้มมูลค่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากยอดการเบิก-จ่ายจากคลังในปีงบประมาณ 2559 เพิ่มขึ้นเป็น 1677 หลอด จากเดิมในปีงบประมาณ 2558 จ านวน 1551 หลอด อีกทั้งราคายาที่เพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2559 ราคา 179.95บาท/หลอด เป็น 189.39 บาท/หลอด ในปีงบประมาณ 2558 3. Budesonide มีแนวโน้มมูลค่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากยอดการเบิก-จ่ายจากคลังในปีงบประมาณ 2559 เพิ่มขึ้นเป็น 2,058 หลอด จากเดิมในปีงบประมาณ 2558 จ านวน 1992 หลอด ถึงแม้ราคายาจะถูกลงโดยปีงบประมาณ 2558 จาก 105.20บาท/หลอด เป็น 96.64บาท/หลอดในปีงบประมาณ 2559 4. Salbutamol มีแนวโน้มมูลค่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากยอดการเบิก-จ่ายจากคลังในปีงบประมาณ 2559 เพิ่มขึ้นเป็น 1644 หลอด จากเดิมในปีงบประมาณ 2558 จ านวน 1516 หลอด ถึงแม้ราคายาจะถูกลงในปีงบประมาณ 2558 จาก 41.45 บาท/หลอด เป็น 40.66 บาท/หลอด ในปีงบประมาณ 2559 5. Fluticasone NS มีแนวโน้มมูลค่าลดลง เนื่องจากยอดการเบิก-จ่ายจากคลังในปีงบประมาณ 2559 ลดลงเป็น 340 หลอด จากเดิมในปีงบประมาณ 2559 จ านวน 390 หลอด

-

100,000.00

200,000.00

300,000.00

400,000.00

500,000.00

600,000.00

700,000.00

800,000.00

2556 2557 2558 2559

มูลค่าการเบิก-จ่ายยาจากคลังแต่ละปีงบประมาณ

seretide berodual budesonide salbutamol fluticasone NS

Page 8: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

8

3. มูลค่าการใช้แยกตามกลุ่มยา

0

50

100

150

200

250

ต.ค.-58 พ.ย.-58 ธ.ค.-58 ม.ค.-59 ก.พ.-59 มี.ค.-59 เม.ย.-59 พ.ค.-59 มิ.ย.-59 ก.ค.-59 ส.ค.-59 ก.ย.-59

จ านว

น(อัน

)ปริมาณการสั่งใช้ยาพ่นผ่านHosXp

Berodual MDI

Budesonide MDI

Salbutamol MDI

Seretide MDI

Fluticasone nasal spray

Page 9: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

9

จากกราฟแสดงให้เห็นว่ามูลค่าการใช้แยกตามกลุ่มยาในปีงบประมาณ2559 ส่วนใหญ่มแีนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้

-

500,000.00

1,000,000.00

1,500,000.00

2,000,000.00

2,500,000.00

3,000,000.00

3,500,000.00

2556 2557 2558 2559

ยากลุ่มเบาหวาน ยากลุ่มโรคหัวใจ ความดัน ไขมัน ยากลุ่ม respiratory ยากลุ่มสารน้ า

ยากลุ่ม antibiotic ยากลุ่ม GI ยากลุ่ม Pain ยากลุ่ม จิตเวช

ยากลุ่ม CNS ยากลุ่มสมุนไพร ยาตา ยากลุ่มวิตามินเกลือแร่

ยากลุ่มไทรรอยด์ ยา OR ยา แผล ยา skin

Page 10: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

10

1. ยาในกลุ่มโรคหัวใจ ความดัน ไขมัน มีมูลค่าการใช้เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 16.54% -Amlodipine 5mg,Losartan50mg ,Enalapril5mgและ20mg มีมูลค่าการใช้เพิ่มสูงขึ้นเน่ืองจากผู้ป่วยโรคความดัน และผู้ป่วยCKD เพิ่มมากขึ้น -Carvedilol 6.25mgมีมูลค่าการใช้เพิ่มสูงขึ้นเน่ืองจากมีการใช้แทน Metroprololในผู้ป่วยHF รวมทั้งจ านวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้น -Simvastatin 10mg และ40mg มีมูลค่าการใช้เพิ่มสูงขึ้น เน่ืองจากมีมติ ให้จ่าย Simvastatin ทุกรายในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อายุ 40 ปีข้ึนไป และผู้ป่วย

โรคเรื้อรังอื่น ที่มี LDL-C > 190 mg/dLรวมทั้งผูป้่วยโรค Stroke ที่refer มาจากรพศ. -Clopidogrelมูลค่าการใช้ลดลงเนื่องจากมีมติ ให้หยุดยาหลังจากกลับรบัการรักษาที่ รพ.สอยดาวนับเวลาไปอีก 1 ปีในcaseNSTEMI แล PCI จาก รพศ.

2. ยากลุ่มrespiratory มีมูลค่าการใช้เพิ่มขึ้น 12.48% จากยา Seretide, Berodeol, Budesonide, Theophyline, FuticasoneและSalbutamol ตามล าดับ 3. ยาในกลุ่มAntibioticมีมูลค่าการใช้เพิ่มขึ้น 24.30% -Ceftriaxone มีมูลค่าการใช้เพิ่มขึ้นเน่ืองจากผู้ปว่ยที่เพิ่มมากขึ้น -Ceftazidiemมีมูลค่าการใช้เพิ่มขึ้น ขอกล่าวในหัวข้อยาท่ีเสี่ยงต่อการใช้ไม่เหมาะสมดื้อยาต่อไป

4. ยากลุ่มสารน้ า มีมูลคา่การใช้เพิ่มขึ้น18.87% เน่ืองจากจ านวนผู้ป่วยทีa่dmitเพิ่มมากขึ้น 5. ยาตามีมูลคา่การใช้เพิม่ข้ึน64.60%เน่ืองจากมีจักษุแพทย์มาประจ าที่โรงพยาบาล ท าให้จ านวนcaseผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น จึงมีการใช้ยาเพิ่มมากขึ้นตามล าดับ

Page 11: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

11

4. ยาที่เสี่ยงต่อการใช้ไม่เหมาะสมดื้อยาต่อไป

จากกราฟแสดงให้เห็นว่าจ านวนและมูลค่าการใช้ Ceftazidime ในปีงบประมาณ 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจาก มีการมีการใช้ยาจาก รพ. สอยดาวเองคิดเป็น 70.51 % โดยสังเกตพบว่าแพทย์สั่งใช้ในกรณี Bronchopneumonia, Lobar pneumonia เป็นส่วนใหญ ่ส่วนการรับ refer จาก รพศ. คิดเป็น 29.48%

0

1000

2000

3000

4000

2556 2557 2558 2559

จ านวนการใช้ Ceftazidime แต่ละปีงบประมาณ

-

10,000.00

20,000.00

30,000.00

40,000.00

50,000.00

60,000.00

70,000.00

2556 2557 2558 2559

มูลค่าการใช้ Ceftazidime แต่ละปีงบประมาณ

Page 12: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

12

5. การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในปีงบประมาณ 2559 การด าเนินงาน Antibiotic Smart Use ยังคงเป็นรูปแบบเดียวกับปี 2556-2558 ได้แก่การติดตามคุณภาพการสั่งใช้ยาและมูลค่าการใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 กลุ่มโรคเป้าหมายได้แก่ กลุ่มโรค URI และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โดยใช้เกณฑ์ประเมินจาก สปสช. แต่เนื่องจากโปรแกรม Electronic tool version 1.0 ไม่สามารถน าเข้าข้อมูลเพื่อน าไปประมวลผลได้ ในปี 2557 จึงปรับไปใช้ข้อมูลจากโปรแกรม HosXP แทน โดยทาง สปสช.ได้ก าหนดเกณฑ์การประเมินและให้คะแนนเป็น 4 ระดับ ดังนี้

Page 13: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

13

46.51%47.02%

43.64%

41.15%

44.50%45.41%

50.59% 49.55%

38.57%

45.02%

30.08%

32.56%32.85%30.26%

30.92%29.12%

25.74%

37.04%

24.10%

27.47%26.06%

31.66%

19.92%

35.10%

23.26%

32.30%

22.83%

36.05%

32.08%

43.20%41.31%

39.40%

29.76%27.78%

39.19%37.82%

21.62%

37.58%

26.89%24.55%

23.33%

19.28%20.51%

22.62% 22.92%

14.47%

21.82%

8.82%

18.60%

12.79%

13.89%14.71%19.18%

17.48%

27.27%30.56%

16.47%

29.03%

13.82%

16.67%

8.33%

15.15%12.50%

36.54%

22.08%

17.95%15.25%

29.27%

16.22%

13.04%

0.00%

10.00%

20.00%

30.00%

40.00%

50.00%

60.00%

สัดส่ว

นกราฟแสดงสัดส่วนของใบสั่งยาที่สั่งใช้ยาปฏิชีวนะ

สัดส่วนใบสั่งยาในกลุ่มโรค URI ที่สั่งใช้ยาปฏิชีวนะ

สัดส่วนใบสั่งยาในกลุ่มโรค AGE ที่สั่งใช้ยาปฏิชีวนะ

Page 14: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

14

13,690 18,781

21,181

21,301

13,373

9,868 15,419

12,512

9,185

7,215

4,448 7,429 9,374

8,793

7,461

4,134

3,773

4,754

8,507

8,539

5,006 3,163

1,889

3,887

725340

778337 338.5 218 193 239 332 209 102 172 105 241 214 133 112 170 262 290 91 140 104 54

-

2,000.00

4,000.00

6,000.00

8,000.00

10,000.00

12,000.00

มูลค่า

(บาท

)กราฟแสดงมูลค่าการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะทั้งหมดเปรียบเทียบกับ 2 กลุ่มโรค

มูลค่าการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรค URI มูลค่าการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรค AGE

Page 15: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

15

จากกราฟแสดงข้อมูลในปีบประมาณ 2559 พบว่า ร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรค AGE เท่ากับ 15.62 มีแนวโน้มลดลงจากเดิมเล็กน้อย แต่ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 20 ตามที ่สปสช. ได้ก าหนดไว้ สว่นร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรค URI เท่ากับ 33.88 มีแนวโน้มลดลงจากเดิม แต่เกินเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 20 ตามที่ สปสช. ได้ก าหนดไว้ จึงได้มกีารพิจารณาหาสาเหตุของการใชย้าปฏิชีวนะในกลุ่มโรค URI ดังต่อไปน้ี

1. %การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะเหมาะสมในกลุ่มโรค URI มีแนวโน้มอยู่ในช่วงใน/นอกเวลา 2. %การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะเหมาะสมในกลุ่มโรค URI มีแนวโน้มอยู่ในช่วงเวรใด 3. %การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรค URI การวินิจฉัยสัมพันธ์กับยาที่ได้หรือไม่

20.11 20.47

15.72 15.62

0

5

10

15

20

25

2556 2557 2558 2559

%ใบสั่งยา AGE ที่สั่งจ่าย Antibiotic

38.1829.24

34.02 33.88

0

10

20

30

40

50

2556 2557 2558 2559

%ใบสั่งยา URI ที่สั่งจ่าย Antibiotic

Page 16: สรุปข้อมูลการด าเนินการติดตามความเหมาะสมในการใช้ยา ประจ า ... · สอนพ่นยา

16

จากกราฟพบว่าช่วงนอกเวลาร้อยละความเหมาะสมในการสั่งยามากกว่าในช่วงในเวลา สว่นในช่วงเวร

ดึกจะมีร้อยละความเหมาะสมในการสั่งยามากกวา่ เวรบ่าย และเวรดึก ตามล าดับ และเมื่อเปรียบเทียบร้อยละของความเหมาะสมในการสั่งยา พบว่าแพทย์ประจ ามีร้อยละในการสั่งยาได้เหมาะสมได้มากกว่า แพทย์ไม่ประจ า พยาบาลเวชปฏิบัติ ตามล าดับ จากการวเิคราะห์ข้อมูลพบการสั่งใช้ยาที่ไม่เหมาะสมพบใน Acute nasopharyngitis, Acute pharyngitis, Acute bronchitis เป็นส่วนใหญ่อาจสั่งผลให้เกิดการใชย้าปฏิชีวนะที่เกินจ าเป็นได้ ควรมีการน าเสนอข้อมูลการใช้ยาแต่ละหน่วยหรือมีการทบทวนความรูใ้นการสั่งยาปฏิชีวนะในกลุ่มของแพทย์ประจ า แพทย์ไม่ประจ า และพยาบาลเวชปฏิบัติ เมื่อให้มีการใช้ยาให้เป็นไปตามเกณฑ์การใช้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม สปสช. ก าหนดต่อไป

61% 66%53%

62%

32%39%

0%

20%

40%

60%

80%

ในเวลา นอกเวลา

แพทย์ประจ า

แพทย์ไม่ประจ า

พยาบาลเวชปฏิบัติ

60.98% 62.83%70.00%

53.33%62.18%

50.00%

32.23% 32.92%40.74%

0.00%

20.00%

40.00%

60.00%

80.00%

เวรเช้า เวรบ่าย เวรดึก

แพทย์ประจ า

แพทย์ไม่ประจ า

พยาบาลเวชปฏิบัติ

63.93%

36.07%

55.17%44.83%

35.31%

64.69%

0.00%

20.00%

40.00%

60.00%

80.00%

ร้อยละความเหมาะสมในการสั่งใช้ยา ร้อยละความไม่เหมาะสมในการสั่งใช้ยา

แพทย์ประจ า

แพทย์ไม่ประจ า

พยาบาลเวชปฏิบัติ