อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ...

30
1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ในหนังสือเพื่อเผยแพรในโอกาสงานวันสื่อสารแหงชาติประจําป .. 2549 2. นายกสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย นายกสมาคมอินเทอรเน็ต นายกสมาคมคอมพิวเตอรนานาชาติเอซีเอ็มสาขาประเทศไทย นายกสมาคมคอมพิวเตอรแหงสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสสาขาประเทศไทย และนายกสมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ อินเทอรเน็ตในประเทศไทยจากรุนสี่ไปเปนรุนที่หก 1 .ดร. ศรีศักดิจามรมาน 2 1. บทนํา อินเทอรเน็ตถือกําเนิดเกิดขึ้นในอเมริกาเมื่อ .. 2512 ในชื่อ อารพาเน็ต (Arpanet)แลวเปลี่ยนชื่อ เปน อินเทอรเน็ต (Internet)เมื่อ .. 2517 ในประมาณ 20 ปแรกของอารพาเน็ตและอินเทอรเน็ตนั้นอนุญาต ใหใชไดเฉพาะในการศึกษาและการวิจัยเทานั้น ตอมาถึง .. 2534 จึงอนุญาตใหใชในธุรกิจได ถานับถึง .. 2549 ก็มีการใชอินเทอรเน็ตใจธุรกิจมาเพียง 15 แตอินเทอรเน็ตไดกลายเปนระบบประสาทกลางของธุรกิจ และของทุกหนวยงาน หนวยงานใดไมใชอินเทอรเน็ต หนวยงานนั้นก็ไมสามารถแขงขันกับหนวยงานอื่นได มีการตั้งองคกรสงเสริมอินเทอรเน็ตชื่อ สมาคมอินเทอรเน็ตระดับนานาชาติ หรือ ไอซอค (ISOC = Internet Society)” มีการตั้งสมาคมอินเทอรเน็ตสาขาประเทศไทย ซึ่งผูเขียนเปนนายกกอตั้ง ทั่วโลกมีการประยุกตใชอินเทอรเน็ตในทุกวงการและทุกดาน เรียงตามลําดับอักษรภาษาอังกฤษไดตั้งแต ตัวแรกจนถึงตัวสุดทาย โดยในตัวอักษรทุกตัวมีการประยุกตหลายดาน ดังตัวอยางในหนังสือชื่อ อินเทอรเน็ตกับ การประยุกตทุกดานที่ทานควรทราบ (108 อีนี่อีนั่นจากอีออคชั่นถึงอีซู )” [33] ซึ่งผูเขียนบทความนี้เปนผูเขียน หนังสือดังกลาว เชนเดียวกับที่ทุกบานควรที่จะตองมีบานเลขที่เพื่อใหบุรุษไปรษณียสงจดหมายไดถูกตอง ในอินเทอรเน็ต เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่อง และอุปกรณเชื่อมตอทุกเครื่องก็จะตองมีเลขทีใหสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ไดถูกตอง เลขที่ดังกลาวนี้เรียกวา เลขที่โปรโตคอลอินเทอรเน็ต หรือ ไอพีแอดเดรส (IP Address)โดย มีการประกาศใชไอพีแอดเดรสครั้งแรกเมื่อ .. 2524 เรียกวา ไอพีรุนที 4 (IPv4)” โดยมีจํานวนไอพีทั้งสิ้น ประมาณ 4,000 ลานแอดเดรส ซึ่งถึง .. 2543 ไดจัดสรรไปประมาณครึ่งหนึ่ง และคาดกันวาจะจัดสรรหมด ภายใน .. 2551 หรือ ไมนานหลังจากนั้นก็จะไมมีไอพีแอดเดรสใหใชกันตอไปแลว ความจริงใน .. 2549 นีถาจัดสรร ไอพีแอดเดรสใหประชาชนในโลกเพียงคนละ 1 แอดเดรส ก็ไมมีไอพีแอดเดรสในไอพีรุนที4 เพียงพอ เพราะมีประชาชนในโลกกวา 6 พันลานคน แตมีไอพีแอดเดรสรุนที4 เพียงประมาณ 4 พันลานแอดเดรส ฉะนั้น จึงมีความจําเปนตองปรับปรุงใหเปนไอพีรุนที6 (IPv6) ซึ่งจะมีไดถึง 3.4 x 10 38 แอดเดรส ซึ่งถาจัดสรร ใหประชาชนทุกคนในโลกคนละ 10 ลานแอดเดรสก็ใชไมถึง 70,000 ลานแอดเดรส ยังมีเหลือในไอพีรุนที6 อีกมากมาย ในบทความนี้จะไดกลาวถึง ประวัติวิวัฒนาการอินเทอรเน็ตทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย อินเทอรเน็ต โปรโตคอลรุนที่สีอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หก อินเทอรเน็ตโปรโทคอลรุนที่หกในญี่ปุเกาหลีใต อินเดีย ไตหวัน และจีน และตัวอยางโครงการอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หกในยุโรปดานเครือขายบาน ดานเครือขายการขนสง เคลื่อนทีและดานกรณีฉุกเฉิน 2. ประวัติวิวัฒนาการอินเทอรเน็ตโดยสังเขป อินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดและมีผูใชมากที่สุดในโลก อินเทอรเน็ตเปนตัวอยาง ที่ดีที่สุดของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (IT = Information Technology) โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 สวนคือ สวนที่หนึ่งเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงกันทั่วโลกเปนรอยลานเครื่อง สวนที่สองเปนสารสนเทศ หรือขอมูลสารสนเทศ หรือขอมูลที่เก็บไวในเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายในเครือขาย จากคอมพิวเตอรเครื่องใด เครื่องหนึ่ง ก็สามารถเปดดูขอมูลจากคอมพิวเตอรเครื่องอื่นไดทั้งเครือขาย นั่นคือ อินเทอรเน็ตชวยยอโลกทั้งใบ ใหมาอยูในฝามือของเรา หรืออินเทอรเน็ตทําใหเราสามารถเรียกหาขอมูลไดดวยปลายนิ้ว (Information on Your Finger Tip)”

Transcript of อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ...

Page 1: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ในหนังสือเพื่อเผยแพรในโอกาสงานวันสื่อสารแหงชาติประจําป พ.ศ. 2549 2. นายกสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย นายกสมาคมอินเทอรเน็ต นายกสมาคมคอมพิวเตอรนานาชาติเอซีเอ็มสาขาประเทศไทย

นายกสมาคมคอมพิวเตอรแหงสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสสาขาประเทศไทย และนายกสมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

อินเทอรเน็ตในประเทศไทยจากรุนสี่ไปเปนรุนที่หก1 ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน2

1. บทนํา อินเทอรเน็ตถือกําเนิดเกิดขึ้นในอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2512 ในชื่อ “อารพาเน็ต (Arpanet)” แลวเปล่ียนชื่อ

เปน “อินเทอรเน็ต (Internet)” เมื่อ พ.ศ. 2517 ในประมาณ 20 ปแรกของอารพาเน็ตและอินเทอรเน็ตนั้นอนุญาตใหใชไดเฉพาะในการศึกษาและการวิจัยเทานั้น ตอมาถึง พ.ศ. 2534 จึงอนุญาตใหใชในธุรกิจได ถานับถึง พ.ศ. 2549 ก็มีการใชอินเทอรเน็ตใจธุรกิจมาเพียง 15 ป แตอินเทอรเน็ตไดกลายเปนระบบประสาทกลางของธุรกิจและของทุกหนวยงาน หนวยงานใดไมใชอินเทอรเน็ต หนวยงานนั้นก็ไมสามารถแขงขันกับหนวยงานอื่นได

มีการตั้งองคกรสงเสริมอินเทอรเน็ตชื่อ สมาคมอินเทอรเน็ตระดับนานาชาติ หรือ “ไอซอค (ISOC = Internet Society)” มีการตั้งสมาคมอินเทอรเน็ตสาขาประเทศไทย ซึ่งผูเขียนเปนนายกกอต้ัง

ทั่วโลกมีการประยุกตใชอินเทอรเน็ตในทุกวงการและทุกดาน เรียงตามลําดับอักษรภาษาอังกฤษไดต้ังแตตัวแรกจนถึงตัวสุดทาย โดยในตัวอักษรทุกตัวมีการประยุกตหลายดาน ดังตัวอยางในหนังสือชื่อ “อินเทอรเน็ตกับการประยุกตทุกดานที่ทานควรทราบ (108 อีนี่อีนั่นจากอีออคชั่นถึงอีซู)” [33] ซึ่งผูเขียนบทความนี้เปนผูเขียนหนังสือดังกลาว

เชนเดียวกับที่ทุกบานควรที่จะตองมีบานเลขที่เพื่อใหบุรุษไปรษณียสงจดหมายไดถูกตอง ในอินเทอรเน็ตเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่อง และอุปกรณเชื่อมตอทุกเครื่องก็จะตองมีเลขที่ ใหสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ไดถูกตอง เลขที่ ดังกลาวนี้ เรียกวา “เลขที่โปรโตคอลอินเทอรเน็ต หรือ ไอพีแอดเดรส (IP Address)” โดย มีการประกาศใชไอพีแอดเดรสครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 เรียกวา “ไอพีรุนที 4 (IPv4)” โดยมีจํานวนไอพีทั้งสิ้นประมาณ 4,000 ลานแอดเดรส ซึ่งถึง พ.ศ. 2543 ไดจัดสรรไปประมาณครึ่งหนึ่ง และคาดกันวาจะจัดสรรหมดภายใน พ.ศ. 2551 หรือ ไมนานหลังจากนั้นก็จะไมมีไอพีแอดเดรสใหใชกันตอไปแลว ความจริงใน ป พ.ศ. 2549 นี้ ถาจัดสรร ไอพีแอดเดรสใหประชาชนในโลกเพียงคนละ 1 แอดเดรส ก็ไมมีไอพีแอดเดรสในไอพีรุนที่ 4 เพียงพอ เพราะมีประชาชนในโลกกวา 6 พันลานคน แตมีไอพีแอดเดรสรุนที่ 4 เพียงประมาณ 4 พันลานแอดเดรส ฉะนั้น จึงมีความจําเปนตองปรับปรุงใหเปนไอพี รุนที่ 6 (IPv6) ซึ่งจะมีไดถึง 3.4 x 1038 แอดเดรส ซึ่งถาจัดสรร ใหประชาชนทุกคนในโลกคนละ 10 ลานแอดเดรสก็ใชไมถึง 70,000 ลานแอดเดรส ยังมีเหลือในไอพีรุนที่ 6 อีกมากมาย ในบทความนี้จะไดกลาวถึง ประวัติวิวัฒนาการอินเทอรเน็ตทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ส่ี อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หก อินเทอรเน็ตโปรโทคอลรุนที่หกในญี่ปุน เกาหลีใต อินเดีย ไตหวัน และจีน และตัวอยางโครงการอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หกในยุโรปดานเครือขายบาน ดานเครือขายการขนสงเคลื่อนที่ และดานกรณีฉุกเฉิน

2. ประวัติวิวัฒนาการอินเทอรเน็ตโดยสังเขป อินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดและมีผูใชมากที่สุดในโลก อินเทอรเน็ตเปนตัวอยาง

ที่ดีที่ สุดของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ “ไอที (IT = Information Technology) โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 สวนคือ สวนที่หนึ่งเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงกันทั่วโลกเปนรอยลานเครื่อง สวนที่สองเปนสารสนเทศหรือขอมูลสารสนเทศ หรือขอมูลที่เก็บไวในเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายในเครือขาย จากคอมพิวเตอรเครื่องใดเครื่องหนึ่ง ก็สามารถเปดดูขอมูลจากคอมพิวเตอรเครื่องอื่นไดทั้งเครือขาย นั่นคือ อินเทอรเน็ตชวยยอโลกทั้งใบ ใหมาอยูในฝามือของเรา หรืออินเทอรเน็ตทําใหเราสามารถเรียกหาขอมูลไดดวยปลายนิ้ว (Information on Your Finger Tip)”

Page 2: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

2

2.1 ยุคกอนกําเนิดอินเทอรเน็ต

อาจจะพอกลาวไดวาแรงบันดาลใจใหสหรัฐอเมริกานั้นคิดพัฒนาระบบที่ตอมากลายเปนอินเทอรเน็ตนั้น เร่ิมมาจากการที่สหภาพโซเวียตสงดาวเทียม “สปุตนิก (Spudnik)” ทําใหประธานาธิบดี ดไวท ดี ไอเซนฮาว ของสหรัฐอเม ริกาตองประกาศโครงการ “ดารปา (DARPA = Defense Advanced Research Projects Agency)” หรือองคกรวิจัยชั้นสูงทางการทหาร เพื่อ แขงขันกับโซเวียต โดยโครงการดารปามีกระทรวงกลาโหม เปนผูรับผิดชอบ ตอมาในป พ.ศ. 2504 ประธานาธิบดี จอหน เอฟ เคเนดี ไดประกาศโครงการ “อพอลโล (Apollo)” ใหตามทันและล้ําหนาโซเวียตใหไดในสมัยของทานลีโอนารด คลายนร็อค (Leonard Kleinrock) เปนผูพิมพ บทความแพคเก็ต สวิตชิ่ง (Packet Swithching) ข้ึนเปนครั้งแรกในโลก และเสนอการสงขอมูลโดยแบงขอมูล เปนขอมูลชิ้นเล็กๆ เรียกวา “แพคเก็ต” แลวสงแตละชิ้นไปตามเสนทางที่สะดวกหลาย ๆ ทางเมื่อถึงปลายทาง ก็รวมเขาเปนขอมูลชิ้นเดิม ในป พ.ศ. 2505 เจ ซี อาร ลิคไลเดอร และ ดับบลิว คลาค (J.C.R. Licklider และ W.Clark) พิมพ บทความเสนอหลักการเครือขายคอมพิวเตอรซึ่งเปนตนแบบของอินเทอรเน็ต ในป พ.ศ. 2507 ลีโอนารด คลายนร็อค พิมพหนังสือเสนอทฤษฎีและการออกแบบเครือขายแพคเก็ต ซึ่งถือเปนรากฐานของระบบอินเทอรเน็ต พอล บาแรน (Paul Baran) พิมพบทความเรื่องการใชแพคเก็ต อยางปลอดภัย ทําใหเขาใจผิดกันวาทหารกําลังสรางระบบอินเทอรเน็ตที่ปลอดภัยจากสงครามนิวเคลียร และ ไอแวน ซัตเธอรแลนด (Ivan Sutherland) ในฐานะผูอํานวยการอารปาไดใหทุนวิจัยเครือขายแกเอ็มไอท ี

พ.ศ. 2508 เกิดการทดลองเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเปนเครือขายเปนครั้งแรกในโลกที่เอ็มไอทีโดยนํา เครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่องมาเชื่อมโยงกันและสื่อสารโดยใชระบบแพคเก็ต

พ.ศ. 2510 ลาร่ี โรเบิรต (Larry Roberts) ซึ่งไดรับขนานนามวาเปนบิดาของอารปาเน็ต จัดประชุมเร่ือง “การออกแบบ อารปาเน็ต” และจัดพิมพเอกสาร “การออกแบบเครือขาย อารปาเน็ต” เปนครั้งแรก

2.2 กําเนิดอินเทอรเน็ต ในป พ .ศ. 2512 อินเทอรเน็ตถือกําเนิดขึ้นในชื่อของอารปาเน็ต (สวนชื่ออินเทอรเน็ตนั้นเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517) โดยการติดตั้งคอมพิวเตอรเครื่องแรกที่ยูซีแอลเอ (มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียที่ลอสแองเจลิส) แลวเชื่อมโยงอีก 3 เครื่อง รวมเปนเครือขาย 4 เครื่องที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียแหงลอสแองเจลิส มหาวิทยาลัย สแตนฟอรด มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียแหงซานตาบารบารา และมหาวิทยาลัยยูทาห ในป พ.ศ. 2512 นั้นไดเกิดขอตกลงกํากับอินเทอรเน็ตหรืออารเอฟซี (RFC = Request for Comment) เร่ืองแรกคือ เร่ืองซอฟตแวรสําหรับใชในแมขาย (Host Software) เอ็นเอสเอฟไดมอบหมายให ยูเอสซี โดย ดร. จอน พอสเทล (Jon Postel) ดังแสดงใน รูปที่ 1 เปนผูดูแลระบบเชื่อมโยงชื่ออาณาเขต

รูปที่ 1. ดร. จอน พอสเทล กับ ศ. ศรีศักด์ิ รูปที ่2. ดร.วินท เซิรฟ กับ ศ. ศรีศักดิ์

Page 3: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

3

2.3 ยี่สิบปแรกของอินเทอรเน็ต ในป พ.ศ. 2514 อารปาเน็ตขยายเปน 14 จุดและตอมาขยายเปน 19 จุด ในป พ.ศ. 2515 เรย ทอมลนิสนั

(Ray Tomlinson) เสนอระบบอีเมล (E-mail) จอน พอสเทล ประกาศ “อารเอฟซี 354” เร่ืองการสงแฟมขอมูลหรือเอฟทีพี (FTP) และโรเบิรต คาหน (Robert Kahn) จัดสาธิตระบบอารปาเน็ตใหกับสาธารณชนเปนครั้งแรก ในป พ.ศ. 2516 เร่ิมมีสถาบันตาง ๆ ถึง 30 แหง เชื่อมตอกับเครือขายอารปาเน็ต (ARPANET) ตัวอยางสถาบันในภาคอุตสาหกรรม เชน บีบีเอ็น (BBN), ซีร็อก (Xerox), พารค (PARC), มิทรี (MITRE) ตัวอยางหนวยงานของรัฐ เชน องคการนาซา สํานักงานมาตรฐานแหงชาติ เปนตน ในปนี้ วินท เซิรฟ (Vint Cerf) และบอบ คาหน (Bob Kahn) ไดเสนอโปรโตคอลการเชื่อมตอคอมพิวเตอรดวย ซึ่งตอมาเปนมาตรฐานอินเทอรเน็ต ตอมามีการกลาวขานกันวา วินท เซิรฟ เปนบิดาอินเทอรเน็ต (ดูรูป วินท เซิรฟ ในรูปที่ 2)

ในป พ.ศ. 2517 วินท เซิรฟ และ บอบ คาหน ไดบัญญัติศัพทคําวา “อินเทอรเน็ต” ข้ึนใชเปนครั้งแรก ถานับถึง พ.ศ. 2549 คําวา “อินเทอรเน็ต” ก็มีใชเพียง 32 ปเทานั้น ในป พ.ศ. 2520 เซิรฟ และ คารน จัดสาธิตอินเทอรเน็ตนานาชาติค ร้ังแรก เชื่อมตอแคลิฟอรเนียกับลอนดอน ลอนดอนกับเวอรจิ เนีย เวอรจิ เนีย กับแคลิฟอรเนีย ในป พ.ศ. 2522 เดฟ ครอกเกอร (Dave Crocker) กับ จอหน วิททาล (John Vittal) ประกาศ “อารเอฟซี 733” เร่ืองขอกําหนดอีเมลตอมาในป พ.ศ. 2523 อารปาเน็ตขยายเปน 70 จุด แลวในป พ.ศ. 2524 ก็มีการกอต้ังคณะกรรมการสถาปตยกรรมอินเทอรเน็ต หรือไอเอบี (IAB = Internet Architecture Board) ข้ึน ในป พ.ศ. 2526 ไดมีการแยกเครือขายทหาร ใชชื่อวา มิลเน็ต (Milnet) จากอารปาเน็ต ทําใหอารปาเน็ตเหลือ 68 จุดและมิลเน็ตมี 45 จุด ในปนี้ จอน พอสเทล และคณะประกาศระบบชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต หรือ ดีเอ็นเอส (DNS = Domain Name System) และประกาศใหใช ดอทอีดียู (.edu) ดอทกอฟ (.gov) ดอทคอม (.com) ดอทมิล (.mil) ดอทออก (.org) ดอทเน็ต (.net) โดยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนหนวยงานแหงแรกในเมืองไทยที่ใชดอทอีดียู โดย ศ. ศรีศักดิ์ เปนผูขอจดทะเบียน เอยูดอทอีดียู (au.edu) ในป พ.ศ. 2529 ไดมีการกอต้ังคณะทํางานดานวิศวกรรมอินเทอรเน็ต หรือ ไออีทีเอฟ (IETF = Internet Engineering Task Force) ข้ึน และ เอ็นเอสเอฟไดจัดตั้งแมขายใหญเชื่อมโยงซูเปอรคอมพิวเตอร 5 เครื่องเขากับคอมพิวเตอรในเครือขายอินเทอรเน็ต ดวยความเร็ว 56,000 บิตตอวินาที

ในป พ.ศ. 2532 เอ็นเอสเอฟเปดใหธุรกิจใชอีเมล แลวในป พ.ศ. 2534 เอ็นเอสเอฟเปดใหมีการใชอินเทอรเน็ตเพื่อการคา ถานับถึง พ.ศ. 2549 ก็มีการใชอินเทอรเน็ตเพื่อการคาเพียง 15 ป แตอินเทอรเน็ตมีผลกระทบตอธุรกิจอยางมากมาย ขณะที่กลาวกันวา “ถาทานไมวางแผนที่จะใชอินเทอรเน็ตในธุรกิจของทาน ทานก็กําลังวางแผนที่จะเลิกทําธุรกิจ (If you are not planning to use the Internet in your business, you are planning to be out of business.)” หรืออาจจะกลาววา “อินเทอรเน็ตเปนระบบประสาทกลางของทุกองคกร องคกรใด ไมมีระบบประสาทกลาง องคกรนั้นก็ไมสามารถแขงขันกับใครได (The Internet is the central nervous system of all organizations. Any organizations without the central nervous system cannot compete with any other organizations.)”

2.4 สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ หลังจากที่มีระบบอินเทอรเน็ตเกิดขึ้นแลว มีหนวยงานหลักที่ชวยดูแลรับผิดชอบกิจการอินเทอรเน็ต คือ สมาคมอินเทอรเน็ต เรียกยอวา “ไอซอค (ISOC = Internet SOCiety)” ปจจุบันมีสมาชิกเปนองคกรกวา 100 องคกร และมีสมาชิกประเภทบุคคลกวา 20,000 รายในกวา 180 ประเทศ ผูเขียนเขาอินเทอรเน็ตวันละ 3 เวลา กอนหรือหลังอาหารไดเห็นประกาศวา มีการตั้งสมาคมอินเทอรเน็ต “ไอซอค” ที่อเมริกา โดยมี วินท เซิรฟ เปนนายกกอต้ัง ผูเขียนก็อีเมลไปขอใหมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนสมาชิกกอต้ัง แลวไปกราบเรียนของบประมาณจาก ภราดา ดร.มารติน ซึ่งทานก็กรุณา ตกลงมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนสมาชิกกอต้ังของสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ โดยที่ในเอเชียอาคเนย ไมวาจะเปน สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ก็ตามไมมีประเทศใดเปนสมาชิกกอต้ังของสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติเลย มีเฉพาะประเทศไทยเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 3

Page 4: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

4

เมื่อ พ.ศ. 2539 สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติไดอนุมัติการจัดตั้งสมาคมอินเทอรเน็ตแหงชาติสาขาประเทศไทย โดยมีผูเขียนเปนนายกกอต้ัง มีขอมูลดังแสดงในรูปที่ 4 และกรรมการบริหารดังแสดงในรูปที่ 5

เมื่อ พ.ศ. 2540 ในฐานะนายกสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย ผูเขียนคาดวาเมื่ออินเทอรเน็ต

เจริญเติบโตมากขึ้นและผูใชมากขึ้น ก็จะมีบางคนออกนอกลูนอกทาง มีปญหาขึ้น จึงสมควรจะมีกฎหมายดาน อินเทอรเน็ต ผูเขียนเสนอคณะกรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย และคณะกรรมการ ใหความเห็นชอบ แตงตั้งคณะกรรมการยกรางกฎหมายสงเสริมอินเทอรเน็ต โดยมี ภราดา ดร.ประทีป มารติน โกมลมาศ และผูเขียนเปนที่ปรึกษา มีคุณเหรียญชัย เรียววิไลสุข ขณะนั้นเปนรองอธิบดีกรมไปรษณียโทรเลข และตอมาเปนอธิบดี เปนประธาน มีการประชุมยกรางกฎหมายและประกาศจัดประชาพิจารณ ปรากฏวานักขาวหนังสือพิมพบางกอกโพสตไมเห็นดวยกับการมีกฎหมายอินเทอรเน็ต อางวาอินเทอรเน็ตเปน เสรีตองเปดเสรี และ ไมมีกฎหมาย สํานักขาวรอยเตอร สํานักขาวซีเอ็นเอ็นมาสัมภาษณผูเขียน ออกขาวไปทั่วโลกวา ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน คนไทยคนแรกที่จบปริญญาเอกดานคอมพิวเตอร ตอนนี้มาเปนนายกสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย สนับสนุนการรางกฎหมายอินเทอรเน็ตทางสมาคมแมไมเห็นดวยและมีมติใหสาขาประเทศไทยหยุดดําเนินกิจการ ผูเขียนในฐานะนายกสมาคมคอมพิวเตอรนานาชาติเอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย (ACM = Association for Computing Machinery) ผูเขียนก็เลยเสนอไปยังสํานักงานใหญในอเมริกา เอซีเอ็มเพื่อ ขอและไดรับอนุมัติใหสาขาประเทศไทยของเอซีเอ็มสนับสนุนสถานที่ประชุมและเลขานุการดําเนินการยกรางกฎหมายอินเทอรเน็ตตอไป

รูปที่ 3. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนสมาชิกกอต้ัง สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ

รูปที่ 4. สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย

รูปที ่5. คณะกรรมการบริหาร สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย

Page 5: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

5

ผูเขียนไมเคยคิดจะเปนกรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติมากอน คิดวาเปนนายกสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทยก็พอแลว ตอมาเกิดปญหาวา กรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติไมเห็นดวยกับการยกรางกฎหมายอินเทอรเน็ตของสาขาประเทศไทย ผูเขียนก็เลยจําเปนตองทําแบบฝรั่งที่วา “สูจากขางนอกไมไดก็ไปสูขางใน (If you cannot fight from outside, join them and fight from inside.)” คณะกรรมการสรรหาผูสมัครเปนกรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ต ประกอบดวยกรรมการที่ดํารงตําแหนงอยูขณะนั้น คือ พวกที่คัดคาน ผูเขียนก็แนนอนที่ทานจะไมเสนอชื่อผูเขียน แตผูเขียนอานกฎระเบียบแลวพบวาสมาชิก จํานวน 20 คน สามารถสงชื่อใครเขาแขงขันก็ได ผูเขียนจึงหาสมาชิก 20 ทาน ชวยลงนามเสนอชื่อผูเขียนเปนผูสมัคร

ผลการเลือกตั้งปรากฏวาผูเขียนชนะ ไดเปน 1 ใน 15 กรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ

ระหวาง พ.ศ. 2542 – 2545 ดังแสดงในรูปที่ 7 ในวันไปรับตําแหนงที่อเมริกา มีสมาชิกหลายทานเดินมาหาและบางทานก็กลาววา “ยินดีดวยผมเลือกคุณนะ (Congratulation, I voted for you)” ผูเขียนก็ขอบคุณทานไป และเรียนทานวามีอะไรจะใหชวยติดตอมาไดเลย ผูเขียนเปนผูแทนของทาน และจะทําหนาที่ใหดีที่สุด ชวงที่เปน 1 ใน 15 กรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตอยูนั้น ก็เลยตองไปประชุมกรรมการบริหารทุกครั้ง ปละ 3 คร้ัง ดังแสดงในรูปที่ 8 เปนการประชุมกับนายกไอซอค พ.ศ. 2537 คือ เอ เอ็ม รุธคาวสคี (A.M. Ruthkowski) และในรูปที่ 9 กับนายกไอซอค พ .ศ. 2542 ชื่อ ดอน ฮีธ (Don Heath) สวนรูปที่ 10 เปนการไปประชุมไอซอค พ .ศ. 2543 ตองกราบขอบพระคุณ ภราดา ดร.ประทีป มารติน โกมลมาศ ที่กรุณาอนุมัติใหใชงบมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คร้ังละประมาณ 1 แสนบาท รวมปละ ประมาณ 3 แสนบาท ไปประชุม และแสดงชื่ออัสสัมชัญใหโลกรูจักวา เราก็เปนหนึ่งในผูนําอินเทอรเน็ตเหมือนกัน

รูปที่ 8. กับ เอเอ็ม รุธคาวสคี นายกไอซอค พ.ศ. 2537 รูปที่ 7. ผูเขียนเปนกรรมการบริหารไอซอค

รูปที่ 6. สัมมนาประชาพิจารณ “รางพระราชบัญญัติสงเสริมกิจการอินเตอรเน็ต”

Page 6: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

6

2.5 การจดทะเบียนอินเทอรเน็ต การติดตอระหวางคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอกันอยูในเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น คอมพิวเตอรแตละเครื่องจะตองมีเลขที่อินเทอรเน็ต (IP address) ที่แตกตางจากกัน แตเลขที่นี้จดจํายากและเรียกยากจึงอาจใชชื่ออาณาเขต โดเมนเนม (Domain Name) แทนได เลขที ่ ชื่อสถานที ่ นอกอินเทอรเน็ต 682 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในอินเทอรเน็ต 202.6.100.1 au.edu 2.5.1 การแบงอาณาเขตระดับสูง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1) ตามการใชงาน เชน ดอทคอม (.com = company ) ดอทเน็ต (.net = network ) ดอทอีดียู (.edu = education) ดอทบิซ (.biz = business) ดอทโคอ็อพ (.coop = cooperatative) ดอทอ็อก (.org =organization) ดอทกอฟ (.gov = government) ดอทมิล (.mil = military) 2) ตามช่ือประเทศ เชน ดอททีเอช (.th = thailand ) แทนประเทศไทย ดอทเจพี (.jp = Japan) แทนประเทศญ่ีปุน เปนตน 2.5.2 ชื่อไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

ในการติดตอระหวางบุคคลตองมีชื่อไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือ “อีเมลล (e-mail address)” ซึ่งประกอบดวยชื่อบุคคล ซึ่งจะเปนชื่อจริงหรือชื่อที่ต้ังขึ้นมาใหมก็ได ตามดวยเครื่องหมาย “@” ตามดวยชื่อคอมพิวเตอร เชน [email protected] หมายถึง ศรีศักดิ์ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ [email protected] หมายถึงผูใชนามวา “charm” ที่เครื่องคอมพิวเตอรเคเอสซีที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.5.3 การจดทะเบียนเลขที่อินเทอรเน็ต

การจดทะเบียนอินเทอรเน็ตมี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเลขที่ อินเทอรเน็ต หรือ “ไอพีแอดเดรส (IP Address)” ในหัวขอ 2.5.3 นี้ และ การจดทะเบียนชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต หรือ “โดเมนเนม (Domain name)” การจดทะเบียนเลขที่อินเทอรเน็ตแบงเปน 4 เขตใหญๆ ในโลก คือ อเมริกา ยุโรป เอเชีย และอัฟริกา • “เอริน (ARIN = American Registry for Internet Number)” สําหรับอเมริกา • “ไรฟ เอ็นซีซี (RIPE NCC = The RIPE Network Coordination Centre)” สําหรับยุโรป • “แอปนิก (APNIC = Asia Pacific Network Information Centre)” สําหรับเอเชียแปซิฟก • “อัฟรินิก (AfriNIC = African Network Information Centre)” สําหรับอัฟริกา

ผูเขียนไดรับเลือกตั้งเปน 1 ใน 5 กรรมการบริหารแอพนิค โดยอาจเรียกองคกรจดทะเบียนเลขที่อินเทอรเน็ตเปนภาษาอังกฤษวา “อารไออาร (RIR = Regional Internet Registry)” ซึ่งกอต้ังเมื่อ พ.ศ. 2536

รูปที่ 10. การประชุมอินเทอรเน็ต พ.ศ. 2543 รูปที่ 9. กับ ดอน ฮีท นายกไอซอค พ.ศ. 2542

Page 7: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

7

ตอนเริ่มต้ังแอพนิคมีคณะกรรมการบริหาร 5 ตําแหนง มีการเลือกตั้งที่ฮองกง ผูเขียนไมไดคิดจะเปนกรรมการบริหาร เพราะทราบวาสิงคโปร ญ่ีปุน ออสเตรเลีย ฮองกงเขาวิ่งเตนกันไวแลว ในการประชุมคณะกรรมการสรรหา เขาก็เสนอชื่อที่เขาสรรหากันมาแลว และถามวามีใครสนใจจะเสนอใครจากที่ประชุมก็ได พอดีมีผูเสนอชื่อผูเขียนแลวในการลงคะแนนรอบแรก ผูเขียนเผอิญไดคะแนนสูง คณะกรรมการสรรหาดูทาทางจะตกใจ และขอเวลานอก ระหวางพักการประชุมขอเวลานอกนั้น เผอิญผูเขียนจะกลับเมืองไทยคืนนั้นจึงไดซื้อขนมของขบเคี้ยวตางๆ ไว จะรับประทานคนเดียวก็นาเกลียด ก็เลยเดินแจกผูเขารวมประชุมประมาณ 100 ทาน ตอนนั้นไมไดคิดจะ หาเสียงเลย พอเปดประชุมใหม ลงคะแนนอีก ผูเขียก็เลยไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการและเปนอยู 2 สมัย สมัยแรก พ.ศ. 2540 มี เจฟ ฮุสตัน จุน มูไร ทอมมี่ เชน ศรีศักดิ์ จามรมาน และ ชิง ลี สมัยที่สอง พ.ศ. 2541 มี โทรุ ตากาฮาชิ ศรีศักดิ์ จามรมาน ซีโฮ เชิง ชิง ลี และเจฟ ฮุลตัน โดยผูเขียนเปนเหรัญญิก

การเปนกรรมการแอพนิคของผูเขียนนั้น เปนในนามของผูกอต้ังและประธานบริษัท เคเอสซี ดังแสดง ในรูปที่ 10 หลังจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญอนุมัติตามขอเสนอของผูเขียนใหบังคับนักศึกษาทุกคนใชอินเทอรเน็ต ใหมีความรูความสามารถเหมาะสมกับยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็มีนักศึกษา และผูปกครองแสดงความสนใจ จะใชอินเทอรเน็ตในทางธุรกิจ ในยุคแรกของอินเทอรเน็ต ในอเมริกา ประมาณ พ.ศ. 2512-2531 รัฐบาลอเมริกาอนุญาตใหใชอินเทอรเน็ตเฉพาะในการศึกษาและวิจัยเทานั้น ในยุคแรกของอินเทอรเน็ตเมืองไทย ประมาณ พ.ศ. 2530-2537 รัฐบาลก็อนุญาตใหใชอินเทอรเน็ตเฉพาะในการศึกษาและวิจัยเทานั้น

ผูเขียนไดไปกราบเรียนปรึกษา ภราดา ดร. ประทีป มารติน โกมลมาศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญวา อยากจะเปดบริการอินเทอรเน็ตใหใชในการพัฒนาธุรกิจ โดยจะขอใหมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญชวยเปนศูนยเพาะชํา (Incubator) ใหเหมือนมหาวิทยาลัยในอเมริกาที่อนุญาตใหผูเร่ิมตนธุรกิจไปเชาอาคารสถานที่ และจัดอาจารยและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยชวยงาน เหมือนกับตนไมที่เพาะชําไดที่แลวก็ยายออกจากมหาวิทยาลัย ไปอยูที่อ่ืน เมื่อบริษัทเพาะชําเจริญเติบโตพอประมาณ ก็ยายออกจากมหาวิทยาลัยไปอยูที่อ่ืน บราเดอร มารติน นารักมาก กรุณาอนุญาตใหมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนผูเพาะชําใหบริษัท ที่ผูเขียนจะเปดขึ้น

ผูเขียนเริ่มศึกษาหาวิธีเปดบริษัท ใหบริการ อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย พบวา การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) มีอํานาจตามกฎหมายไทยที่จะอนุญาต หรือไมอนุญาตใหใครเปดบริษัท อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย โดยวิธีใหบริษัทใหม ยกหุนให กสท. แลวแบงกําไรให กสท. ตามสัดสวนของหุนที่ กสท. ถืออยูนั้น สรุปแลวตองตั้งสองบริษัทคือบริษัทที่จะไปรวมทุนกับกสท.และบริษัทรวมทุน

สําหรับบริษัทที่จะไปรวมทุนกับ กสท. นั้นผู เขียนใชชื่อหนวยงานดานอินเทอรเน็ตที่ ผู เขียนตั้งไวที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คือ “ศูนยบริการวิทยาการอินเทอรเน็ต หรือเคเอสซี (Internet KSC = Internet Knowledge Service Center)” เพ ราะสมัยนั้ นและสมัยนี้ “สั งคมแห งความรอบรู (Knowledge-Based Society)” เปนเรื่องสําคัญ

กระทรวงพาณิชยรับจดทะเบียนบริษัท “ศูนยบริการวิทยาการอินเตอรเน็ต (Internet KSC)” เมื่อ 7 มิถุนายน 2537 โดยระบุวัตถุประสงคที่จะใหบริการโทรคมนาคม รวมทั้งอินเทอรเน็ต ฉะนั้นอาจจะกลาวไดวา

รูปที่ 11. เคเอสซีเปนสมาชิกกอตั้งและ ศ. ศรีศักดิ์ เปนกรรมการแอพนิก

รูปที่ 12. เซ็นสัญญากับ ดร. อดิศัย โพธารามิก

Page 8: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

8

บริษัทศูนยบริการวิทยาการอินเตอรเน็ต เปนบริษัทแรกที่จดทะเบียนใหบริการอินเทอรเน็ตโดยถูกตองตามกฎหมาย ชื่อบริษัทตอนนั้นผูเขียนใช “ต” ในคําวา “อินเตอรเน็ต” คลายกับ “ไทยอินเตอร” ไมใช “ไทยอินเทอร”

สวนบริษัทรวมทุนกับ กสท. ใชชื่อวา “บริษัทเคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต” จดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายไทย กับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2537 เปนบริษัทรวมทุนดานอินเทอรเน็ตกับ กสท.

สวนบริษัทอินเทอรเน็ตประเทศไทยจดทะเบียนไมไดตอนนั้นเพราะผูถือหุนเปนรัฐบาลถึงตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ซึ่งคณะรัฐมนตรีตอนนั้นไมใหความเห็นชอบ กวาอินเทอรเน็ตประเทศไทยจะ จดทะเบียนไดก็หลังเคเอสซีเปนป

สรุปแลวเคเอสซีเปนบริษัทใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย ที่จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชยถูกตองเปนบริษัทแรกในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2537

เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2537 ผูเขียนยื่นขอเสนอถึง กสท. ขอเชิญรวมทุน กับ “อินเทอรเน็ตเคเอสซี” เพื่อต้ัง “เคเอสซี คอมเน็ต” ตอมาเมื่อ 1 กันยายน 2537 ฯพณฯ สุเทพ อัตถากร รัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัย แตงตั้งผูเขียนเปนที่ปรึกษาดานอินเทอรเน็ต

ผูเขียนตองไปติดตอเจาหนาที่ หัวหนากอง ผูอํานวยการกอง ผูอํานวยการหนวยงาน กรรมการตางๆ ที่ปรึกษารัฐมนตรี รัฐมนตรี รวมแลวเปนรอยทาน กวาจะไดรับอนุมัติใหจัดบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย ความ จริงกสท. บอกปดขอเสนอของผูเขียนหลายครั้ง เพราะตองการใหอินเทอรเน็ตประเทศไทยเปนผูใหบริการรายเดียว นักขาวแซวผูเขียนวา “อาจารยยอมแพเถิด เขาไมใหอาจารยทําหรอก” แตผูเขียนก็วิ่งเตนสุดฤทธิ์ บางวันมีคนโทรศัพทไปบอกผูเขียนวารัฐมนตรีจะกลับจากตางประเทศ ถึงดอนเมืองตอน 6 โมงเชา ผูเขียนก็ตองรีบต่ืนแต เชามืดไปรอรับรัฐมนตรีตอน 6 โมงเชาที่ดอนเมือง บางทีไปขอพบผูอํานวยการตั้งแตเชา ทานไมวางใหพบเพราะติดประชุม ผูเขียนก็รออยูจนทานเลิกประชุมตอนเที่ยง ทานก็ไมใหพบ ผูเขียนก็รอตอนบาย ทานก็จะรีบไปประชุมอีก ผูเขียนก็รอจนเย็นทานจึงใจออนใหพบ

เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2537 ผูเขียนอยูที่กรุงฮานอยในฐานะที่ปรึกษาของเวียดนามใหคําปรึกษาเรื่องการจัดบริการอินเทอรเน็ต วันนั้นมีการประชุมคณะกรรมการ กสท. ผูเขียนโทรศัพทจากฮานอย ถามก็ไดความวา บอรด กสท. อนุมัติให กสท. รวมทุนกับอินเทอรเน็ต เคเอสซี ต้ังเคเอสซีคอมเน็ตใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยได

หลังจากนั้นก็ยังตองวิ่งเตนเจรจาตอรองสัญญา วิ่งเตนขอมีเกตเวย เชื่อมตอตางประเทศ และวิ่งเตนตางๆ อีกมากมายกวาจะไดเปนบริษัทใหบริการอินเทอรเน็ตที่ใหญที่สุดในประเทศไทยในแงของรายไดและจํานวนลูกคาอยูระยะหนึ่ง

บิล เกตส กลาววา “กําไรจากการใหบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ต คือ ศูนยอินเทอรเน็ตเปนเหมืองทอง ทุกคนก็วิ่งไปขุดทอง แตไมมีใครขุดไดทองจากการใหบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ต” กําไร ที่ไดนั้นมาจากการขายบริษัทและจากการเก็งกําไรราคาหุนของบริษัท

ในป พ.ศ. 2541 มูลคาบริษัทที่เกี่ยวของกับอินเทอรเน็ตในอเมริกาโดยเฉลี่ยเพิ่มข้ึน7 เทา เพราะคนปนหุนกัน ในเดือนมกราคม 2542 เดือนเดียว บริษัทเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตในอเมริกา 7 บริษัทมีราคาหุนเพิ่มข้ึนถึง 2 เทา

บริษัทที่เกี่ยวของกับอินเทอรเน็ตในอเมริกา ไมมีบริษัทใดเลยไดกําไรในปแรกที่เปดดําเนินการ อยางไรก็ตามเคเอสซีเปนขอยกเวน เพราะเปนบริษัทอินเทอรเน็ตรายเดียวในโลก ที่ไดกําไรตั้งแตวันแรกของการดําเนินการ ตองกราบขอบพระคุณ บราเดอร มารติน ที่กรุณาเปนศูนยเพาะชําให ซึ่งทําใหเคเอสซีไมตองลงทุนมากในระยะแรก ตามหลักการของศูนยเพาะชํา นับไดวามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนมหาวิทยาลัยที่ประสบความสําเร็จอยางดีเยี่ยมในการทําหนาที่ศูนยเพาะชําใหบริษัทตั้งใหม ตอมาที่อาคาร “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” ก็จะไดรับการสนับสนุนจาก บราเดอร มารติน และบราเดอร บัญชาใหมาทําหนาที่เปนศูนยเพาะชําใหบริษัทใหมๆ

ในตอนแรกของ บริษัทเคเอสซีนั้น ผูเขียนจะเปนอยางที่ฝร่ังเรียกวา “เดินหัวเราะไปธนาคาร (Walk laughing to the bank)” ทุกวันมีฝ ร่ังและคนไทยที่กลับจากตางประเทศสนใจจะใช อินเทอรเน็ตก็ ไปที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หัวหมาก ข้ึนไปชั้น 11 อาคารเอ ซึ่งมีหองเล็กๆ เปนสํานักงานของเคเอสซี แตละคนเอาเงินไปจายคนละ 20,000 บาท เพื่อใชบริการอินเทอรเน็ต 1 ป ฉะนั้นทุกวัน ผูเขียนก็จะมีเงินไปฝากธนาคารวันละหลายแสนบาท ทําให เคเอสซี ไดกําไรตั้งแตวันแรกของการเปดดําเนินการ

Page 9: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

9

2.5.4 การจดทะเบียนชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต เมื่อ พ.ศ. 2527 มีการเสนอระบบชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต หรือ “ดีเอ็นเอส (DNS = Domain Name System)” แลวในปนั้นก็มีการจดทะเบียนอินเทอรเน็ตถึง 1, 000 ราย แลวเมื่อ พ.ศ. 2528 รัฐบาลอเมริกันก็มอบหมายให มหาวิทยาลั ยคาลิฟอร เนี ย ใต ห รือ “ยู เอสซี (USC = University of Southern California)” เปนผูรับผิดชอบการจัดการ “แมขายรากดีเอ็นเอส (DNS Root Server)” โดยมี ดร. จอหน พอสเทล เปนหัวหนา โครงการ มีการอนุมัติดอทคอม (.com) เมื่อ 15 มีนาคม 2528 แลวตอมาก็มีการอนุมัติดอทอื่นๆ อาทิ ดอทอ็อก (.org) ดอทอีดียู (.edu) และดอทยูเค (.uk) เปนตน จํานวนชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต เพิ่มเปน 10, 000 ชื่อ ในพ.ศ. 2530 แลวเปน 100,000 ชื่อ ในพ.ศ. 2532 และเพิ่มข้ึนเปน 1,000, 000 ชื่อ ในพ.ศ. 2535 พ.ศ. 2533 มีการจดทะเบียนชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ตของผูใหบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบหมุนโทรศัพท (Dial-up) เปนรายแรกในโลก (world.std.com) พ.ศ. 2536 เอ็นเอสเอฟตั้ง “อินเตอรนิค (InterNIC)” เพื่อใหบริการจดทะเบียนอินเทอรเน็ต อาทิ จดทะเบียนเลขที่เครือขายยอยหรือ “เอเอส (AS = Autonomous System)” ในปเดียวกันนี้ ก็มีการจัดตั้งบริษัทเน็ตโซล (NetSol) หรือบริษัทเน็คเวิรคโซลูชั่นส (Network Solutions Inc.) หรือ เอ็นเอสไอ (NSI) ไดรับมอบหมายจาก “เอ็นเอสเอฟ (Nationtional Science Foundation)” ใหผูกขาดการจดชื่อดอทคอม (.com) ดอทเน็ต (.net) และ ดอทออก (.org) สําหรับบริษัทเน็ตเวิรคโซลูชั่นสนี้กอต้ังโดย อาจารยคณิตศาสตร ชื่อ “ดอน เทเลจ (Don Telage)” ซึ่งผูเขียนไดลงนามในสัญญา ดังแสดงในรูปที่ 13 เน็ตเวิรคโซลูชั่นส มอบหมายใหเคเอสซี เปนผูแทนรับจดทะเบียนชื่อ อาณาเขตอินเทอรเน็ต ในประเทศไทย

พ.ศ. 2541 เน็ตโซล รับจดชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ตไปแลว 2,000,000 ชื่อ ต้ังแตตนจนถึงขณะนั้น พ.ศ. 2542 รัฐบาลอเมริกันออกสมุดปกขาว เสนอใหจัดตั้งองคกรอินเตอรเน็ตสําหรับจดทะเบียนชื่อและหมายเลข หรือ “ไอแคนน (ICANN = Internet Corporation for Assigned Names and Numbers)” ในฐานะ 1 ใน 5 กรรมการบริหารแอพนิค ผูเขียนไดไปรวมประชุมกับผูดูแลอินเทอรเน็ตของอเมริกาและของยุโรป โดยประชุมกันที่ เจนีวา ระหวางที่ประชุมกันก็มีคนหนึ่งหยอกเยาวาถาจอนเปนอะไรตายไป จะไมมีใคร ดูแลแมขายราก อาจจะทําใหอินเทอรเน็ตหยุดชะงักไปทั่วโลก นาจะตั้งเปนคณะกรรมการชวยกันดูแลมากกวา ใหจอนตองรับผิดชอบคนเดียว จอนก็นารักมาก เอยปากวาใหต้ังคณะกรรมการไดเลย ตอมาก็มีการประชุมกันวาใครจะเปนกรรมการบาง ตกลงกันแบงเปนฝายๆ เชน ผูดูแลชื่ออินเทอรเน็ต (Domain Names) ผูดูแลเลขที่ อินเทอรเน็ต (IP Address) และ ผูใช (Users) สํ า ห รั บ ผู ดู แ ล ชื่ อ กั บ ผู ดู แ ล เล ข ที่ ก็ ไม มี ป ญ ห า เพ รา ะ มี ห ลั ก ก า รอ ยู แ ล ว เช น แ อพ นิ ค ก็เปนผูดูแลเลขที่ของเอเชียแปซิฟก ฉะนั้นในฐานะกรรมการอํานวยการแอพนิค ผูเขียนก็มีสิทธิ์สมัครเปนกรรมการ ไอแคนน แตพิเคราะหดูแลวเห็นวาจะตองเดินทางไปประชุมปละหลายครั้งสิ้นเปลืองงบประมาณและเวลามาก ผูเขียนจึงถอนตัว อยางไรก็ตามไดมีการตั้ งคณะทํางานเรื่องสมาชิก (Membership Implementation Task Form) ดูไดที่เว็บ www.icann.org/committees/at-large/mitf-bios.html. ในกลุมเอเชียตะวันออกมีสมาชิก 11 ทาน

รูปท่ี 13. ดร. ดอน เทเลจ (คนยืนขางหลัง) ผูกอต้ังบริษัทเน็ตเวิรคโซลูชั่นส

Page 10: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

10

คือ ผูเขียนจากประเทศไทย และอีก 10 ทานจาก ญ่ีปุน 3 ทาน จีน 1 ทาน ไตหวัน 2 ทาน เกาหลี 1 ทาน สิงคโปร 1 ทาน อเมริกา 1 ทาน และฮองกง 1 ทาน ผูเขียนไดไปรวมประชุมไอแคนนหลายครั้ง ดังตัวอยางเชน ในรูปที่ 14 มีผูอาวุโสดานอินเทอรเน็ตไปรวมประชุมไอแคนน สวนในรูปที่15 เปนรูปผูเขียนกับประธานกรรมการคนแรกของไอแคนน ชื่อ เอสเตอร ไดซัน (Esther Dyson) และ รูปผูเขียนในการประชุมไอแคนนที่ญ่ีปุน

พ .ศ . 2542 ไอแคนน และ องคกรทรัพย สินปญญาโลก หรือ “ไวโป (WIPO = World Intellectual

Property Organization)” ประกาศนโยบายแมแบบการแกปญหาขอพิพาทชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ต (Model Domain Name Dispute Resolution Policy)

16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ไอแคนนอนุมัติชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ตใหม 7 อาณาเขต ไดแก ดอทบิซ สําหรับธุรกิจ (.biz = business) ดอทอินโฟ สําหรับขอมูล (.info = information) ดอทแอโร สําหรับการบิน (.aero) ดอทโคอ็อฟ สําหรับสหกรณ (.coop = cooperatives) ดอทมิวเซียม สําหรับพิพิธภัณฑ (.museum) ดอทโปร สําหรับ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (.pro = profession) และ ดอทเนม สําหรับชื่อบุคคล (.name) แลวตอมาไอแคนนก็พิจารณาคําขอมีชื่ออาณาเขตอินเทอรเน็ตใหมๆ เปนระยะๆ อาทิ ดอตคิด (.kid) เปนอาณาเขตเด็ก ดอตจอบ (.jobs) เปนอาณาเขตการสมัครงาน ดอตโมบาย (.mobi) เปนอาณาเขตบริษัทหรือองคกรดานการสื่อสาร ดอตอียู (.eu) เปนอาณาเขตสหภาพยุโรป และดอตเทรเวล (.travel) เปนอาณาเขตการทองเที่ยว เปนตน

2.6 คอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตในประเทศไทยโดยสังเขป

ไดมีการเขียนบทความตางๆ มากมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต [1- 50] เทคโนโลยีที่เกี่ยวของทั้งนี้เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในประเทศไทยนั้น ผูเขียนจะขอแบงเปน 7 ยุคดังตอไปนี้

รูปที่ 14. ศ. ศรีศักด์ิ ในการประชุมผูอาวุโสที่ไอแคนน

รูปที่ 15. ศ. ศรีศักด์ิ กับ เอสเธอร ไดซัน ประธานไอแคนน และการประชุมไอแคนนที่ญี่ปุน

Page 11: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

11

ยุคที่ 1 เร่ิมต้ังแตการนําลูกคิดเขามาใชในประเทศไทย ยุคนี้จบลง

ต้ังแตมีการนําเครื่องประมวลผลตาราง (Tabulating Machine) เขามาในประเทศไทย

ยุคที่ 2 เร่ิมข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยกระทรวงมหาดไทยติดตั้งเครื่องเจาะบัตร เครื่องจัดลําดับและนับบัตร และเครื่อง ทําตารางเพื่อสํารวจสํามะโนครัวในป พ.ศ. 2490 และ พ.ศ. 2500

ยุคที่ 3 ซึ่งอาจจะนับไดวาเปนยุคที่สําคัญที่สุดสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย เร่ิมข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2503 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จประพาสซิลิกอน วอลเลย (Silicon Valley) ในสหรัฐอเมริกา ดังในรูป16พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวผูทรงพระปรีชาสามารถไดทรงแสดง พระวิสัยทัศนความเปนพระผูนําและทรงเปนแรงบันดาลใจแกชาวไทยทั้งหลายใหเห็นถึงความสําคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งรวมทั้งการศึกษาในประเทศไทย ผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาไดพยายามตามรอยพระยุคลบาทในรูปแบบตางๆ อาทิ เมื่อ พ.ศ. 2504 บัณฑิตวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร สปอ. ซึ่งเปนสวนหนึ่งของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ปจจุบัน

เปลี่ยนชื่อเปนสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย หรือเอไอที) ในขณะนั้นไดตัดสินใจที่จะจัดตั้งศูนยคอมพิวเตอรแหงแรกข้ึนในประเทศไทยดวยความชวยเหลือดานการเงินของรัฐบาลอเมริกันบัณฑิตวิทยาลัยจึงไดใหทุนแกผูที่จบปริญญาโทดวยคะแนนสูงสุดใหไปศึกษาปริญญาเอกที่สถาบันเทคโนโลยี แหงจอรเจีย เมืองแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ผูที่ไดรับทุนเผอิญเปน ผูเขียน โดยวัตถุประสงคของการศึกษาปริญญาเอก ซึ่งไดบันทึกไวในเอกสารของสถาบันเทคโนโลยี แหงจอรเจีย ก็คือเพื่อใหผูที่ไปศึกษาปริญญาเอกไดกลับมาเปนผูนําดานคอมพิวเตอรของประเทศไทย

พ.ศ. 2507 ไดมีการติดตั้งคอมพิวเตอร 2 เครื่องแรกในประเทศไทยโดยเครื่องหนึ่งติดตั้งอยูที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในปนั้นสิงคโปรติดตั้งคอมพิวเตอรเครื่องแรกเพียง 1 เครื่องและมาเลเซียยังไมได ติดตั้งคอมพิวเตอรเลย นับไดวาใน พ.ศ. 2507 ในดานคอมพิวเตอรนั้นไทยนําหนาทั้งสิงคโปรและมาเลเซีย ซึ่งผูเขียนไดรับทุนไปศึกษาปริญญาเอกจากเอไอทีก็ไดรับปริญญาเอกในปเดียวกันนั้น โดยทําวิทยานิพนธดานการประมวลผลดวยตัวเลข แตตัดสินใจอยูในสหรัฐอเมริกาตอเพื่อหาประสบการณจนไดเปนผู อํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอรที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐมิซซูรี และตอมาไดเปนศาสตราจารยเต็มข้ัน (Full Professor) ชาวไทยคนแรกในสหรัฐอเมริกา (ที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐ นิวยอรค) แลวจึงกลับมาเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2517 โดยไดรับแตงตัง้เปนศาสตราจารยสถิติประยุกตและหัวหนาสาขาวิชาคอมพิวเตอร รวมทั้ง ไดรับการเลือกตั้งเปนประธานสภาขาราชการที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) ในป พ .ศ . 2519 ทบวงมหาวิทยาลัยตั้งคณะกรรมการคอมพิวเตอร เพื่อกําหนดนโยบายและดูแลการใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ผูเขียนไดรับการแตงตั้งเปนประธานกรรมการ

รูปที่ 16 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จเยือนบริษัทคอมพิวเตอรในอเมริกา

รูปที่ 18 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี

ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดเกตเวย อินเตอรเน็ตนานาชาติ ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

รูปที่ 17 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จเปดงานคอมพิวเตอร

ในกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2525

Page 12: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

12

ยุคที่ 4 อาจจะกลาวไดวาเริ่มข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2521 เมื่อมีการนําไมโครคอมพิวเตอรเขามาในประเทศไทย เครื่องแรกๆ ที่นําเขามาก็คือเครื่อง เรดิโอแชค ทีอารเอส 80 (Radio Shack TRS 80) ซึ่งผูเขียนเปนผูหิ้วขึ้นเครื่องบินจากอเมริกาเขามาที่ เอแบค และใชในการจัดตั้ง “ภาควิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ (Business Computer)” ของเอแบคใหปริญญาตรี “คอมพิวเตอรธุรกิจ” แหงแรกในโลกแลวตอมาก็มีมหาวิทยาลัยอื่นๆ ใชชื่อนี้ตาม ตอจากนั้นจํานวนไมโครคอมพิวเตอรก็เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วจนมากกวาจํานวนเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร พ.ศ. 2525 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จเปนองคประธานเปดงานคอมพิวเตอรในกรุงรัตนโกสินทรจัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตรและสมาคมประมวลผลเพื่อการพัฒนาประเทศซึ่งตอมารวมเขากับสมาคมอินเตอรเน็ต เปนสมาคมอินเตอรเน็ตซึ่งมีสมาชิกประมาณ 17,000 คน นับไดวาเปนสมาคมวิชาการดานไอที ที่มีสมาชิกมากที่สุดสมาคมหนึ่งในประเทศไทย

ยุคที่ 5 เร่ิมข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2530 เมื่อไดมีการนําอินเตอรเน็ตเขามาในประเทศไทยเปนครั้งแรกที่เอไอที โดยไดตกลงทําสัญญากับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเมลเบอรน (Melbourne) ออสเตรเลีย เพื่อที่จะใหบริการทางดานไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยออสเตรเลียจะเรียกมาที่เอไอทีวันละ 3 คร้ัง เพื่อที่จะรับสงถุงไปรษณีย (Mail Bag) ในฐานะที่ผูเขียนเปนนายกสมาคมศิษยเกาเอไอทีทานจึงไดใชอินเตอรเน็ตที่เอไอทีเมื่ออินเตอรเน็ตเริ่มเขามาเมืองไทยเปนครั้งแรกใน ป พ.ศ. 2530 ยุคที่ 6 คือ ยุครัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เร่ิมข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2543 โดยรัฐบาลไดประกาศเริ่มโครงการนํา บริการตางๆ ของรัฐบาลมาใหประชาชนไดใชผานทางอินเทอรเน็ต เชน บริการเสียภาษีผานทางอินเตอรเน็ต และบริการดานทะเบียนตางๆ ผานทางอินเตอรเน็ต เปนตน

ยุคที่ 7 คือ ยุคการศึกษาทางไกลทางอินเตอรเน็ต หรือยุคอีเลิรนนิ่ง กลาวไดวาอาจจะเริ่มข้ึนภายในป พ.ศ. 2548เมื่อรัฐบาลไทยอนุญาตใหมหาวิทยาลัยไทย ทั้งของรัฐและเอกชนนําหลักสูตรระดับปริญญาที่เปดสอนในหองเรียนอยูแลวไปเปดสอนทางอินเตอรเน็ต โดยในป พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนแหงแรกที่นําหลักสูตรปริญญาทั้งหลักสูตรไปเปดสอนแบบอีเลิรนนิ่ง ต้ังแตมกราคม 2549 แลวในเดือนมิถุนายน 2549 ก็มี มหาวิทยาลัยของรัฐ อาทิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนตน เปดสอนทางอีเลิรนนิ่งดวย

อินเตอรเน็ตถือกําเนิดขึ้นในอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2512 คนไทยคนแรกที่ใชอินเตอรเน็ต คือ ผูเขียน ซึ่งขณะนั้น

ดํารงตําแหนงผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอรที่มหาวิทยาลัยมิซซูรีในอเมริกา อินเตอรเน็ตมาถึงเมืองไทยครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2530 ที่เอไอทีซึ่งผูเขียนเผอิญไดรับเลือกตั้งเปนนายกสมาคมนักเรียนเกา (ดังแสดงในรูปที่ 19) จึงไดรับเชิญใหใชอินเตอรเน็ตที่เอไอทีดวย

ในการใชอินเตอรเน็ตนั้น จําเปนตองมีเครื่องคอมพิวเตอรและโมเด็ม ปรากฎวาราคาเครื่องและโมเด็ม รวมกันหลายหมื่นบาท เผอิญผูเขียนไดรับแตงตั้งเปนกรรมการสภามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงไดไป กราบเรียนปรึกษา ภราดา ดร.ประทีป มารติน โกมลมาศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญในขณะนั้น โดย ภราดา ดร.ประทีป มารติน โกมลมาศ เห็นวาอินเตอรเน็ตเปนวิทยาการกาวหนาสมควรจะมีใช มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

รูปที่ 19 การประชุมคณะกรรมการสมาคมศิษยเกาเอไอทีมี ศ.ดร. ศรีศักดิ์เปนประธาน

Page 13: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

13

จึงไดจัดสรรงบประมาณซื้อเครื่องคอมพิวเตอรและโมเด็ม และจายคาเชาใชอินเตอรเน็ตที่เอไอที นับไดวาเอแบคไดเร่ิมใชอินเตอรเน็ตตั้งแตแรก ที่อินเตอรเน็ตเขามาเมืองไทยในป พ.ศ. 2530

ในการใชอินเตอรเน็ต ณ หนวยงานใดหนวยงานหนึ่งนั้นถามีคอมพิวเตอรหลายเครื่อง ก็รวมกันเปนเครือขายยอยโดยจดทะเบียนเลขที่เครือขายยอย ซึ่งเรียกวาเอเอส นัมเบอร (AS = Autonomous System) 3 เครือขายยอยแรกของประเทศไทย คือ 1. ไทยสาร (THAISARN) ของศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือ เนคเทค (Nectec) 2. จุฬาเน็ต (CHULANET) ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. เอยูเน็ต (AUNET) ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สรุปแลวสําหรับประเทศไทยมีหนวยงานที่จดทะเบียนเอเอสดังแสดง ในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 เลขที่เครือขายยอยและจํานวนไอพีแอดเดรส

ลําดับที่ เลขที่ เอเอส ชื่อ จํานวนClass-C

1 AS 3836 THAISARN 0 Class-C 2 AS3839 CHULANET 258 Class-C 3 AS4274 AUNET 260 Class-C 4 AS4767 AIT 257 Class-C 5 AS7485 MUT (Mahanakorn) 41 Class-C 6 AS9711 NONTRINET (Kaset) 256 Class-C 7 AS9464 PSU (Songkla) 0 Class-C 8 AS9486 KMITL (Ladkrabang) 256 Class-C 9 AS9533 KMITNB (North BKK) 18 Class-C 10 AS9551 KMUTT (Thonburi) 14 Class-C 11 AS9562 MSU (Mahasarakham) 12 Class-C 12 AS9741 UTCC (Horkarnka) 8 Class-C 13 AS9903 RIT (Rachamangala) 163 Class-C 14 AS10227 SUANDUSIT 4 Class-C 15 AS17479 CMU (Chiang Mai) 13 Class-C 16 AS17827 STOU (Sukhothai) 9 Class-C

การเชื่อมโยงอินเตอรเน็ตระหวางเอไอทีกับออสเตรเลียเปนการเชื่อมโยงแบบชั่วคราวโดยตอโทรศัพทแตละ

คร้ังที่ตองการเชื่อมตอ เรียกเปนภาษาอังกฤษวา “ไดอัลอัพ (Dial-Up)” สวนอีกวิธีหนึ่งคือการเชื่อมโยงแบบถาวร โดยการใชคูสายเชาที่เรียกวา “ลีสดไลน (Leased Line)” ปลายทางคูสายเชาถาวรที่อยูในประเทศไทยเรียกวา “เกตเวยอินเตอรเน็ตนานาชาติ (International Internet Gateway)”

พ.ศ. 2534 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตั้งเกตเวยระหวางประเทศแหงแรกในเมืองไทยดวยความเร็ว 9,600 บิตตอวินาที แลวตอมาจึงเปลี่ยนเปน 64,000 บิตตอวินาที เชื่อมโยงกับสหรัฐอเมริกาที่เวอรจีเนีย พ.ศ. 2536 เนคเทคเปดเกตเวยระหวางประเทศแหงที่สอง ความเร็ว 64,000 บิตตอวินาที เชื่อมโยงกับสหรัฐอเมริกาที่เวอรจีเนีย ในป พ.ศ. 2538 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดเกตเวยระหวางประเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ในยุคแรกที่ประเทศไทยเริ่มมีอินเตอรเน็ตใชนั้น ก็เหมือนกับยุคแรกในอเมริกา คือ ใหใชไดเฉพาะดานการศึกษาและวิจัย ตอมาเมื่อความแพรหลายของอินเตอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น จึงมีการเปดบริษัทเพื่อใหบริการ อินเตอรเน็ตเชิงพาณิชย หรือไอเอสพี (ISP = Internet Service Provider) ข้ึน

ถึง พ .ศ . 2547 ประเทศไทย มี ผู ใหบ ริการอินเตอรเน็ตเชิงพาณิ ชย 18 ราย โดยบริษัทผู ใหบ ริการ อินเตอรเน็ตเชิงพาณิชยรายแรกที่จดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย คือ บริษัทเคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต จํากัด ซึ่งผูเขียนเปนผูกอต้ังและประธานกรรมการ โดยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญกรุณาทําหนาที่เปนศูนยเพาะเลี้ยง (Incubator) จนบริษัทเติบโตขึ้น จึงไดยายออกไปและขายกิจการใหตางชาติในที่สุด

Page 14: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

14

3. อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่สี่ ในป พ .ศ . 2549 นี้ ผู สน ใจใน เรื่อ งอะไรก็มั กจะหาขอมู ล ได จากอิน เทอร เน็ ต อาทิ เว็บกู เกิ ล (www.google.com) มีขอมูลมากกวา 8,000 ลานรายการ ถาสนใจหาขอมูลเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 (IPv4) ก็สามารถคนหาในกูเกิลโดยใชคําภาษาอังกฤษวา “Define: IPv4” ซึ่งจะไดผลดังแสดงในรูปที่ 20 ตัวอยางคําจํากัดความจากเว็บแทนเจนซอฟตดอตเน็ต (www.tangentsoft.net) ระบุวำ อินเทอรเน็ต โปรโตคอลรุน 4 เปนรุนที่ใชอยูในปจจุบัน (พ.ศ. 2549) มีขนาด 32 บิต (แบงเปน 4 สวน แตละสวนเปนเลขจาก 0 ถึง 255) โดยมีสวนหัว (Header) อยางนอย 20 ไบต กรุณาเปรียบเทียบกับไอพีวี 6 อีกตัวอยางหนึ่งจากเว็บวิกิพีเดีย (www.en.wikipedia.org/) ระบุวา ไอพีวี 4 เปนรุนแรกของโปรโตคอลอินเทอรเน็ตที่ใชกันอยางแพรหลายและเปนรากฐานของอินเทอรเน็ตในปจจุบัน (พ.ศ. 2547) รูปแบบของเลขที่ไอพีในรุนที่ส่ี คือ ตัวเลขที่แบงเปน 4 สวน มีดอทค่ันแตละสวนและแตละสวนเปนตัวเลขจาก 0 ถึง 255 อาทิ

• 161.200.0.0 และ 192.133.10.0 สําหรับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • 168.120.0.0 และ 198.49.112.0 สําหรับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ฉะนั้นจํานวนเลขที่ไอพีในรุนที่ส่ีจึงมีได 256 x 256 x 256 x 256 หรือประมาณ 4.3 พันลานเลขที่ซึ่งไมพอ แมแตจะใหประชากรแตละคนของโลกมีคนละ 1 เลขที่ เพราะทั้งโลกมีประชากรกวา 6 พันลานคน การจัดสรรเลขที่ไอพีทั่วโลกนั้น ปรากฏวา สหรัฐอเมริกาไดรับการจัดสรรเปนอันดับ 1 เกือบรอยละ 70 ของทั้งหมด ดังแสดงในตารางที่ 2 สวนอันดับ 2 คือ ญ่ีปุน ไดรับการจัดสรรรอยละ 5.57 อันดับ 3 คือ แคนาดา ไดรับการจัดสรรรอยละ 3.33 สวนประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีนมีประชากรถึง 1.321 พันลานคน ไดรับการจัดสรรเลขที่ไอพีเปนอันดับ 7 เพียงรอยละ 1.65 สําหรับประเทศไทยซึ่งมีประชากรประมาณ 65 ลานคน ไดรับการจัดสรรเลขที่ไอพีเปนลําดับที่ 37 ในโลก คือไดรับเพียงรอยละ 0.10 นับเปนเลขที่ไอพีประมาณ 1.8 ลานเลขที่ หรือเฉลี่ย 1 เลขที่ไอพี สําหรับประมาณ 36 คน ซึ่งไมนาจะเพียงพอสําหรับอนาคต ตัวอยางเชน ถาชาวไทยทุกคนมีโทรศัพทสวนตัวคนละ 1 เครื่องก็นาจะมีเลขที่ไอพีคนละ 1 เลขที่ นั่นคือถาคิดเฉพาะเรื่องโทรศัพทอยางเดียว ประเทศไทยก็ควรจะมีเลขที่ไอพีประมาณ 65 ลานเลขที่ ซึ่งในไอพีรุนที่ส่ีนี้ ประเทศไทยมีเพียงประมาณ 1.8 ลานเลขที่ และไมมีโอกาสเลยที่จะขอใหไดถึง 65 ลานเลขที่ ยิ่งกวานั้นตามความเปนจริงแลวนอกจากเลขที่ ไอพีสําหรับโทรศัพทก็นาจะมีเลขที่ไอพีสําหรับอุปกรณอ่ืนๆ อาทิ ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ เตาอบ โทรทัศน และ กลอง เปนตน

รูปท่ี 20 คําจํากัดความของโปรโตคอลรุนท่ี 4 รูปท่ี 21 คนหาไอพีวี 4 ในกูเกิล พบ 13.4 ลานรายการ

Page 15: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

15

ตารางที่ 2 การจัดสรรเลขที่ไอพีใหประเทศตางๆ

ลําดับ รหัส

ประเทศ

ชื่อประเทศ จํานวนเลขที ่ไอพ ี

คิดเปน

รอยละ

ประชากร

เปนลานคน 1 us สหรัฐอเมริกา 1,246,274,560 66.90 301

2 jp ญ่ีปุน 103,830,016 5.57 127

3 ca แคนาดา 62,013,952 3.33 33

4 gb สหราชอาณาจักร 50,894,080 2.73 61

5 de เยอรมัน 48,699,648 2.61 82

6 fr ฝร่ังเศส 37,210,112 2.00 61

7 cn จีน 30,719,744 1.65 1,321

8 nl เนเธอรแลนด 28,527,872 1.53 16

9 kr เกาหลีใต 26,208,768 1.41 49

37 th ไทย 1,782,016 0.10 65 อินเตอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 เร่ิมประกาศใชเมื่อ พ.ศ. 2524 แลวมีการจัดสรรโดยประมาณ ดังแสดงใน ตารางที่ 3

ตารางที่ 3 การจัดสรรอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 พ.ศ. ถึงปนี้ไดจัดสรรไปแลวเปนอัตราสวนของทั้งหมด

พ.ศ. 2524 (เร่ิมประกาศใชอินเทอรเน็ตโปรโตคอล รุนที่ 4)

พ.ศ. 2528 1/16

พ.ศ. 2533 1/8

พ.ศ. 2538 1/4

พ.ศ. 2543 1/2

พ.ศ. 2551-2558 (คาดวาอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 จะหมด) ในดานการประยุกตใชอินเทอรเน็ตนั้น ถึง พ.ศ. 2549 ที่ยังใชไอพีรุนที่ 4 กันอยูนั้น ก็มีการประยุกตใช มากมายหลายดาน ดังตัวอยางในหนังสือที่มีชื่อเลนวา “108 อีนี่อีนั่นอีออคชั่นถึงอีซู” [33] ดังแสดงในปกหนังสือ รูปที่ 22 คือ เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ จากอีออคชั่นหรือการประมูลทางอินเทอรเน็ต (eAuction) อีคอมเมิรซหรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (eCommerce) อีแบงกิ้งหรือบริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส (eBanking) อีเดตต้ิงหรือการหาคูทางเน็ต (eDating) อีเอนเตอรเทนหรือบันเทิงทางเน็ต (eEntertain) อีไฟแนนซหรือการเงินอิเล็กทรอนิกส (eFinance) อีกัฟเวอรเมนตหรือรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (eGovernment) อีเฮลทหรือสาธารณสุขทางเน็ต (eHealth) อีอินดัสตรีหรืออุตสาหกรรมทางเน็ต (eIndustry) อีจอบสหรือการหางานทางเน็ต (eJobs) อีโนวเลจหรือความรูทางเน็ต (eKnowledge) อีเลิรนนิงหรือการศึกษาทางไกลทางเน็ต (eLearning) อีเมลหรือจดหมายหรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (eMail) อีนิวสหรือขาวสารทางเน็ต (eNews) อีออฟฟศหรือสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (eOffice) อีพารเลียเมนตหรือรัฐสภาอิเล็กทรอนิกส (eParliament) อีเควสชันแนรหรือการสํารวจ

Page 16: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

16

รูปที่ 22 ปกหนังสือ “108 อีนี่อีนั่นจากอีออคชั่นถึงอีซู”

ความคิดเห็นทางเน็ต (eQuestionaire) อีเรดิโอหรือวิทยุกระจายเสียงทางเน็ต (eRadio) อีโซไซตี้หรือสังคมอิเล็กทรอนิกส (eSociety) อีเทรเวลหรือการทองเที่ยวทางเน็ต (eTravel) อียูทิลิต้ีหรือสาธารณูปโภคทางเน็ต (eUtility) อีโวตติ้งหรือการลงคะแนนเสียง (eVoting) อีเวเทอรหรือพยากรณอากาศทางเน็ต (eWeather) อีเอ็กซมาสหรือการเฉลิมฉลองคริสตมาสทางเน็ต (eXmas) อียูทหรือเยาวชนอิเล็กทรอนิกส (eYouth) และอีซูหรือสวนสัตวทางเน็ต (eZoo)

ทั้ งนี้ อี ไทยแลนดมีสวนประกอบสําคัญ อาทิ อี โซไซตี้ อีกอฟเวอรเมนท อีคอมเมิรซ และอีเอ็ดดูเคชั่น เปนตน

• สังคมอิเล็กทรอนิกส (eSociety) เพื่อเตรียมสังคมไทยใหพรอมในการใชอินเทอรเน็ต

• รัฐบาลอิ เล็กทรอนิ กส (eGovernment) คือการนํ าบริการของรัฐบาลมาใหประชาชนใชผานทางอินเทอรเน็ต อาทิ โดยการเสียภาษี เงินไดทางอินเทอรเน็ต (eRevenue) ซึ่งมากกวาครึ่งของผูเสียเงินไดในประเทศไทยไดเสียภาษีผานทางอินเทอรเน็ตแลว อีกโครงการหนึ่งดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสคือ การจดทะเบียนหางรานทางอินเทอรเน็ต (eRegistration) ซึ่งผู เขียนเปนประธานออกขอกําหนดใหกระทรวงพาณิชย

• พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (eCommerce) หรือการซื้อขาย สินคาและบริการผานทางอินเทอรเน็ตซึ่งกระทรวงพาณิชยเคยจัดทําโครงการนํารอง โดยผู เขียนไดรับตําแหนงใหเปนผูจัดการโครงการ นอกจากนี้ในประเทศ ไทยยังไดออกกฎหมายสนับสนุนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ กฏหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส โดยในกฎหมายนี้ใชรับรองลงลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส หรือลายเซ็นดิจิทัล

(Digital Signature) เชนเดียวกับลายเซ็น บนกระดาษ ทั้งนี้ ผู เขียนไดรับแตงตั้งใหเปนที่ปรึกษา ยกรางกฏหมายดังกลาวดวย

• การศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส (eEducation หรือ eLearning) ซึ่งผูเขียนไดยกรางประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่ งตอมาไดป รับปรุงแก ไขแลว รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการลงนามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อตุลาคม พ.ศ. 2548 ทําใหผูจบปริญญาแบบอีเลิรนนิ่งชวงแรกเขารับราชการได โดยผูเขียนเปนประธานกรรมการและประธานผูบริหารวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาแหงแรกในประเทศไทยที่เปดสอนแบบอีเลิรนนิ่ง ทั้งหลักสูตร

4. อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หก อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6 (IPv6) สามารถคนหาขอมูลในกูเกิล โดยใชคําภาษาอังกฤษวา “Define: IPv6” ซึ่งจะไดผลดังแสดงในรูปที่ 23

รูปที่ 23 คําจํากัดความของโปรโตคอลรุนท่ี 6 รูปที่ 24 คนหาในกูเกิลพบ 45 ลานราย

Page 17: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

17

ตัวอยางเชน จากเว็บพาเลียเมนทดอตวิกดอตกอฟดอตเอยู (www.parliamet.vic.gov.au) คือ การแทนที่การใชอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุน 4 ดวยรุนที่ 6 ที่เร่ิมใชมาตั้งแตราวๆ ป พ.ศ. 2523 ซึ่งอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุน 6 นี้จะเพิ่มจํานวนหมายเลขอินเทอรเน็ตแอดเดรสจาก 32 บิต ถึง128 บิต เพื่อแกปญหาจํานวนการใชอินเทอรเน็ต ที่เพิ่มข้ึน และจากเว็บวิกิพีเดีย (www.en.wikipedia.org) ใหความหมายของไอพีวี 6 หรืออินเทอรเน็ตโปรโตคอล รุน 6 คือ มาตรฐานชั้นเครือขาย ที่ควบคุมดวย แอดเดรส (Addressing) เราทติง (Routing) ของชุดขอมูลผานเครือขาย ถาตองการรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุน 6 ก็สามารถคนหาจากกูเกิลโดยใชภาษาอังกฤษวา “IPv6” ซึ่งได 44,700,000 รายการ ดังแสดงในรูปที่ 24 เมื่อ พ.ศ. 2536 ผูใชอินเทอรเน็ตทั้งหลาย ไดเห็นปญหาวา อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 จะมีไมพอใช จึงไดเสนอใหมีการปรับปรุงอินเทอรเน็ตโปรโตคอลใหม เมื่อ พ.ศ. 2537 คณะทํางานดานวิศวกรรมอินเทอรเน็ตหรือ “ไออีทีเอฟ (IETF = Internet Engineering Task Force)” ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ ก็ประกาศวา อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 ไมนามีเหลือใหจัดสรรอีก ในป พ.ศ. 2551 หรืออยางชากวานั้นก็ไมเกิน พ.ศ. 2554 ในป พ.ศ. 2537 นี้เองก็ไดมีการประกาศอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนใหมชื่อ “เอสไอพีพี (SIPP = Simple Internet Protocol Plus)” ความจริงจากรุนที่ 4 นาจะพัฒนาเปน รุนที่ 5 แต ในวงการ อินเทอรเน็ตจะทําอะไรก็ตองขอความคิดเห็นจากผูสนใจทั่วไป โดยใช “ประกาศขอความคิดเห็น” หรือ ”อารเอฟซี (RFC = Request For Comments)” โดยในอารเอฟซี 791 ระบุรุนของโปรโตคอลแลวเลข “4” ตกลงกันใหเปนรุนของโปรโตคอลอินเทอรเน็ต (Internet Protocol) สวนเลขที่ “5” ใหใชในเรื่อง การสงขอมูลในอินเทอรเน็ตแบบพิเศษ (Internet Stream Protocol) ฉะนั้นจึงไมสามารถใชเลขที่ “5” ได จําเปนตองใชเลขตอไปที่วา คือ เลขที่ “6” นั่นคือ เมื่อปรับปรุงอินเทอรเน็ตโปรโตคอลจากรุนที่ 4 ไปเปนรุนใหมก็ตองเรียกรุนใหมวา “อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6” หรือ “ไอพีวี6 (IPv6)” คณะทํางานไอพีวีรุนที่ 6 (IPv6 Working Group) เร่ิมทดลองใชไอพีวี 6 เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยในตอนตน ก็มีปญหาและมีการตั้งโครงการยอยโดย 6 บริษัทในญี่ปุนใหทดลองใชไอพีวี 6 ในสหรัฐอเมริกา กระทรวงกลาโหมโดย จอหน พี สเตนบิต (John P. Stenbit) ประธานเจาหนาที่ สารสนเทศ หรือ ”ซีไอโอ (CIO = Chief Information Officer)” ลงนามในเอกสารเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ประกาศวา กระทรวงกลาโหมอเมริกันจะเปลี่ยนจากอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 ไปเปนอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6 ภายใน พ.ศ. 2551 อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 เขียนเปน 4 กลุมตัวเลข ค่ันดวยเครื่องหมายมหัพภาค หรือ ดอท หรือ “.” โดยแตละกลุมตัวเลขเปนเลขฐาน 10 ต้ังแต 0 ถึง 255 ดังตัวอยาง เชน “168.120.0.0” สําหรับมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ สวนอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6 เข ียนเปน 8 กลุมตัวเลข ค่ันดวยเครื่องหมาย “ทวิภาค” หรือ “:” โดยแตละกลุมตัวเลขเปนเลขฐาน 16 (0 ถึง 9 a b c d e f) จํานวน 4 ตัว (ตัวละ 4 บิต รวมเปน 16 บิต) ดังตัวอยางเชน “a:b:c:d:e:f:0:1” ทั้งนี้อาจนําอินเทอรเน็ตไอพีรุนที่ 4 ไปแทรกไวในอินเทอรเน็ตไอพีรุนที่ 6 ได ดังตัวอยาง เชน “f:e:d:c:168.120.0.0” อินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 มีขนาด 32 บิต แตอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6 มีขนาด 128 บิต ทําให รุนที่ 6 มี เลขที่ ไอพี (IP Address) มากถึ ง 296 เท าของรุนที่ 4 อิน เทอร เน็ ต โปรโตคอลรุนที่ 4 มี จํ านวน ไอพี แ อด เด รส 4.3 พั น ล าน เล ขที่ แต อิ น เท อ ร เน็ ต โป รโตคอล รุ น ที่ 6 มี จํ าน วน ไอพี แ อด เด รส ถึ ง 340,282,366,920,938,463,463,374,607,431,768,211,456 หรือประมาณ 3.4 x 1038

มีผูใหเหตุผลมากมายวาทําไมจึงควรปรับปรุงจากการใชไอพีวี 4 ไปเปนไอพีวี 6 พอสรุปไดดังตอไปนี้ • ไอพีวี 4 จะหมดประมาณ พ.ศ. 2551 หรืออยางชาที่สุด พ.ศ. 2558 ฉะนั้นในที่สุดก็จะตองไปใชไอพีวี 6 อยูแลว จึงควรจะเริ่มทดลองใชต้ังแตตอนนี้

• ไอพีวี 6 มีไอพีแอดเดรสใหใชถึง 3.4 x 1038 หมายเลข สามารถจัดสรรไดอยางเพียงพอใหกับทุกคนในโลกซึ่งใน พ .ศ. 2549 มีไม เกิน 7 พันลานคน ถาแจกไอพีใหคนละหนึ่งลานไอพีก็ตองแจกเพียง 7 พันลานลานหมายเลข หรือ 7 x 1015 หมายเลข เทียบกับที่มีอยู 3.4 x 1038 หมายเลข ก็ยังเหลือ อีกมากมาย

Page 18: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

18

• รูปแบบของไอพีวี 6 ยืดหยุนกวารูปแบบของไอพีวี 4 ทําใหไอพีวี 6 มีประสิทธิภาพมากกวาไอพีวี 4 มากมายหลายดาน

• การใชการใชไอพีวี 6 ทําใหเครือขายทํางานไดเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น • การใชการใชไอพีวี 6 ทําใหผูดูแลการติดตั้งและจัดการบริการดานอินเทอรเน็ตมีภาระนอยลง • การใชไอพีวี 6 ทําใหตารางการคนหาเสนทางในการสงสารสนเทศในเครือขายที่ใชไอพีวี 6 มีขนาดเล็กกวาตารางการคนหาเสนทางในเครือขายที่ใชไอพีวี 4

• การใชไอพีวี 6 ทําใหสามารถกําหนดคุณภาพของบริการ (Quality of Services) ไดสูงกวาในการใช ไอพีวี 4

• การใชการใชไอพีวี 6 สนับสนุนการสื่อสารดวยไอพีแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP) • การใชการใชไอพีวี 6 ชวยใหสามารถปรับปรุงการติดตอแบบ “มัลติคาสต (Multicast)” และแบบ

“เอนนีคาสต (Anycast)” • การใชไอพีวี 6 ทําใหสามารถปรับแตงระบบไดแบบอัตโนมัติ (Auto Configuration) ปรับเปลี่ยน แอดเดรส (Renumbering) และเชื่อมตอผูใหบริการไดพรอมๆ กันหลายราย (Multi-Homing) เปนตน

• การใชการใชไอพีวี 6 ทําใหเครือขายมีความนาเชื่อถือมากขึ้นเพราะใชไอพีจริงทุกราย (Real IP) โดยไมมีการใชไอพีหลอกๆ เลย

• การใชไอพีวี 6 สนับสนุนการรักษาความปลอดภัยในโปรโตคอลอินเทอรเน็ต (IP Security) เมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ไดมีการจดทะเบียนสมาคมไอพีวี 6 (IPv6 Forum) ที่ลักเซมเบิรก โดยมี

ลาทิฟ ลาดิด (Latif Ladid) ในรูปที่ 25 เปนประธาน ถึงกันยายน พ.ศ. 2542 สภาไอพีวี 6 มีสมาชิกเปนหนวยงาน 60 ราย แลวเพิ่มข้ึนเปน 175 ราย เมื่อพฤศจิกายน พ.ศ. 2547 สมาชิกสมาคมไอพีวี 6 ประกอบดวยบริษัทหางรานดานอินเทอรเน็ต หนวยงานวิจัย และสถานศึกษา สมาคมไอพีวี 6 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมไอพีวี 6 โดยดําเนินการอยางจริงจังใหตลาดและผูใชอินเทอรเน็ตไดมีความรูเร่ืองไอพีวี 6 เพื่อกอใหเกิดไอพีวี 6 ที่มีคุณภาพและปลอดภัย และเพื่อชวยใหทั้งโลกเขาถึงความรูและเทคโนโลยีไดอยางเทาเทียมกันทั่วโลก ทั้งนี้ โดยยึดเอาความรับผิดชอบดานศีลธรรมเปนหลักสําคัญ

สําหรับประเทศไทยไดมีการตั้งสมาคมไอพีวี 6 ประเทศไทย (Thailand IPv6 Forum) ข้ึนเมื่อปลายป พ.ศ. 2547 โดยมีสมาชิกเปนหนวยงานวิจัย ผูใหบริการอินเทอรเน็ต และผูผลิตหรือตัวแทนจําหนายฮารดแวร และซอฟตแวรระบบเครือขาย สมาคมไอพีวี 6 ประเทศไทยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความรวมมือในการเผยแพร พัฒนา และสนับสนุนการใหบริการ และการใชงานไอพีวี 6 โดยกระตุนบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตใหเห็นความสําคัญของไอพีวี 6 และเปดใหบริการอินเทอรเน็ตดวยไอพีวี 6 ในเชิงพาณิชย สมาคมไอพีวี 6 ประเทศไทย ไดเขารวมเปนสมาชิกคณะทํางานไอพีวี 6 เอเชียแปซิฟค (Asia-Pacific IPv6 Task Force) และสงเสริมการเชื่อมตอ ไอพีวี 6 ในประเทศระหวางเนคเทค บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตารางที่ 4 แสดงผูใหบริการไอพีวี 6 ในประเทศไทย

รูปที่ 25 ผูเขียนกับลาทิฟ ลาดิด

Page 19: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

19

ตารางที่ 4 ผูใหบริการเครือขายไอพีวี 6 ในประเทศไทย

ลําดับที่

หนวยงานองคกร ผูใหบริการอินเทอรเน็ต

หมายเลขไอพี เครือขายระหวาง

ประเทศ

หมายเลขไอพี จากแอพนิค

1. CAT - 2001: c38::/32

2. TOT - 2001: ec0::/32

3. Internet Thailand 3ffe:400B::/32 2001: c00::/32

4. CS-Loxinfo 3ffe:4014::/32 -

5. Asia Infornet - 2001: fb0::/32

6. NECTEC 3ffe:4016::/32 2001: f00::/32

7. UniNet - 2001: 3c8::/32

สมาคมไอพวี ี6 ประเทศไทยไดจดัการประชมุสุดยอดไอพวี ี6 ประเทศไทย (Thailand Ipv6 Summit) ข้ึนเปนคร้ังแรกเมือ่ 2-4 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยเชญิลาทฟิ ลาดดิ ประธานสมาคมไอพวี ี6 ระดบันานาชาตเิปนผูบรรยายนาํ และเชญิผูเขยีนเปนผูรวมอภปิราย ในการอภปิรายผูเขยีนไดประกาศวาจะแจกไอพแีอดเดรสใหอาจารย เจาหนาที ่และนกัศกึษาของมหาวทิยาลยัอสัสัมชญัทกุคน และเสนอวารัฐบาลไทยนาจะกาํหนดใหประชาชนคนไทยทกุคนมไีอพีแอดเดรสประจําตัวเหมือนกับที่มีชื่อและมีบัตรประชาชน

สมาคมไอพวี ี6 ประเทศไทยมนีายสมพล จนัทรประเสรฐิ เปนประธานและไดเชญิผูเขยีนเปนทีป่รึกษา โดยคณุสมพลกบัผูเขยีนกคุ็นเคยกนัด ีอาท ิคุณสมพลเปนอปุนายกสมาคมอนิเทอรเนต็นานาชาตสิาขาประเทศไทยทีผู่เขยีนเปนนายก สวนลาทฟิ ลาดดิกบัผูเขยีนกรู็จกักนัดโีดยเคยเปน 2 ใน 15 กรรมการบรหิารสมาคมอนิเทอรเนต็นานาชาต ิ

5. ไอพีแอดเดรสรุนที่หกในตางประเทศ จากการที่ไอพีรุนที่ส่ีจะหมดและประโยชนตางๆ ของไอพีรุนที่หกก็ทําใหประเทศทั้งหลายสนใจที่จะพัฒนาจากไอพีรุนที่ส่ีเปนไอพีรุนที่หก ดังตัวอยางในประเทศญี่ปุน เกาหลีใต อินเดีย ไตหวัน และจีน 5.1 ไอพีรุนที่หกในญี่ปุน

รัฐบาลญี่ปุนกําหนดนโยบายไอซีที 2010 (ICT 2010) มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีดานโทรคมนาคม ตามนโยบายดังกลาวรัฐบาลญี่ปุนไดพยายามออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีลาสุดที่สามารถรองรับระบบไอพีวี 6 ไดดวย ภายใตชื่อวา “ยู-เจแปน (Ubiquitous Japan)” ซึ่งเทคโนโลยีนี้สามารถตอบสนองการใชงานของผูใชไดอยางมีประสิทธิภาพ อาทิ การใหบริการอยางตอเนื่องโดยผูใชสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ต

Page 20: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

20

ไดทุกที่ทุกเวลา (Ubiquitous Access) การใชงานเปนแบบสากล (Universal) ใชงานไดงาย (User-Friendly) และมีการทํางานเปนเอกลักษณเฉพาะ (Unique) เปนตน

เทคโนโลยีใหมที่รัฐบาลญี่ปุนกําลังพัฒนาอยูนี้มุงเนนใหผูใชสามารถทําการเชื่อมตอไดจากทุกที่ทุกเวลา โดยใชเทคโนโลยีการสื่อสารในยุค 4จี (4G) อาทิ ผูใชอาจติดตอหรือสนทนากับคูสนทนาที่อยูอีกฟากหนึ่งของโลกไดทันทีโดยใชการสื่อสารผานดาวเทียมและการนําเทคโนโลยีชี้เฉพาะดวยคลื่นวิทยุหรือารเอฟไอดี (RFID = Radio Frequency Identification) มาใชแทนเทคโนโลยีชี้ เฉพาะดวยแสงหรือเซ็นเซอร (Sensor) แบบเกา เปนตน

นอกจากนี้รัฐบาลญี่ปุนวางแผนจะจัดทําโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสข้ึนเพื่อสนับสนุนการจัดหาและ จัดซื้ออุปกรณตางๆ ที่สามารถรองรับการทํางานของระบบไอพีวี 6 ซึ่งโครงการนี้ยังอยูในระหวางการพิจารณาของคณะกรรมาธิการประชาคมยุโรป (European Commission) ถึงแมวาจะถูกคัดคานจากหอการคานานาชาติ หรือไอซีซี (ICC = International Chambers of Commerce)

ญ่ีปุนพยายามที่จะกําหนดยุทธศาสตรใหมๆ ทางดานไอทีอยูตลอดเวลาเพื่อใหประเทศญี่ปุนกลายเปนประเทศที่กาวหนาที่สุดในโลกดานไอที ทั้งนี้การสงเสริมระบบไอพีวี 6 ก็เปนหนึ่งในยุทธศาสตรทางดานไอทีของญ่ีปุน การสงเสริมระบบไอพีวี 6 ไมเพียงแคทําในประเทศญี่ปุนเทานั้น แตญ่ีปุนพยายามที่จะสงเสริมใหทั่วโลกรูจักและนําระบบไอพีวี 6 มาใชโดยไดกอต้ังคณะกรรมการสงเสริมไอพีวี 6 (IPv6 Promotion Council) ข้ึน ผูสนใจสามารถเขาไปคนรายละเอียดไดที่เว็บ www.v6pc.jp

ปจจุบันนี้คณะกรรมการสงเสริมไอพีหรือ “วี6พีซี (v6PC)” ใหความสําคัญกับโครงการตางๆ ที่เนน เกี่ยวกับการสื่อสารระยะไกล อาทิ โครงการอินเทอรเน็ตในรถยนต โครงการไอพีทีวี และโครงการบานดิจิทัล เปนตน และยังสนับสนุนสินคาที่เกี่ยวของกับไอพีวี 6 อีกมากมาย อาทิ กลองที่ใชเชื่อมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ต เครื่องพิมพบนเครือขาย เราทเตอร และโทรศัพทที่ใชไอพี เปนตน ทั้งนี้รัฐบาลญี่ปุนคาดวาจะพรอมใชงานระบบ ไอพีวี 6 ไดอยางเต็มรูปแบบใน พ.ศ. 2550 5.2 ไอพีรุนที่หกในเกาหลีใต

ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2544 รัฐบาลเกาหลีใต โดยรัฐมนตรีกระทรวงการสื่อสาร ซึ่งเปนผูนําของบริษัทซัมซุง ไดกําหนดนโยบายไอที 839 มุงเนนภาคอุตสาหกรรม ใหบริการ 8 รูปแบบ 3 โครงสราง และ 9 เครื่องจักรกล โดยใช เปนแนวทางไดประกาศในวาระการประชุม ไอพีวี 6 (IPv6 Summit) เมื่อ ธันวาคม 2535

เมื่อกุมภาพันธ พ.ศ. 2548 ผูใหบริการไอพี แคสเปยน (Caspian) ผูนําดานการใหบริการการจัดการ ดานไอพีและเครือขายหลายทางหรือ “เอ็มพีแอลเอส (MPLS = Multi-Protocol Label Switching)” รวมมือกนัพัฒนาระบบเทคโนโลยีรวมกับ “สถาบันคนควาดานพลังงานและการสื่อสาร” หรือ “อีทีอารไอ (ETRI = Electronics and Telecommunications Research Institute)” ในการใหบริการระบบไอพีวี 6

การพัฒนาคุณภาพของการใหบริการหรือ “คิวโอเอส (QoS = Quality of Service)” ดานเครือขายในการแกปญหาความรวมมือกันของเครือขายผูใหบริการบรอดแบนด (Broadband) ในเกาหลีใต

การรวมมือกันระหวางแคสเปยนและอีทีอารไอ มุงประเด็นสําคัญไปที่การใหบริการแบบใหมของระบบ ไอพีวี 6 ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงจากการใชระบบไอพีวี 4 มาเปนการใชระบบไอพีวี 6 แทน การแกปญหาโดยใช “เกตเวยแบบเดี่ยว (Sigel Gateway)” ทําใหมีอุโมงคดานการสื่อสารในระบบไอพีวี 6 มากกวาระบบ ไอพีวี 4 ที่มีใชอยูในปจจุบัน ผลลัพธที่ได คือเกาหลีใตเปนหนึ่งในจํานวนหลายประเทศที่นําเอาระบบ ไอพีวี 6 มาใชใหประสบความสําเร็จเปนอันดับตนๆ ของโลก

การแกปญหาโดยการยายชองทางในระบบไอพีวี 4 ไปสูชองทางการสื่อสารในรูปแบบการสื่อสารแบบเครือขายระหวางในระบบไอพี 6 เพื่อใหแนใจถึงผลที่ได

จุดมุงหมายคือการออกแบบระบบใหสามารถลดคาใชจาย และแกปญหาจากการลงทุนดานเครือขายของระบบไอพีวี 4

ระบบไอพีวี 6 จะสามารถปรับปรุงความสามารถในดานการรักษาความปลอดภัย ที่ต้ังของการใหบริการและระบบการขยายอาณาเขตใหม การเพิ่มคุณภาพการใหบริการในระบบไอพีวี 6 จะตองพัฒนาสวนประกอบ พื้นฐานเพื่อใชเปนประโยชนในพัฒนาเครือขายระบบในรุนตอๆ ไป

Page 21: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

21

แคสเปยนประสบความสําเร็จในการรวมมือกับอีทีอารไอ ในฐานะผูพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของเกาหลีใต

เครือขายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของเกาหลีใตเปนหนึ่งในจํานวนหลายๆ เครือขายที่ยอมเสียสละ ชองสัญญาณใหใชเพื่อสนับสนุนการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบมัลติมีเดีย อาทิ โทรศัพทผานเน็ตหรือ “วีโอไอพี (VoIP = Voice Over Internet Protocol)” ภาพ และเสียงผานเน็ต เปนตน ซึ่งการใหบริการนี้ครอบคลุมกลุมผูใชงานมากกวา 20 ลานคนทั่วประเทศ

5.3 ไอพีรุนที่หกในอินเดีย นโยบายการพัฒนาโปรโตคอลรุนที่ 6 ของอินเดีย จากความรวมมือของกระทรวงเทคโนโลยีและสารสนเทศ

(MCIT) และหนวยงานทอีารเอไอ (TRAI = Telecom Regulatory Authority) หรือจากเวบ็ทอีารเอไอดอทกอฟดอทอนิ (www.trai.gov.in) ทัง้ 2 หนวยงานรบัผิดชอบแนวทางหลกัเพือ่มุงเนนการทดแทนเทคโนโลยอิีนเทอรเนต็ โปรโตคอลรุนที่ 4 เดิม คือ ขยายจากขนาด 2.8 เมกะไบต เปนบรอดแบนดขนาด 20 เมกะไบต

เมือ่สิงหาคม พ.ศ. 2548 หนวยงานทอีารเอไอ และกระทรวงเทคโนโลยแีละสารสนเทศ (MCIT) เปนแกนนาํในนโยบายหลกัเพือ่พฒันาโปรโตคอลรุนที ่6 ใหทนักบัความตองการของภาครฐัและภาคเอกชน นอกจากนี ้เมือ่เดอืนธันวาคมในปเดียวกัน หนวยงานทีอารเอไอไดทําการวิจัยคนควานวัตกรรมใหมเพื่อมุงสูเครือขายการสือ่สารยคุใหม (NGN= Next Generation Networks) เมื่อ พ.ศ. 2549 รัฐบาลอินเดียไดจัดรวมกลุมสมาชิกของภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสซึ่งอยูระหวาง ข้ันตอนการพัฒนาโปรโตคอลรุนที่ 6 หรือจากในนามเว็บไอพีวี6 ฟอรัมดอทอิน (www.ipv6forum.in/) นอกจากนี้ เมืองอุตสาหกรรมของอินเดีย ( อาทิ บังกาลอร) ไดเขารวมเปนสมาชิกรวมพัฒนาไอพีวี6 กับภูมิภาคอื่นๆ อาทิ อเมริกาเหนือ กลุมประเทศในสหภาพยุโรป เปนตน

สถาบันการศึกษาของอินเดียหลายแหง ไดเขารวมการทดลองใชเทคโนโลยีไอพีวี6 กับกลุมไอพีวี6 ฟอรัม อาทิ ศูนยเทคโนโลยีอินเดีย ศูนยเทคโนโลยีแหงบังกาลอร เครือขายวิจัยและการศึกษาหรือ “อีอารเน็ต (ERNET = Educational & Research Network)” เปนตน

5.4 ไอพีรุนที่หกในไตหวัน รัฐบาลไตหวันออกนโยบายแบบเรงรัด โดยลงทุนถึง 10 ลานดอลลารสหรัฐในชื่อโครงการไตหวันอิเล็กทรอนิกสหรือ “อีไตหวัน (eTaiwan)" สอดคลองกับนโยบายของ ฯพณฯ ดร. ลิน (นายกรัฐมนตรีไตหวัน) กําหนดแผนแมบทของประเทศ เพื่อมุงสูการเปนผูนําดานเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต พัฒนาในดานตางๆ อาทิ สังคมอิเล็กทรอนิกส (eSociety) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (eCommerce) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (eGovernment) และการขนสงอิเล็กทรอนิกส (eTransportation) นโยบายนี้มุงเนนโครงการไอพีวี 6 ในระดับประเทศใหมีความเทาเทียมกันในการใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต รวมถึงโครงการ 6 ไมโอ บรอดแบนด (6 Mio Broadband end-users) ที่ต้ังเปาถึงป พ.ศ. 2551ที่จะบรรลุการใชไอพีวี 6 อยางเต็มรูปแบบ โดยกําหนดใหเครือขายภาครัฐ ตองมีการใช ไอพีวี 6 ภายใน พ.ศ. 2550 ซึ่งไดแบงคณะทํางานเปนสวนตางๆ อาทิ คณะทํางานดานการวิจัยและพัฒนา คณะทํางานดานการปฏิบัติการ คณะทํางานดานโครงสรางเครือขาย และคณะทํางานดานการประยุกตใชและ การประชาสัมพันธ เปนตน นอกจากนี้หนวยงานภาครัฐยังไดรับความรวมมือจากหนวยงานที่ไมหวังผลกําไรในการพัฒนาอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 6 เพื่อเปาหมายที่จะสราง สภาพแวดลอมทางอินเทอรเน็ตในยุคหนา (Next Generation Internet Environment) โดยหนวยงานและองคกรที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาไอพีวี 6 ในประเทศไตหวัน มีมากมาย อาทิ กระทรวงคอมพิวเตอรดานการศึกษาหรือ “เอ็มโออีซีซี (MOECC = Ministry of Education Computing Center)” คณะกรรรมาธิการวิทยาศาสตรแหงชาติหรือ “เอ็นซีเอสซี (NCHC of NSC = National Science Council)” ศูนยคอมพิวเตอรวิชาการซินิกาหรือ “เอเอสซีซี (ASCC = Academic Sinica Computing Center)” จุงหวา เทเลคอมหรือ “ซีเอชที (CHT = Chunghwa Telecom)” และศูนยเครือขายสารสนเทศไตหวัน หรือ “ทีดับบลิวเอ็นไอซี(TWNIC = Taiwan Network Information Center)” เปนตน ตัวอยางในการพัฒนาไอพีวี 6 มีมากมาย อาทิ สนับสนุนเชื่อมตอเครือขายโรงเรียนและมหาวิทยาลัยไดรอยละ 100 สนับสนุนผูใชงานมากกวา 3 ลาน วางแผนขยายระบบใหสามารถใชไดทั่วประเทศ สนับสนุนการใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในมหาวิทยาลัยไดถึง 12 กิกกะปอป (GigaPOPs = Ggigabit Point of Presence)

Page 22: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

22

เปนตน มหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขตตางพื้นที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานระบบไอพีวี 6 ได รวมถึงการพัฒนาตอยอดการใชเทคโนโลยีในการใชไอพีวี 6 ในราคาต่ําตอไป ในอนาคต

5.5 ไอพีรุนที่หกในจีน ในป พ.ศ. 2549 รัฐบาลจีนใชนโยบายพัฒนาจีนไปสูจีนยุคใหม โดยจีนลงทุนดานอินเทอรเน็ตกวา 170 ลานดอลลาร จากความรวมมือของ แพททริค โคเคว็ต (Patrick Coquet) ทาเย็บ เบน มีเรียม (Tayeb Ben Meriem) ลาติฟ ลาดิด (Latif Ladid) รัฐบาลญี่ปุน รัฐบาลจีน และสมาชิกอื่นๆ ที่มีสวนเกี่ยวของจัดตั้งกลุมพัฒนาเทคโนโลยี IPv6 ในรูปโครงการมากมาย อาทิ "ซีเอ็นจีไอ (CNGI = China Next Generation Internet)" เพื่อตอบสนองกับกลุมเทคโนโลยี แบคโบนเพื่อการคา (Commercial Backbone) ที่ใหญที่สุด ในการประชุม ไอพีวี6 ปกกิ่ง (Beijing IPv6 Summit) ดอกเตอร วู เฮควน รองประธานวิศวกรรม และหนึ่งในผูบริหารโครงการ ซีเอ็นจีไอ กลาววา "จีนลดชองวางในการพัฒนาประเทศใหเทียบเทานานาอารยประเทศโดยมุงเนนอินเทอรเน็ตยุคใหม ที่ตองประกอบดวยการสํารวจและสรางนวัตกรรมใหม ไมวาจะเปนเทคโนโลยี ไอพีวี6 (IPv 6) ซีเอ็นจีไอ (CNGI) เอ็นจีเอ็น (NGN) และ3จี (3G)" โดยเอื้อตอความตื่นเตนดานอุตสาหกรรมไอทีของจีน ปจจุบัน จีนเปนประเทศที่มีจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตมากเปนอันดับ 2 ของโลก จึงเปนปจจัยกระตุนให รัฐบาลจีนเรงพัฒนา เพื่อกาวสูโลกอินเทอรเน็ตอนาคต และเชื่อมโยงติดตอส่ือสารกันไดงายขึ้น

6. ตัวอยางโครงการอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่หกในยุโรป เครื่องจักรอุปกรณหลัก อาทิ เราทเตอร (Router) และคอมพิวเตอรแมขาย (Server) เปนตน ที่ใชกันอยู

ในระบบไอพีวี 4 นั้นสามารถรองรับไอพีวี 6 ได สวนการประยุกตใชอินเทอรเน็ตทั้งหลายในไอพีวี 4 ก็สามารถใชตอไปในไอพีวี 6 ไดเลย ในยุโรปไดมีโครงการไอพีวี 6 หลายโครงการ ดังตัวอยางเชน ไอพีวี 6 ในเครือขายบาน ไอพีวี 6 ในเครือขายการขนสงเคลื่อนที่ และไอพีวี 6 ในกรณีฉุกเฉิน

6.1 การประยุกตใชไอพีวี 6 ในเครือขายบาน ปจจุบันนี้เครือขายบาน อุปกรณอินเทอรเน็ต และการใหบริการแบบครบวงจรดานเครือขายอินเทอรเน็ต

ลวนเปนทางเลือกใหมสําหรับอุตสาหกรรมอินเทอรเน็ตซึ่งประกอบดวย ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) ผูจัดจําหนาย (Vendors) ผูปฏิบัติงานดานอุปกรณ เครือขาย (Networking Appliances Performers) และผูจัดจําหนายอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (Electronic Appliances Vendors) แถบทั้งหมด

ธุรกิจประเภทนี้คอนขางจะซับซอนเนื่องจากการที่จะประสบความสําเร็จในดานนี้ไดตองเนนการใหบริการ ที่ประทับใจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคาทําใหผูใหบริการอินเทอรเน็ตพยายามที่จะแขงขันคิดคน หาวิธีชนะใจลูกคาโดยมีแนวคิดวา “ตองราคาถูกและมีประสิทธิภาพ” แตสวนใหญลูกคาที่สนใจที่จะติดตั้ง เครือขายบานก็ตองเรียกใชบริการจากผูใชบริการอยูแลวเนื่องจากลูกคาไมมีความรูเพียงพอเกี่ยวกับเครือขาย อินเทอรเน็ต (IP Network) เครือขายบานไมจําเปนตองมีราคาแพงเนื่องจากมีอุปกรณรุนใหมถูกคิดคนมาแทนรุนเกาอยูตลอดเวลาอีกทั้งแทบทุกบานลวนมีเครื่องคอมพิวเตอรหรือบางบานอาจมีเครื่องคอมพิวเตอรมากกวาหนึ่งเครื่องดวยซ้ํา ในปจจุบันนี้เครือขายบานไมมีอะไรซับซอนมากนักคือมีแคคอมพิวเตอรหนึ่งเครื่องกับตัวรับ/สงสัญญาณก็สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดแลวหรือถามีคอมพิวเตอรมากกวาหนึ่งเชื่อมตอกับตัวรับ/สงสัญญาณก็สามารถ เชื่อมตออินเทอรเน็ตรวมถึงการแบงขอมูลหรือแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันภายในบานก็ได อยางไรก็ตามผูประกอบการในอุตสาหกรรมประเภทนี้มีความพยายามที่จะคิดคนและพัฒนาการใหบริการ อยูตลอดเวลาเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาใหดีที่สุดโดยคํานึงตลาดการใหบริการถึงบานเปนสําคัญ การใหบริการถึงบาน (Residential Service) เนนบริการแบบมีมัลติมีเดียเปนหลัก อาทิ การฟงเพลงผานเน็ต การดูทีวีผานเน็ต การเลนเกมสผานเน็ต การโทรศัพทผานเน็ต และเขาควบคุมคอมพิวเตอรจากที่อ่ืน ดังแสดงในรปูที่ 5

Page 23: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

23

เนื่องจากเทคโนโลยีที่กาวไปอยางไมหยุดยั้งทําใหผูใหบริการพยายามจัดหาบริหารใหลูกคาในขอบเขตการใหบริการที่กวางและไกลขึ้นซึ่งอาจจะเปนปญหากับไอพีวี 4 แตไอพีวี 6 สามารถชวยแกปญหานี้ไดอีกทั้ง ยังสามารถรองรับการใหบริการแบบหลายเครือขายหรือ “มัลติคาสต (Multicast)” และมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีกวาเดิมดวย ดังแสดงในรูปที่ 6

6.2 การประยุกตใชไอพีวี 6 ในเครือขายการขนสงเคลื่อนที่ เครือขายอินเทอรเน็ตที่ใชอยูทั่วไปหลายเครือขายอาจจะถือวาเปนเครือขายอยูกับที่ (Fixed Network) ในแงที่

• แมขาย (Server) ก็อยูกับที่ คือ อยูที่ “ศูนยปฏิบัติการเครือขาย” หรือ “นอค (NOC = Network Operation Center)”

• ลูกขาย (Client) ก็อยูกับที่ อาทิ อยูที่โตะทํางาน เปนตน ในอีกกรณีหนึ่งอาจจะถือวาเครือขายเปนเครือขายเคลื่อนที่ เชน เครือขายขนสงเคลื่อนที่ ดังแสดงในรูปที่

28 ดานลางซายของรูปเปนรถยนตซึ่งขับเคลื่อนอยูบนถนนแลวเชื่อโยงกับอินเทอรเน็ตโดยทางไวไฟ (WiFi = Wireless Fidelity) หรือทางดาวเทียม ดานลางกลางเปนเครื่องบินซึ่งเชื่อมตออินเทอรเน็ตกับสนามบินโดยไวไฟห รือ ไวแมกซ (WiMAX = Worldwide Interoperability for Microwave Access) ซึ่ งอาจมี รัศมี ถึ ง 50 กิโลเมตร ถาเครื่องบินอยูบนฟาก็อาจจะเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตผานดาวเทียมไดหลายดวง ดานลางขวาของรูปเปนรถโดยสารซึ่งเชื่อมโยงกับอินเทอรเน็ตโดยไวไฟหรือไวแมกซ หรือดาวเทียมก็ได สวนผูโดยสารไมวาจะเปนใน

Applications Sharing connection Sharing peripherical Download of files Games on line Security / Firewall

Broadband / ISP and Cable & Satellite

Applications Audio/Video files sharing Storage of Multimedia files

Multi-media usage

รูปที่ 26 วิวัฒนาการเคร ื่อขายบาน

Fixed Internet access Broadband internet Access

Wireless Access Home Networking & Mobile Integration

Narrowband Access Broadband Always on

Tomorrow

Fixed & Mobile convergence Hotspots

Yesterday Today

รูปที่ 27 วิวัฒนาการเครือขายบานแบบ 3 ยุค

Page 24: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

24

รถยนต ในเครื่องบิน หรือในรถโดยสาร ก็อาจใชโทรศัพทมือถือหรือคอมพิวเตอรหิ้วถือเชื่อมโยงกับแมขายยอย (Server) ในรถหรือในเครื่องบินนั้น

ขอกําหนดที่สําคัญสําหรับเครือขายขนสงเคลื่อนที่ คือ ความสามารถในการเชื่อมตอกับไอพีอยางถาวร

(Permanent IP) โดยไมข้ึนกับวาเชื่อมตออยูกับแมขายยอยใด ยิ่งกวานั้นยังตองมีขอกําหนดดานคุณภาพของบริการที่ดีพอและขอกําหนดดานความปลอดภัยอยางเพียงพอ

ตัวอยางการประยุกตใชไอพีวี 6 ในเครือขายขนสงเคลื่อนที่มีดังตอไปนี้ • ตองการใชแผนที่การเดินทางจากอินเทอรเน็ตวาจะไปที่ใดที่หนึ่งนั้นจะไปทางไหนดี เปนตน • การบํารุงรักษา เชน กําลังเดินทางอยูแลวถึงกําหนดตองบํารุงรักษาพาหนะ อยากทราบจากอินเทอร

เน็ตวาจะไปรับบริการที่ใด หรือวาถาเลื่อนการรับบริการจะมีผลกระทบอยางไร • เมื่อเกิดอุบัติเหตุอยากทราบจากอินเทอรเน็ตวาจะทําอะไรอยางไรดี • อยากทราบจากอินเทอรเน็ตวาทางที่จะเดินทางไปนั้นจะมีรถติดมากนอยเพียงใดและจะแกไขอยางไร • อยากรับสงสารสนเทศไมวาจะกับบุคคลแตละคนหรือกับทั้งกลุมใดกลุมหนึ่ง มีตัวอยางการใชไอพีวี 6 มากมาย ดังในกรณีตอไปนี้ที่ยุโรป • “จีที เอส (GTS = Global Telematics Systems)” เปนโครงการในยุโรปที่ประยุกตใชไอพีวี 6 ใน

อุตสาหกรรมยานยนต • “ซี2ซี (C2C = Car-to-Car)” หรือ “ซี2ไอ (C2I = Car-to-Infrastructure)” เปนโครงการในยุโรปที่จะ

ประยุกตใชไอพีวี 6 ระหวางพาหนะตอพาหนะหรือระหวางพาหนะกับโครงสรางพื้นฐาน

6.3 การประยุกตใชไอพีวี 6 ในกรณีฉุกเฉิน ในโลกนี้มีกรณีฉุกเฉินมากมาย อาทิ กรณีคลื่นยักษสึนามิในเอเชีย เมื่อปลายป พ.ศ. 2548 และกรณีพายุ

เฮอรริเคนแคทรินาในอเมริกา เมื่อกันยายน พ.ศ. 2548 เปนตน ลวนจําเปนตองมีเครือขายเคลื่อนที่ในภาวะฉุกเฉิน ฉะนั้นดังตัวอยางโครงการยู-2010 (U-2010) ซึ่งเปนโครงการที่ชวยพัฒนาความสามารถในการสื่อสาร โดยมสีาระสําคัญดังตอไปนี้ • มีการประสานขอมูล เสียง และวิดีโอ เพื่อใหทราบเหตุการณภาวะฉุกเฉินที่กําลังเกิดขึ้น

• มีการปรับปรุงขอมูลตามเวลาจริงในระบบดิจิทัล

• มีแนวทางการแกปญหากําหนดใหเปนมาตรฐานในระดับชาติ และการประสานความรวมมือกับกองกําลังสนับสนุน

Internet Network

Wifi

SatelliteSatellite Wifi

Airport Hot-Spot Wi-Fi

Application/Service Application/Services Application/Services

Wifi

GPRS/UMTS

GPRS/ UMTS

รูปที่ 28 เครือขายขนสงเคลื่อนที่

Page 25: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

25

• มีการตั้งศูนยควบคุมภาวะฉุกเฉินเสมือนจริง • มีการเขาสูระบบหนวยงานภาครัฐผานการลงทะเบียนดวยระบบจีเอสเอ็ม/ยูเอ็มทีเอส (GSM/UMTS) • มีระบบอัตโนมัติและเอ็มเอสเอ็นและการถายทอดเสียง

8. สรุป อินเทอรเน็ตเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดในโลก ถึง พ.ศ. 2549 ถาหนวยงานใดไมใชอินเทอรเนต็

หนวยงานนั้นก็ไมสามารถแขงขันกับใครได ในการใชอินเทอรเน็ตจําเปนตองมีเลขที่ประจําเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณทุกเครื่องในเครือขาย โดยระบบเลขที่ดังกลาวประกาศใชเมื่อ พ.ศ. 2524 เรียกวา ไอพีรุนที่ 4 (IPv4) ซึ่งมีไดประมาณ 4,000 ลานเลขที่ ดูจะมากมายเกินพอใน พ.ศ. 2524 แลวถึงใน พ.ศ. 2543 ก็ไดจัดสรรไอพี รุนที่ 4 ไปแลวประมาณครึ่งหนึ่งของทั้งหมด และคาดกันวาใน พ.ศ. 2551 หรือไมนานหลังจากนั้นก็จะใชไอพี รุนที่ 4 จนหมดเกลี้ยง ทําใหไมสามารถประยุกตใชอินเทอรเน็ตไดตอไปอยางสะดวก ฉะนั้นจึงมีการปรับปรุง ไอพีรุนที่ 4 ใหเปนไอพีรุนที่ 6 ซึ่งมีเลขที่ไดถึงประมาณ 3.4 x 1038 เลขที่ นอกจากจะมีเลขที่มากมายมาใหใชไดทุกดานแลว ยังสามารถนําไอพีรุนที่ 6 ไปใชใหเกิดประโยชนมากกวาไอพีรุนที่ 4 อาทิ ชวยใหเครือขายทํางานไดเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ชวยใหสามารถกําหนดคุณภาพของบริการใหดี ข้ึน ชวยใหเครือขาย มีความนาเชื่อถือมากขึ้น และชวยใหเครือขายมีความปลอดภัยมากขึ้น ประเทศตางๆ ไดพากันทดลองใชไอพี รุนที่ 6 และประกาศนโยบายสนับสนุนไอพีรุนที่ 6 ตัวอยางเชน กระทรวงกลาโหมอเมริกันประกาศวา จะเปลี่ยนจากไอพีรุนที่ 4 เปนไอพีที่ 6 ภายใน พ.ศ. 2551 ฉะนั้นประเทศไทยจึงควรประกาศนโยบายใหชัดเจนและเรงรัดพัฒนา การประยุกตใชไอพีรุนที่ 6 เพื่อประโยชนของทุกฝายที่เกี่ยวของและประโยชนของประเทศไทยในที่สุด

บรรณานุกรม 1. Charmonman, S. The Internet and AUnet Proposal. Submitted to and Approved by the

Board of Trustees, Assumption University, Thailand. August 1993 2. Charmonman, S. Internet Computer Access in Thailand. International Conference in

Globalization of Computers and Communications. Unesco, Bombay. 25-27 November 1993.

3. Charmonman, S.; Anaraki, F.; and Nalwa-Sehgal, V. The ABCs of the Internet. Assumption University Press, 1994, 186 pp.

ISP Mountain Rescue

Application Fire Brigade Application

Health/CrisisApplication

-

-

Network Infrastructure

Internet

Content

Home Agent

รูปที่ 29 เครือขายเคลื่อนที่ในภาวะฉุกเฉิน

Page 26: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

26

4. Charmonman, S. and Anaraki, F. "An Internet Project for 100,000 Users in Thailand", Proceedings of INET'94, organized by the Internet Society, held in Prague, the Czech Republic, June 15-17, 1994, pp.434.1 - 434.9.

5. Charmonman, S. and Wongwatanasin, K. and Firouz, A. Present and Future State of the Internet. Proceedings of the International Conference of Internet Technology and Applications. September 1994, pp. 1-12

6. Charmonman, S, Wongwatanasin, K, and Anucha Pitaksanonkul. Internet for Traffic Control in Bangkok. Presented to Traffic Control Seminar, organized by the Commission for the Management of Road Traffic, Office of the Prime Minister, Ambassador Hotel, Bangkok, 8-9 May, 1995.

7. Charmonman, S and Wongwatanasin, K. Internet with Encryption for Traffic Control in Thailand. Presented to the Information Systems Education Conference '95 sponsored by the Data Processing Management Association, Charlotte, North Carolina, USA., November 3-5, 1995, pp. 101-107.

8. Charmonman, S and Wongwatanasin, K. Internet and Telecommunication Businesses, Sasin, May 25, 1996.

9. Charmonman, S and Wongwatanasin, K. Internet Technology, Thai-Japanese Technology Promotion Magazine, April-May, 1996. P. 73-78.

10. Charmonman, S and Wongwatanasin, K. Internet and Electronic Commerce. A paper for Thai-Finnish Chamber of Commerce Seminar, Landmark Hotel, Rib Room, 31st Floor, Bangkok, Thailand, 24 September 1997.

11. Charmonman, S. KSC: The First and Largest Commercial ISP in Thailand. Invited paper presented to Asia Pacific Carrier & ISP Executive Forum, Phuket, Thailand.March 10-11, 1999.

12. Charmonman, S. Internet Market Situation in Thailand. Invited paper presented to the Workshop on Internet Policy and E-Commerce organized by Asia-Pacific Telecommunity, Hua Hin, May 11-13, 1999.

13. Charmonman, S. and Rear Admiral Sribhadung P. Internet Industry in Thailand 1999. Invited paper presented at the 1st International Asia-Pacific Telecommunications Forum, 28-29th Oct. 1999, ETRI, Taejon, Korea.

14. ศรีศักดิ์ จามรมาน และ กนกวรรณ วองวัฒนะสิน ความรูพื้นฐานทางอินเทอรเน็ต เอกสารประกอบ การบรรยายการฝกอบรมสมาชิกแจงขาวอาชญากรรมอินเทอรเน็ต "Internet Police" รุนที่ 1 จัดโดย กรมตํารวจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และบริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต จํากัด โดยไดรับความสนับสนุนจากสมาคมอินเทอรเน็ต สมาคมเอซีเอ็มประเทศไทย และมูลนิธิ ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 21 พฤษภาคม 2541

15. Kanokwan Wongwatanasin and Srisakdi Charmonman. Internet in Asia : Local Empowerment or Cybercolonialism. A paper presented to "Asia's Information Marketplace: Race for Technology, Content & Competence" Conferece, organized by AMIC (Asian Media Information and Communication Centre Ltd., at Novotel Hotel, Bangkok, Thailand, May 21, 1998.

16. Charmonman, S. KSC: The Only Major ISP in the World with Profits from the First Year of Operation. Invited paper presented to Asia Pacific Carrier & ISP Executive Forum, March 10-11, 1999, Sheraton Grande Laguna Hotel in Phuket, Thailand.

17. Charmonman, S and Kanokwan Wongwatanasin KSC: The Only Major ISP in the World with Profits from Day One. Invited paper presented to Flemings Information Technology

Page 27: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

27

Conferece'99, April 19-20, 1999, Rihga Royal Hotel, New York City, USA. This paper is modified from the one presented in New York by taking into account the comments and suggestions from the participants.

18. Rear Admiral Prasart Sribhadung and Srisakdi Charmonman Internet Industry in Thailand. Presented at the 1st International Asia-Pacific Telecommunications Forum, 28-29th Oct. 1999, ETRI, Taejon, Korea.

19. ศรีศักดิ์ จามรมาน มาตรการคุมครองทรัพยสินทางปญญาบนอินเตอรเน็ต เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนา "มาตรการคุมครองทรัพยสินทางปญญาบนอินเตอรเน็ต" จัดโดย สถาบันพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ณ หองกมลทิพย 3 โรงแรมสยามซิต้ี ถนนศรีอยุธยา 22 กันยายน 2543

20. ศรีศักดิ์ จามรมาน เลนหุนอยางไรโดยใชอินเตอรเน็ต เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง "การเลนหุนบนอินเตอรเน็ต" ในงานวันสงเสริมการสงออกไทย 2543 จัดโดยสมาคมอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ และบริษัทเคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต จํากัด โดยไดรับความสนับสนุนจากสมาคมอินเทอรเน็ต สมาคมคอมพิวเตอรนานาชาติ เอซีเอ็มประเทศไทย สมาคมคอมพิวเตอรแหงสถาบัน วิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสสาขาประเทศไทย และมูลนิธิ ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ณ หองประชุม 215-217 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค 6 ตุลาคม 2543

21. ศรีศักดิ์ จามรมาน อาชญากรรมขามชาติ: อาชญากรรมบนอินเตอรเน็ต ผลกระทบตอความมั่งคงและมาตรการการปองกัน เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนา "อาชญากรรมขามชาต:ิ อาชญากรรมบนอินเตอรเน็ต ผลกระทบตอความม่ันคงและมาตราการการปองกัน" จัดโดย Council for Security Cooperation in the Asia Pacific - Thailand (CSCAP Thai) ศู น ย ก า รศึ ก ษ าต า งป ระ เท ศ และกรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการตางประเทศ ณ หองประชุม 3 ชั้น 2 กระทรวงการตางประเทศ ถนน ศรีอยุธยา 9 ตุลาคม 2543

22. ศรีศักดิ์ จามรมาน Internet System and E-Commerce เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร Advanced Telecommunications Technology คร้ังที่ 8 จัดโดย ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง รวมกับ กรม วิเทศสหการและรัฐบาลญี่ ปุน (JICA) ณ หองประชุมชั้น 2 ตึกโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ระหวางวันที่ 9 ตุลาคม - 24 พฤศจิกายน 2543

23. Charmonman, S. The Role of Internet in ASEAN Development. Invited paper presented to Telecom Asia 2000 Forum "Gateway to Opportunity" organized by the International Telecommunication Union (ITU) at the Honk Kong Convention and Exhibition Centre (HKCEC), Hong Kong, People Republic of China, 4-9 December, 2000.

24. ศรีศักดิ์ จามรมาน และ สายพิณ ชอโพธิ์ทอง อินเตอรเน็ตระหวางโลกและดาวอังคาร หนังสือไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 19 ฉบับที่ 190 พฤษภาคม 2544

25. ศรีศักดิ์ จามรมาน สายพิณ ชอโพธิ์ทอง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพหนวยงานดวยระบบอินเตอรเน็ต เอกสารประกอบการอบรมสัมมนาผูบริหารระดับสูงในสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดโดย ศูนยพัฒนากิจการอวกาศกลาโหม สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ หองประชุมชั้น 10 อาคารสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 28 สิงหาคม 2544

26. ศรีศักดิ์ จามรมาน สายพิณ ชอโพธิ์ทอง ฝกอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายทรัพยสิน ทางปญญา รุนที่ 1 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง "การคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเกีย่วกบัคอมพิวเตอรและอิน เตอรเน็ต" จัดโดย สํานัก อบรมศึกษากฎหมายแหงเน็ ติ บัณฑิตยสภา ณ เนติบัณฑิตยสภา 28 ตุลาคม 2544

27. ศรีศักดิ์ จามรมาน สายพิณ ชอโพธิ์ทอง "เครือขายคอมพิวเตอรกับการปฏิรูปการศึกษา" เอกสารประกอบการบรรยาย งานสัมมนาเขมประจําชุดวิชาสําหรับนักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ณ มหาวิทยาลับสุโขทัยธรรมาธิราช 6 เมษายน 2545

Page 28: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

28

28. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง การศึกษาทางไกลอินเตอรเน็ต เอกสารประกอบ การอภิปรายในกรณี ศึกษา เร่ือง E-Learning ในโครงการ “International Conference on Best Practice University Management” โดย โครงการวิจัยและพัฒนา (R&D) เพื่อพัฒนาผูบริหารมหาวิทยาลัย The British Council ณ โรงแรมโซฟเทล จ.ขอนแกน 24 มกราคม 2546

29. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง การวิจัยโดยใชอินเทอรเน็ตหรืออี-รีเสิรช เอกสารประกอบการอภิปรายการประชุมสามัญประจําปสภาคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยแหงประเทศไทย โดย สถาบัน ราชภัฎสวนดุสิต 14 พฤศจิกายน 2546

30. ศรีศักดิ์ จามรมาน “อินเตอรเน็ตเพื่อคนพิการโลกใหมแหงการเรียนรู” นิตยสารบอส ปที่ 12 ฉบับที่ 156 กุมภาพันธ 2547

31. ศรีศักดิ์ จามรมาน “ป 2550 ชาวอเมริกันทุกคนจะสามารถใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง” หนังสือพิมพเทเลคอมเจอรนัล ปที่ 13 ฉบับที่ 511 หนา 15 วันที่ 3 - 9 พฤษภาคม 2547

32. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฐณิชา ชอโพธิ์ทอง เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “การใชอินเทอรเน็ต อยางปลอดภัย” จัดโดยสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากร ณ หองประชุมใหญ ชั้น 4 อาคาร นักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม กระทรวงทรัพยากร 28 พฤษภาคม 2547

33. ศรีศักดิ์ จามรมาน. อินเทอรเน็ตกับการประยุกตทุกดานที่ทานควรทราบ (108 อีนี่อีนั่นจากอีออคชั่นถึง อีซู) สํานักพิมพมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2549

34. Charmonman, S. and Chorpothong, N. "Accreditation of eLearning Degree" Special Issue of IJCIM (volume 12 no 2), Proceedings of the International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society, organized by the Ministry of Information and Communication Technology, Bangkok, Thailand, p. 235 - 241, August 4-5, 2004.

35. ศรีศักดิ์ จามรมาน “หลายสิบลานคนทั่วโลกใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเปนลานบิตตอวินาที” หนังสือพิมพเทเลคอมเจอรนัล ปที่ 14 ฉบับที่ 559 หนา 19 วันที่ 4 - 10 เมษายน 2548

36. Charmonman, S. "University-Level eLearning in ASEAN" Special Issue of IJCIM (volume13 no. SP1), Proceedings of the Second International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society, organized by the Ministry of Information and Communication Technology, Bangkok, Thailand, Pp. 11.1 - 11.6, August 4-7, 2005.

37. Charmonman, S. "eASEAN Task Force and eASEAN Business Council" Special Issue of IJCIM (volume 13 no SP2), Preceeding of the International Conference on Computer and Industrial Management (ICIM), organized by Assumption University , Bangkok, Thailand, Pp. 23.1 - 23.4, October 29-30, 2005.

38. ศรีศักดิ์ จามรมาน “ผูใชอินเทอรเน็ตในจีนจะเพิ่มเปน 100 ลานคน จนรัฐบาลจีนตองออกกฎควบคุม” หนังสือพิมพเทเลคอมเจอรนัล ปที่ 15 ฉบับที่ 598 หนา 23 วันที่ 2 - 8 มกราคม 2549

39. ศรีศักดิ์ จามรมาน “โรงแรมกวา 2 หมื่นแหงทั่วโลกใหบริการอินเทอรเน็ตไวไฟ” หนังสือพิมพ เทเลคอมเจอรนัล ปที่ 15 ฉบับที่ 599 หนา 23 วันที่ 9 - 15 มกราคม 2549

40. Charmonman, S. "Leadership Reflection in ICT in Education in Asia" Keynote Address presented to “Digital Learning Asia 2006” organized by The Ministry of Information and Communication Technology (MICT), and Ministry of Education (MOE), Thailand, SEAMEO, SIPA and Other Prominte, 26-28 April 2006, Bangkok, Thailand at Rama Garden Hotel and Resort 27 April 2006.

41. Charmonman, S. "Autonomous System and IP Numbers in Thai Universities". A paper for the Panel Discussion on "Thailand IPv6 Status, Deployment, Applications, and Policy", at Thailand IPv6 Summit, Sofitel Central Plaza Hotel, Bangkok, Thailand, May 3, 2006.

Page 29: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

29

42. Chorpothong, N. and Charmonman, S. "An eLearning Project for 100,000 Students per Year in Thailand" Special Issue of IJCIM (volume 12 no 2), Proceedings of the International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society, organized by the Ministry of Information and Communication Technology, Bangkok, Thailand, p. 111 - 118, August 4-5, 2004.

43. Deering, Steve, “What’s Happening with IPv6?”. October 4, 2001 www.netseminar.starfsrd.edu/sessions/deerings-ipv6-talk.ppt.

44. Elz, Robert. “Note on IPv6 Fundamental”. Handbook of IPv6 Workshop, 2004 45. Hagen, S. “IPv6 Essentials”. O’Reilly, July 2002 46. Hsieh, Chia-Nan. “IPv6 Taiwan Status Report”. 13th APNIC Open Policy Meeting 2002 47. Kalogeras, Dimitrios, et el. “Cookbook on Deploying IPv6 in School Networks”.

June 15, 2005 48. Kim, HyoungJun. “IPv6 Status in U.S. Departmetn of Defense”, December 2003

www.apan.net/org/20031205-DOD-Ipv6 (ETRI).ppt 49. Kim, HyoungJun “IPv6 Status in Korea”. IPv6 Forum Korea, April 4, 2005 50. Ladid, Latif, Fernandes, Jose and Kessens, David. “European Ipv6 Roadmap”. IPv6

Task Force Steering Committee, June 6, 2005 51. Meriem, Tayeb Ben and Ladid, Latif. “IPv6 Applications”. IPv6 Task Force Steering

Committee, April 1, 2006 52. Pongpaibool, Panita. “IPv6 Deployment in Thailand”. Thailand IPv6 Summit, Sofitel

Central Plaza Hotel, Bangkok, Thailand, May 4, 2006 53. Prathombutr, Passakorn. “IPv6 Development Status in Thailand”.

APEC Telecommunications and Information Working Group 31st Meeting, Bangkok, Thailand, 3-8 April 2005

54. Surintatip, Duangtip. “Why Next Generation Network”. APEC Telecommunications and Information Working Group 31st Meeting, Bangkok, Thailand, 3-8 April 2005

55. Waddington, D. and Chang, F. “Realizing the Transition to IPv6”. IEEE Communications Magazine, June 2002

56. www.iir.ngi.nectec.or.th/asno/ 57. www.ipv6forum.in/ 58. www.tangentsoft.net 59. www.trai.gov.in 60. www.v6pc.jp

Page 30: อินเทอร เน็ตในประเทศไทยจากร ุ นสี่ไปเป นรุ นที่หก ศดร 2 · 1. บทความรับเชิญโดยคณะกรรมการก

30

ประวัติ ศาสตราจารย ดร. ศรีศักด์ิ จามรมาน

ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน เปนผูมีประสบการณอยางกวางขวางทั้งในดานการศึกษา ธุรกิจ รัฐบาล และ

สมาคมวิชาการ ในดานการศึกษา ศ. ศรีศักดิ์ เปนคนไทยคนแรกที่จบปริญญาเอกดานคอมพิวเตอร คือ จบจากสถาบัน

เทคโนโลยีแหงจอรเจีย เมื่อ พ.ศ. 2507 ตอมาเปนผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอรที่มหาวิทยาลัยมิสซูร่ี

เมืองโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เปนศาสตราจารยเต็มขั้น (Full Professor) ที่มหาวิทยาลัย แหงรัฐนิวยอรก เปน

ศาสตราจารยสถิติประยุกตที่นิดา เปนศาสตราจารยระดับ 11 ที่ลาดกระบัง ปจจุบันเปนประธานกรรมการและ

ประธานผูบริหาร วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ดานธุรกิจ ศ. ศรีศักดิ์ เคยเปนประธานบริษัทที่ปรึกษาดานคอมพิวเตอร เปนที่ปรึกษาบริษัท BAHINT เปนผูกอตั้งและประธานบริษัท เคเอสซี ซึ่งเปนบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยรายแรกของเมืองไทย ตอ

มาเปนประธานสภาธุรกิจอีอาเซียน (Chairman of e-ASEAN Business Council) ดานรัฐบาล ศ. ศรีศักดิ์ เปนขาราชการระดับสูงสุด คือ ระดับ 11 (เทากับปลัดกระทรวงทางพลเรือน และ

เทากับจอมพลทางทหาร) ทานเคยเปนประธานคณะทํางานคอมพิวเตอรในสํานักนายกรัฐมนตรี เปนกรรมการ

ขาราชการมหาวิทยาลัย (กม.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เคยเปนรองประธานกรรมาธิการวิสามัญ

ดานลิขสิทธิ์ของสภาผูแทนราษฎร เคยเปนผูเช่ียวชาญดานไอทีในคณะกรรมการบูรณาการและปฏิรูประบบทะเบียน

แหงชาติซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน และเคยเปนประธานชมรมผูพิพากษาสมทบศาลทรัพยสินทางปญญาและ

การคาระหวางประเทศกลาง ดานสมาคมวิชาการ ศ. ศรีศักดิ์ เปนนายกกอตั้งสาขาประเทศไทยของสมาคมคอมพิวเตอรเอซีเอ็ม เปนนายกกอตั้ง

สาขาประเทศไทยของสมาคมคอมพิวเตอรแหงสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนนายกสมาคม

คอมพิวเตอรแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ เปนนายกกอตั้งสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติสาขาประเทศ

ไทย เปนนายกกอตั้งสมาคมธุรกิจอินเทอรเน็ตไทย เปนนายกกอตั้งสมาคมการศึกษาอิเล็กทรอนิกสภาคพ้ืนเอเซีย

แปซิฟก เคยเปนกรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ (ISOC) กรรมการบริหารสมาพันธสมาคมประมวลผล (IFIP) และกรรมการบริหารศูนยสารสนเทศเครือขายเอเซียแปซิฟก (APNIC) ศ. ศรีศักดิ์ ไดรับขนานนามวาเปนบุรุษคอมพิวเตอรแหงเอเซีย มีภาพลงหนาปกวารสารที่พิมพในฮองกง

ไดรับขนานนามวาเปนบิดาอินเทอรเน็ตไทยโดยบางกอกโพสส และสื่อส่ิงพิมพหลายฉบับ เปนบุรุษแหงปโดย

นิตยสารจีเอ็ม บุคคลแหงปโดยนิตยสารอีคอนนิวส บุคคลแหงปโดยเอบีไอในอเมริกา และบิดาอีเลิรนนิ่งไทย

โดยไอบีไอในอังกฤษ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญสรางอาคาร “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” ใหเปนเกียรติ โดยเปนอาคาร 12 ช้ัน พ้ืนที่ประมาณ 12,000 ตารางเมตร และมีคอมพิวเตอรกวา 1,000 เครื่อง