บทคัดย่อ -...

3
ชื่อเรื่องการค้นคว้าแบบอิสระ การใช้เทคนิคจินตภาพในการสอนตัวอักษรคันจิภาษาญี่ปุ ่น ผู ้เขียน นางสาวสารนิช พละปัญญา ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าแบบอิสระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จินตนา สุจจานันท์ บทคัดย่อ การค้นคว้าแบบอิสระนี ้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาผลการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้ เทคนิคจินตภาพ 2) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพ และ 3) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษาชั ้นปีที่ 1 หลักสูตรภาษาญี่ปุ ่น สาขาวิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั ้งนี ประกอบด้วย 1) แผนการสอนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพ 2) แบบทดสอบตัวอักษรคันจิ โดยใช้เทคนิคจินตภาพ และ 3) แบบสอบถามแรงจูงใจในการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิค จินตภาพ ดาเนินการศึกษาโดยให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วจึงสอนตามแผนการสอน ด้วยสื่อและแบบฝึกหัด หลังจากนั ้นให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนซึ ่งเป็นชุดเดียวกันกับ แบบทดสอบก่อนเรียน และให้ทาแบบสอบถามด้วย อีก 3 สัปดาห์ต่อมาให้ทาแบบทดสอบเดิมอีก ครั ้ง จากนั ้นนาคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความถีค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2) ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพคิดเป็นร้อยละ 97.52 3) ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนตัวอักษรคันจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพอยู ่ในระดับมาก

Transcript of บทคัดย่อ -...

  • ช่ือเร่ืองการค้นคว้าแบบอสิระ การใชเ้ทคนิคจินตภาพในการสอนตวัอกัษรคนัจิภาษาญ่ีปุ่น

    ผู้เขียน นางสาวสารนิช พละปัญญา

    ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต (หลกัสูตรและการสอน)

    อาจารย์ทีป่รึกษาการค้นคว้าแบบอสิระ ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. จินตนา สุจจานนัท ์

    บทคดัย่อ

    การคน้ควา้แบบอิสระน้ีมีวตัถุประสงค ์คือ 1) เพื่อศึกษาผลการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใช้

    เทคนิคจินตภาพ 2) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิคจินตภาพ และ 3)

    เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิคจินตภาพ ประชากรท่ีใชใ้นการศึกษา คือ

    นกัศึกษาชั้นปีท่ี 1 หลกัสูตรภาษาญ่ีปุ่น สาขาวชิาภาษาตะวนัออก คณะมนุษยศาสตร์และ

    สังคมศาสตร์ มหาวทิยาลยัราชภฏัเชียงใหม่ จ านวน 15 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษาคร้ังน้ี

    ประกอบดว้ย 1) แผนการสอนตวัอกัษรคนัจิโดยใช้เทคนิคจินตภาพ 2) แบบทดสอบตวัอกัษรคนัจิ

    โดยใชเ้ทคนิคจินตภาพ และ 3) แบบสอบถามแรงจูงใจในการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิค

    จินตภาพ ด าเนินการศึกษาโดยให้ผูเ้รียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน แลว้จึงสอนตามแผนการสอน

    ดว้ยส่ือและแบบฝึกหดั หลงัจากนั้นใหผู้เ้รียนท าแบบทดสอบหลงัเรียนซ่ึงเป็นชุดเดียวกนักบั

    แบบทดสอบก่อนเรียน และใหท้ าแบบสอบถามดว้ย อีก 3 สัปดาห์ต่อมาใหท้ าแบบทดสอบเดิมอีก

    คร้ัง จากนั้นน าคะแนนท่ีไดม้าวเิคราะห์หาค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบน

    มาตรฐาน

    ผลการศึกษาพบวา่

    1) ผลการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิคจินตภาพหลงัเรียนสูงกวา่ก่อนเรียน

    2) ผูเ้รียนมีความคงทนในการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิคจินตภาพคิดเป็นร้อยละ

    97.52

    3) ผูเ้รียนมีแรงจูงใจในการเรียนตวัอกัษรคนัจิโดยใชเ้ทคนิคจินตภาพอยูใ่นระดบัมาก

  • Independent Study Title Using Visualization Techniques for Teaching

    Kanji Characters in Japanese Language

    Author Ms. Saranich Palapanya

    Degree Master of Education (Curriculum and Instruction)

    Independent Study Advisor Asst. Prof. Dr. Jintana Sujjanan

    ABSTRACT

    The purposes of this study were 1) to study the level of achievement of learning Kanji

    characters in Japanese language by using visualization techniques, 2) to study the retention of

    Kanji characters in Japanese language learning by using visualization techniques, and 3) to study

    the motivation for learning Kanji characters in Japanese language by using visualization

    techniques. The population was 15 first-year students in the Japanese language programme at

    Chiang Mai Rajabhat University.

    The experimental instruments consisted of 1) Instructional plans of Kanji characters in

    Japanese language using visualization techniques, 2) Test of Kanji characters in Japanese

    language using visualization techniques, and 3) Questionnaire on students’ motivation for learning

    Kanji characters in Japanese language by using visualization techniques. Each student was tested

    by a pre-test. Then each lesson and exercise was taught according to the instructional plans by

    using visualization techniques. After that, a post-test and a questionnaire were given out. Finally,

    after three weeks, a post-test was undertaken again. The data was analyzed by using frequency,

    percentage, means and standard deviation.

    The findings of the study were as follows:

    1) The level of achievement of learning Kanji characters in Japanese language by using

    visualization techniques were higher after instruction.

  • 2) The retention of Kanji characters in Japanese language learning by using visualization

    techniques were found at 97.52%.

    3) The students had motivation at high level by using visualization techniques.