ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 /...

7
ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีท่ 22

Transcript of ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 /...

Page 1: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22

Page 2: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

3

1. คุณศุภรัตน์ เอื้อทนวัฒน์ กรุงเทพฯ

2. คุณเสาวนีย์ ชัยเร็ว ลำ�ปาง

3. คุณมารศรี สมบุศย์รุ่งเรือง กรุงเทพฯ

4. คุณสุรีย์ คู่ทวีกุลำ กรุงเทพฯ

คำ ถามฉบับนี้… : ระบบควบคุมอัตโนมัติสำ หรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน้ำ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก อะไรบ้าง

ที่ปรึกษา

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต

นายสายันต์ ตันพานิช

ดร.อาภารัตน์ มหาขันธ์

นายวิรัช จันทรา

ดร.จิตรา ชัยวิมล

ดร.อาภากร สุปัญญา

นางสุวรรณา ดอกไม้คลี่

บรรณาธิการ

น.ส.ยุพิน พุ่มไม้

กองบรรณาธิการ

น.ส.ปัทมา ลิ่วเลิศมงคล

น.ส.วรรณรัตน์ วุฒิสาร

น.ส.กัลยา จงรัตนชูชัย

น.ส.สิริลักษณ์ กองจันทร์

ฝ่ายจัดพิมพ์/สมาชิก

นางจันทนา เนียมวงษ์

นางปิยภรณ์ รื่นเริง

นางวราพร ขุนณรงค์

ฝ่ายภาพ

นายเธียรชัย สาระการ

นายณรงค์เดช วงษ์สะอาด

น.ส.ขวัญใจ มีนิสสัย

ฝ่ายศิลป์

นายเรวัต วิบูลย์ศิริชัย

นายปุณณภพ โผผิน

น.ส.ศศิกานต์ แต่งเสร็จ

สำ นักงาน

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งประเทศไทย (วว.)

เทคโนธานี 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า

อ.คลองหลวงจ.ปทุมธานี 12120

โทร.0 2577 9000, 0 2577 9360-61

โทรสาร 0 2577 9009, 0 2577 9362

Call center : 0 2577 9300

E-mail : [email protected]

http//: www.tistr.or.th

www.facebook.com/tistr.or.th

วัตถุประสงค์

เพื่อเผยแพร่ กิจกรรมผลงานวิจัย และบทความ

วว. ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน ภายใต้แนวคิด

“O.Z.O.N.E Concept”

พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจำ กัดโรงพิมพ์รวมช่าง

21/2 หมู่1 ซอยเทียนทะเล แขวงแสมดำ

เขตบางขุนเทียน กทม. 10150

กองบรรณาธิการ

3

ส่งค�ตอบ ได้ที่ โทรสาร 0 2577 9362 E-mail : [email protected] หรือส่งทางไปรษณีย์ที่ กองประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แลำะเทคโนโลำยีแห่งประเทศไทย เลำขที่ 35 หมู่ 3 ต.คลำองห้า อ.คลำองหลำวง จ.ปทุมธานี 12120 โปรดวงเลำ็บมุมซองว่า “ตอบปัญหาชิงรางวัลำ” (ส�หรับ 5 ท่านแรกที่ส่งค�ตอบร่วมกิจกรรม)

รายชื่อผู้รับรางวัลำ ประจ�เดือนกุมภาพันธ์ 2562 มีดังนี ้

ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22

ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา วว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์ Flora Tale

@ วว.ล�าตะคอง ได้รับความสนใจจากผู้เดินทางกลับภูมิล�าเนา ผ่านเส้นทางถนนมิตรภาพ

เข้าใช้บริการแวะพัก ผ่อนคลายความเมื่อยล้า จากการจราจรที่ติดขัด รวมทั้งแวะ Check

in ที่ทุ่งปอเทือง ณ สถานีวิจัยล�าตะคอง ถือเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมเพื่อสังคม วว. ที่ช่วยลด

จ�านวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในจังหวัดนครราชสีมา รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมรณรงค์ขับขี่

อย่างปลอดภัยลดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี2562อีกด้วย

บทความเด่นประจ�าฉบับเดือนนี้ ระบบควบคุมอัตโนมัติส�าหรับโรงเรือนปลูกผัก

ด้วยน�้า เป็นนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เพื่อสังคมเมือง ผลงานวิจัยและพัฒนาของศูนย์

เชี่ยวชาญนวัตกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ โดยการสนับสนุนจาก ส�านักงาน

กองทุนสนับสนุนการวิจัย และบริษัท อินดัสเตรียลออโตเมชั่น แอนด์ อินโนเวชั่น จ�ากัด

ทั้งนี้ผลงานดังกล่าวเป็นหนึ่งในผลงานวิจัยและพัฒนาใช้ได้จริง และน�าไปร่วมจัดแสดงใน

บูธนิทรรศการวว. ในงานThailandResearchExpo2019และบูธนิทรรศการวว.

ได้รับรางวัล Gold Award จดหมายข่าว วว. ขอแสดงความยินดีกับทีมนักวิจัยและทีม

สนับสนุนที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการท�างานดังกล่าวให้ส�าเร็จลุล่วงด้วยดี

วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

วว. ร่วมกับ บริษัท Shinyei Testing Machinery ประเทศญี่ปุ่น ศึกษาสภาพแวดล้อมการขนส่งเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทย ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้

ว ่าการสถาบันวิ จัยวิทยาศาสตร ์และ

เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีMr.

Shin-IchiShibataDirectorOfShinyei

TestingMachineryCo.,Ltdประเทศ

ญี่ปุ่น ลงนามบันทึกข้อตกลงโครงการ

“Technical Study Cooperation on

TransportPackagingEnvironmentin

Thailand” เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2562

ณศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย

ดร.สุพจน์ ประทีปถิ่นทอง นัก

วิชาการอาวุโส ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย

วว.ในฐานะหัวหน้าโครงการฯ ชี้แจงเพิ่มเติมว่า โครงการฯ มีระยะเวลา

ความร่วมมือ1ปี (มีนาคม2562-กุมภาพันธ์2563)โดยบริษัทฯ

ShinyeiTestingMachineryให้ความอนุเคราะห์อุปกรณ์บันทึกข้อมูล

ส�าหรับการติดตั้งไปกับรถบรรทุกสินค้า เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการ

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัย

พัฒนา รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.)ลงนามบันทึกข้อตกลง“วิจัยและ

พัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และผลผลิตด้านการเกษตรของมูลนิธิชัย

พัฒนาด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม(วทน.)”เมื่อวันที่19

มีนาคม2562ณห้องประชุมชั้น3อาคารส�านักงานมูลนิธิชัยพัฒนา

ดร.ชุติมาเอี่ยมโชติชวลิตผู้ว่าการวว.กล่าวว่าความร่วมมือ

ระหว่างมูลนิธิชัยพัฒนาและ วว. ในครั้งนี้มีระยะเวลา 2 ปี เพื่อเสริม

สร้างความร่วมมืออย่างบูรณาการตามยุทธศาสตร์ของท้ังสองหน่วยงาน

ในการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน กลุ่มเกษตรกร

และวิสาหกิจชุมชน บนพื้นฐานของการใช้ทรัพยากรของชุมชนหรือ

ท้องถิ่นอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน

บันทึกข้อมูลสภาพแวดล้อมขณะขนส่งสินค้า

ข้อมูลที่รวบรวมได้จะถูกประมวลผลและใช้

ในการทดสอบแบบจ�าลองสภาวะการขนส่ง

(transport simulation test) เพื่อประเมิน

สมรรถนะของบรรจุภัณฑ์โดยทางวว.จะได้

ประสานกับผู้ประกอบการเพื่อขอความร่วม

มือในการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวต่อไป

ประโยชน์จากการด�าเนินโครงการฯ จะ

ท�าให้ได้ข้อมูลเชิงวิชาการเพื่อใช้ประกอบการ

การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม

สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการขนส่งของ

ประเทศไทย รวมทั้งข้อมูลส�าหรับปรับปรุง

บรรจุภัณฑ์ในแง่การให้ความคุ้มครองสินค้า

ลดความเสียหายระหว่างการขนส่งจากการใช้บรรจุภัณฑ์ไม่เหมาะสม

หรือลดต้นทุนจากการใช้บรรจุภัณฑ์เกินความจ�าเป็น ตลอดจนเป็นการ

สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ

วว. ลงนาม มูลนิธิชัยพัฒนาวิจัยพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลผลิตด้านการเกษตรด้วย วทน.

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม(วทน.)เพื่อใช้เป็นพื้นฐานส�าคัญ

ในการยกระดับคุณภาพผลผลิตด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดมูลค่า

เพิ่มที่สูงขึ้นและเกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชุมชนหรือท้องถิ่นรวม

ทั้งร่วมกันวิจัยพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม

เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานชีวภาพ

ของชุมชนและท้องถิ่นอย่างมั่นคงและยั่งยืน โดยมีโครงการวิจัยน�าร่อง

เพื่อด�าเนินงานร่วมกัน ดังนี้ การพัฒนาเครื่องลดความชื้นเมล็ดพันธุ์

พืช การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของน�้ามันเมล็ดพืชต่อผิวหนังและการ

พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผิว การศึกษาความเป็นไปได้การ

เพาะปลูกวานิลลาเชิงพาณิชย์ในพื้นที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาชาน�้ามันและ

พืชน�้ามันมูลนิธิชัยพัฒนา

Page 3: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

วว. ร่วมงาน ASEAN Next 2019 : STI Leading towards Community Happiness

54

กระทรวงวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทั้งในประเทศและ

ประเทศในอาเซียน จัดงาน ASEAN Next

2019 :STI Leading towards Community

Happinessจดัข้ึนระหว่างวนัที่18-22มนีาคม

2562ณโรงแรมพลูแมนคงิเพาเวอร์กรุงเทพฯ

(รางน�้า)โดยจัดอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่3เพื่อ

สร้างการเติบโตของสังคมและเศรษฐกิจอย่าง

ยั่งยืนในประชาคมอาเซียน

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโน

โลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมจัดสัมมนาเชิง

ปฏิบัติการนานาชาติ เพื่อพัฒนาศักยภาพ

บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ

นวตักรรม (วทน.) ของประเทศอาเซียนจ�านวน

2เรื่องดังนี้

ASEAN Workshop on Green Construction Material for Community and MSMEs โดยศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุ วว. จัดขึ้นในวันที่

19-21มนีาคม2562ได้รับเกยีรติจากวทิยากร

ผู้ทรงคุณวุฒิ จากประเทศเนเธอร์แลนด์

ออสเตรเลีย และไทย ร่วมแลกเปลี่ยนเรียน

รู้ในหัวข้อต่างๆ อาทิ วัสดุก่อสร้างเพื่อการ

ก่อสร้างอาคารในราคาประหยัด การจัดการ

ด้านพลังงานอย่างยั่งยืนเพื่อสร ้างอาคาร

วว. จัดค่ายจีโอพาร์ค พัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ให้แก่เยาวชน 26 โรงเรียน

สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช วว.

