ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02...

10
แนวทางการจัดทำ MODIFIED AIIR สำหรับผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ฉบับวันที30 มีนาคม 2563 สำหรับผู้ป่วยติดเชื ้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ยืนยันผลการตรวจแล้ว และจำเป็นจะต้องทำหัตถการที่เกี่ยวข้องกับการ ก่อให้เกิดฝอยละออง เช่น ผู้ป่วยที ่ใส่เครื ่องช่วยหายใจ ผู้ป่วยที ่มีการพ่นยา ควรอยู่ในห้องแยกผู้ป่วยแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (AIIR) เพื่อใช้เป็นพื้นที่รักษาผู้ป่วยติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 1. ลักษณะการติดตั้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศของ AIIR (รายละเอียดตามแบบแนบ) กรณีที่ 1 ) กรณีที่มีระบบระบายอากาศและระบบเติมอากาศทำความเย็นแบบ Fresh Air 100% จะต้องจัดให้มีระบบระบาย อากาศ โดยมีอัตราการระบายอากาศ ≥ 12 เท่าของปริมาตรห้องต่อชั ่วโมง โดยติดตั้งช่องระบายอากาศ ( Exhaust air grille) บริเวณหัว เตียงผู้ป่วย ระบายอากาศออกสู ่ภายนอก และจุดปล่อยลมทิ้งต้องห่างจากหน้าต่าง หรือบุคคลต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 8 เมตร หากมีระยะน้อย กว่า 8 เมตร ลมระบายทิ้งจะต้องกรองด้วย HEPA Filter โดยติดตั้งแผงควบคุมของเครื่องปรับอากาศและระบบระบายอากาศไว้บริเวณ ด้านหน้าทางเข้าห้อง AIIR หรือใน Nurse station การจ่ายลมของเครื ่องปรับอากาศควรจ่ายบริเวณทางเดินท้ายเตียงผู้ป่วยและควรเลือก หัวจ่ายลมชนิดที่กระแสลมไม่เป่าใส่ผู้ป่วยโดยตรง กรณีที่ 2) กรณีที่มีระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนเดิมอยู่ภายในห้อง (2.1) จะต้องติดตั้งช่องระบายอากาศ(Exhaust air grille)บริเวณหัวเตียงผู้ป่วยระบายอากาศออกสู่ภายนอกโดยมีอัตราการ ระบายอากาศ ≥ 12 เท่าของปริมาตรห้องต่อชั ่วโมง เพื่อควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ โดยจุดปล่อยลมทิ้งต้องห่างจากหน้าต่าง หรือบุคคลต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 8 เมตร หากมีระยะน้อยกว่า 8 เมตร ลมระบายทิ ้งจะต้องกรองด้วย HEPA Filter ทั้งนี้พัดลมระบายอากาศ ต้องอยู่ภายนอกอาคาร และให้มีช่องอากาศไหลเข้า (Intake air) จาก Ante Room หรือจากบริเวณที่มีอากาศสะอาดด้านหน้าห้อง AIIR (2.2) ให้ปรับทิศทางของแผงกระจายลมที่เครื่องปรับอากาศเดิมให้กระแสลมไม่เป่าใส่ผู้ป่วยโดยตรง (2.3) ให้แยกอุปกรณ์เปิดปิดเครื่องปรับอากาศมาอยู่บริเวณด้านหน้าห้อง AIIR ** เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถปิด เครื่องปรับอากาศบริเวณหน้าห้องก่อนเข้าไปปฏิบัติงานในพื้นที** หมายเหตุ ** จากกรณีที่ 2 ในระหว่างที ่ปิดเครื่องปรับอากาศ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์เข้าปฏิบัติงานในห้อง AIIR ในช่วงที่อากาศภายนอกมีความชื้นสูง ๆ อาจเกิดเหงื่อ (Condensation) ที่ผนังห้องขึ้นได้ในบางครั้ง ถ้าเป็นไปได้ แนะนำให้ย้ายเครื่องปรับอากาศเดิมที่มีอยู ่ในห้อง มาติดตั ้งด้านนอกห้องและทำเป็น Fresh Air 100% เหมือนในกรณีที1 กรณีที่ 3) มีแต่ระบบระบายอากาศอย่างเดียวไม่สามารถติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้ จะต้องติดตั้งช่องระบายอากาศ (Exhaust air grille) บริเวณหัวเตียงผู้ป่วยระบายอากาศออกสู ่ภายนอกโดยมีอัตราการระบายอากาศ ≥ 12 เท่าของปริมาตรห้องต่อชั ่วโมง (ในกรณีนีเนื่องจากในห้องไม่มีการทำความเย็น เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกสบายมากขึ้น แนะนำให้ใช้อัตราการระบายอากาศที25-30 เท่าของปริมาตร ห้องต่อชั่วโมง) เพื่อควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ โดยจุดปล่อยลมทิ้งต้องห่างจากหน้าต่าง หรือบุคคลต่าง ไม่น้อยกว่า 8 เมตร หากมีระยะน้อยกว่า 8 เมตร ลมระบายทิ ้งจะต้องกรองด้วย HEPA Filter ทั้งนี้พัดลมระบายอากาศต้องอยู่ภายนอกอาคาร และให้มีช่อง อากาศไหลเข้า (Intake air) จาก Ante Room หรือจากบริเวณที่มีอากาศสะอาดด้านหน้าห้อง AIIR หมายเหตุ ของทั้ง 3 กรณี ตำแหน่งติดตั้งช่องระบายอากาศ (Exhaust air grille) ที่หัวเตียงผู้ป่วย ระดับของขอบล่างช่องระบายอากาศควรสูงโดยประมาณ 1 เมตรและต้องมีความเร็วลมหน้าช่องระบายอากาศ ประมาณ 400-500 ฟุตต่อนาที จุดปล่อยลมทิ้งต้องมีความเร็วลมปากปล่องประมาณ 2500 ฟุตต่อนาที 2. Nurse Station ควรแยกออกมาจากพื้นที่ผู ้ป่วยและควบคุมความดันอากาศให้เป็นบวกเมื ่อเทียบกับ AIIR และควรมีระบบกล้อง วงจรปิดสำหรับติดตามและเฝ้าระวังผู้ป่วยใน AIIR 3. ควรมีระบบสื่อสารด้วยเสียงแบบ 2 ทิศทาง ( Intercom) ติดตั้งใน Nurse Station สำหรับติดต่อสื ่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ และ ผู้ป่วยใน AIIR 4. จัดระบบเส้นทางสัญจรระหว่าง Nurse Station และ AIIR ให้ชัดเจน

Transcript of ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02...

Page 1: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป

แนวทางการจดทำ MODIFIED AIIR สำหรบผปวยโรคตดเชอไวรสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานการณฉกเฉน

ฉบบวนท 30 มนาคม 2563

สำหรบผปวยตดเชอโรคไวรสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทยนยนผลการตรวจแลว และจำเปนจะตองทำหตถการทเกยวของกบการ

กอใหเกดฝอยละออง เชน ผปวยทใสเครองชวยหายใจ ผปวยทมการพนยา ควรอยในหองแยกผปวยแพรกระจายเชอทางอากาศ (AIIR)

เพอใชเปนพนทรกษาผปวยตดเชอโรคไวรสโคโรนา 2019

1. ลกษณะการตดตงระบบปรบอากาศและระบายอากาศของ AIIR (รายละเอยดตามแบบแนบ) กรณท 1) กรณทมระบบระบายอากาศและระบบเตมอากาศทำความเยนแบบ Fresh Air 100% จะตองจดใหมระบบระบาย

อากาศ โดยมอตราการระบายอากาศ ≥ 12 เทาของปรมาตรหองตอชวโมง โดยตดตงชองระบายอากาศ (Exhaust air grille) บรเวณหว

เตยงผปวย ระบายอากาศออกสภายนอก และจดปลอยลมทงตองหางจากหนาตาง หรอบคคลตาง ๆ ไมนอยกวา 8 เมตร หากมระยะนอย

กวา 8 เมตร ลมระบายทงจะตองกรองดวย HEPA Filter โดยตดตงแผงควบคมของเครองปรบอากาศและระบบระบายอากาศไวบรเวณ

ดานหนาทางเขาหอง AIIR หรอใน Nurse station การจายลมของเครองปรบอากาศควรจายบรเวณทางเดนทายเตยงผปวยและควรเลอก

หวจายลมชนดทกระแสลมไมเปาใสผปวยโดยตรง

กรณท 2) กรณทมระบบปรบอากาศแบบแยกสวนเดมอยภายในหอง

(2.1) จะตองตดตงชองระบายอากาศ(Exhaust air grille)บรเวณหวเตยงผปวยระบายอากาศออกสภายนอกโดยมอตราการ

ระบายอากาศ ≥ 12 เทาของปรมาตรหองตอชวโมง เพอควบคมทศทางการเคลอนทของอากาศ โดยจดปลอยลมทงตองหางจากหนาตาง

หรอบคคลตาง ๆ ไมนอยกวา 8 เมตร หากมระยะนอยกวา 8 เมตร ลมระบายทงจะตองกรองดวย HEPA Filter ทงนพดลมระบายอากาศ

ตองอยภายนอกอาคาร และใหมชองอากาศไหลเขา (Intake air) จาก Ante Room หรอจากบรเวณทมอากาศสะอาดดานหนาหอง AIIR

(2.2) ใหปรบทศทางของแผงกระจายลมทเครองปรบอากาศเดมใหกระแสลมไมเปาใสผปวยโดยตรง

(2.3) ใหแยกอปกรณเปดปดเครองปรบอากาศมาอยบรเวณดานหนาหอง AIIR ** เพอใหบคลากรทางการแพทยสามารถปด

เครองปรบอากาศบรเวณหนาหองกอนเขาไปปฏบตงานในพนท**

หมายเหต ** จากกรณท 2 ในระหวางทปดเครองปรบอากาศ เพอใหบคลากรทางการแพทยเขาปฏบตงานในหอง AIIR

ในชวงทอากาศภายนอกมความชนสง ๆ อาจเกดเหงอ (Condensation) ทผนงหองขนไดในบางครง

ถาเปนไปได แนะนำใหยายเครองปรบอากาศเดมทมอยในหอง มาตดตงดานนอกหองและทำเปน Fresh Air

100% เหมอนในกรณท 1

กรณท 3) มแตระบบระบายอากาศอยางเดยวไมสามารถตดตงเครองปรบอากาศได จะตองตดตงชองระบายอากาศ (Exhaust air

grille) บรเวณหวเตยงผปวยระบายอากาศออกสภายนอกโดยมอตราการระบายอากาศ ≥ 12 เทาของปรมาตรหองตอชวโมง (ในกรณน

เนองจากในหองไมมการทำความเยน เพอใหผปวยมความรสกสบายมากขน แนะนำใหใชอตราการระบายอากาศท 25-30 เทาของปรมาตร

หองตอชวโมง) เพอควบคมทศทางการเคลอนทของอากาศ โดยจดปลอยลมทงตองหางจากหนาตาง หรอบคคลตาง ๆ ไมนอยกวา 8 เมตร

หากมระยะนอยกวา 8 เมตร ลมระบายทงจะตองกรองดวย HEPA Filter ทงนพดลมระบายอากาศตองอยภายนอกอาคาร และใหมชอง

อากาศไหลเขา (Intake air) จาก Ante Room หรอจากบรเวณทมอากาศสะอาดดานหนาหอง AIIR

หมายเหต ของทง 3 กรณ

▪ ตำแหนงตดตงชองระบายอากาศ (Exhaust air grille) ทหวเตยงผปวย ระดบของขอบลางชองระบายอากาศควรสงโดยประมาณ 1

เมตรและตองมความเรวลมหนาชองระบายอากาศ ประมาณ 400-500 ฟตตอนาท

▪ จดปลอยลมทงตองมความเรวลมปากปลองประมาณ 2500 ฟตตอนาท

2. Nurse Station ควรแยกออกมาจากพนทผปวยและควบคมความดนอากาศใหเปนบวกเมอเทยบกบ AIIR และควรมระบบกลอง

วงจรปดสำหรบตดตามและเฝาระวงผปวยใน AIIR

3. ควรมระบบสอสารดวยเสยงแบบ 2 ทศทาง ( Intercom) ตดตงใน Nurse Station สำหรบตดตอสอสารระหวางเจาหนาท และ

ผปวยใน AIIR

4. จดระบบเสนทางสญจรระหวาง Nurse Station และ AIIR ใหชดเจน

Page 2: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป

5. ควรมพนทสำหรบถอดเครองปองกนรางกาย (PPE) ทปนเปอน หรอบรเวณอนทเหมาะสม โดยปฏบตตามมาตรฐานการปองกนการ

ตดเชอและแพรกระจายเชอทเกยวของ

6. ประตทางเขาออกในพนท ควรมระบบลอคปองกน แยกระหวาง Nurse Station และ AIIR เพอความปลอดภยของเจาหนาท

และสามารถควบคมการ เขา-ออก ของผปวย

7. มแสงสวางในพนทเพยงพอ และมระบบไฟฟาสำรองพรอมใชงาน

8. มหองนำ มอางลางมอ แยกเฉพาะไมปะปนกบผปวยอน

9. หองนำตองมการระบายอากาศและทำการบำบดรวมกบหอง AIIR

10. มภาชนะสำหรบรองรบมลฝอยตดเชอสำหรบผปวยทกคน และนำยาลางมอ (Alcohol hand rub) ไวประจำทกเตยง

11. มลฝอยในหองผปวย หองนำและอปกรณปองกนสวนบคคล (PPE) ทงหมดถอเปนมลฝอยตดเชอ ใหกำจดตามแนวทางการกำจด

มลฝอยตดเชอ

12. การใชอปกรณปองกนรางกายสวนบคคลของบคลากรใหเปนไปตามหลก Isolation Precautions และปฏบตตามมาตรฐานการปองกนการตดเชอและแพรกระจายเชอทเกยวของ

13. การจดการนำเสยใหเพมมาตรการการเฝาระวงการรวซมของระบบทอรวบรวมนำเสย และกระบวนการฆาเชอโรคโดยเพมความถในการตรวจสอบคณภาพนำประจำวนในการฆาเชอโรคกอนปลอยสลำรางสาธารณะ

* กรณทตองการคำแนะนำเพมเตมกรณาตดตอ กองวศวกรรมการแพทย กองแบบแผน ศนยสนบสนนบรการสขภาพท 1-12 กรมสนบสนน

บรการสขภาพ และสมาคมวศวกรรมปรบอากาศแหงประเทศไทย ดงน

กองวศวกรรมการแพทย กรมสนบสนนบรการสขภาพ โทร 02-149-5680 ตอ 1386 E-mail : [email protected]

กองแบบแผน กรมสนบสนนบรการสขภาพ โทร 02-193-7000 ตอ 18300

ศนยสนบสนนบรการสขภาพท 1-12 กรมสนบสนนบรการสขภาพ

สมาคมวศวกรรมปรบอากาศแหงประเทศไทย โทร 02-318-4119 02-318-4123 E-mail : [email protected]

Page 3: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป

ตวอยางงานระบบปรบอากาศและระบายอากาศ

หอง AIIR

ใชสำหรบกรณท 1 ทมระบบระบายอากาศและระบบเตมอากาศทำความเยนแบบ Fresh Air 100% (ดแบบประกอบ) ฉบบวนท 30 มนาคม 2563

• ขนาด (ก x ย x ส) = 8.0 ม x 3.5 ม. X 2.7 ม. (ปรมาตรหอง 75.6 ลบ.ม.) 1 อตราการระบายอากาศ (เตมอากาศ)

1.1 อตราการระบาย ≥ 12 เทาของปรมาตรหองตอชวโมง (กรณนคดท 12 ACH)

= 12 x 75.6 CMH x 0.59 CFM/CMH

= 535 CFM (เลอกท 600 CFM)

สรปเล อกการเต มอากาศผานเคร องปร บอากาศ (FCU-01) เป น Fresh Air 100% ขนาดปรมาณลม 600 CFM โดยเล อกเครองปรบอากาศทมขายอยในทองตลาด ขนาด 30,000 Btuh (ขนาดปรมาณลมตามสเปคเครองท 1,000 CFM) มาปรบปรมาณลมลดลงใหไดท 600 CFM โดยอณหภมลมจายจะอยประมาณ 22.3 C (h2= 35.5 Btu/lb)

1.2 ขนาดทำความเยนของ FCU-01 (คดทอากาศภายนอก 35 C/60%RH/ h= 46.6 Btu/lb)

ขนาดทำความเยน (Btuh) = 4.5 x CFM x (h1-h2)

= 4.5 x 600 x (46.6-35.5)

= 30,000 Btuh

** กรณทปรมาณลมแตกตางจาก 600 CFM ใหคำนวณขนาด Btuh ตามแนวทางน

*** วศวกรอาจกำหนดอณหภมลมจายใหตำกวานไดเลกนอย โดยตรวจสอบคาทใชประกอบในการคำนวณ (CFM, h1, h2, Supply air temp) ทกครง และระมดระวงการเกดนำแขงเกาะทคอยล (Freezing) ในชวงเวลาทอากาศภายนอกอณหภมลดตำลง

หมายเหต

• จากตวอยางน เปนการเตมอากาศผานเครองปรบอากาศโดยทำหนาท Fresh air unit ในทางทฤษฎแลวตองทำการคำนวณ และเลอกคอยลเยนพเศษ ซงสามารถแปรผนการทำงานไดตามสภาวะอากาศภายนอก และควบคมอณหภมลมจายไดเหมาะสม ซงจะตองใชระยะเวลาในการสงทำไมนอยกวา 45-60 วน

• สำหรบสถานการณเรงดวน ในตวอยางนจงแนะนำใหใชเครองปรบอากาศทมขายอยในทองตลาด มาใชทดแทน ซงอาจจะมขอจำกดคอ 1) อณภมลมจายจะไมเยนมาก และอณหภมหองจะมการแกวงตวบางตามสภาวะอากาศภายนอก แตกยงใหผลทดกวาการเตมอากาศ 35 C โดยไมผานการทำความเยน 2) จะตดตงแผงกรองอากาศชนตน (ระดบ MERV7) เทานน เนองจากคาแรงดนของพดลม (Static Pressure) มคาไมสงไมสามารถตดตงแผงกรองอากาศชนกลางได

• ในกรณทสามารถหาเครองปรบทมคา Static Pressure สงเพยงพอไดในชวงเวลาทกำหนด ใหพจารณาตดตงแผงกรอง Medium Filter (ระดบ MERV14) เพมเตมจากแผงกรองอากาศชนตน (ระดบ MERV7)

• ตำแหนงชองดดลมจากอากาศภายนอก (Fresh Air Grille) ใหวศวกรตรวจสอบวาบรเวณดงกลาวเปนบรเวณทอากาศสะอาด ปราศจากมลพษจาก

2 อตราการดดอากาศทง (Exhaust air)

คดท 15 เทาของปรมาตรหองตอชวโมง (ACH) พจารณาจากการเตมอากาศท 12 ACH + ความตองการความดนแตกตางเพอสรางความดนลบ 3 ACH

อตราการดดอากาศทง = 15 x 75.6 CMH x 0.59 CFM/CMH

= 670 CFM (ออกแบบท 700 CFM)

** ในทางปฏบตเพอใหคาความดนลบของหองไดตามทกำหนด ใหวศวกรเผอพดลมทจะใชงานจรงใหมขนาดใหญกวาคาทกำหนดในแบบ อก 20-30% เพอชดเชยการรวของทอลมและสภาพสถาปตยกรรมภายในหอง จากกรณนจะเลอกพดลมท 700 x 130% = 910 CFM

Page 4: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 5: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 6: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 7: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 8: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 9: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป
Page 10: ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 - Ministry of Public Health...1977/01/02  · แนวทางการจ ดทำ MODIFIED AIIR สำหร บผ ป