ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา...

25
1

Transcript of ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา...

Page 1: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

1

Page 2: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูเก่ียวกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความรูเกี่ยวกับ กรมสนบัสนุนบริการสุขภาพ 5 คานิยม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5 วิสัยทัศน กรมสนับสนุนบริการบริการสุขภาพ 5 พันธกิจ 5 อํานาจหนาที่ 5 ประเด็นยุทธศาสตร 8 โครงสรางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 8 นโยบาย/แผนธรรมาภิบาล 9 นโยบายกํากับองคการที่ดี 9 ความรูเกี่ยวกับ กรมสนบัสนุนบริการสุขภาพ 13 สถานการณการเสริมสรางสุขภาพและปองกันโรค 14 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร 29

สวนที่ 2 กฎหมายที่เก่ียวของกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 33 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติวชิาชพีการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2556 82 ระเบียบฯ พนักงานราชการ 105 แนวขอสอบ ระเบียบฯ พนักงานราชการ 116 แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 128

สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง ความรูดานการบริหารทรัพยากรบคุคล 134 การบริหารทรัพยากรมนุษย 134 การวางแผนกําลังคน 143 การสรรหาบุคลากร 148 การคัดเลือก 156 การบรรจุ 170

Page 3: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

3

การประเมินผลการปฏิบัติงาน 172 การพัฒนาทรัพยากรมนษุย 173 การบริหารคาตอบแทน 174 สุขภาพและความปลอดภัย 177 แรงงานสัมพันธ 178 ระบบขอมูลการบริหารงานทรัพยากรมนุษย 180 ความรูเก่ียวกับคอมพวิเตอร 182 สรุปงานสารบรรณ 209 สรุปงานขอมูลขาวสาร 218 การรางหนังสือราชการ 225 สรุปการรักษาความลับของทางราชการ 232 แนวขอสอบความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 242 แนวขอสอบสรุปงานสารบรรณ 249 แนวขอสอบงานขอมูลขาวสาร 265 แนวขอสอบนักทรัพยากรบุคคล 272

Page 4: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

4

ความรูเกีย่วกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ คานิยม กรมสนับสนนุบริการสุขภาพ “มุงมั่นดวยใจ ใฝรูสรางสรรค รวมแรงใจกัน ยึดมั่นคุณธ(รรม นําจิตบริการ” วิสัยทัศน กรมสนับสนนุบริการบริการสุขภาพ “เปนองคกรหลักดานบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน” พันธกิจ

1.สงเสริม สนับสนุน ควบคุม กํากับ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเปนไปตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของ เพื่อใหสถานบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน

2.สงเสริม สนับสนุน พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ภาคีเครือขายและทองถิ่นในการดําเนินงานสาธารณสุขมูลฐานรวมทั้งการจัดการน วัตรกรรมสุขภาพชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองดานสุขภาพของประชาชน

3.สงเสริม สนับสนุน และพัฒนางานดานสุขศึกษาเชิงรุก เพื่อพัฒนาพฤติกรรมดานสุขภาพที่ถูกตองของประชาชน

4.ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา ระบบบริหารสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน รวมทั้งดําเนินการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีแกองคกรภาครัฐ องคกรภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน อํานาจหนาที่

1.ดําเนินการเกี่ยวกับงาน ดานกฎหมายตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล กฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายวาดวยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

2.ดําเนินพัฒนากฎหมายทั้งในประเทศและระหวางประเทศที่อยูในความรับผิดชอบของกรมเพือ่รองรบัการเขาสูระดับสากล

3.ประสานความรวมมือดานกฎหมายเกี่ยวกับการบริการสุขภาพระหวางประเทศ 4.ดําเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา การดําเนินมาตรการทางปกครอง การ

ระงับขอ พิพาท งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพง ทางอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่นที่อยูในอํานาจหนาที่ของกรม

Page 5: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

5

5.ดําเนินการเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การคุมครองระบบคุณธรรม และดําเนินการเกี่ยวกับการเสริมสรางวินัย คุณธรรม และจรรยาบรรณของขาราชการและ ลูกจางของกรม

6.ดําเนินการเรื่องรองเรยีนและประสานการเจรจาไกลเกล่ีย 7.ดําเนินการบังคับใชกฎหมายเพื่อคุมครองและพิทักษสิทธิ์ผูรับบริการดานบริการ

สุขภาพ 8.การใหคําปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย รวมทั้งการเผยแพรความรูทาง

กฎหมายท่ีเกี่ยวของ 9.ปฏิบัติงานรวมกับหรอืสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่

ไดรับมอบหมาย

ฝายบริหารท่ัวไป มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ ราง โตตอบหนังสือราชการ

การรับ-สง จดัเก็บหนังสือเอกสารตางๆ งานแผนงาน งานงบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานบุคลากร งานการประชมุ งานธุรการ รวบรวมขอมูลสถิติ งานบริหารท่ัวไป ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของทุกกลุม ประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ และงานที่ไดรับมอบหมาย

กลุมแผนงานและประเมินผล 1.วิเคราะห วางแผน จัดทําตัวชีว้ัด ตามคํารับรอง คําของบประมาณ และประสาน

แผนงานโครงการของสํานักกฎหมายรวมทั้งเรงรดัติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของหนวยงาน

2.ติดตอ ประสานงานกับองคการหรือหนวยงานตางๆทั้งภายในและภายนอก

กลุมเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม

รับผิดชอบเกี่ยวกับ การพิจารณาเรื่องกลาวหารองเรียนดานวินัย การสืบสวนขอเท็จจริงการดําเนินการทางวินัยไมรายแรง การดําเนินการทางวินัยรายแรง การส่ังพักราชการหรือส่ังใหออกจากราชการไวกอน การเสริมสรางและพัฒนาใหมีวินัยและการปองกันการกระทําผิดวินัย การใหคําปรึกษาและความเห็นทางดานวินัย การเผยแพรความรูทางดานวินัยและการรักษาวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การคุมครองระบบคุณธรรม การรักษาจรรยาขาราชการและลูกจางของกรม และปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย

Page 6: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

6

นโยบาย/แผนธรรมาภิบาล

นโยบายผูบริหาร

1. ดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข และนโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในสวนที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

2. สงเสริมบทบาทหนวยงานในสังกัดกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในการประสานการทํางานกับสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. จัดหาสถานท่ีสรางอาคารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อใหเปนเอกภาพขององคกร

4. สงเสริมการทํางานเปนทีม โดยเฉพาะการทํางานในระดับกรม ซึ่งบุคลากรทุกหนวยงานมีสวนรวมในการทํางาน

5. พัฒนาการบริหารจัดการ เนน การพัฒนา 2 ดาน คือ พัฒนาสถานที่ปฏิบัติงาน ใหมีความเหมาะสมตอการปฏิบัติงาน และพัฒนาระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ ยึดตามระเบียบ กฎเกณฑที่ถูกตอง โปรงใส ตรวจสอบได

6. สงเสริมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สรางขวัญกําลังใจ และความกาวหนาใน การปฏิบัติงานของบุคลากรโดยเฉพาะการกําหนดตําแหนงที่สูงข้ึน และการปรับโครงสรางหนวยงาน

7. พัฒนาการจัดทํายุทธศาสตร แผนงาน/โครงการใหมีความ สอดคลองกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และนโยบายรัฐบาล นโยบายกํากับองคการท่ีดี

1. ดานรัฐ สังคมและสิ่งแวดลอม สรางระบบการมีสวนของภาคีเครือขายดานสุขภาพ โดยมุง เนน การหาฉันทามติที่

เกิดประโยชนตอสังคมไทย 2. ดานผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

2.1 มุงมั่นสรางจิตสํานึกในการใหบริการ สามารถตอบสนอง ความตองการของผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสียอยาง เสมอภาค

2.2 พัฒนาระบบการเรียนรูความตองการและความคาดหวัง ของผูรับบริการและความคาดหวังของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อสามารถตอบสนองไดครอบคลุมทุกกลุม

Page 7: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

7

2. ระบบบริการสุขภาพ การจัดระบบบริการสุขภาพในปจจุบัน รัฐบาลไดพยายามจัดรูปแบบการใหบริการให

สัมพันธกับระดับความตองการใชบริการในแตละระดับพื้นที่ เชน ในระดับชุมชน ตําบล อําเภอและจังหวัด โดยผูใหบริการจะคํานึงถึงสภาพปญหาที่สําคัญทางดานสุขภาพ ที่มุงเนนที่จะปองกันหรือดําเนินการแกไข โดยมีรายละเอียดของการจัดบริการ ดังนี้

2.1 โครงสรางระบบบริการสุขภาพ มีองคประกอบที่สําคัญประกอบดวย บริการปฐมภูมิ บริการทุติยภูมิ บริการตติยภูมิและศูนยการแพทยเฉพาะทาง และระบบสงตอ

1) การบริการปฐมภูมิ (Primary Care) เปนบริการท่ีอยูใกลชิดประชาชนและชุมชนมากที่สุด จึงเนนที่ความครอบคลุม มีการบริการผสมผสาน ทั้งในดานการรักษาพยาบาลการสงเสริมสุขภาพ การปองกันควบคุมโรค การฟนฟูสภาพ การจัดบริการปฐมภูมิในเขตพื้นที่ชนบทไดแก สถานีอนามัย ศูนยสุขภาพชุมชน ศูนยแพทยชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล สําหรับในเขตเมือง อาจเปนศูนยบริการสาธารณสุขของเทศบาล ศูนยบริการสาธารณสุขของกรุงเทพมหานครเปนตน

2) การบริการทุติยภูมิ (Secondary Care) เปนบริการท่ีใชเทคโนโลยีทางการแพทยในระดับที่สูงข้ึน เนนการบริการรักษาพยาบาลโรคที่ยาก ซับซอนมากขึ้น ไดแก โรงพยาบาลชุมชนในระดับอําเภอ โรงพยาบาลทั่วไปในระดับจังหวัด และโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม และมหาวิทยาลัย

3) การบริการตติยภูมิและศูนยการแพทยเฉพาะทาง (Tertiary Care and Excellent Center) เปนการบริการท่ีใชเทคโนโลยีทางการแพทยชั้นสูง มี

ความสลับซับซอนมากมีบุคลากรทางการแพทยในสาขาเฉพาะทาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่เปน โรงพยาบาลศูนยสถาบันเฉพาะทางตาง ๆ หรือสังกัดมหาวิทยาลัย เชน โรงพยาบาลในโรงเรียนแพทย

4) ระบบสงตอผูปวย กระทรวงสาธารณสุขไดพัฒนาเชื่อมโยงระบบสงตอ ผูปวยใหเปนเครือขายที่มีประสิทธิภาพ ใหประชาชนไดรับบริการท่ีได

มาตรฐาน ปลอดภัยและตามความจําเปนของปญหาสุขภาพ 2.2 การจัดบริการแพทยแผนไทยและแพทยพื้นบานไทย และแพทย

ทางเลือกระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงคของประเทศไทย ควรเปนระบบบริการแบบพหุลักษณ กลาวคือ เปนการผสมผสานทั้งการแพทยกระแสหลัก คือ การแพทยตะวันตกโดยไมละเลยทอดทิ้งที่จะผสมผสานองคความรู ภูมิปญญา ทั้งที่มีอยูเดิมในทองถิ่น และจาก

Page 8: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

8

พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2541 เปนปที่ 53 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดย ที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลอันจะเปนการจํากัดเสรีภาพใน การประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม ซึ่งมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2504 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “สถานพยาบาล” หมายความวา สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซ่ึงจัดไว

เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบําบัดตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพกายภาพบําบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเทคนิคการแพทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยและการประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยประยุกตตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการแพทยแผนไทย ทั้งนี้ โดยกระทําเปนปกติธุระไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนหรือไม แตไมรวมถึงสถานท่ีขายยาตามกฎหมายวาดวยยา ซึ่งประกอบธุรกิจการขายยาโดยเฉพาะ

“ผูปวย” หมายความวา ผูขอรับบริการในสถานพยาบาล “ผู รับอนุญาต” หมายความวา ผูไดรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการ

Page 9: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

9

สถานพยาบาล “ผู ดํ า เนินการ” หมายความว า ผู ได รั บ ใบอนุญาตให ดํ า เนิ นการ

สถานพยาบาล “ผูประกอบวิชาชีพ” หมายความวา ผูประกอบโรคศิลปะ ผูประกอบวิชาชีพ

เวชกรรม การพยาบาลและการผดุงครรภ ทันตกรรม เภสัชกรรม กายภาพบําบัด เทคนิคการแพทย การแพทยแผนไทย การแพทยแผนไทยประยุกต หรือผูประกอบวิชาชีพอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาล หรือใบอนุญาตใหดําเนินการสถานพยาบาล

“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนผูปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“ผูอนุญาต” หมายความวา ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือผูที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขมอบหมาย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถานพยาบาล “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแกสถานพยาบาลของกระทรวง

ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่น สภากาชาดไทย และสถานพยาบาลอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 6 ให รั ฐมนตรีว าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นตลอดจนออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตนิี้

กฎกระทรวงหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด 1 คณะกรรมการสถานพยาบาล

มาตรา 7 ใหมี คณะกรรมการคณะหนึ่ ง เ รี ยกว า “คณะกรรมการสถานพยาบาล” ประกอบดวย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมควบคุมโรค* อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย

Page 10: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

10

พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พุทธศักราช 2479 (2) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช

2480 (3) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช

2483 (4) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2490 (5) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2490 (6) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2504 (7) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2509 (8) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2511

Page 11: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

11

(9) คําส่ังของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 38 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2519

(10) พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2530 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การประกอบโรคศิลปะ” หมายความวา การประกอบวิชาชีพที่กระทําหรือ

มุงหมายจะกระทําตอมนุษยเกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบําบัดโรค การปองกันโรค การสงเสริมและการฟนฟูสุขภาพ การผดุงครรภ แตไมรวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายวาดวยการนั้น ๆ

“การแพทยแผนไทย” (ยกเลิก) “เวชกรรมไทย” (ยกเลิก) “เภสัชกรรมไทย” (ยกเลิก) “การผดุงครรภไทย” (ยกเลิก) “การแพทยแผนไทยประยุกต” (ยกเลิก) “กายภาพบําบัด” (ยกเลิก) “เทคนิคการแพทย” (ยกเลิก) “กิจกรรมบําบัด” หมายความวา การกระทําเกี่ยวกับความสามารถของ

บุคคลที่มีความบกพรองทางดานรางกาย จิตใจ การเรียนรูและการพัฒนาเกี่ยวกับเด็ก โดยกระบวนการตรวจประเมิน สงเสริม ปองกันบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพ ใหสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ได เพื่อใหบุคคลดําเนินชีวิตไดตามศักยภาพ โดยการนํากิจกรรม วิธีการ และอุปกรณที่เหมาะสมมาเปนวิธีการในการบําบัด

“การแกไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย”หมายความวา การแกไขการพูดและการแกไขการไดยิน

“การแกไขการพูด” หมายความวา การกระทําตอมนุษยเกี่ยวกับการตรวจประเมิน การวินิจฉัย และการบําบัดความผิดปกติของการพูดและการส่ือภาษา การสงเสริมสุขภาพ การปองกัน การแกไขและการฟนฟูสมรรถภาพทางการพูด และความสามารถทางการส่ือภาษา ดวยวิธีการแกไขการพูด หรือการใชเครื่องมือหรืออุปกรณทางการแกไขการพูด รวมทั้งการติดตามผล

“การแกไขการไดยิน” หมายความวา การกระทําตอมนุษยเก่ียวกับการตรวจประเมิน การวินิจฉัย และการบําบัดความผิดปกติของการไดยิน ความรูสึกผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับการไดยิน การสงเสริมสุขภาพ การปองกัน การแกไขและการฟนฟูสมรรถภาพ

Page 12: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

12

แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ.2547

5."หัวหนาสวนราชการ" ในระเบียบฯ พ.ศ. 2547 หมายความถึงใคร ก. ปลัดกระทรวง ข. ปลัดทบวง ค. อธิบดี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอื่นของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ (ระเบียบฯ ขอ 3)

6.ผูใดรักษาการตามระเบียบฯ พ.ศ. 2547 คอืผูใด ก. ปลัดกระทรวง ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ค. ปลัดทบวง ง. อธิบดี ตอบ ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน

เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้ (ระเบียบฯ ขอ 4)

7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตอบ ข. 2 ประเภท

พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6) 8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษหมายถึงผูใด ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ

Page 13: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

13

ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ

พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบตัิงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ขอ 6 (2))

9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน

ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7)

(1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารท่ัวไป (4) กลุมงานวิชาชพีเฉพาะ (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพเิศษ

10.ตําแหนงของพนักงานราชการมกีี่กลุม ก. 4 กลุม ข. 5 กลุม ค. 6 กลุม ง. 7 กลุม ตอบ ค. 6 กลุม

คําอธิบายดังขอขางตน 11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ ก. กลุมงานบริการ ข. กลุมงานเทคนิค ค. กลุมงานบริหาร ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ตอบ ค. กลุมงานบริหาร

Page 14: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

14

คําอธิบายดังขอขางตน

12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของใคร ก. อธิบดี ข. ปลัดทบวง ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ

การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ (ระเบียบฯ ขอ 7)

13.กรอบอตัรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป

สวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่ป โดยใหสอดคลองกบัเปาหมายการปฏิบัติราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ ทั้งนี้ ตามแนวทางการจัดกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการที่คณะกรรมการกําหนด (ระเบียบฯ ขอ 9)

14.ในการจัดทํากรอบอตัรากําลังพนักงานราชการนั้นตองใหสอดคลองกับส่ิงใด ก. เปาหมายการปฏิบัติราชการ ข. แผนงบประมาณเชิงกลยุทธ ค. แผนการดําเนินงาน ง. ถูกท้ังขอ ก. และ ขอ ข. ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ขอ ข. คําอธิบายดังขอขางตน 15.การจางพนักงานราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละกีป่ ก. ไมเกินคราวละ 1 ป

ข. ไมเกินคราวละ 2 ป ค. ไมเกินคราวละ 3 ป

Page 15: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

15

ง. ไมเกินคราวละ 4 ปหรือตามโครงการที่กําหนด ตอบ ง. ไมเกินคราวละ 4 ปหรือตามโครงการที่กําหนด

การจางพนกังานราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ปหรือตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิน้สุดไว โดยอาจมีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ (ระเบียบฯ ขอ 11)

16.ผูใดเปนผูลงนามในสัญญาจางกบัผูใดไดรับการสรรหาหรือการเลือกสรรเปนพนกังานราชการ ก. หัวหนาสวนราชการ ข. คณะกรรมการ ค. หัวหนาหนวย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. หัวหนาสวนราชการ

หัวหนาสวนราชการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการเปนผูลงนามในสัญญาจางกับผูไดรับการสรรหาหรือการเลือกสรรเปนพนักงานราชการ (ระเบียบฯ ขอ 11)

17.วันเวลาทํางาน หรือวิธีการทํางานของพนักงานราชการอาจจะมคีวามแตกตางกันโดยพิจารณาถึงส่ิงใด ก. ผลสําเร็จของงาน ข. เปาหมายของงาน ค. ยุทธศาสตรของงาน ง. ลักษณะงาน ตอบ ก. ผลสําเร็จของงาน

วันเวลาการทํางาน หรือวิธีการทํางานในกรณีที่ไมตองอยูปฏิบัติงานประจําสวนราชการ ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด ซึ่งอาจแตกตางกันไดตามหนาที่ของพนักงานราชการในแตละตําแหนง โดยคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน (ระเบียบฯ ขอ 13)

18.การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ัวไป ใหกระทําในกรณีใด ก. ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป ข. ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อตอสัญญาจาง ค. ประเมินผลการปฏิบัติงานทุกๆ 3 เดือน ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และ ขอ ข. ตอบ ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และ ขอ ข.

Page 16: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

16

แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 4. “คณะกรรมการสถานพยาบาล” มีผูใดเปนประธานกรรมการ

ก. อธิบดีกรมอนามัย ข. อธิบดีกรมการแพทย ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ง. อธิบดีกรมควบคุมดรค ตอบ ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสถานพยาบาล” ประกอบดวย

ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดีกรมสุขภาพจิต เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และผูแทนสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคเปนกรรมการโดยตําแหนง กับกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง 5. กรรมการผูทรงคุณวุฒิใน “คณะกรรมการสถานพยาบาล” ซึ่งแตงตั้งจากผูประกอบโรคศิลปะโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะจํานวนกี่คน ก. สองคน ข. สามคน ค. ส่ีคน ง. หาคน ตอบ ข. สามคน

กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง จากผูประกอบโรคศิลปะโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะจํานวนสามคน และผูประกอบวิชาชีพโดยคําแนะนําของสภาวิชาชีพ ซึ่งจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายเพื่อควบคุมการประกอบวิชาชีพนั้นสภาละหนึ่งคน 6. กรรมการผูทรงคุณวฒุิ ใน“คณะกรรมการสถานพยาบาล” มีวาระอยูในตําแหนงคราวละก่ีป ก. หนึ่งป ข.สองป ค. สามป ง. ส่ีป

ตอบ ข.สองป กรรมการผูทรงคุณวุฒิ อยูในตําแหนงคราวละสองป กรรมการซ่ึงพนจากตําแหนง

ตามวาระ อาจไดรับแตงตั้งอีกได

Page 17: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

17

7. สถานพยาบาลมีกี่ประเภท ก. สองประเภท ข. สามประเภท ค. ส่ีประเภท ง. หาประเภท ตอบ ข. สามประเภท

สถานพยาบาลมี 2 ประเภท ดังตอไปนี้ (1) สถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน (2) สถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืน

8. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับผูขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล ก. มีอายุไมต่ํากวาย่ีสิบปบริบูรณ ข. ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษา

ค. ไมเปนโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูขอรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาล ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ

ตองหามดังนี้ (1) มีอายุไมต่ํากวาย่ีสิบปบริบูรณ (2) มีถิ่นที่อยูในประเทศไทย (3) ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาหรือคําส่ังที่ชอบดวยกฎหมายถึง

ที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (4) ไมเปนโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา (5) ไมเปนบุคคลลมละลาย (6) ไมเปนบุคคลวิกลจริต คนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ

9. ถาผูรับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจํานงตอผูอนุญาต จะตองแสดงภายในกี่วัน

ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ค. สามสิบวัน ถาผูรับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจํานงตอผูอนุญาตภายในสามสิบวันนับแต

วันที่ผูรับอนุญาตตาย เพื่อขอประกอบกิจการที่ผูตายไดรับอนุญาตนั้นตอไป เมื่อผูอนุญาต

Page 18: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

18

การบรหิารทรพัยากรมนุษย

บทบาทของการบริหารทรัพยากรมนุษย

การบริหารงานบุคคล (Personal Management) หรือ การบริหารทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management) เปนกระบวนการเพื่อใหไดมาซึ่งกําลังคนท่ีเหมาะสมท่ีสุดกับงาน และใชทรัพยากรกําลังคนนั้นใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดตามเปาหมายท่ีกําหนดไว รวมถึงการบํารุงรักษาไวซึ่งทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพใหมีปริมาณเพียงพอ

การบริหารทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management : HRM) แตกอนใชคําวาการบริหารงานบุคคล (Personnel Management : PM) ซึ่งจริง ๆ แลวสองคํานี้เหมือนกันและสามารถใชแทนกันได เนื่องจากมีลักษณะหนาที่งานอยางเดียวกัน เพียงแต HRM จะมีความหมายครอบคลุมมากกวาและเพื่อใหเหมาะสมกับการที่จะเขาไปดูแลมนุษยกอนที่จะเขาสูตลาดแรงงานตั้งแตเริ่มตน จึงใชคําวา HRM แทน PM นั่นเอง

ความแตกตางระหวาง Personnel Management กับ Human Resource Management

กลาวคือ การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) เปนกระบวนการบริหารบุคคลที่อยูในองค–การ ซึ่งเริ่มตั้งแตการคัดเลือกคนที่ดีที่สุดในตลาดแรงงานดวยวิธีการตาง ๆ เขามาสูองคการ แลวใชคนใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด จนกระท่ังคนนั้นพนออกไปจากองคการ ซึ่งเมื่อคนออกไปจากองคการแลวมีการให Compensation Bonus เงินสะสม บําเหน็จบํานาญ ก็ถือวาเปนอันจบสิ้นกระบวนการ

ประสิทธิภาพของคนทํางานจะตองมี – กําลังขวัญ (Moral) เชน การทํางานอยางมีความสุข คาตอบแทนที่

ยุติธรรม ความปลอดภัยในการทํางาน เปนตน – แรงจูงใจ (Motivation) เชน การใหคาตอบแทนเปนรายชิ้น ทํามาก

ไดมาก ทําดีมีโอกาสกาวหนา การเล่ือนขั้นเล่ือนตําแหนง การบริหารทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management) เปนเรื่อง

เกี่ยวกับการวางแผนการกําหนดคุณลักษณะ และคุณสมบัติของประชากร เริ่มตั้งแตเกิดจนตาย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ รัฐตองดูแล รักษา ใชงาน และใหประโยชนแกทรัพยากรมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย คือ กอนเขาทํางานและหลังพนจากงานเปนภารกิจของรัฐนั่นเอง

Page 19: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

19

การวางแผนกําลังคน

การวางแผนกําลังคน คือ กระบวนการสําหรับกําหนดวาองคการจะมีจํานวนบุคคลากรท่ีมีคุณภาพอยางเพียงพอ และกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอองคการ

การวางแผนกําลังคน คือ การวางแผนการดําเนินงาน เพื่อเตรียมบุคลากรใหเหมาะสมกับงานและเวลา รวมทั้งพัฒนากําลังคนใหเกิดประสิทธิภาพ และบรรลุเปาหมายขององคการ

การวางแผนกําลังคน คือ การวางแผนท่ีเปนกระบวนการ ซึ่งองคการไดวางจํานวนบุคลากรที่ถูกตองที่เหมาะสม ในตําแหนงและเวลาที่เหมาะสม เพื่อที่จะไดบรรลุถึงวัตถุประสงคขององคการ

สรุปไดวา การวางแผนกําลังคน (Manpower Planning) คือ การวางแผนในทุกเรื่อง เกี่ยวกับกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยทั้งหมดในองคการ และเปนแมแบบสําหรับการบริหารทรัพยากรมนุษยอื่น ๆ ทั้งหมด จะเห็นไดวาการวางแผนกําลังคนไมใชวางแผนเฉพาะอัตรากําลังคนแตตองวางแผนในเรื่องคาตอบแทน การฝกอบรม การโยกยาย การเล่ือนตําแหนง เชน อัตรากําลังคนท่ีตองการในปหนา,โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีอยูในองคการ, แนวทางการ ปรับเปล่ียนคาตอบแทนพนักงาน,การวางแผนตําแหนงงาน เปนตน

การวางแผนกําลังคน คือ กระบวนการที่จะทาํใหธุรกิจหรือหนวยงานแนใจไดเสมอวา

1. มีจํานวนและชนิดของบคุคลตรงตามที่ตองการ 2. มีบุคคลที่มคีุณสมบัติเหมาะสมบรรจไุวตรงกับความจําเปนของงาน 3. มีบุคคลไวพรอมในทุกครั้งที่มีความตองการ

การวางแผนกําลังคน ตองคํานึงถงึทั้งดานปริมาณและคุณภาพ กลาวคือ – ดานปริมาณ เปนการจัดกําลังคนไวรองรับการเปล่ียนแปลงเนื่องจาก

ความเจริญกาวหนาการขยายตัวขององคการ การยุบ การปรับตัว การปรับรื้อระบบขององคการ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

– ดานคุณภาพ คือ เปนการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และทักษะทันตอความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีที่เจริญกาวหนาในอนาคต

Page 20: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

20

ประโยชนของการวางแผนกําลังคน 1. ทําใหไดคน/ใชคนอยางมีประสิทธิภาพ การขาดการวางแผนทางดาน

บุคคลจะทําใหองคการเผชิญปญหาทัง้ในทางขาดแคลนบุคคลที่เหมาะสม และการมีกาํลังคนอยูในองคการมากเกินไป

2. ทําใหเกิดความพอใจในการทํางานและพัฒนาบคุคล 3. ทําใหเกิดความเทาเทียมกันในดานการจางงาน 4. ทําใหเกิดขวัญและกําลังใจในการทํางาน

สาเหตุที่ทําใหตองมีการวางแผนกําลังคน 1. วัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคการ เชน การลดขนาดหรือ

ขยายตัวขององคการ การเพิ่มหรือลดกําลังการผลิตเพื่อปรับใหเหมาะกับสภาพแวดลอมที่เปล่ียนไป

2. การเปล่ียนแปลงทางดานเทคโนโลยี,ความรูความสามารถ และความชํานาญของกําลังคนในองคการ ความกาวหนาทางวิทยาการ และคุณภาพของบคุลากร

3. ผลกระทบท่ีเกิดจากปจจยัภายนอกองคการ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง กฎหมายเปนตน

4. อัตราการเขาออกของบคุลากร (Turnover) 5. การเกษียณ/การเปล่ียนตําแหนง/การโยกยาย 6. การเปล่ียนแปลงทําเลที่ตั้ง

กระบวนการในการวางแผนกําลังคน มี 4 ขั้นตอน คือ 1. พยากรณความตองการของกําลังคน (Manpower Forecast) เปนการ

คาดการณและระบุไวพรอมวาในระยะเวลาขางหนาที่กําหนดไวนั้น กําลังคนที่ตองการมีจํานวนเทาไร และอยางไร ซึ่งหาไดจากการทํา Work Load and Work Force Analysis

2. การศึกษากําลังคนที่มีอยูในปจจุบัน (Manpower Inventory) เปนการพิจารณาดูวา คนที่มีอยูจะเพียงพอกับปริมาณงานที่จะตองทําหรือไม

3. เปรียบเทียบความตองการกับจํานวนกําลังคนที่มอียู 4. จัดทําแผนกําลังคน (Manpower Plans)

1. การพยากรณความตองการกําลังคน 1. การพยากรณทางดานปริมาณ (Quantity) การพิจารณาในแงปริมาณ

คือ ดูวา Work Lode (ปริมาณงาน) กับ Work Force (ปริมาณคน) เปนอยางไร

Page 21: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

21

แนวขอสอบ นักทรัพยากรบุคคล

1. การบริหารงานบุคคล (PPM) และการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM) แตกตางกันอยางไร (1) PPM เนนคนเปนทรัพยากรการผลิต HRM เนนกระบวนการบริหาร (2) PPM เนนกระบวนการบริหาร HRM เนนคนตั้งแตเกิดจนตาย (3) PPM เนนองคกรปด HRM เนนองคกรเปด (4) PPM เนนในองคกรของรัฐ HRM เนนในองคการเอกชน (5) ถูกทุกขอ ตอบ 2 ความแตกตางของการบริหารงานบุคคล (PPM) กับการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM) คือ PPM จะเนนกระบวนการบริหารตั้งแตเริ่มรับคนเขาสูองคการจนถึงออกจากองคการ หรือเนนเฉพาะชวงที่เขาทํางาน (Work – Life) แต HRM นั้นจะเนนคนตั้งแตเกิดจนถึงตาย หรือเปนการพัฒนาตลอดชีวิต (Long – Life) นั่นเอง

2. แนวคิดซึ่งเนนวามนุษยเปนทรัพยากรการผลิตที่สําคัญที่สุดเริ่มข้ึนเมื่อใด (โดยประมาณ) (1) ค.ศ. 1800 (2) ค.ศ. 1900 (3) ค.ศ. 1910 (4) ค.ศ. 1940 (5) ค.ศ. 1970 ตอบ 5 ในป ค.ศ. 1970 นั้น แนวความคิดทางการบริหารเริ่มมีแนวโนมหันไปสนใจในตัวบุคคลวาเปนทรัพยากรการผลิตที่สําคัญในแงที่จะกอใหเกิดประสิทธิภาพตอองคการได

3. แนวคิดด านการจัดการเกี่ ยวกับบุคคลโดยอิ งหลักเหตุผลนั้นมีจุด เริ่ มตนเมื่ อ ใด (โดยประมาณ) (1) ค.ศ. 1800 (2) ค.ศ. 1900 (3) ค.ศ. 1910 (4) ค.ศ. 1940 (5) ค.ศ. 1970 ตอบ 2 ในป ค.ศ. 1900 นักบริหารไดใหความสนใจเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลโดยอิงหลักเหตุผล ซึ่งถือวาเปนวิธีที่ดีที่สุดในการบริหารทรัพยากรมนุษยใหเกิดประสิทธิภาพและประหยัดได

4. การปฏิรูประบบราชการไทยมีเหตุผลความจําเปนอยางไร (1) สังคม เศรษฐกิจประสบปญหา (2) ความเปล่ียนแปลงของสังคมเศรษฐกิจโลก

Page 22: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

22

(3) ระบบราชการไมมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล (4) ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ (5) ถูกทุกขอ ตอบ 5 การปฏิรูประบบราชการไทยมีสาเหตุมาจาก

1.ขนาดของขาราชการมีแนวโนมเพิ่มข้ึน 2. มีปญหาดานการใหบริการ 3. ความเปล่ียนแปลงของสังคมเศรษฐกิจโลก 4. ระบบ ราชการไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5. ปญหาภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ

5. ตามทฤษฎีสองปจจัยแหงการจูงใจอะไรคือปจจัยจูงใจ (1) ความสําเร็จของงาน (2) ลักษณะงาน (3) เงินเดือน (4) ขอ 1 และ 2 ถูก (5) ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ตอบ 4 ปจจัยที่สรางความพึงพอใจในงานหรือปจจัยจูงใจ (Motivation Factor) ไดแก ความสําเร็จของงาน การยอมรับนับถือ ลักษณะของงาน ความรับผิดชอบ และความกาวหนา สวนปจจัยที่สรางความไมพึงพอใจในงานหรือปจจัยอนามัย (Hygiene Factor) ไดแก นโยบาย วิธีการปกครองบังคับบัญชา เงินเดือน การบังคับบัญชา และสภาพการทํางาน

6. “วินัยในเชิงบวก” ไดแก

(1) การพร่ําสอน (2) การลงโทษ (3) การขูใหกลัว (4) ขอ 1, 2 และ 3 ถูก (5) ไมมีขอใดถูก ตอบ 1 การดําเนินการทางวินัยในเชิงบวกจะใชวิธีการพร่ําสอนและอธิบายโดยมี

เปาหมายเพื่อการแกไขและปรับเปล่ียนพฤติกรรมในสิ่งที่ผิดใหเปนสิ่งที่ถูกตอง และใหเปนคนสรางสรรคผลงาน รูจักรับผิดชอบงานมากขึ้น

7. การออกจากหนวยงานกอนเกษียณอายุราชการมีวัตถุประสงคสอดคลองกับขอใดมากที่สุด

(1) ประสิทธิภาพ (2) การลดขนาดราชการ (3) การประหยัด (4) การสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุ (5) ไมมีขอใดถูก

Page 23: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

23

ตอบ 2 การเกษียณกอนอายุราชการ (Early Retirement) ถือเปนแนวทางหนึ่งในการปฏิรูประบบราชการ ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อปรับสัดสวนและลดขนาดกําลังคนภาครัฐใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด แตมีประสิทธิภาพสูง

8. ขอใดเปนแนวทางการปฏิรูประบบราชการ

(1) ระบบราชการที่มีชุมชนเปนเจาของ (2) ระบบราชการที่ยึดกระบวนการและข้ันตอนเปนหลัก (3) ระบบราชการที่เปนผูสนับสนุนมากกวาการควบคุม (4) ขอ 1 และ 3 ถูก (5) ขอ 1, 2 และ 3 ถูก ตอบ 4 แนวทางการปฏิรูประบบราชการมีดังนี้ 1. ระบบราชการที่เปนผูสนับสนุนมากกวาผูควบคุม 2. ระบบราชการที่มีชุมชนเปนเจาของ 3. ระบบราชการที่มุงภารกิจมากกวากระบวนการและขั้นตอนของระบบ 4. ระบบราชการที่มุงเนนใหเกิดผลงาน 5. ระบบราชการที่มุงเนนลูกคาหรือผูรับบริการ 6. ระบบราชการที่มุงมองไปสูอนาคต ฯลฯ

9. ขาราชการที่พึงประสงคในสังคมยุคใหมคือขอใด (1) การยอมรับการเปล่ียนแปลง (2) การมีวสัิยทัศน (3) การอุทิศตัว (4) ขอ 1 และ 2 ถูก (5) ขอ 1, 2 และ 3 ถูก ตอบ 5 ในสังคมยุคใหมขาราชการตองมีลักษณะดังนี้ 1. การตรวจซ้ําและตรวจสอบซึ่งกันและกัน 2. มีความรับผิดชอบและตรวจนับได 3. การอุทิศตัว 4. การยืนยันความมั่นใจและยอมรับ 5. มีวิธีการท่ีเปนเอกลักษณเฉพาะตัวขององคการ 6. การมุงมองไปขางหนาหรือมีวิสัยทัศน 7. ยอมรับตอการเปล่ียน-แปลงที่เกิดข้ึน

Page 24: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

24

10. การจะใชแนวความคิดในการสรรหาแบบใหม (New Recruitment) หรือแบบเกา (Traditional Recruitment) ข้ึนอยูกับคานิยมของสังคม (Value of Social) หมายถึง

(1) ข้ึนอยูกับวาในสังคมเขานิยมงานกับบริษัทใด (2) ข้ึนอยูกับวาในสังคมเขานิยมงานกับกระทรวงใด (3) ข้ึนอยูกับวาในสังคมเขานิยมงานกับภาครัฐหรือภาคเอกชน (4) ข้ึนอยูกับวาในขณะนั้นตลาดแรงงานเปนของนายจางหรือลูกจาง (5) ขอ 2 และ 3 ถูก ตอบ 3 การพิจารณาวาจะใชการสรรหาแบบใหมหรือแบบเกา ข้ึนอยูกับ 1. คานิยมของสังคม โดยพิจารณาวาเขานิยมทํางานในภาครัฐหรือภาคเอกชน 2. คานิยมในงาน โดยพิจารณาวาเขานิยมทํางานในกระทรวงใด 3. ระดับตําแหนงงาน 4. สภาพตลาดแรงงาน โดยพิจารณาวาในขณะนั้นตลาดแรงงานเปนของนายจางหรือ

ลูกจาง 11. อัตราคาจางทั่วไป (Prevailing Wage) หมายถึง

(1) อัตราคาจางคิดตามคาครองชีพ (2) อัตราคาแรงงานขั้นต่ําตามกฎหมาย (3) อัตราคาจางที่องคการสามารถจายได (4) อัตราคาจางในสังคมที่เขาจางกันทั่ว ๆ ไป (5) อัตราคาจางเพื่อใหเพียงพอสําหรับคนในครอบครัว 2 – 3 คน ตอบ 4 อัตราคาจางทั่วไป (Prevailing Wage) หมายถึง อัตราคาจางขององคการซึ่ง

จายสําหรับงานเฉพาะอยาง โดยทั่วไปมักจะยึดถืออัตราคาจางขององคการอื่น ๆ ที่จายใหแกคนงานที่ทํางานประเภทเดียวหรือในธุรกิจอยางเดียวกัน และไมคํานึงถึงสถานที่ตั้งของธุรกิจนั้น ๆ

12. เหตุใดจึงตองมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation)

(1) เพื่อนําไปพัฒนา (2) เพื่อจายคาตอบแทนที่เหมาะสม (3) เพื่อเปนเครื่องมือในการให 2 ข้ัน (4) เพื่อใหรูขีดความสามารถของพนักงาน (5) เพื่อเปรียบเทียบพนักงานวาใครเกงกวาใคร

Page 25: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.com · 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนที่ 1 ความรู เกี่ยวกับกรมสน

25

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740