จัดค่ายจีโอพาร์ค พัฒนาบุคลากร ส่งเสริม

การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ให้แก่เยาวชน 26

โรงเรียน ภายใต้การด�าเนินงานโครงการพิเศษ

เชิงวิทยาศาสตร์ สนับสนุนอุทยานธรณีโคราช

เป็นอุทยานธรณีโลก สร้างคุณค่าให้จังหวัด

นครราชสีมากลายเป็นดินแดนแห่ง 3 มงกุฎ

ของยูเนสโก“TheUNESCOTripleCrown”

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ

วว. ชี้แจงว่า จากการที่ วว. ร่วมกับ จังหวัด

นครราชสีมา และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์

ป่าและพันธุ์พืช ลงนามความร่วมมือส่งเสริม

สนับสนุนและผลักดันให้ “อุทยานธรณีโคราช

:KhoratGeopark”ได้รับการรับรองจากองค์

การยูเนสโกให้เป็นอุทยานธรณีโลก ภายใน

ปี 2562 ซึ่งจะสร้างคุณค่าให้จังหวัดนครราช

ราชสีมากลายเป็น“ดินแดนแห่ง3มงกุฎของ

ยูเนสโกหรือTheUNESCOTripleCrown”

โดยปัจจุบัน มีเพียง 3 ประเทศที่ได้รับการ

ขนานนามว่าเป็น“ดินแดนแห่ง3มงกุฎของยู

เนสโก”ได้แก่อิตาลีเกาหลีและจีนประเด็น

การชี้วัดประการหนึ่งในการรับรองเป็นอุทยาน

ธรณีโลก ก็คือ นักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย

จีโอพาร์ค จ�าเป็นต้องได้รับการศึกษาพิเศษ

ภายใต้โครงการพิเศษเชิงวิทยาศาสตร์ ตาม

ประเด็นการชี้วัดด้านการสื่อสารและการให้

ความรู้

ท้ังน้ีสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช

วว. จังหวัดนครราชสีมา ได้ด�าเนินการภายใต้

ประเด็นชี้วัดดังกล่าว ผ่านโครงการ “ค่ายจีโอ

พาร์ค” ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายจี

โอพาร์คโคราช โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายไปแล้วทั้ง

สิ้น 10 รุ่น (3 วัน 2 คืน/รุ่น) มีคณะครูและ

นักเรียนเข้าร่วมโครงการจ�านวน 1,184 คน

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมนักเรียนใน

โรงเรียนจีโอพาร์คของจังหวัดนครราชสีมา ให้

เกิดการรับรู้ เรียนรู้และเป็นแกนน�าเยาวชนใน

การด�าเนินงานเกี่ยวกับโคราชจีโอพาร์คและ

การอนุรักษ์ตามแนวทางขององค์การยูเนส

โก และเพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจ

อนุรักษ์พลงังาน เทคโนโลยีบล็อกประสาน วว. เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการรายงานความก้าวหน้า

ของด้านวัสดุก่อสร้างสีเขียวจากประเทศในกลุ่มอาเซียน รวมถึงการน�าผู้เข้าร่วมสัมมนาศึกษา

ดูงาน ณ โรงงานผลิตบล็อกประสาน วว. เทคโนธานี และที่จังหวัดสระบุรีและลพบุรีอีกด้วย

ASEAN Workshop on Railway Technology for Track and Rolling Stock Maintenance โดย ศูนย์ทดสอบมาตรฐานขนส่งทางราง จัดขึ้นในวันที่

19-20 มีนาคม 2562 ได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากประเทศแคนาดา สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน ออสเตรเลีย เยอรมนี และประเทศไทย รวมถึงนักวิจัยของ วว. บรรยายพิเศษ

ในหัวข้อต่างๆ อาทิ สถานการณ์ปัจจุบันและทิศทางในการพัฒนาระบบขนส่งทางรางของ

ประเทศไทย เทคโนโลยีการตรวจสอบและการบ�ารุงรักษาระบบรางในปัจจุบัน การวิจัยและ

พัฒนาการตรวจสอบระบบโครงสร้างพื้นฐานของระบบรางเป็นต้นรวมทั้งรายงานความก้าวหน้า

ของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านระบบรางของประเทศในอาเซียนตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิด

เห็นระหว่างกัน นอกจากนี้ วว. ยังได้จัดกิจกรรมน�าผู้เข้าร่วมสัมมนาเยี่ยมชมบริษัท Bangkok

MassTransitSystemPublicCompanyLimitedอีกด้วย

ประเมินการจัดตั้งเป็นจีโอพาร์คประเทศและจี

โอพาร์คโลกต่อไป

ทั้งนี้เมื่อวันที่ 27-29มีนาคม 2562

วว.จะมีการจัดค่ายจีโอพาร์ครุ่นที่11ขึ้นณ

สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช อุทยานแห่ง

ชาติเขาใหญ่ และอุทยานธรณีโคราช โดยมี

คณะครูและนักเรียนจากโรงเรียนเครือข่ายจี

โอพาร์คโคราช จ�านวน 168 คน จากจ�านวน

7 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนโคราชพิทยาคม

โรงเรียนมหิศราธิบดี โรงเรียนสุธรรมพิทักษ์

โรงเรียนสุรนารี โรงเรียนสูงเนิน โรงเรียน

สีคิ้ว“สวัสดิ์ผดุงวิทยา”และโรงเรียนราชสีมา

วิทยาลัย

ปัจจุบันโรงเรียนเครือข่ายจีโอพาร์ค

โคราช ในจังหวัดนครราชสีมา มีจ�านวน 26

โรงเรียน ประกอบด้วย สังกัดส�านักงานเขต

พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จ�านวน

6 โรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาเขต1จ�านวน4โรงเรียนสังกัด

ส�านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

เขต2จ�านวน3โรงเรียนสังกัดส�านักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต4จ�านวน9

โรงเรียน สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาเขต5จ�านวน1โรงเรียนและ

สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

จ�านวน 3 โรงเรียน โดยมีนักเรียนในระดับ

ประถมศึกษา-ระดับมัธยมศึกษารวมกัน

จ�านวนไม่น้อยกว่า17,000คน

Page 4: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

ระบบควบคุมอัตโนมัติโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้า

ภาพรวมของระบบควบคุมอัตโนมัติโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้า

หน้าต่าง GUI เริ่มต้นการใช้งานหน้าต่างแอพลิเคชั่น เครื่องควบคุมอัตโนมัติต้นแบบ

7

ระบบควบคุมอัตโนมัติสำ หรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน้ำ นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เพ่ือสังคมเมือง

ปัจจุบันผู้บริโภคนิยมรับประทานผักเพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะ

ผักไร้ดินหรือผักไฮโดรโปนิกส์ เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการทั้ง

วิตามินและแร่ธาตุต่างๆที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

อย่างไรก็ตาม ค่านิยมในการบริโภคผักดังกล่าวนั้น ผู้บริโภค

มักจะเลือกผักที่มีความสวยงาม ไม่มีร่องรอยท�าลายของแมลงศัตรู

พืช จึงส่งผลให้ชาวไร่ชาวสวนต้องใช้สารเคมีฉีดพ่นยาเพื่อป้องกันและ

ก�าจัดแมลงในปริมาณมาก ท�าให้ผู้บริโภคอาจได้รับอันตรายจากสารพิษ

ตกค้างที่มีอยู่ในพืชผักได้

นอกจากนี้สภาพสังคมเมืองปัจจุบันโดยเฉพาะเมืองใหญ่จะ

มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น และมีข้อจ�ากัดในเรื่องสภาพพื้นที่

อาทิ บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ หรือห้องชุด ซึ่งมีสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะ

สมเพราะได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ อีกทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงาน

และไม่ค่อยมีเวลาดูแลเพราะต้องไปท�างานนอกบ้านแต่ต้องการปลูกพืช

ผักไว้รับประทานเองภายในครัวเรือนและปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง

ด้วยตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเพื่อตอบโจทย์ผู้บริโภค สถาบันวิจัย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดย ศูนย์เชี่ยวชาญ

นวัตกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ภายใต้การสนับสนุนการ

วิจัยของส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและบริษัทอินดัสเตรียลออ

โตเมชั่นแอนด์อินโนเวชั่นจ�ากัดได้ด�าเนินการวิจัยและพัฒนา“ระบบ

ควบคุมอัตโนมัติส�าหรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้า” นวัตกรรมเกษตร

สมัยใหม่เพื่อสังคมเมือง ลดปัญหาการปลูกพืชผักปลอดสารเคมีในพื้นที่

จ�ากัดลดการใช้แรงงาน

วว.ออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติผ่านเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต

ของทุกสิ่ง(InternetofThings:IoTs)ในการติดตามสภาพแวดล้อม

การเจริญเติบโตของผักในโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้าผ่านแอพพลิเคชั่น

บนสมาร์ทโฟน เท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมอุณหภูมิและ

ความชื้นในอากาศ ควบคุมค่าความเป็นกรด-ด่างของน�้า และควบคุม

ความเข้มข้นของสารละลายธาตุอาหารในน�้าเม่ือมากไปหรือน้อย

ไป ระบบควบคุมอัตโนมัติสามารถลดหรือเพิ่มค่าที่ควบคุมต่างๆตาม

เงื่อนไขที่ก�าหนด เพื่อให้สภาพแวดล้อมเกิดความสมดุล ซึ่งปัจจัยต่างๆ

เหล่านี้ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก โดยค่าที่วัดได้จะถูกส่งผ่าน

ทางอินเทอร์เน็ตไปยังสมาร์ทโฟนท�าให้สามารถทราบข้อมูลเกี่ยวกับ

สภาวะแวดล้อมต่างๆ ภายในโรงเรือน และสามารถสั่งงานย้อนกลับ

มายังกล่องควบคุมอัตโนมัติได้

ระบบควบคุมอัตโนมัติส�าหรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้า ประกอบด้วย3ส่วนหลักคือ

1.เซ็นเซอร์อินเตอร์เฟส ประกอบด้วย เซ็นเซอร์วัดค่า

อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของบรรยากาศภายในโรงเรือน เซ็นเซอร์

วัดอุณหภูมิของน�้า เซ็นเซอร์วัดค่าความน�าไฟฟ้าของน�้า และเซ็นเซอร์

วัดค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน�้า แล้วส่งค่าไปยังไมโครคอลโทรลเลอ

ร์เพื่อประมวลผล

2.ไมโครคอลโทรลเลอร์ใช้RaspberryPi2เป็นชุดประมวล

ผลกลาง ท�าหน้าที่รับค่าที่วัดได้จากทางเซนเซอร์อินเตอร์เฟส เชื่อมต่อ

กับบอร์ดขยายอินพุทซ่ึงเป็นตัวอินเตอร์เฟสระหว่างเซ็นเซอร์กับไมโคร

คอนโทรลเลอร์RaspberryPi2โดยมีจอแสดงผลLCDท�าหน้าที่

ระบบควบคุมอัตโนมัติส�าหรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน�้า นับเป็นนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ ตอบโจทย์สภาพสังคมของเมือง

ใหญ่ ที่มีผู้คนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีข้อจ�ากัดในเรื่องสภาพพื้นที่

อย่างบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ หรือห้องชุด ที่สภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม

เพราะได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และไม่

ค่อยมีเวลาดูแลเพราะต้องไปท�างานนอกบ้าน แต่ต้องการปลูกพืชผัก

ที่ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างไว้รับประทานเองภายในครัวเรือน ทั้งนี้

มีการน�าระบบควบคุมอัตโนมัติส�าหรับโรงเรือนปลูกผักไปใช้งานจริงใน

พื้นที่บริษัทอินดัสเตรียลออโตเมชั่นแอนด์อินโนเวชั่นจ�ากัดจังหวัด

นนทบุรี ทั้งนี้หากมีการน�าไปใช้แพร่หลายจะก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ ซึ่งจะ

ท�าให้ประชาชนมีทางเลือกในการบริโภคพืชผักปลอดสารเคมีมากขึ้น

นับเป็นความส�าเร็จในการน�าองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ

นวัตกรรมตอบโจทย์ของสังคมอย่างเป็นรูปธรรม

แสดงสถานะค่าอุณหภูมิและความชื้นอากาศ อุณหภูมิน�้า ค่าความเป็น

กรด-ด่าง ค่าความน�าไฟฟ้า และจอ LCD ยังแสดงสถานะการท�างาน

ของฮาร์ดแวร์ต่างๆ โดยส่งค่าที่ประมวลผลแล้วไปสั่งให้ฮาร์ดแวร์ต่างๆ

ท�างาน เช่นเดียวกันไมโครคอนโทรลเลอร์ จะท�าการส่งค่าที่ท�าการ

ประมวลผลแล้วผ่านเร้าเตอร์เกตเวร์ขึ้นคลาวน์เซิร์พเวอร์มายังมือถือ

3.ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยปั้มน�้าปั้มสารละลายธาตุอาหาร

ระบบแสงสว่างพัดลมระบายอากาศและตัวสร้างความชื้นบรรยากาศ

ระบบควบคุมอัตโนมัติสำ หรับโรงเรือนปลูกผักด้วยน้ำ ควบคุมปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช โดยไม่ต้องมาดูแลรายวัน

สามารถควบคุมติดตามมอนิเตอร์ออนไลน์ได้

6

Page 5: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

98

นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ หัวหน้า

ผู ้ตรวจราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี (วท.) เป็นประธานเปิดงาน Flo-

raTale@วว.ล�าตะคองบริการจุดพักรถ24

ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 10-16 เมษายน 2562

เชิญชวนชอปผลิตภัณฑ์งานวิจัย วว. บริการ

สุขาเพื่อประชาชน จ�าหน่ายอาหาร/สินค้า

โอทอปกว่า 30 ร้าน พร้อมจุดเช็คอินถ่าย

ภาพทุ่งปอเทือง ….ร่วมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย

ลดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ โอกาสนี้

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

(วว.) นายจรัสชัย โชคเรืองสกุล รองผู้ว่า

ราชการจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วยผู้

บริหารจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯและหน่วย

งานในจังหวัดนครราชสีมา ร่วมเป็นเกียรติ

เมื่อวันที่10เมษายน2562ณสถานีวิจัยล�า

ตะคองอ�าเภอปากช่องจังหวัดนครราชสีมา

นอกจากนี้ภายในงาน ยังมีการยัง

ปล่อยขบวนรถรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุ

ทางถนนช่วงสงกรานต์ 2562 พร้อมทั้งรับ

มอบเครื่องดื่มจากส�านักงานคณะกรรมการ

ก�ากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกัน

ภัย(คปภ.)และชมรมประกันวินาศภัยจังหวัด

นครราชสีมาอีกด้วย

นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ หัวหน้า

ผู้ตรวจราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ช้ีแจงว่า

ปัจจุบันบทบาทของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

ยุคใหม่ มุ่งเน้นสร้างผลงาน และท�างาน

ใกล้ชิดกับประชาชนมากยิ่งขึ้น เพื่อน�างาน

วิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมช่วยยกระดับ

คุณภาพชีวิตประชาชน นอกจากนี้ กระทรวง

วิทยาศาสตร์ฯ ยังให้ความส�าคัญกับการ

ด�าเนินกิจกรรมเพื่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อพี่น้องประชาชนในช่วง

เทศกาลสงกรานต์ 2562 นี้ ส�าหรับความ

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวเพิ่มเติมว่า วว. ได้รับความร่วม

มือจากหน่วยงานเป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

จัดเป็นจุดร่วมบริการส�าหรับประชาชน เช่น การตรวจเช็ครถยนต์เบื้องต้นจากวิทยาลัยการ

อาชีพจังหวัดนครราชสีมาการบริการปฐมพยาบาลเบื้องต้น นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่นๆ

ที่น่าสนใจได้แก่กิจกรรมเยี่ยมชมอาคารเรือนกระจกเฉลิมพระเกียรติหลังที่1และหลังที่

2ฟรี!!กิจกรรมFitandGoบริการนวดโดยใช้ยาลูกประคบบริการตรวจวัดสายตา

พร้อมให้ค�าปรึกษาเรื่องการออกก�าลังกาย บริการสุขาเพื่อประชาชน บริการร้านอาหาร

และเครื่องดื่มร้านค้าผลิตภัณฑ์งานวิจัยวว.เพื่อทดลองตลาดและสินค้าโอทอปรวมกว่า

30ร้านค้ารวมทั้งจุดเช็คอินถ่ายภาพทุ่งปอเทืองส�าหรับนักท่องเที่ยว

วิทย์แก้จน ยกระดับภูมิภาค

ในส่วนของกิจกรรมภายใต้โครงการ ประกอบด้วย 1.การพัฒนากลไกการท�างานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่เพื่อให้เกิดเครือข่ายร่วมพัฒนา

ทั้งภาครัฐและเอกชนอาทิกรมการพัฒนาชุมชนบริษัทประชารัฐรักสามัคคี(ประเทศไทย)จ�ากัด

สภาเกษตรแห่งชาติและสถาบันการศึกษาต่างๆเป็นต้น

2.การจัดงานมหกรรมวิทย์สร้างอาชีพและยกระดับภูมิภาคเพื่อแนะน�าโครงการให้เป็น

ที่รู้จักแก่ผู้ประกอบการรวมทั้งหน่วยงานภาครัฐในแต่ละพื้นที่ โดยกิจกรรมภายในงานประกอบ

ไปด้วย การอบรมอาชีพเบื้องต้น การให้ความรู้ทางด้านการตลาด รวมทั้งการรับสมัครคัดเลือกผู้

ประกอบการเข้าร่วมโครงการ

3.การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวทน.และการพัฒนาผลิตภัณฑ์

ให้กลุ่มผู้ประกอบการโอทอปเป้าหมาย ตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ได้มีการรวบรวมไว้อย่าง

เป็นระบบเพื่อพัฒนาศักยภาพให้กับกลุ่มผู้ประกอบการOTOP

4.การพัฒนาผู้น�ากลุ่มโอทอปให้มีทักษะในด้านตลาดทักษะDigital ด้านการบริหาร

จัดการกลุ่มและการถ่ายทอดความรู้ให้สมาชิกกลุ่มและกลุ่มอื่นๆ

5. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มผู้ประกอบการโอทอปที่เข้าร่วมโครงการ

อาทิ การจัดกิจกรรมจับคู่ธุรกิจระหว่างบริษัทเอกชนผู้ค้าปลีกขนาดใหญ่กับผู้ประกอบการชุมชน

การจัดงานแสดงสินค้าเป็นต้น

6. การติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานโครงการ เพื่อปรับปรุงพัฒนาการด�าเนิน

งานและขยายผลไปยังจังหวัดอื่นๆของประเทศ

ตรันต์ สิริกาญจน

ส�านักจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

ร่วมมือระหว่าง วว. และจังหวัดนครราชสีมา

ในการจัดกิจกรรม Flora Tale @ วว.ล�าตะ

คอง ในครั้งนี้ เพื่อให้บริการพี่น้องประชาชน

ที่สัญจรผ่านถนนมิตรภาพ มุ่งหน้าสู่ภาคตะวัน

ออกเฉียงเหนือ และเป็นจุดร่วมบริการต่างๆ

ประชาชนสามารถหยุดแวะพัก เพื่อผ่อนคลาย

ก่อนเดินทางกลับสู่ภูมิล�าเนาอย่างสวัสดิภาพ

นายจรัสชัย โชคเรืองสกุล รองผู้

ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา กล่าวเพิ่มเติม

ว่า ในช่วง ปี 2560-61 ที่ผ่านมา จ�านวนผู้

บาดเจ็บ เสียชีวิตในเขตพื้นที่ จ.นครราชสีมา

จ�านวน390และ418คนตามล�าดับ หนึ่ง

ในสาเหตุการเสียชีวิตบาดเจ็บล�าดับต้นๆเกิด

จากเมาแล้วขับ การขับรถเร็วเกินมาตรฐาน

ก�าหนด รวมถึงการฝ่าฝืนสัญญาณจราจร

แนวทางการด�าเนินงานที่จังหวัดวางไว้เพื่อ

ป้องกันปัญหา คือ การอ�านวยความสะดวก

และปลอดภัยในการเดินทาง รวมถึงการ

ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน บังคับใช้

กฎหมาย3ม2ข1รอย่างเข้มข้น เน้นผู้

มีพฤติกรรมเสี่ยงเมาสุราห้ามขับข่ียานพาหนะ

โดยเด็ดขาดมอบขนส่งจังหวัดฯด�าเนินการ

ตรวจความพร้อมของรถและพนักงานขับรถ

โดยสารสาธารณะที่ประจ�าทางและไม่ประจ�า

ทาง ประชาสัมพันธ์รณรงค์ลดอุบัติเหตุทาง

ถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2562 “งดสุราพา

ครอบครัวท�าบุญ” หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การ

จัดกิจกรรม “Flora Tale @ วว.ล�าตะคอง”

ระหว่างวันที่10-16เมษายน2562จะช่วย

ลดลดอุบัติเหตุป้องกันและลดอุบัติเหตุทาง

ถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์

วว.ร่วมกับ จังหวัดนครราชสีมา จัดกิจกรรม Flora Tale @ วว.ลำ ตะคองบริการจุดพักรถ 24 ชั่วโมง ร่วมรณรงค์ขับขี่อย่างปลอดภัย ลดอุบัติเหตุช่วงสงกรานต์

ตามที่รัฐบาลได ้ก�าหนดนโยบาย

ส�าคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากด้วย

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.)

ส่งเสริมการกระจายรายได้ สร้างโอกาส และ

ความมั่งคั่งอย่างเท่าเทียม เพื่อให้ประเทศ

หลุดพ้นจากกับดักของความเหลื่อมล�้า ซึ่งการ

พัฒนาศักยภาพกลุ ่มผู ้ประกอบการโอทอป

และวิสาหกิจชุมชน เป็นกระบวนการหนึ่ง

ที่มีส่วนส�าคัญเป็นอย่างยิ่งในการขับเคลื่อน

นโยบายดังกล่าว กล่าวคือ เป็นการสร้างราย

ได้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง ด้วย

มาตรการต่างๆ ทั้งด้านการถ่ายทอดองค์ความ

รู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

การพัฒนาการด�าเนินธุรกิจ และการพัฒนา

ด้านการตลาดเป็นต้น

ก ร ะ ท ร ว ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ

เทคโนโลยี (วท.) จึงได้มอบหมายให้

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง

ประเทศไทย (วว.) และกรมวิทยาศาสตร์

บริการ(วศ.)จัดท�าโครงการยกระดับOTOP

ในพื้นที่ 10 จังหวัดยากจน โดยเป็นการน�า

องค์ความรู้ทางด้าน วทน. ที่ผ่านการวิจัยและ

พัฒนาและจัดระเบียบองค์ความรู้แล้ว ไป

ถ่ายทอดสู่ผู้ประกอบการโอทอป Quadrant

D (กลุ่มปรับตัวเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิต)

จ�านวน2,000กลุ่มในพื้นที่10จังหวัดยากจน

ได้แก่จังหวัดแม่ฮ่องสอนน่านตากกาฬสินธุ์

นครพนม บุรีรัมย์ อ�านาจเจริญ ชัยนาท

ปัตตานีและจังหวัดนราธิวาส(ที่มา : รายงาน

สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อม

ล�้าด้านรายได้ในระดับภาคของประเทศไทย

ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ 2561) ผ่านกลไกการ

ด�าเนินงานของหน่วยงานภายในกระทรวง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลไกประชารัฐ

กรมการพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏ และสถาบัน

อาชีวศึกษา เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้ประกอบการ

โอทอปทั้ง 5 ประเภท ได้แก่ อาหาร เครื่อง

ดื่ม สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ผ้าและเครื่องแต่งกาย และของใช้ ของประดับและของที่ระลึก โดยมี

เป้าหมายหลักคือกลุ่มผู้ประกอบการโอทอปและวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการจะต้องมีรายได้

เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ10

Page 6: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

10 11

จากการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมของโครงการ ทั้ง

ผลที่ได้รับโดยตรงจากโครงการ (รายได้ที่เพิ่มขึ้น) และผลสืบเนื่องจากโครงการ พบว่า

กลุ่มผู้ประกอบการโอทอปที่เข้าร่วมโครงการทั้ง 2,000 กลุ่ม มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อย

ละ27 ส่วนผลสืบเนื่องหลังจากมีรายได้เพิ่มขึ้น คือสมาชิกในครัวเรือนมีโอกาสได้รับการ

ศึกษาที่สูงขึ้นมีเงินซื้ออาหารที่มีคุณภาพดีมาบริโภคส่งผลต่อสุขภาพที่ดีขึ้นรวมทั้งมีความ

สามารถในการช�าระหนี้เพิ่มขึ้นอีกด้วย

ทั้งนี้หากค�านวณเป็นจ�านวนเงิน พบว่ามูลค่าทางเศรษฐกิจของโครงการเท่ากับ

794,203,817 ล้านบาทต่อปี และคิดเป็นมูลค่าทางสังคมเท่ากับ 216,696,173 ล้านบาท

ต่อปี โดยเมื่อค�านวณมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมต่อปีด้วยสูตรค�านวณ SROI (Social

Returnon Investment)ผลที่ออกมาเท่ากับ1 :7.75กล่าวคือทุกๆ1บาทที่รัฐบาล

ลงทุนจะได้ผลตอบแทนกลับมา7.75บาทนั่นเอง

อนุภาคนาโนพิเศษเหล่าน้ีทำ หน้าท่ีเหมือนกับเรือขนาดจ๋ิวที่บรรทุกสีย้อมชนิดพิเศษไปยังเซลล์มะเร็งภายในร่างกายของคนไข้ ยาสีย้อมพิเศษนี้มีฤทธิ์กำ จัดเซลล์มะเร็งได้ ช่วยให้แพทย์ผ่าตัดมองเห็นเซลล์มะเร็งได้ง่ายขึ้น สามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออกได้ทั้งหมด แคนนันชูมัน(CananSchumann)

แห ่งภาควิชาเภสัชศาสตร ์ที่มหาวิทยาลัย

โอเรกอน กล่าวว่า การใช้อนุภาคนาโนพิเศษ

ในการน�าสีย้อมไปสู่เซลล์มะเร็ง ช่วยในการ

วินิจฉัยมะเร็งและตรวจดูการแพร่ระบาดของ

มะเร็ง ตลอดจนช่วยในการผ่าตัดก้อนมะเร็ง

ออกให้หมด

ยาสีย้อมที่มีฤทธิ์เป็นยาก�าจัดเซลล์

มะเร็งนี้ คิดค้นเเละพัฒนาโดย โอเลห์ กับ โอ

เลนาทาราทูลา(OlehandOlenaTaratula)

นักวิทยาศาสตร์สามีภรรยาชาวยูเครน ที่ย้าย

มาอยู่ในสหรัฐอเมริกา ทั้งสองใช้เวลา 4ปีใน

การค้นหาส่วนประกอบทางสารเคมีท่ีเหมาะ

สมที่สุด

นักวิจัยพัฒนา ‘อนุภาคนาโน’ เรืองเเสงเมื่อพบเซลล์มะเร็ง

โอเลนา ทาราทูลา กล่าวว่าสีย้อม

นี้ผสมอยู ่ ในตัวท�าละลายอินทรีย ์และสาร

โพลิเมอร์ผสมอยู่ในน�้า เมื่อผสมเข้าด้วยกันให้

กลายเป็นส่วนผสมออแกนิก ก็จะได้ตัวอนุภาค

นาโนเหล่านี้ออกมา และเมื่อยาสีย้อมอนุภาค

นาโนนี้เจอกับเเสง ก็จะสามารถค้นหาเซลล์

มะเร็งเเละจะผลิตความร้อนออกมาเพื่อก�าจัด

เซลล์มะเร็งชนิดที่ไม่เป็นอันตราย

ยาสีย้อมอนุภาคนาโนนี้ประสบความ

ส�าเร็จในการทดสอบกับหนูเเละกระต่ายใน

ห้องทดลองของมหาวิทยาลัยที่ตั้งชื่อว่าทาราทู

ลาตามนามสกุลของนักวิทยาศาสตร์ทั้งสอง

ในขั้นต่อไปจะเป็นการทดลองกับคน ทีมนัก

วิทยาศาสตร์ชี้ว่า ส�าคัญมากที่ต้องก�าจัดเซลล์

มะเร็งร้ายจากร่างกายผู้ป่วยให้หมด เพราะ

หากมะเร็งหวนคืน โรคจะมีความร้ายเเรงมาก

ขึ้นและอันตรายมากขึ้น

นักวิจัยชูมัน แห ่งภาควิชาเภสัช

ศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโอเรกอน กล่าวว่า เซลล์

มะเร็งท่ีตกค้างในร่างกายผู้ป่วยจะเป็นต้นเหตุ

ให้มะเร็งหวนคืนในเวลาต่อมา และนอกจากนี้

ยังมีความเป็นไปได้สูงมากท่ีเซลล์มะเร็งท่ียัง

หลงเหลือในร่างกายผู้ป่วยจะดื้อต่อเคมีบ�าบัด

ทีมนักวิจัยจ�าเป็นต้องใช้เซลล์มะเร็ง

จ�านวนมากในการทดลองเเละเซลล์มะเร็งส่วน

ใหญ่ที่ใช้ ทีมนักวิจัยได้เพาะเลี้ยงขึ้นเองในห้อง

ทดลองของมหาวิทยาลัย

บรรดาแพทย์และนักวิทยาศาสตร์

กล่าวว่า ยาสีย้อมอนุภาคนาโนชนิดใหม่นี้มี

ศักยภาพสูงมาก เพราะช่วยให้แพทย์มองเห็น

ความแตกต่างระหว่างเซลล์มะเร็งที่ไม่เป็น

อันตราย กับเซลล์มะเร็งที่เป็นอันตรายได้ง่าย

มากขึ้น จะช่วยให้บ�าบัดมะเร็งได้ถูกจุดมากขึ้น

อย่่างมาก

อย่างไรก็ตาม ยังต้องมีการทดลอง

กับคนเสียก่อน แต่ทีมนักวิจัยที่มหาวิทยาลัย

โอเรกอนหวังว่ายาสีย้อมอนุภาคนาโนนี้จะ

น�าไปสู่ความส�าเร็จคร้ังส�าคัญในวงการบ�าบัด

มะเร็งในอนาคต

ที่มา:www.voathai.com

ตัวอย่างการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ให้ผู้ประกอบการโอทอป

8. ผลิตภัณฑ์ : สแน็คข้าว

ผู้ประกอบการ:กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

จังหวัดอ�านาจเจริญ

ผลลัพธ์และผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคม

2. ผลิตภัณฑ์ : ขนมอบกรอบ (ชิปสเน็ค)

สาหร่ายไก

ผู้ประกอบการ:กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป

สาหร่ายน�้าจืดบ้านหนองบัวจังหวัดน่าน

4. ผลิตภัณฑ์ : ปลาส้มอบสมุนไพรและ

ปลาส้มอบเครื่องเทศ

ผู้ประกอบการ:กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรไชยบุรี

หมู่7จังหวัดนครพนม 5. ผลิตภัณฑ์ : น�้าแร่ธรรมชาติภูริน

ผู้ประกอบการ:วิสาหกิจชุมชนน�้าแร่

ธรรมชาติภูรินจังหวัดบุรีรัมย์

6. ผลิตภัณฑ์ : กระเทียมผง

ผู้ประกอบการ:กลุ่มกระเทียมบ้านนาปลา

จาดจังหวัดแม่ฮ่องสอน

7. ผลิตภัณฑ์ : ลองกองอบแห้งผสมธัญพืช

รสข้าวย�า

ผู้ประกอบการ:กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน

ทอนอามานจังหวัดนราธิวาส

1. ผลิตภัณฑ์ : พริกกระเหรี่ยงผง

ผู้ประกอบการ:กลุ่มผู้ผลิตพริกกระเหรี่ยง

ต�าบลแม่วะหลวงจังหวัดตาก

3. ผลิตภัณฑ์ : แยมเปลือกส้มโอ

ผู้ประกอบการ:กลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านท่า

ข้าวโพดจังหวัดชัยนาท

Page 7: ฉบับที่ 4 / เมษายน 2562 ปีที่ 22 - TISTR...ฉบ บท 4 / เมษายน 2562 ป ท 22 ช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาวว.จัดบริการจุดพักรถช่วงสงกรานต์

1 เมษายน 2562 / โรงแรมแลนมาร์ค กรุงเทพฯ ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. ร่วมงานแถลงข่าว

ASEANBeauty2019….จุดประกายความงามโอกาสของธุรกิจความ

งามของไทยในตลาดโลกที่จะจัดขึ้นระหว่างวันที่2-4พฤษภาคม2562

ณไบเทคบางนาโดยผู้ว่าการวว.ร่วมเป็นวิทยากรน�าเสนอศักยภาพ

ของ วว. ในการเป็นหน่วยงานวิจัยหลักของประเทศที่มีประสบการณ์ใน

การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ความงามด้วยนวัตกรรมแก่ผู้ประกอบการไทย

2 เมษายน 2562 / จงัหวัดน่าน นายสายันต์ ตันพานิช รองผู้ว่าการกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้าน

อุตสาหกรรมชีวภาพ วว. พร้อมผู้บริหารและพนักงาน วว. ให้การ

ต้อนรับคณะกรรมการ SubPAC ประเมินผลงานของ วว. ผู้แทน

จากส�านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และมูลนิธิ

สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (IRDP) ในโอกาสเยี่ยมชมภารกิจ

วว. ณ โครงการเตาพลังงานชีวมวล ศูนย์การเรียนรู้พุทธเกษตรอินทรีย์

วิถีธรรมกลุ่มเห็ดบ้านนาเหลืองนอกอ�าเภอเวียงสา

4 - 5 เมษายน 2562 / โรงแรม เดอะพี จงัหวัดจนัทบุรี ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ศนส.) ร่วมกับ

สภาอุตสาหกรรมจังหวัดจันทบุรี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอด

ผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่

กระบวนการสกัดสมุนไพรและการพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์สมุนไพรของ

จังหวัดจันทบุรี ได้แก่ มังคุด ไพล กระวาน พริกไทย และขิง ภายใต้

โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก

4 เมษายน 2562 / โรงเเรมรามาการ์เด้น นายเพิ่มสุขสัจจาภิวัฒน์หัวหน้าผู้ตรวจกระทรวงวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีและกรรมการกวท.ดร.ชุติมาเอี่ยมโชติชวลิตผู้ว่าการ

คณะผู้บริหาร วว.และผู้ทรงคุณวุฒิ จากหน่วยงานภายอาทิ กระทรวง

อุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร สภาหอการค้าเเห่งประเทศไทย

เป็นต้น ร่วมประชุมระดมความคิดเห็น “บทบาทการด�าเนินงานของ

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในอนาคต”

5 เมษายน 2562 / สนง.กองสลากฯ สนามบินน�้า วว.ร่วมแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสครบรอบ80ปีคล้าย

วันก่อตั้งส�านักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ทั้งนี้ วว.และส�านักงานสลากฯ

เป็นพันธมิตรที่ดีร่วมกันในการด�าเนินโครงการ Synergy เพื่อสังคมน�า

วทน.ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน

5 เมษายน 2562 / วว.เทคโนธานี ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. ให้การต้อนรับ นาย

อนุรุธ ว่องวานิช รองประธานคณะกรรมการธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพ

เข้าร่วมการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร (TCC

WellnessOnsiteVisit)และเข้าศึกษาดูงานในโรงงานบริการนวัตกรรม

อาหาร(FISP)และศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร