บทบรรณาธิการjournalrec.mbu.ac.th/images/pdf/journal8-1/Journal8-1.pdf ·...

360
ทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ด�าเนินการมาแล้วเป็นเวลา 7 ปี และมีวารสารที่ตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องรวม 14 ฉบับ ตามรายละเอียดทราบแล้วนั้น ซึ่งทางวารสารมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ตระหนักถึงภารกิจที่ส�าคัญในการเผยแพร่ผลงานวิจัยทางด้าน พระพุทธศาสนาผ่านกระบวนการวิจัย ตามลักษณะการวิจัยทางสังคมศาสตร์ และการเผยแพร่ผลงานวิจัยใน วารสารนี้เป็นการน�าผลการวิจัยทางด้านพระพุทธศาสนาสู ่สังคม ซึ่งผลจากการเผยแพร่งานวิจัยท�าให้เกิดคุณค่า ทางแวดวงวิชาการในภาพกว้าง วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด จัดอยู ่ในฐานข้อมูล TCI กลุ ่มที่ 2 ด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้จัดพิมพ์วารสารเข้าสู ่ปีท่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) ซึ่งในปี พ.ศ. 2562 นี้มีการเผยแพร่วารสาร 2 รูปแบบ คือ 1)แบบตีพิมพ์รูปเล่ม (ISSN : 2286-6906 (Print)) เริ่มตีพิมพ์ เผยแพร่ในปี 2555 จนถึงปัจจุบันเป็นปีท่ 8 โดยเริ่มมีการตีพิมพ์ฉบับแรกปีท่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555) และ 2)แบบออนไลน์ (ISSN : 2651-2009(Online)) เริ่มเผยแพร่ในปีท่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) เป็นเล่มแรก กองบรรณาธิการจะได้พัฒนาวารสารให้มีมาตรฐานมากขึ้นต่อไป ทั้งนี้ ขอกราบขอบพระคุณ ในความเอื้อเฟื ้อจากผู ้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) ที่มีส่วนในการควบคุมคุณภาพของวารสารให้ตรงตามเกณฑ์ ที่ก�าหนด และเพื่อให้วารสารออกตามระยะเวลาที่ก�าหนดเช่นกัน ปัจจุบันวารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ด�าเนินการปรับปรุง วัตถุประสงค์ให้ชัดเจนมากขึ้น รวมถึงปรับปรุงเว็บไซต์วารสารให้มีข้อมูล รูปแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการส่ง ต้นฉบับบทความวิชาการเพื่อลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร รวมถึงมีการปรังปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ในอนาคตจะท�าระบบให้มีการส่งบทความแบบออนไลน์หรือระบบ Online Journal System (OJS) หวังว่า ในอนาคตการจัดท�าวารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด จะเป็นระบบที่ทันสมัย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานสากลต่อไป ดร.บรรจง ลาวะลี บรรณาธิการ

Transcript of บทบรรณาธิการjournalrec.mbu.ac.th/images/pdf/journal8-1/Journal8-1.pdf ·...

  • บทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ด�าเนินการมาแล้วเป็นเวลา 7 ปี

    และมีวารสารที่ตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องรวม14ฉบับตามรายละเอียดทราบแล้วนั้นซึ่งทางวารสารมหาวิทยาลัย

    มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ตระหนักถึงภารกิจที่ส�าคัญในการเผยแพร่ผลงานวิจัยทางด้าน

    พระพุทธศาสนาผ่านกระบวนการวิจัยตามลักษณะการวิจัยทางสังคมศาสตร์และการเผยแพร่ผลงานวิจัยใน

    วารสารนีเ้ป็นการน�าผลการวจัิยทางด้านพระพทุธศาสนาสูส่งัคมซึง่ผลจากการเผยแพร่งานวจิยัท�าให้เกดิคณุค่า

    ทางแวดวงวิชาการในภาพกว้าง

    วารสารมหาวทิยาลยัมหามกฏุราชวิทยาลยัวทิยาเขตร้อยเอด็จดัอยูใ่นฐานข้อมลูTCIกลุม่ที่2ด้าน

    มนุษยศาสตร์และสงัคมศาสตร์ได้จดัพมิพ์วารสารเข้าสูปี่ที่8ฉบบัที่1(มกราคม-มถินุายน2562)ซึง่ในปีพ.ศ.

    2562นี้มีการเผยแพร่วารสาร2รูปแบบคือ1)แบบตีพิมพ์รูปเล่ม(ISSN:2286-6906(Print))เริ่มตีพิมพ์

    เผยแพร่ในปี2555จนถึงปัจจุบันเป็นปีที่8โดยเริ่มมีการตีพิมพ์ฉบับแรกปีที่1ฉบับที่1(มกราคม-มิถุนายน

    2555)และ2)แบบออนไลน์(ISSN:2651-2009(Online))เริม่เผยแพร่ในปีที่8ฉบบัที่1(มกราคม-มถินุายน

    2562)เป็นเล่มแรกกองบรรณาธกิารจะได้พฒันาวารสารให้มมีาตรฐานมากข้ึนต่อไปท้ังนี้ขอกราบขอบพระคุณ

    ในความเอือ้เฟ้ือจากผูท้รงคณุวฒุิ(Peerreview)ทีม่ส่ีวนในการควบคมุคณุภาพของวารสารให้ตรงตามเกณฑ์

    ที่ก�าหนดและเพื่อให้วารสารออกตามระยะเวลาที่ก�าหนดเช่นกัน

    ปัจจุบันวารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ด�าเนินการปรับปรุง

    วัตถุประสงค์ให้ชัดเจนมากขึ้นรวมถึงปรับปรุงเว็บไซต์วารสารให้มีข้อมูลรูปแบบหลักเกณฑ์และวิธีการส่ง

    ต้นฉบับบทความวิชาการเพื่อลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร รวมถึงมีการปรังปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง

    ในอนาคตจะท�าระบบให้มีการส่งบทความแบบออนไลน์หรือระบบOnlineJournalSystem(OJS)หวังว่า

    ในอนาคตการจัดท�าวารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด จะเป็นระบบท่ีทันสมัย

    มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานสากลต่อไป

    ดร.บรรจงลาวะลี

    บรรณาธิการ

  • สารบัญ

    หน้า

    แรงจงูใจในการปฏิบติัหน้าทีข่องบคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบุรี

    จังหวัดสุรินทร์

    (Personnel’s Motives for Their Duty Performance at Tambon That

    AdministrativeOrganizationinRatanaBuridistrict,SurinProvince)

    สพุรรษา บรรพบตุร, รองศาสตราจารย์อดุม พริยิสงิห์...................................................... 1

    การบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร องค์การบริหาร

    ส่วนต�าบลโหราอ�าเภออาจสามารถจังหวัดร้อยเอ็ด

    (TheAdministrationof InfrastructuresBasedonTheGoodGovernance

    Principle by the Administrators of Hora Sub-District Administrative

    OrganizationinArtSamartDistrict,RoiEtprovince)

    ศศธิร สุมาล,ี ดร.สวัุฒน์ จติต์จนัทร์................................................................................... 11

    การประยกุต์หลักปธาน4ไปใช้ในการปฏิบตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การบริหารส่วนต�าบล

    อ�าเภอทุ่งเขาหลวงจังหวัดร้อยเอ็ด

    (AnApplicationoftheFourPrinciplesofPadhanatothePerformancesof

    PersonnelAttachedtoSub-districtAdministrativeOrganizationsinThung

    KhaoLuangDistrict, RoiEtProvence)

    สภุาพร ศรไีชยวาลย์, ดร.สวุฒัน์ จิตต์จันทร์........................................................................ 19

    การประยกุต์หลกัธรรมท�าให้งามในการให้บรกิารเบีย้ยงัชพีผูส้งูอายขุององค์การบรหิาร

    ส่วนต�าบลทุ่งศรีเมืองอ�าเภอสุวรรณภูมิจังหวัดร้อยเอ็ด

    (AnApplicationoftheTwoPrinciplesofSobhanaDhammatoManagement

    oftheSeniorsAllowancebytheThungSiriMueangSub-DistrictAdministrative

    Organization,SuwannaphumDistrict,RoiEtProvince)

    ก�าพล มืดทัพไทย, รองศาสตราจารย์อุดม พิริยสิงห์...................................................... 28

    ความคิดเห็นของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของส�านักงานธนารักษ์พื้นที่

    กาฬสินธุ์

    (TheOpinionsoftheTreasuryLandTenantsAboutTheServiceRendered

    bytheTreasuryOfficeinKalasinProvince)

    ไชโย พลทม, รองศาสตราจารย์อุดม พิริยสิงห์.............................................................. 39

  • หน้า

    การประยกุต์หลกัอทิธบิาท4ไปใช้ในการด�าเนนิงานด้านโครงสร้างพืน้ฐานขององค์การ

    บริหารส่วนต�าบลนาโพธิ์อ�าเภอเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด

    (AnApplicationofTheFourPrinciplesofIDDHIPADAtoTheInfrastructural

    Administration by The Napho Sub-District AdministrativeOrganization

    inMueangDistrict,RoiEtProvince)

    สุจิตติกา แก้วนาเหนือ, ดร.ไพรัช พื้นขมภู.................................................................... 48

    การประยกุต์หลกัอธษิฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมส่ีวนร่วมทางการเมอืงท้องถิน่ของประชาชน

    ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด

    (An Application of the Four Principles of Adhitthanadhamma to Local Political

    Participation of the People in Mueang Roi Et Municipality, Roi Et Province)

    ปรินดา เกตุมาชม, ดร.ไพรัช พื้นขมภู........................................................................... 58

    การประยุกต์หลักพละ 5 ในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนต�าบลในอ�าเภอ

    เกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด

    (An Application of the Five Principles of Bala to the Management of Sub-District

    Administrative Organizations in Kaset Wisai District, Roi Et Province)

    ไมตรี สมพงษ์ผึ้ง, ดร.ไพรัช พื้นขมภู............................................................................ 68

    ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อบทบาทด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระสงฆ์ใน

    เขตอ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด

    (Residents’ opinions on Buddhist Monk Roles Mueang District, Roi Et Province)

    พระตุลา กตทีโป (อุ่นเจริญ), ดร.ไพรัช พื้นชมพู,

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ เกียรติเจริญ............................................................ 77

    การประยกุต์หลกัพรหมวหิาร 4 ของผูบ้รหิารองค์การบรหิารส่วนต�าบล อ�าเภอหนองพอก

    จังหวัดร้อยเอ็ด

    (An Application of the Four Principles of Brahmavihara by the Administrators

    of Sub-district Administrative Organizations in Nong Phok District, Roi Et Province)

    ลิชสา ชุมภูแสง, ดร.ไพรัช พื้นชมภู............................................................................... 88

    ความคดิเห็นของสมาชกิและผูบ้รหิารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ต่อการยบุรวมองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลเป็นเทศบาล : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตอ�าเภอ

    เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

    (Opinions of Members and Administrators of Local Administrative Organizations on the Dissolution of Sub district Administrative Organizations as Municipality

    : A Case study of Local Administrative Organizations In Amphoe Mueang Khon

    Kaen, Khon Kaen Province)

    ดร.อ�านวย สังข์ช่วย............................................................................................................. 97

  • หน้า

    การพฒันาชุดการสอนตามแนวทางสะเตม็ศกึษาบรูณาการร่วมกับการเรยีนรู้แบบวัฏจกัร

    การเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เรื่อง พอลิเมอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

    (Development of Teaching Sets Basing on Guidelines on STEM Education

    Integrated with the 7 Learning Steps of the Learning Cycle (7E) on the Topic

    of Polymer for Mathayom Suksa 4 Students)

    ภัทรวดี สิทธิสาร............................................................................................................... 108

    ผลการสอนทางตรงเสริมด้วยชุดฝึกทักษะท่ีมีต่อความสามารถในการเขียนโปรแกรม

    ภาษาซีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

    (The Effects of Direct Instruction Supplemented with Skill Practice Package

    on the Ability of C Programming for Secondary School Students)

    กมลพรรณ พันสนิท, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พวงทอง เพชรโทน,

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาติชาย ม่วงปฐม..................................................................... 119

    การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในจังหวัดหนองบัวล�าภู

    (Transformative Administration of Private School Administrators in Nong Bua

    Lam Phu Province)

    ธิปัตย์ แสนบัว, รองศาสตราจารย์ ดร.ส�าเร็จ ยุรชัย....................................................... 130

    การบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดส�านักงานเขต

    พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4

    (The Academic Administration towards the ASEAN Community atmosphere of

    the Schools under the Office of Primary Education Service, Khon Kaen Area 4)

    คมกริช จันปาน, รองศาสตราจารย์ ดร.ส�าเร็จ ยุรชัย..................................................... 138

    การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ค�าศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถม

    ศกึษาปีที ่2 โดยใช้กระบวนการสอนแบบบทบาทสมมตุ ิร่วมกบัแบบฝึกทกัษะการเขยีน

    ค�าศัพท์ภาษาอังกฤษ

    (The Development of the Ability of English vocabulary learning of Pratom-suksa 2 students by using Role - Play method and English Vocabulary Writing

    Exercises)

    พระประกาสิต สัตนาโค.................................................................................................. 148

  • หน้า

    การประยกุต์ใช้หลกัมรรคมอีงค์ 8 ในการเสรมิสร้างวถิชีีวิตความพอเพยีงของชมุชนเขต

    อีสานกลาง

    (Applications of Buddhism’s Noble Eightfold Paths to Reinforcing Ways of Native Residents’ Life with Self-Sufficiency Economy in Communities of

    Thailand’s Central North-eastern Region)

    กฤตยากร ลดาวัลย์, สุวิมล สมไชย, วรเชษฐ์ โทอื้น, พีรพงษ์ แสนสิ่ง, มัณฑนา สุวรรณศร,ี

    ธณพร โปมิน......................................................................................................................... 156

    การพัฒนารูปแบบการจัดการธุรกิจร้านอาหารไทยในนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน

    ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

    (Development of the business management style Thai restaurants in Kunming

    city, Yunnan Province, People’s Republic of China)

    Xuejun Wang, ประสาน ก�าจรเมนุกูล............................................................................ 167

    การบูรณาการหลักธรรมในพระไตรปิฎกตามหลักพุทธวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า

    (The Integration of Buddhist Principle From Tripitaka According to the Buddhist

    Teaching Method of Lordbuddha)

    แม่ชีจิณธกาญจน์ ธัมมะรักขิตา....................................................................................... 179

    การพัฒนารปูแบบการจดัการเรยีนการสอนแบบ W-PA-RE เพือ่ส่งเสรมิทกัษะการสือ่สา

    ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง

    (The Development of W-PA-RE Learning Management Model to Promote

    Communicative English Skills for Prathomsuksa 4 students, Watsathong School)

    ตรีทิพย์นิภา รัตนอนุชาติกมล........................................................................................... 188

    ความหลากหลายของผักพื้นบ้านในมิติของการใช้ประโยชน์ และภูมิปัญญาของชุมชน

    กรณีศึกษาบ้านซะซอม อ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

    (Diversity of Ethno-Botanic Vegetables, Utilization, and Indigenous Knowledge

    Community at Ban Sasom, Khong Chiam District, Ubon Ratchathani Province)

    อุไรวรรณ กะนะหาวงศ์, บุญเจริญ เพ็งแจ่ม.................................................................... 199

    การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมเพื่อดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน กรณีศึกษาชุมชน บ้านแพะ

    ดอนสัก ต�าบลห้างฉัตร อ�าเภอห้างฉัตร จังหวัดล�าปาง

    (An Application to Use the Buddhadhamma to Cure Diabetes Patients: A Cast

    Study of Ban Don Sak Community, Hang-Chat District, Lampang Province)

    พระครูประภัศร์วัชรพงษ์................................................................................................ 211

  • หน้า

    ผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงของสถาบันครอบครัวที่มีต่อผู้สูงอายุในชนบทอีสาน

    (The Impacts on Family Institutions Changes of the Elderly in Thailand’s Rural

    Northeast Region)

    สุรสิทธิ์ ไกรสิน...................................................................................................................... 221

    การพัฒนารปูแบบการจัดกจิกรรมการเรยีนรูเ้ชงิประสบการณ์ เพือ่เสรมิสร้างทกัษะการ

    ท�าขนมไทย ส�าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

    (Development of learning activities model with experience to strengthen

    Thai dessert skills, Grade 5)

    ณปภัช ลิ้มพงศ์ธร.............................................................................................................. 231

    การบูรณาการหลักธรรมเพื่อลดภาระหนี้สินของข้าราชการครูกลุ่มร้อยแก่นสารสินธุ์

    (The Integration of Dharma Principles for Decreasing the Debt Burden of

    Teacher Officials, Roi-Kaen-Sala-Sin Group)

    พระครูวิจิตรปัญญาภรณ์................................................................................................... 241

    การบรหิารสถานศึกษายคุ 4.0 ตามหลกัอทิธบิาท 4 สงักดัส�านกังานเขตพืน้ทีก่ารศกึษา

    มัธยมศึกษา เขต 30

    (Educational Institution Administration in Era 4.0 based on Iddhipada IV under

    the Office of Secondary Education Service Area 30)

    พระสุทธิพงษ์ สุเมธโส (งอกลาภ), เจ้าอธิการบุญช่วย โชติว�โส,ดร.,

    พระครูสโมธานเขตคณารักษ์,ดร. .................................................................................. 252

    การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมคุณธรรม

    จริยธรรม ด้านพลเมืองที่ดี ของโรงเรียนในสังกัดส�านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถม

    ศึกษาขอนแก่น เขต 5

    (Learning Management of Social Studies, Religion and Culture to Promote Virtue and Ethics on the duty of Good Citizen of Schools under the Office of

    Khon Kaen Primary Education Service Area 5)

    ปรีดา พลวงษาธนกุล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี จรุงศิรวัฒน์,

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประยูร แสงใส............................................................................. 263

    สภาพและปัญหาในการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า

    หมู่บ้าน จังหวัดบุรีรัมย์

    (The State and Problems in Community Environmental Management of Village

    Health Volunteers Buriram Province)

    พิษณุ โชติประไพ, สุวารีย์ ศรีปูณะ, ประภาพร ชุลีลัง, ผมหอม เชิดโกทา...................... 274

  • หน้า

    การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบน�าตนเองด้วยบทเรียนออนไลน์ เพ่ือพัฒนาความ

    สามารถในการแสวงหาความรู้และเสริมสร้างความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถม

    ศึกษาปีที่ 6

    (The Development of Self-directed Learning Model by using Online Learning

    to Enhance Knowledge Seeking and Responsibility of Phrathomsuksa 6 Students)

    หอมจันทร์ แสงเสดาะ..................................................................................................... 285

    ทกัษะบาสเกตบอลของนกัเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปีที ่4 เขตพืน้ทีก่ารศกึษาอุดรธาน ีปีการ

    ศึกษา 2559

    (Basketball Skills of Mathayom Suksa 4 Students in Ubon Thani Educational

    Service Area in the Academic Year 2015)

    บณัฑติ หาญธงชัย................................................................................................................. 298

    บทความวิชาการ

    การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนยุค Thailand 4.0

    (English Language Learning Management for Learners in the Period of Thailand 4.0)

    สุชาดา ลดาวัลย์, กฤตัชญ์ มีค�าทอง................................................................................. 308

    สองทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงกับทิศทางการพัฒนาทางการเมืองของไทย

    (2 Decades of Changing and Thai Political Development Directions)

    วรเชษฐ์ โทอื้น.................................................................................................................... 318

    แนวทางการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล�้าด้านสินทรัพย์์ทางการเงิน

    (Problem Solving on Financial Asset Inequality)

    ภาสกร ดอกจันทร์, ชาตรี เพ็งท�า..................................................................................... 332

    บทวิจารณ์หนังสือ

    หลวงพ่อทองวัดโบสถ์

    (Laung Pho Thong Wat Bhot)

    พระไพรวัน มาลาวงศ์, พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ, ผศ.ดร....................................... 340

  • 1

    วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

    ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจ�าเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562

    แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ

    อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์

    Personnel’s Motives for Their Duty Performance at Tambon

    That Administrative Organization in Ratana Buri district, Surin Province

    สุพรรษาบรรพบุตร1

    SupansaBanpabut1

    รองศาสตราจารย์อุดมพิริยสิงห์2

    Assoc.Prof.UdomPhiriyasing2

    ท�าวิจัยเมื่อพ.ศ.2560

    Email:[email protected]

    บทคัดย่อ

    บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของ

    บุคลากรองค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์ที่มีเพศอายุระดับการศึกษาและ

    อายุการปฏิบัติงานต่างกันและ3)เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่

    ของบคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์กลุม่ตวัอย่างในการวจิยัครัง้นี้เป็น

    พนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลและอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนรวมทั้งสิ้น121คนเครื่องมือที่

    ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 สถิติที่ใช้ใน

    การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความ

    1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต

    ร้อยเอ็ด1 Graduate Students Majoring in Political Science, Mahamakut Buddhist University Roi Et

    Campus2 อาจารย์ประจ�าหลกัสตูรรฐัศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิารฐัศาสตร์การปกครอง, มหาวทิยาลัยมหามกฏุ

    ราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด2 Lecturers to Graduate Curriculum, Department of Political Science, Mahamakut Buddhist

    University Roi Et Campus

    * ได้รับบทความ: 17 มกราคม 2561; แก้ไขบทความ: 27 กมุภาพนัธ์ 2561; ตอบรบัการตพีมิพ์: 6 มนีาคม 2561

    Received: January 17, 2018; Revised: February 27, 2018; Accepted: March 6, 2018

  • 2

    Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus

    Vol.8 No.1 January - June 2019

    แปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยการทดสอบ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1) แรงจูงใจในการ

    ปฏบิตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์โดยรวมอยูใ่นระดบั

    มากเมือ่พจิารณาเป็นรายด้านอยูใ่นระดบัมากทัง้ห้าด้านล�าดบัตามค่าเฉลีย่จากมากไปหาน้อยคอืด้านการ

    ได้รับการยอมรับนับถือด้านความก้าวหน้าด้านลักษณะของงานด้านความส�าเร็จในการท�างานและด้าน

    ความรับผิดชอบ2)ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรพบว่าบุคลากรที่มีเพศ

    อายุ ระดับการศึกษา และอายุการปฏิบัติงานต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ี โดยรวมแตกต่างกัน

    อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรได้เสนอแนะการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่

    ล�าดับตามความถี่สูงไปหาต�่า สามอันดับแรก คือ ควรมีการยกย่องชมเชยบุคลากรที่มีผลงานดีเด่น หรือ

    สมควรได้รบัการยกย่องควรส่งเสรมิและสนบัสนนุให้บคุลากรได้พฒันาตนเองโดยเข้ารบัการอบรมสมัมนา

    และศึกษาต่อเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาทักษะในการท�างานอยู่เสมอและผู้บริหารควรให้อิสระในการตัดสินใจใน

    การปฏิบัติงาน

    ค�าส�าคัญ : 1.แรงจูงใจ2.การปฏิบัติหน้าที่3.องค์การบริหารส่วนต�าบล

    ABSTRACT

    TheObjectivesoftheresearcharticlewereto1)studypersonnel’smotivesfor

    theirdutyperformanceatTambonThatAdministrativeOrganization inSurinprovince’s

    RatanaBuridistrict,2)tocomparetheirmotivesassuchwiththeirdifferentvariablesof

    genders, ages, educational levels, and durations of official services, 3) examine their

    suggestions as guidelines on reinforcingmotives for their duty performance at their

    administrative organization. The sampling groups used for conducting the research

    includedauthoritiesworkingattheiradministrativeorganizationandcivilvolunteersfor

    disastermitigation,tallying121respondents.Theinstrumentusedfortheresearchwasthe

    five-ratingscalequestionnairewiththereliabilityat .89.Statisticsutilizedforprocessing

    data embraced percentages,means, standard deviations, t-tests and F-tests (One-way

    ANOVA).Resultsoftheresearchhavefoundthefollowingfindings:1)Personnel’smotives

    fortheirdutyperformanceatTambonThatAdministrativeOrganizationinSurinprovince’s

    RatanaBuridistricthavebeenratedatthehighscaleintheoverallaspect,ashaseachof

    five aspects taken into consideration in the descending order ofmeans, which are:

    self-esteems, career progression, job features, successes in performing their duty, and

    responsibilities. 2) The comparative results ofmotives for duty performance at their

    administrativeorganizationhaveintheoverallaspectshowndistinctionsintheirdifferent

    variablesofgenders,ages,educationallevelsanddurationsofofficialservices,withthe

    statisticalsignificancelevelat.05.3)Personnel’ssuggestionsasguidelinesonreinforcing

  • 3

    วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

    ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจ�าเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562

    motives for their duty performance at their administrative organization have been

    recommendedinfirstthreefrequenciesthat:administratorsoughtto:first,laudordeem

    topraisepersonnelwithanoutstandingdutyperformance;secondly,motivateandsupport

    personneltodevelopthemselvesbylettingthemattendtrainingcourses,seminarsand

    furthertheirhigherstudies;finally,offerpersonnelfreedomtomakedecisionsontheir

    dutyperformance.

    Keywords :1.Motives2.DutyPerformance3.AdministrativeOrganization

    1. ความส�าคัญและที่มาของปัญหาที่ท�าการวิจัย

    การบริหารจัดการองค์การภาครัฐจ�าเป็นต้องใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยส�าคัญสี่ประการได้แก่ คน

    (Man)เงิน(Money)วสัดอุปุกรณ์(Material)และการจดัการ(Management)หรอืทีเ่รยีกกนัว่า“4M’s”

    ปัจจัยเหล่านี้หากเปรียบเทียบคุณค่าและความส�าคัญแล้วคนเป็นปัจจัยส�าคัญที่สุดเพราะกิจการจะเกิดขึ้น

    ได้ต้องอาศยัความคิดของคนมคีนเป็นผูด้�าเนนิการหรือจดัการท�าให้เกดิกจิกรรมทางธรุกจิหลายรูปแบบเพือ่

    ให้ประสบความส�าเร็จในการประกอบกิจการนั้นๆ การท่ีคนหรือบุคลากรสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างเต็ม

    ศักยภาพ มีความเต็มใจที่จะทุ่มเทความรู้ความสามารถและเกิดความผูกพันต่อองค์กรในอันท่ีจะเสียสละ

    อุทิศตนเองในการท�างานปัจจัยส�าคัญคือแรงจูงใจ(Motivation)(ชาญวิทย์วสันต์ธนารัตน์,2552:18)

    ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจมีหลายทฤษฎีที่นิยมน�ามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิจัยคือทฤษฎีการก

    ระตุ้น-ค�้าจุน(TheMotivationHygieneTheory)ของเฮิร์ซเบิร์กและคณะ(HerzbergandOthers,

    1959:60-63อ้างในอษุาเฟ่ืองประยรู,2558:22-23)โดยปัจจยักระตุน้หรือองค์ประกอบจงูใจ(Motiva-

    tion Factors) ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติโดยตรงมีห้าประการ ได้แก่ ความส�าเร็จใน

    การท�างานการได้รับการยอมรับนับถือลักษณะของงานความรับผิดชอบและความก้าวหน้าส่วนปัจจัย

    ค�้าจุน(MaintenanceorHygienicFactors)ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ช่วยป้องกันไม่ให้บุคลากรเบื่อหน่าย

    การปฏิบัติงานมีเก้าประการ ได้แก่ เงินเดือน โอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในอนาคตความสัมพันธ์กับ

    ผูบ้งัคบับญัชาผูใ้ต้บงัคบับญัชาเพือ่นร่วมงานสถานะของอาชพีนโยบายและการบรหิารสภาพการท�างาน

    ชีวิตส่วนตัวความมั่นคงในงานและการปกครองบังคับบัญชาดังนั้นการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและ

    บรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใดนั้นก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังกล่าว

    องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ มีบุคลากรที่เป็นเสมือนกลไก

    (Mechanism) ในการขับเคลื่อนให้นโยบายของคณะผู้บริหารเกิดเป็นรูปธรรม ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนงาน

    ขององค์การบริหารส่วนต�าบลคือพนักงานส่วนต�าบลลูกจ้างและพนักงานจ้างทั้งหมด เพื่อเป็นการสร้าง

    ขวัญก�าลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรรวมทั้งเสริมแรงจูงใจอีกด้วยองค์การบริหารส่วนต�าบลจึงได้

    ออกระเบยีบประโยชน์หรือเงินตอบแทนอืน่เป็นกรณพีเิศษ(โบนสั)ตามนโยบายของกรมส่งเสรมิการปกครอง

    ส่วนท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทยและพระราชบัญญัติสภาต�าบลและองค์การบริหารส่วนต�าบล(ฉบับที่5)

    พ.ศ.2546(กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,2547:3)จนถึงปัจจุบันโดยหวังกันว่าเงินโบนัสน่าจะช่วย

  • 4

    Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus

    Vol.8 No.1 January - June 2019

    ให้การปฏบิตัหิน้าทีบ่รรลผุลอย่างมปีระสทิธภิาพเพิม่มากข้ึนเนือ่งจากบุคลากรมตี�าแหน่งและสถานภาพอืน่

    ต่างกันอาทิเพศอายุระดับการศึกษาและอายุการปฏิบัติงานอาจเป็นปัจจัยส�าคัญที่มีผลต่อแรงจูงใจใน

    การปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกันได้ ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นกับบุคลากรใน

    องค์การบริหารส่วนต�าบลเดียวกันจากการประชุมสัมมนาศึกษาดูงานและร่วมกิจกรรมอื่นๆอีกด้วย

    จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาวิจัย แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร

    องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์เพื่อน�าผลการวิจัยใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศใน

    การปรับปรุงแก้ไขและเสริมสร้างแรงจูงใจบุคลากรให้ปฏิบัติหน้าท่ีได้เต็มตามศักยภาพ สามารถให้บริการ

    ประชาชนในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นต่อไป

    2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

    2.1 เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอ

    รัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์

    2.2 เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ

    อ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์ที่มีเพศอายุระดับการศึกษาและอายุการปฏิบัติงานต่างกัน

    2.3 เพือ่ศกึษาข้อเสนอแนะแนวทางเสรมิสร้างแรงจงูใจในการปฏบิตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์

    3. สมมติฐานการวิจัย

    3.1 บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ที่มีเพศต่างกัน

    มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกัน

    3.2 บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ท่ีมีอายุต่างกัน

    มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกัน

    3.3 บุคลากรขององค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบุรีจงัหวดัสรุนิทร์ท่ีมีระดับการศกึษา

    ต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกัน

    3.4 บคุลากรขององค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์ทีม่อีายกุารปฏิบตัิ

    งานต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกัน

    4. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย

    4.1 ท�าให้ทราบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอ

    รัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์

    4.2 ท�าให้ทราบผลการเปรยีบเทยีบแรงจงูใจในการปฏบิตัหิน้าท่ีของบคุลากรองค์การบรหิารส่วน

    ต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์ที่มีเพศอายุระดับการศึกษาและอายุการปฏิบัติงานต่างกัน

    4.3 ท�าให้ทราบข้อเสนอแนะแนวทางเสรมิสร้างแรงจงูใจในการปฏบัิตหิน้าท่ีของบุคลากรองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์

  • 5

    วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

    ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจ�าเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562

    4.4 สามารถน�าผลการวิจัยเป็นข้อมูลสารสนเทศในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่

    ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

    5. วิธีด�าเนินการวิจัย

    การวิจัยเรื่อง แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอ

    รตันบรุีจงัหวัดสรุนิทร์ประชากรได้แก่พนกังานองค์การบรหิารส่วนต�าบลและอาสาสมคัรป้องกนัภยัฝ่าย

    พลเรือนรวมทั้งสิ้น174คน(องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ,2559:12)กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่

    เป็นพนักงานองค์การบรหิารส่วนต�าบลและอาสาสมคัรป้องกนัภยัฝ่ายพลเรอืนรวมทัง้สิน้121คนก�าหนด

    ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่(TaroYamane)(ยุทธไกยวรรณ์,2545:107)สุ่มตัวอย่าง

    แบบง่าย(SimpleRandomSampling)โดยวิธีจับสลาก(LotteryMethod)แบบทดแทนเครื่องมือที่ใช้

    ในการวจิยัเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดบัมค่ีาความเชือ่มัน่เท่ากบั.89โดยใช้วิธคี�านวณ

    หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา(α-Coefficient)ตามวิธีการของครอนบาค(Cronbach)(บุญชมศรีสะอาด,2553:112)สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าที(t-test)

    และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(One-wayANOVA)โดยการทดสอบF-test

    6. ผลการวิจัย

    6.1 ผลการวิเคราะห์แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ

    อ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทั้งห้าด้าน

    ล�าดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยคือด้านการได้รับการยอมรับนับถือด้านความก้าวหน้าด้านลักษณะ

    ของงานด้านความส�าเร็จในการท�างานและด้านความรับผิดชอบ

    6.2 ผลการทดสอบสมมติฐานแรงจูงใจในการปฏบิตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบล

    ธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์พบว่า บุคลากรท่ีมีเพศอายุ ระดับการศึกษา และอายุการปฏิบัติงาน

    ต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ.05

    6.3 ข้อเสนอแนะการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ ล�าดับตามความถ่ีสูงไปหาต�่า

    สามอนัดบัแรกคอืควรมกีารยกย่องชมเชยบคุลากรทีม่ผีลงานดเีด่นหรอืสมควรได้รบัการยกย่องควรส่งเสริม

    และสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองโดยเข้ารับการอบรมสัมมนาและศึกษาต่อเพิ่มเติม เพื่อพัฒนา

    ทักษะในการท�างานอยู่เสมอและผู้บริหารควรให้อิสระในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน

    7. อภิปรายผลการวิจัย

    7.1 แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี

    จงัหวดัสริุนทร์โดยรวมทัง้ห้าด้านอยูใ่นระดบัมากทีเ่ป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าในการท�างานของแต่ละคนย่อม

    ขึ้นอยู่กับมูลเหตุจูงใจที่เป็นแรงกระตุ้นให้คนแต่ละคนท�างานผลงานจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ

    เช่นสิ่งแวดล้อมในการท�างานกฎระเบียบกฎเกณฑ์บรรยากาศในการท�างานผลตอบแทนจากการท�างาน

    ผู้บริหารให้ความเป็นกันเองในการท�างาน สร้างขวัญและก�าลังใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา จึงท�าให้บุคลากร

  • 6

    Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus

    Vol.8 No.1 January - June 2019

    เกิดแรงจูงใจในการท�างานซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของดวงเพ็ญศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�าการ

    ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลศึกษาเฉพาะ

    กรณีในเขตพื้นที่อ�าเภอวังม่วง และอ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยพบว่า พนักงานองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลมปัีจจยัทีมี่ผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัตงิานในภาพรวมอยูใ่นระดบัมากและเมือ่พจิารณา

    เป็นรายด้านอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้

    7.1.1 ด้านความส�าเร็จในการท�างาน พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร

    องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่เป็นเช่นนี้อภิปราย

    ได้ว่าความส�าเร็จของงานเกดิจากความพยายามบวกกบัความสามารถของแต่ละคนและทุกความส�าเรจ็อาศยั

    ความร่วมมือร่วมใจในการท�างานของทุกฝ่าย แต่ในการท�างานใดท่ีขาดแรงจูงใจก็จะเกิดความฝืดในการ

    ท�างานเกดิการเกีย่งกนัในการท�างานโยนความรบัผดิชอบความไม่อยากท�างานหรอืเบือ่หน่ายในงานทีท่�า

    การสร้างแรงจูงใจจึงเป็นกระบวนการส�าคัญที่ท�าให้เกิดความส�าเร็จได้เร็วข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ

    ดวงเพ็ญศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�าการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ

    พนักงานองค์การบรหิารส่วนต�าบลศกึษาเฉพาะกรณใีนเขตพืน้ทีอ่�าเภอวงัม่วงและอ�าเภอมวกเหลก็จงัหวดั

    สระบุรี ผลการวิจัยพบว่า พนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบล มีปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

    ด้านความส�าเร็จในงานอยู่ในระดับมาก

    7.1.2 ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร

    องคก์ารบริหารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวดัสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมากเป็นเช่นนี้อภิปรายได้

    ว่าการได้รบัการยอมรบันบัถอืไม่ว่าจากผูบ้งัคบับญัชาจากเพือ่นจากผูม้าขอรบัค�าปรกึษาหรอืจากบคุคลใน

    หน่วยงานการยอมรบัไม่ว่าจะเป็นการยกย่องชมเชยแสดงความยนิดีการให้ก�าลงัใจหรอืการแสดงออกอืน่

    ใดก็ตามที่แสดงให้เห็นถึงการยอมรับในความสามารถ เมื่อได้ท�างานอย่างหนึ่งอย่างใดบรรลุผลส�าเร็จ

    การยอมรับนับถือจะแฝงอยู่กับความส�าเร็จในงานด้วยซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ เฮิร์ซเบิร์ก และคณะ

    (Hertzbergandothers,1959:60–63)ได้กล่าวถึงองค์ประกอบจูงใจ(MotivationFactors)เป็น

    องค์ประกอบทีเ่ก่ียวข้องกบังานทีป่ฏบิติัโดยตรงและเป็นสิง่จงูใจให้บคุลากรเกดิความพงึพอใจในการท�างาน

    เก่ียวกับการได้รับการยอมรบันบัถอื(Recognition)หมายถึงการได้รบัการยอมรบันบัถือจากบุคคลในหน่วย

    งานหรือบุคคลอื่นๆท่ีมาขอค�าปรึกษา ซึ่งอาจแสดงออกในรูปการยกย่องชมเชย การให้ก�าลังใจ การแสดง

    ความยินดีการแสดงออกที่ท�าให้เห็นถึงการยอมรับในความสามารถ

    7.1.3 ด้านลกัษณะของงานพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การบริหาร

    ส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมากเป็นเช่นนี้อภิปรายได้ว่าบุคลากรได้

    รับมอบหมายงานทีป่ฏบิติัตรงตามความรูค้วามสามารถเหมาะสมกบัต�าแหน่งงานท�าให้สามารถแก้ไขปัญหา

    ที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ดวงเพ็ญ

    ศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�าการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน

    องค์การบริหารส่วนต�าบล ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตพื้นที่อ�าเภอวังม่วงและอ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

    ผลการวิจัยพบว่าพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลมีปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานลักษณะ

    งานที่ท�าอยู่ในระดับมาก

  • 7

    วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

    ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจ�าเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562

    7.1.4ด้านความรบัผดิชอบพบว่าแรงจงูใจในการปฏบัิตหิน้าท่ีของบุคลากรองค์การบรหิาร

    ส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์โดยรวมอยูใ่นระดบัมากเป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าบคุคลต้องอยู่

    ร่วมกันท�างานในองค์การจ�าเป็นต้องปรบัลกัษณะนสิยัเจตคตขิองบุคคลเพือ่ช่วยเป็นเครือ่งผลกัดนัให้ปฏบัิติ

    งานตามระเบยีบรูจ้กัเคารพสทิธขิองผูอ้ืน่ปฏบิตังิานในหน้าทีท่ีต้่องรบัผดิชอบและมคีวามซือ่สตัย์สจุริตคน

    ที่มีความรับผิดชอบจะท�าให้การปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายที่วางไว้และช่วยให้การท�างานร่วมกันเป็นไปด้วย

    ความราบรื่นความรับผิดชอบจึงเป็นภาระผูกพันที่ผู้น�าต้องสร้างขึ้นเพื่อให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมาย

    ได้อย่างดีซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของดวงเพ็ญศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�า้การศึกษาเรื่องปัจจัย

    ที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบล ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตพื้นที่

    อ�าเภอวังม่วงและอ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยพบว่า พนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบล

    มีปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านความรับผิดชอบอยู่ในระดับมาก

    7.1.5 ด้านความก้าวหน้าพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบัตหิน้าทีข่องบุคลากรองค์การบริหาร

    ส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์โดยรวมอยูใ่นระดบัมากเป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าในการบริหาร

    งานผูบ้รหิารทุกคนล้วนมคีวามต้องการให้บคุลากรของตนได้รบัการพฒันาและต้องการให้บคุลากรของตน

    มีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ซึ่งบุคคลที่มีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลานั้นจะมีความพร้อมต่อการ

    แข่งขันและจะเป็นบุคคลที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาหน่วยงานหรือองค์กรใดก็ตามที่

    บคุลากรมกีารพฒันาตนเองย่อมก่อให้เกดิประสทิธภิาพในการท�างานและน�ามาซึง่ความเจรญิก้าวหน้าของ

    องค์กรสอดคล้องกับงานวิจัยของดวงเพ็ญศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�า้การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผล

    ต่อแรงจงูใจในการปฏบิตังิานของพนกังานองค์การบรหิารส่วนต�าบลศกึษาเฉพาะกรณใีนเขตพืน้ทีอ่�าเภอวงั

    ม่วงและอ�าเภอมวกเหล็กจังหวัดสระบุรีผลการวิจัยพบว่าพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลมีปัจจัยที่มี

    ผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านความก้าวหน้าอยู่ในระดับมาก

    7.2 ผลการเปรียบเทยีบแรงจงูใจในการปฏบิตัหิน้าทีข่องบคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุ

    อ�าเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์

    7.2.1บคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรัตนบรุีจงัหวดัสรุนิทร์ทีม่เีพศต่างกัน

    มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับ

    สมมตฐิานการวจิยัทีต้ั่งไว้ทีเ่ป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าบุคลากรเพศหญงิมแีรงจงูใจในการปฏบัิตหิน้าทีม่ากกว่า

    เพศชายทัง้นีอ้าจเป็นเพราะว่าเพศหญงิมคีวามต้องการด้านเงนิและความทะเยอทะยานทางอาชพีน้อยกว่า

    เพศชาย มีความมุ ่งมั่นและตั้งใจที่จะปฏิบัติหน้าท่ีมากกว่าเพศชาย จึงท�าให้มีแรงจูงใจแตกต่างกัน

    ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของชลศิริจันทร(2555:บทคัดย่อ)ได้ท�าการศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติ

    งานของพนักงานองค์การบรหิารส่วนต�าบลในอ�าเภอพรานกระต่ายจงัหวัดก�าแพงเพชรผลการศกึษาพบว่า

    แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลจ�าแนกตามเพศแตกต่างกัน

    7.2.2บคุลากรองค์การบรหิารส่วนต�าบลธาตุอ�าเภอรตันบรุีจงัหวดัสรุนิทร์ทีม่อีายตุ่างกนั

    มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับ

    สมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ที่เป็นเช่นนี้อภิปรายได้ว่าอายุท่ีต่างกันมีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เพราะ

    อายุเป็นปัจจัยที่ท�าให้คนมีความแตกต่างกันในเรื่องของความคิด ความรู้ ประสบการณ์ และพฤติกรรม

  • 8

    Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus

    Vol.8 No.1 January - June 2019

    คนที่อายุน้อยมักจะมีความคิดเสรีนิยมยึดถืออุดมการณ์และมองโลกในแง่ดีมากกว่าคนที่อายุมากในขณะ

    ที่คนอายุมากมักจะมีความคิดที่อนุรักษ์นิยม ยึดถือการปฏิบัติระมัดระวัง มองโลกในแง่ร้ายกว่าคนที่มีอายุ

    น้อย เนื่องมาจากผ่านประสบการณ์ชีวิตที่แตกต่างกันซึ่งไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของดวงเพ็ญศรีพรหม

    (2552:บทคัดย่อ)ได้ท�าะการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การ

    บริหารส่วนต�าบลศึกษาเฉพาะกรณีในเขตพืน้ทีอ่�าเภอวงัม่วงและอ�าเภอมวกเหลก็จงัหวดัสระบุรีเมือ่เปรยีบ

    เทียบปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานจ�าแนกตามอายุมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน

    7.2.3 บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ท่ีมีระดับ

    การศึกษาต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ

    .05ซึง่สอดคล้องกบัสมมตฐิานการวจิยัทีต่ัง้ไว้ทีเ่ป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าการศกึษามผีลต่อการวเิคราะห์และ

    แก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของ ดวงเพ็ญ

    ศรีพรหม(2552:บทคัดย่อ)ได้ท�า้การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน

    องค์การบริหารส่วนต�าบล ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตพื้นที่อ�าเภอวังม่วงและอ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

    เม่ือเปรยีบเทยีบปัจจยัทีม่ผีลต่อแรงจงูใจในการปฏบิตังิานจ�าแนกตามระดบัการศกึษาพบว่ามแีรงจงูใจใน

    การปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน

    7.2.4บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ที่มีอายุ

    การปฏิบัติงานต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ

    .05ซึง่สอดคล้องกบัสมมตฐิานการวจัิยทีต่ัง้ไว้ทีเ่ป็นเช่นนีอ้ภปิรายได้ว่าระยะเวลาในการปฏบิตังิานมผีลต่อ

    ประสิทธิภาพการปฏิบติังานเน่ืองจากผูท้ีม่รีะยะเวลาในการปฏิบัตนิานจะรูจ้กัคิดปรบัปรุงวิธกีารปฏบัิตงิาน

    การทบทวนการปฏิบัติงานอย่างหลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ กิลฟอร์ด และเกรย์ (Guilford

    andGray,1970:79)กล่าวว่าแรงจูงใจคือสถานการณ์ภายในซึ่งไปกระตุ้นและริเริ่มเรื่องของกิจกรรม

    และการเคลื่อนไหวแล้วน�าไปสู่การปฏิบัติตามช่องทางภายใต้การน�าของเป้าหมาย

    8. ข้อเสนอแนะ

    8.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

    8.1.1ด้านความส�าเร็จในการท�างาน ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ

    มองหาศักยภาพที่บุคลากรผู้นั้นมีท�าให้บุคลากรมีโอกาสทดลองเพื่อหาประสบการณ์และเร่งพัฒนาความ

    ภาคภูมิใจ

    8.1.2ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ผู้บังคับบัญชาควรยกย่องชมเชย แสดงความยินดี

    และให้ก�าลงัใจหรอืการแสดงออกอืน่ใดทีก่่อให้เหน็ถงึการยอมรบัในความสามารถของบคุลากรเมือ่บคุลากร

    ท�างานอย่างหนึ่งอย่างใดบรรลุผลส�าเร็จ

    8.1.3ด้านลกัษณะของงานผูบ้รหิารควรเปิดโอกาสให้ผูใ้ต้บงัคบับญัชาได้พฒันาตนเองและ

    พัฒนาศักยภาพในงานที่ปฏิบัติได้อย่างเต็มที่และควรแบ่งงานให้ตรงตามสายงานปฏิบัติและควรแบ่งแยก

    หน้าที่และขอบข่ายงานอย่างชัดเจน ทั้งน้ีเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของงานและความชัดเจนในการท�างาน

    มากขึ้น

  • 9

    วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

    ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจ�าเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562

    8.1.4ด้านความรบัผดิชอบควรเปิดโอกาสให้บุคลากรในองค์กรมส่ีวนร่วมในการท�างานทกุ

    ขัน้ตอนของการด�าเนนิงานเพือ่ให้บคุลากรมส่ีวนร่วมในการท�างานและเป็นการสร้างแรงจงูใจในการปฏบิตัิ

    งานซึ่งท�าให้พนักงานรู้ว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของงานหรือขององค์กรนั้น

    8.1.5ด้านความก้าวหน้าควรส่งเสรมิให้บุคลากรได้รับการพฒันาซ่ึงเน้นการพฒันาบุคลากร

    ตามเป้าหมายและภารกิจหลักของส่วนงาน โดยเน้นการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรให้เกิดการเรียนรู้ที่

    สมดุลทั้งการพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานในรูปแบต่างๆ อาทิเช่น การฝึกอบรม การศึกษาต่อ การประชุม

    และสัมมนาเป็นต้น

    8.2 ข้อเสนอแนะส�าหรับการวิจัยต่อไป

    8.2.1ควรศึกษาเง่ือนไขแรงจูงใจในการปฏิบัตงิานในเชิงคณุภาพเพือ่ให้สามารถทราบข้อมลู

    ในเชิงลึกและน�ามาเปรียบเทียบกับผลการวิจัยในครั้งนี้

    8.2.2ควรท�าวิจัยเชิงเปรียบเทียบแรงจูงใจท่ีมีอิทธิพลต่อการท�างานของบุคลากรองค์กร

    ปกครองส่วนท้องถิน่ในพืน้ทีท่ีม่คีวามแตกต่างกันเช่นเมอืงกบัชนบทระบบการบรหิารงานและจ�านวนของ

    บุคลากรที่ปฏิบัติงานต่างกันเป็นต้น

    9. เอกสารอ้างอิง

    ชลศิริ จันทร. (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลในอ�าเภอ

    พรานกระต่าย จังหวดัก�าแพงเพชร.วทิยานพินธ์รฐัประศาสนศาสตรมหาบณัฑติ.บณัฑติวทิยาลยั

    :มหาวิทยาลัยราชภัฏก�าแพงเพชร.

    ชาญวิทย์วสันต์ธนารัตน์.(2552).123 สู่การเป็นองค์กรแห่งความสุข. นนทบุรี:สองขาครีเอชั่น.

    ดวงเพ็ญ ศรีพรหม. (2552).ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหาร

    ส่วนต�าบลในเขตพื้นที่อ�าเภอวังม่วง และอ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี. ภาคนิพนธ์บริหาร

    ธุรกิจมหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.

    บุญชมศรีสะอาด.(2553).การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่8.กรุงเทพมหานคร:สุวีริยาสาส์น.

    ยุทธไกยวรรณ์.(2545). พื้นฐานการวิจัย.พิมพ์ครั้งที่4.กรุงเทพมหานคร:สุวีริยาสาส์น.

    กรมส่งเสรมิการปกครองท้องถิน่.(2547). คูม่อืการจดัท�าแผนพฒันาท้องถิน่.กรงุเทพมหานคร:ส่วนแผน

    พัฒนาท้องถิ่น.

    องค์การบริหารส่วนต�าบลธาตุ. (2559).แผนพัฒนาสามปี (2559-2561). สุรินทร์ : องค์การบริหาร

    ส่วนต�าบลธาตุ.

    อุษาเฟื่องประยูร.(2558).ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการ