คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู...

278
คํานํา หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ไดพัฒนาให เปนไปตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งไดกําหนดใหการจัดการศึกษาตาม หลักสูตรตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมแหงความเปนไทยในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เปด โอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง โรงเรียนคูซอดประชาสรรค ในฐานะที่รับผิดชอบดูแลการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเปนสาระการเรียนรูหนึ่งที่โรงเรียน จะตองจัดการเรียนการสอนใหกับผูเรียน ดังนั้นทางโรงเรียนจึงไดมอบหมายใหกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร จัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรขึ้น เนื่องจากวิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอความสําเร็จใน การเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เนื่องจากวิทยาศาสตร ชวยใหมนุษยมีความคิดริเริ่มสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปน ระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือ สถานการณไดอยางรอบคอบและถี่ถวน ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา ไดอยางถูกตองเหมาะสม และสามารถนําไปใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้วิทยาศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาดาน คณิตศาสตร เทคโนโลยี และศาสตรอื่น ๆ อันเปน รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติใหมีคุณภาพ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหทัดเทียมกับ นานาชาติ เพื่อพัฒนาการผูเรียนใหทันสมัยและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรูทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่เจริญกาวหนาอยางรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เปนสําคัญ ตามศักยภาพของผูเรียน ขอขอบคุณคณะครูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรที่ไดรวมแรงรวมใจกันจัดทําหลักสูตรกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เลมนีจนสําเร็จลุลวงเปนอยางดี และหวังวาเอกสารหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรเลมนีคงจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียนตามเจตนารมณของการปฏิรูป การศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

Transcript of คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู...

Page 1: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

คํานํา

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ไดพัฒนาใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งไดกําหนดใหการจัดการศึกษาตามหลักสูตรตองเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมแหงความเปนไทยในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข เปดโอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง

โรงเรียนคูซอดประชาสรรค ในฐานะท่ีรับผิดชอบดูแลการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเปนสาระการเรียนรูหนึ่งท่ีโรงเรียนจะตองจัดการเรียนการสอนใหกับผูเรียน ดังนั้นทางโรงเรียนจึงไดมอบหมายใหกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรจัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรข้ึน เนื่องจากวิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอความสําเร็จในการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เนื่องจากวิทยาศาสตร ชวยใหมนุษยมีความคิดริเริ่มสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือ สถานการณไดอยางรอบคอบและถ่ีถวน ชวยใหคาดการณวางแผน ตัดสินใจ แกปญหา ไดอยางถูกตองเหมาะสม และสามารถนําไปใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพนอกจากนี้วิทยาศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาดาน คณิตศาสตร เทคโนโลยี และศาสตรอ่ืน ๆ อันเปนรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติใหมีคุณภาพ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหทัดเทียมกับนานาชาติ เพ่ือพัฒนาการผูเรียนใหทันสมัยและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีเจริญกาวหนาอยางรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เปนสําคัญ ตามศักยภาพของผูเรียน

ขอขอบคุณคณะครูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีไดรวมแรงรวมใจกันจัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เลมนี้ จนสําเร็จลุลวงเปนอยางดี และหวังวาเอกสารหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ คงจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียนตามเจตนารมณของการปฏิรูปการศึกษา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

Page 2: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

สารบัญ

ประกาศโรงเรียนคูซอดประชาสรรคคํานําสารบัญบทนํา ๑เปาหมายของวิทยาศาสตร ๑เรียนรูอะไรในวิทยาศาสตร ๒สาระและมาตรฐานการเรียนรู ๓ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางโครงสรางเวลาเรียน

๑๐๔๗

โครงสรางหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนคําอธิบายรายวิชาและโครงสรางรายวิชา ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

๕๗๕๘

โครงสรางหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๔๒คําอธิบายรายวิชาและโครงสรางรายวิชา มัธยมศึกษาตอนปลายภาคผนวกประกาศสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐คําสั่งโรงเรียนคูซอดประชาสรรค

๑๔๓

คณะผูจัดทํา

Page 3: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

คณะผูจัดทําคณะกรรมการท่ีปรึกษา

๑. นายสมยศ หลักบุญ ผูอํานวยการโรงเรียนคูซอดประชาสรรค๒. นายสุรชัย การะเกด รองผูอํานวยการโรงเรียน๓. นางยุพาวดี ขาววิเศษ หัวหนาฝายวิชาการ๔. นางสาวสุภาพัช สระโสม หัวหนางานหลักสูตรสถานศึกษา

คณะทํางาน๑. นายชินโชติ พรหมพิลา ประธานกรรมการ๒. นางสาวสะอ้ิงทิพย เทียบคุณ รองประธานกรรมการ๓. นางสาวสุภาพัช สระโสม กรรมการ๔. นายเกรียงศักดิ์ ศรีขาว กรรมการ๕. นายพีรธร คําลวน กรรมการ๖. นางสาววราภรณ แนวนอย กรรมการและเลขานุการ

Page 4: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๑(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

บทนําตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ ไดกําหนดสาระการเรียนรูออกเปน ๔ สาระ ไดแก สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรชีวภาพ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรกายภาพ สาระท่ี ๓วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ และสาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มีสาระเพ่ิมเติม ๔ สาระ ไดแก สาระชีววิทยาสาระเคมี สาระฟสิกส สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ซึ่งองคประกอบของหลักสูตร ท้ังในดานของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรูนั้น มีความสําคัญอยางยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรูวิทยาศาสตรของผูเรียนในแตละระดับชั้น ใหมีความตอเนื่องเชื่อมโยงกัน ตั้งแตชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๖ สําหรับกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรไดกําหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ท่ีผูเรียนจําเปนตองเรียนเปนพ้ืนฐาน เพ่ือใหสามารถนําความรูนี้ไปใชในการดํารงชีวิตหรือศึกษาตอในวิชาชีพท่ีตองใชวิทยาศาสตรได โดยจัดเรียงลําดับความยากงายของเนื้อหาแตละสาระในแตละระดับชั้นใหมีการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการเรียนรู และการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะหวิจารณ มีทักษะท่ีสําคัญท้ังทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ในการคนควาและสรางองคความรูดวยกระบวนการสืบเสาะหาความรู สามารถแกปญหาอยางเปนระบบสามารถตัดสินใจ โดยใชขอมูลหลากหลายและประจักษพยานท่ีตรวจสอบได สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสําคัญของการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีมุงหวังใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอผูเรียนมากท่ีสุด จึงไดจัดทําตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ ข้ึน เพ่ือใหสถานศึกษา ครูผูสอน ตลอดจนหนวยงานตาง ๆ ไดใชเปนแนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คูมือครู สื่อประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีจัดทําข้ึนนี้ไดปรับปรุง เพ่ือใหมีความสอดคลองและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรูเดียวกันและระหวางสาระการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรูทางวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตรดวย นอกจากนี้ยังไดปรับปรุงเพ่ือใหมีความทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลง และความเจริญกาวหนาของวิทยาการตาง ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ

เปาหมายของวิทยาศาสตรในการเรียนการสอนวิทยาศาสตรมุงเนนใหผูเรียนไดคนพบความรูดวยตนเองมากท่ีสุด เพ่ือใหได

ท้ังกระบวนการและความรู จากวิธีการสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลอง แลวนําผลท่ีไดมาจัดระบบเปนหลักการ แนวคิด และองคความรูการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมีเปาหมายท่ีสําคัญ ดังนี้

๑. เพ่ือใหเขาใจหลักการ ทฤษฎี และกฎท่ีเปนพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตร

Page 5: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒. เพ่ือใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตรและขอจํากัดในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร

๓. เพ่ือใหมีทักษะท่ีสําคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางเทคโนโลยี๔. เพ่ือใหตระหนักถึงความสัมพันธระหวางวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ

สภาพแวดลอมในเชิงท่ีมีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน๕. เพ่ือนําความรู ความเขาใจ ในวิชาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอสังคม

และการดํารงชีวิต๖. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหา และการจัดการ

ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ๗. เพ่ือใหเปนผูท่ีมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีอยางสรางสรรคเรียนรูอะไรในวิทยาศาสตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงหวังใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตร ท่ีเนนการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู และแกปญหาท่ีหลากหลาย ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทุกข้ันตอน มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติจริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยกําหนดสาระสําคัญ ดังนี้

✧ วิทยาศาสตรชีวภาพ เรียนรูเก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดลอม องคประกอบของสิ่งมีชีวิตการดํารงชีวิตของมนุษยและสัตว การดํารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต✧ วิทยาศาสตรกายภาพ เรียนรูเก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนท่ีพลังงาน และคลื่น✧ วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ เรียนรูเก่ียวกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศ และผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม✧ เทคโนโลยี● การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรูเก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม● วิทยาการคํานวณ เรียนรูเก่ียวกับการคิดเชิงคํานวณ การคิดวิเคราะห แกปญหาเปนข้ันตอนและเปนระบบ ประยุกตใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแกปญหาท่ีพบในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 6: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

สาระและมาตรฐานการเรียนรูสาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรชีวภาพมาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล ความสัมพันธของโครงสราง และหนาท่ีของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาท่ีของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ีทํางานสัมพันธกัน รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรกายภาพมาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสาร

กับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงท่ีกระทําตอวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณท่ีเก่ียวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟา รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโลก และอวกาศมาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี

ดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ีสงผลตอสิ่งมีชีวิตและการประยุกตใชเทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

Page 7: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยาง

รวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิตสังคม และสิ่งแวดลอม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาท่ีพบในชีวิตจริงอยางเปนข้ันตอนและเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู การทํางาน และการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทัน และมีจริยธรรม

คุณภาพผูเรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓❖ เขาใจลักษณะท่ัวไปของสิ่งมีชีวิตและการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตรอบตัว❖เขาใจลักษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุท่ีใชทําวัตถุ และการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว❖เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนท่ีของวัตถุพลังงานไฟฟา และการผลิตไฟฟา การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น❖เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณข้ึนและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดินและการใชประโยชน ลักษณะและความสําคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม❖ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาเก่ียวกับสิ่งท่ีจะเรียนรูตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจสังเกตสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดงทาทางเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจ❖แกปญหาอยางงายโดยใชข้ันตอนการแกปญหา มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน รักษาขอมูลสวนตัว❖แสดงความกระตือรือรน สนใจท่ีจะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟงความคิดเห็นผูอ่ืน❖แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จนงานลุลวงเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข❖ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจ

จบช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖❖เขาใจโครงสราง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในแหลงท่ีอยู การทําหนาท่ีของสวนตาง ๆ ของพืช และการทํางานของระบบยอยอาหารของมนุษย

Page 8: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

❖ เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสารการละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไดและผันกลับไมได และการแยกสารอยางงาย❖ เขาใจลักษณะของแรงโนมถวงของโลก แรงลัพธ แรงเสียดทาน แรงไฟฟาและผลของแรงตางๆ ผลท่ีเกิดจากแรงกระทําตอวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมีตอวัตถุ วงจรไฟฟาอยางงาย ปรากฏการณเบื้องตนของเสียง และแสง❖เขาใจปรากฏการณการข้ึนและตกรวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร องคประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การข้ึนและตกของกลุมดาวฤกษ การใชแผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ❖เขาใจลักษณะของแหลงน้ํา วัฏจักรน้ํา กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ําคาง น้ําคางแข็ง หยาดน้ําฟากระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหนิ การใชประโยชนหินและแร การเกิดซากดึกดําบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจก❖คนหาขอมูลอยางมีประสิทธิภาพและประเมินความนาเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกขอมูลใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทํางานรวมกัน เขาใจสิทธิและหนาท่ีของตน เคารพสิทธิของผูอ่ืน❖ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาเก่ียวกับสิ่งท่ีจะเรียนรูตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจ คาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานท่ีสอดคลองกับคําถามหรือปญหาท่ีจะสํารวจตรวจสอบ วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ในการเก็บรวบรวมขอมูลท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ❖วิเคราะหขอมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธของขอมูลท่ีมาจากการสํารวจตรวจสอบในรูปแบบท่ีเหมาะสม เพ่ือสื่อสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบไดอยางมีเหตุผลและหลักฐานอางอิง❖แสดงถึงความสนใจ มุงม่ัน ในสิ่งท่ีจะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอมูลท่ีมีหลักฐานอางอิง และรับฟงความคิดเห็นผูอ่ืน❖แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จนงานลุลวงเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผูอ่ืนอยางสรางสรรค❖ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกยอง และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคนและศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจ❖แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา

จบช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓❖เขาใจลักษณะและองคประกอบท่ีสําคัญของเซลลสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายมนุษย การดํารงชีวิตของพืช การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอยางโรคท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชนและผลกระทบ

Page 9: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

ของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนิเวศและการถายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต❖เขาใจองคประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมบัติทางกายภาพ และการใชประโยชนของวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกส และวัสดุผสม❖เขาใจการเคลื่อนท่ี แรงลัพธและผลของแรงลัพธกระทําตอวัตถุ โมเมนตของแรงแรงท่ีปรากฏในชีวิตประจําวัน สนามของแรง ความสัมพันธของงาน พลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง กฎการอนุรักษพลังงาน การถายโอนพลังงาน สมดุลความรอน ความสัมพันธของปริมาณทางไฟฟา การตอวงจรไฟฟาในบาน พลังงานไฟฟา และหลักการเบื้องตนของวงจรอิเล็กทรอนิกส❖เขาใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบตาง ๆ แสง การสะทอน การหักเหของแสงและทัศนอุปกรณ❖เขาใจการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย การเกิดฤดู การเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย การเกิดขางข้ึนขางแรม การข้ึนและตกของดวงจันทร การเกิดน้ําข้ึนน้ําลง ประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศและความกาวหนาของโครงการสํารวจอวกาศ❖เขาใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องคประกอบและปจจัยท่ีมีผลตอลมฟาอากาศ การเกิดและผลกระทบของพายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน การพยากรณอากาศ สถานการณการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพและการใชประโยชน พลังงานทดแทนและการใชประโยชน ลักษณะโครงสรางภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหนาตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหลงน้ําผิวดิน แหลงน้ําใตดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณีพิบัติภัย❖เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ไดแก ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตร วิเคราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอมประยุกตใชความรู ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสรางผลงานสําหรับการแกปญหาในชีวิตประจําวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใชวัสดุอุปกรณ และเครื่องมือไดอยางถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้ังคํานึงถึงทรัพยสินทางปญญา❖นําขอมูลปฐมภูมิเขาสูระบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน นําเสนอขอมูลและสารสนเทศไดตามวัตถุประสงค ใชทักษะการคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาท่ีพบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอยางงายเพ่ือชวยในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางรูเทาทันและรับผิดชอบตอสังคม❖ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาท่ีเชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตรท่ีมีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานท่ีสามารถนําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสํารวจตรวจสอบโดยใชวัสดุและเครื่องมือท่ีเหมาะสม เลือกใชเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมขอมูล ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพท่ีไดผลเท่ียงตรงและปลอดภัย❖วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของขอมูลท่ีไดจากการสํารวจตรวจสอบจากพยานหลักฐานโดยใชความรูและหลักการทางวิทยาศาสตรในการแปลความหมายและลงขอสรุปและสื่อสารความคิด

Page 10: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

ความรู จากผลการสํารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจไดอยางเหมาะสม❖แสดงถึงความสนใจ มุงม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย ในสิ่งท่ีจะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใชเครื่องมือและวิธีการท่ีใหไดผลถูกตอง เชื่อถือได ศึกษาคนควาเพ่ิมเติมจากแหลงความรูตาง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟงความคิดเห็นผูอ่ืนและยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรูท่ีคนพบ เม่ือมีขอมูลและประจักษพยานใหมเพ่ิมข้ึนหรือโตแยงจากเดิม❖ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีใชในชีวิตประจําวัน ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชมยกยอง และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน เขาใจผลกระทบท้ังดานบวกและดานลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตรตอสิ่งแวดลอมและตอบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ❖แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ

จบช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖❖ เขาใจการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย ภูมิคุมกันในรางกายของมนุษยและความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน การใชประโนชนจากสารตาง ๆ ท่ีพืชสรางข้ึนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการท่ีทําใหเกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอตอมนุษย สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม❖เขาใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตรตาง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม❖เขาใจชนิดของอนุภาคสําคัญท่ีเปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม สมบัติบางประการของธาตุการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและสมบัติตาง ๆ ของสารท่ีมีความสัมพันธกับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร การเกิดปฏิกิริยาเคมีปจจัยท่ีมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และการเขียนสมการเคมี❖เขาใจปริมาณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนท่ี ความสัมพันธระหวางแรง มวลและความเรง ผลของความเรงท่ีมีตอการเคลื่อนท่ีแบบตาง ๆ ของวัตถุ แรงโนมถวง แรงแมเหล็ก ความสัมพันธระหวางสนามแมเหล็กและกระแสไฟฟา และแรงภายในนิวเคลียส❖เขาใจพลังงานนิวเคลียร ความสัมพันธระหวางมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟา เทคโนโลยีดานพลังงาน การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบนและการรวมคลื่น การไดยินปรากฏการณท่ีเก่ียวของกับเสียง สีกับการมองเห็นสี คลื่นแมเหล็กไฟฟาและประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา

Page 11: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

❖เขาใจการแบงชั้นและสมบัติของโครงสรางโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนท่ีของแผนธรณีท่ีสัมพันธกับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิผลกระทบ แนวทางการเฝาระวัง และการปฏิบัติตนใหปลอดภัย❖เขาใจผลของแรงเนื่องจากความแตกตางของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ท่ีมีตอการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีตอภูมิอากาศ ความสัมพันธของการหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ําผิวหนาในมหาสมุทร และผลตอลักษณะลมฟาอากาศ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ปจจัยตาง ๆ ท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพ่ือลดกิจกรรมของมนุษยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณลมฟาอากาศท่ีสําคัญจากแผนท่ีอากาศ และขอมูลสารสนเทศ❖ เขาใจการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือกกระบวนการเกิดและการสรางพลังงาน ปจจัยท่ีสงผลตอความสองสวางของดาวฤกษ และความสัมพันธระหวางความสองสวางกับโชติมาตรของดาวฤกษ ความสัมพันธระหวางสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ กระบวนการเกิดระบบสุริยะการแบงเขตบริวารของดวงอาทิตย ลักษณะของดาวเคราะหท่ีเอ้ือตอการดํารงชีวิต การเกิดลมสุริยะพายุสุริยะและผลท่ีมีตอโลก รวมท้ังการสํารวจอวกาศและการประยุกตใชเทคโนโลยีอวกาศ❖ ระบุปญหา ตั้งคําถามท่ีจะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปรตาง ๆสืบคนขอมูลจากหลายแหลง ตั้งสมมติฐานท่ีเปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานท่ีเปนไปได❖ ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาท่ีอยูบนพ้ืนฐานของความรูและความเขาใจทางวิทยาศาสตร ท่ีแสดงใหเห็นถึงการใชความคิดระดับสูงท่ีสามารถสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได สรางสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณสิ่งท่ีจะพบ เพ่ือนําไปสูการสํารวจตรวจสอบออกแบบวิธีการสํารวจตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกําหนดไวไดอยางเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษเลือกวัสดุ อุปกรณ รวมท้ังวิธกีารในการสํารวจตรวจสอบอยางถูกตองท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสํารวจตรวจสอบอยางเปนระบบ❖วิเคราะห แปลความหมายขอมูล และประเมินความสอดคลองของขอสรุปเพ่ือตรวจสอบกับสมมติฐานท่ีตั้งไว ใหขอเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวิธีการสํารวจตรวจสอบ จัดกระทําขอมูลและนําเสนอขอมูลดวยเทคนิควิธีท่ีเหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียนจัดแสดงหรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจโดยมีหลักฐานอางอิงหรือมีทฤษฎีรองรับ❖แสดงถึงความสนใจ มุงม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย ในการสืบเสาะหาความรู โดยใชเครื่องมือและวิธีการท่ีใหไดผลถูกตอง เชื่อถือได มีเหตุผลและยอมรับไดวาความรูทางวิทยาศาสตรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได❖แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณคาในการคนพบความรู พบคําตอบ หรือแกปญหาได ทํางานรวมกับผูอ่ืนอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับผลของการพัฒนาและการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและสิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

Page 12: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

❖เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรท่ีมีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีสงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรท่ีกาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิตสังคม และสิ่งแวดลอม❖ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีใชในชีวิตประจําวันใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพแสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานท่ีเปนผลมาจากภูมิปญญาทองถ่ิน และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ❖แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทองถ่ิน❖วิเคราะหแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ไดแก ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซอน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตรวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ประยุกตใชความรู ทักษะ ทรัพยากรเพ่ือออกแบบ สรางหรือพัฒนาผลงานสําหรับแกปญหาท่ีมีผลกระทบตอสังคม โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบและนําเสนอผลงาน เลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือไดอยางถูกตอง เหมาะสมปลอดภัย รวมท้ังคํานึงถึงทรัพยสินทางปญญา❖ ใชความรูทางดานวิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือรวบรวมขอมูลในชีวิตจริงจากแหลงตาง ๆ และความรูจากศาสตรอ่ืน มาประยุกตใช สรางความรูใหมเขาใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอยางปลอดภัย มีจริยธรรม

Page 13: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐

ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลางสาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชีวภาพมาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตางๆในระบบนิเวศการถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปญหาและผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมรวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1

- -

ม.2

- -

ม.3

1.อธิบายปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนิเวศท่ีไดจากการสํารวจ

•ระบบนิเวศประกอบดวยองคประกอบท่ีมีชีวิตเชน พืชสัตวจุลินทรียและองคประกอบท่ีไมมีชีวิตเชน แสงน้ําอุณหภูมิแรธาตุแกสองคประกอบเหลานี้มีปฏิสัมพันธกันเชนพืชตองการแสงน้ําและแกสคารบอนไดออกไซดในการสรางอาหารสัตวตองการอาหารและสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมในการดํารงชีวิตเชนอุณหภูมิความชื้นองคประกอบท้ังสองสวนนี้จะตองมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสมระบบนิเวศจึงจะสามารถคงอยูตอไปได

2.อธิบายรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตางๆในแหลงท่ีอยูเดียวกันท่ีไดจากการสํารวจ3.สรางแบบจําลองในการอธิบายการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร4.อธิบายความสัมพันธของผูผลิตผูบริโภคและผูยอยสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ

5.อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซอาหาร6.ตระหนักถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศโดยไมทําลายสมดุลของระบบนิเวศ

•กลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงตามหนาท่ีไดเปน3 กลุมไดแกผูผลิตผูบริโภคและผูยอยสลายสารอินทรียสิ่งมีชีวิตท้ัง3กลุมนี้มีความสัมพันธกันผูผลิตเปนสิ่งมีชีวิตท่ีสรางอาหารไดเองโดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสงผูบริโภคเปนสิ่งมีชีวิตท่ีไมสามารถสรางอาหารไดเองและตองกินผูผลิตหรือสิ่งมีชวีิตอ่ืนเปนอาหารเม่ือผูผลิตและผูบริโภคตายลงจะถูกยอยโดยผูยอยสลายสารอินทรียซึ่งจะเปลี่ยนสารอินทรียเปนสารอนินทรียกลับคืนสูสิ่งแวดลอมทําใหเกิดการหมุนเวียนสารเปนวัฏจักรจํานวนผูผลิตผูบริโภคและผูยอยสลายสารอินทรียจะตองมีความเหมาะสมจึงทําใหกลุมสิ่งมีชีวิตอยูไดอยางสมดุล•พลังงานถูกถายทอดจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตางๆรวมท้ังผูยอยสลายสารอินทรียในรูปแบบสายใยอาหารท่ีประกอบดวยโซอาหารหลายโซท่ีสัมพันธกันในการถายทอดพลังงานในโซอาหารพลังงานท่ีถูกถายทอดไปจะลดลงเรื่อยๆ ตามลําดับของการบริโภค•การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศอาจทําใหมีสารพิษสะสมอยูในสิ่งมีชีวิตไดจนอาจกอใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิต และทําลายสมดุลในระบบนิเวศดังนั้นการดูแลรักษาระบบนิเวศใหเกิดความสมดุลและคงอยูตลอดไปจึงเปนสิ่งสําคัญ

Page 14: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑

มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิตหนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิตการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลลความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของระบบตาง ๆของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธกันความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะตางๆของพืชท่ีทํางานสัมพันธกันรวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม. 1 1.เปรียบเทียบรูปรางลักษณะ

และโครงสรางของเซลลพืชและเซลลสัตวรวมท้ังบรรยายหนาท่ีของผนังเซลลเยื่อหุมเซลลไซโทพลาซึมนิวเคลียสแวคิวโอลไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต

2.ใชกลองจุลทรรศนใชแสงศึกษาเซลลและโครงสรางตางๆภายในเซลล

•เซลลเปนหนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลลเพียงเซลลเดียวเชนอะมีบาพารามีเซียมยีสตบางชนิดมีหลายเซลลเชนพืชสัตว•โครงสรางพ้ืนฐานท่ีพบท้ังในเซลลพืชและเซลลสัตวและสามารถสังเกตไดดวยกลองจุลทรรศนใชแสงไดแกเยื่อหุมเซลลไซโทพลาซึมและนิวเคลียสโครงสรางท่ีพบในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสัตวไดแกผนังเซลลและคลอโรพลาสต•โครงสรางตางๆของเซลลมีหนาท่ีแตกตางกัน-ผนังเซลลทําหนาท่ีใหความแข็งแรงแกเซลล-เยื่อหุมเซลลทําหนาท่ีหอหุมเซลลและควบคุมการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล-นิวเคลียสทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของเซลล-ไซโทพลาซึมมีออรแกเนลลท่ีทําหนาท่ีแตกตางกัน-แวคิวโอลทําหนาท่ีเก็บน้ําและสารตางๆ-ไมโทคอนเดรียทําหนาท่ีเก่ียวกับการสลายสารอาหารเพ่ือใหไดพลังงานแกเซลล-คลอโรพลาสตเปนแหลงท่ีเกิดการสังเคราะหดวยแสง

3.อธิบายความสัมพันธระหวางรูปรางกับการทําหนาท่ีของเซลล

•เซลลของสิ่งมีชีวิตมีรูปรางลักษณะท่ีหลากหลายและมีความเหมาะสมกับหนาท่ีของเซลลนั้นเชนเซลลประสาทสวนใหญมีเสนใยประสาทเปนแขนงยาวนํากระแสประสาทไปยังเซลลอ่ืนๆท่ีอยูไกลออกไปเซลลขนรากเปนเซลลผิวของรากท่ีมีผนังเซลลและเยื่อหุมเซลลยื่นยาวออกมาลักษณะคลายขนเสนเล็กๆเพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีผิวในการดูดน้ําและธาตุอาหาร

4.อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตโดยเริ่มจากเซลลเนื้อเยื่ออวัยวะระบบอวัยวะจนเปนสิ่งมีชีวิต

•พืชและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลมีการจัดระบบ โดยเริ่มจากเซลลไปเปนเนื้อเยื่ออวัยวะระบบอวัยวะและสิ่งมีชีวิตตามลําดับเซลลหลายเซลลมารวมกันเปนเนื้อเยื่อเนื้อเยื่อหลายชนิดมารวมกันและทํางานรวมกันเปนอวัยวะอวัยวะตางๆทํางานรวมกันเปนระบบอวัยวะระบบอวัยวะทุกระบบทํางานรวมกันเปนสิ่งมีชีวิต

Page 15: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง5.อธิบายกระบวนการแพรและออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษและยกตัวอยางการแพรและออสโมซิสในชีวิตประจําวัน

•เซลลมีการนําสารเขาสูเซลลเพ่ือใชในกระบวนการตางๆของเซลลและมีการขจัดสารบางอยางท่ีเซลลไมตองการออกนอกเซลลการนําสารเขาและออกจากเซลลมีหลายวิธีเชนการแพรเปนการเคลื่อนท่ีของสารจากบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารสูงไปสูบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารต่ําสวนออสโมซิสเปนการแพรของน้ําผานเยื่อหุมเซลลจากดานท่ีมีความเขมขนของสารละลายต่ําไปยังดานท่ีมีความเขมขนของสารละลายสูงกวา

6.ระบุปจจัยท่ีจําเปนในการสังเคราะหดวยแสงและผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจากการสังเคราะหดวยแสงโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ

•กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชท่ีเกิดข้ึนในคลอโรพลาสตจําเปนตองใชแสงแกสคารบอนไดออกไซดคลอโรฟลลและน้ําผลผลิตท่ีไดจากการสังเคราะหดวยแสงไดแกน้ําตาลและแกสออกซิเจน

7.อธิบายความสําคัญของการสังเคราะหดวยแสงของพืชตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม8.ตระหนักในคุณคาของพืชท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมโดยการรวมกันปลูกและดูแลรักษาตนไมในโรงเรียนและชุมชน

•การสังเคราะหดวยแสงเปนกระบวนการท่ีสําคัญตอสิ่งมีชีวิตเพราะเปนกระบวนการเดียวท่ีสามารถนําพลังงานแสงมาเปลี่ยนเปนพลังงานในรูปสารประกอบอินทรียและเก็บสะสมในรูปแบบตางๆในโครงสรางของพืชพืชจึงเปนแหลงอาหารและพลังงานท่ีสําคัญของสิ่งมีชีวิตอ่ืนนอกจากนี้กระบวนการสังเคราะหดวยแสงยังเปนกระบวนการหลักในการสรางแกสออกซิเจนใหกับบรรยากาศเพ่ือใหสิ่งมีชีวิตอ่ืนใชในกระบวนการหายใจ

9.บรรยายลักษณะและหนาท่ีของไซเล็มและโฟลเอ็ม10.เขียนแผนภาพท่ีบรรยายทิศทางการลําเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช

•พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็มซึ่งเปนเนื้อเยื่อมีลักษณะคลายทอเรียงตัวกันเปนกลุมเฉพาะท่ีโดยไซเล็มทําหนาท่ีลําเลียงน้ําและธาตุอาหารมีทิศทางลําเลียงจากรากไปสูลําตน ใบและสวนตาง ๆของพืชเพ่ือใชในการสังเคราะหดวยแสงรวมถึงกระบวนการอ่ืนๆสวนโฟลเอ็มทําหนาท่ีลําเลียงอาหารท่ีไดจากการสังเคราะหดวยแสงมีทิศทางลําเลียงจากบริเวณท่ีมีการสังเคราะหดวยแสงไปสูสวนตางๆของพืช

11.อธิบายการสืบพันธุแบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศของพืชดอก12.อธิบายลักษณะโครงสรางของดอกท่ีมีสวนทําใหเกิดการถายเรณู รวมท้ังบรรยายการปฏิสนธิของพืชดอกการเกิดผลและเมล็ดการกระจายเมล็ดและการงอกของเมล็ด

•พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุแบบอาศัยเพศไดและบางชนิดสามารถสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศได•การสืบพันธุแบบอาศัยเพศเปนการสืบพันธุท่ีมีการผสมกันของสเปรมกับเซลลไขการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้ึนท่ีดอกโดยภายในอับเรณูของสวนเกสรเพศผูมีเรณูซึ่งทําหนาท่ีสรางสเปรมภายในออวุลของสวนเกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอ ทําหนาท่ีสรางเซลลไข•การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศเปนการสืบพันธุท่ีพืชตนใหมไมไดเกิดจากการปฏิสนธิระหวางสเปรมกับเซลลไขแตเกิดจากสวน

Page 16: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง13.ตระหนักถึงความสําคัญของสัตวท่ีชวยในการถายเรณูของพืชดอกโดยการไมทําลายชีวิตของสัตวท่ีชวยในการถายเรณู

ตางๆของพืชเชนรากลําตนใบ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาข้ึนมาเปนตนใหมได•การถายเรณูคือการเคลื่อนยายของเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมียซึ่งเก่ียวของกับลักษณะและโครงสรางของดอกเชนสีของกลีบดอกตําแหนงของเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียโดยมีสิ่งท่ีชวยในการถายเรณูเชนแมลงลมการถายเรณูจะนําไปสูการปฏิสนธิซึ่งจะเกิดข้ึนท่ีถุงเอ็มบริโอภายในออวุลหลังการปฏิสนธิจะไดไซโกตและเอนโดสเปรมไซโกตจะพัฒนาตอไปเปนเอ็มบริโอออวุลพัฒนาไปเปนเมล็ดและรังไขพัฒนาไปเปนผลผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากตนเดิมโดยวิธีการตางๆเม่ือเมล็ดไปตกในสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ดโดยเอ็มบริโอภายในเมล็ดจะเจริญออกมาโดยระยะแรกจะอาศัยอาหารท่ีสะสมภายในเมล็ดจนกระท่ังใบแทพัฒนาจนสามารถสังเคราะหดวยแสงไดเต็มท่ีและสรางอาหารไดเองตามปกติ

14.อธิบายความสําคัญของธาตุอาหารบางชนิดท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตและการดํารงชีวิตของพืช15.เลือกใชปุยท่ีมีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณท่ีกําหนด

•พืชตองการธาตุอาหารท่ีจําเปนหลายชนิดในการเจริญเติบโตและการดํารงชีวิต•พืชตองการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมากไดแกไนโตรเจนฟอสฟอรัสโพแทสเซียมแคลเซียมแมกนีเซียมและกํามะถันซึ่งในดินอาจมีไมเพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตของพืชจึงตองมีการใหธาตุอาหารในรูปของปุยกับพืชอยางเหมาะสม

16.เลือกวิธีการขยายพันธุพืชใหเหมาะสมกับความตองการของมนุษยโดยใชความรูเก่ียวกับการสืบพันธุของพืช17.อธิบายความสําคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใชประโยชนดานตาง ๆ18.ตระหนักถึงประโยชนของการขยายพันธุพืชโดยการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

•มนุษยสามารถนําความรูเรื่องการสืบพันธุแบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศมาใชในการขยายพันธุเพ่ือเพ่ิมจํานวนพืช เชนการใชเมล็ดท่ีไดจากการสืบพันธุแบบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยงวิธีการนี้จะไดพืชในปริมาณมากแตอาจมีลักษณะท่ีแตกตางไปจากพอแมสวนการตอนก่ิงการปกชําการตอก่ิงการติดตาการทาบก่ิงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเปนการนําความรูเรื่องการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืชมาใชในการขยายพันธุเพ่ือใหไดพืชท่ีมีลักษณะเหมือนตนเดิมซึ่งการขยายพันธุแตละวิธีมีข้ันตอนแตกตางกันจึงควรเลือกใหเหมาะสมกับความตองการของมนุษยโดยตองคํานึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุของพืช•เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเปนการนําความรูเก่ียวกับปจจัยท่ีจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชมาใชในการเพ่ิมจํานวนพืชและทําใหพืชสามารถเจริญเติบโตไดในหลอดทดลองซึ่งจะไดพืชจํานวนมากในระยะเวลาสั้นและสามารถนําเทคโนโลยีการ

Page 17: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาประยุกตเพ่ือการอนุรักษพันธุกรรมพืชปรับปรุงพันธุพืชท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจการผลิตยาและสาระสําคัญในพืชและอ่ืน ๆ

ม. 2 1.ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะท่ีเก่ียวของในระบบหายใจ2.อธิบายกลไกการหายใจเขาและออกโดยใชแบบจําลองรวมท้ังอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส3.ตระหนักถึงความสําคัญของระบบหายใจโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจใหทํางานเปนปกติ

•ระบบหายใจมีอวัยวะตางๆท่ีเก่ียวของไดแกจมูกทอลมปอดกะบังลมและกระดูกซี่โครง•มนุษยหายใจเขาเพ่ือนําแกสออกซิเจนเขาสูรางกายเพ่ือนําไปใชในเซลลและหายใจออกเพ่ือกําจัดแกสคารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย•อากาศเคลื่อนท่ีเขาและออกจากปอดไดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของอากาศภายในชองอกซึ่งเก่ียวของกับการทํางานของกะบังลมและกระดูกซี่โครง•การแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซดในรางกาย เกิดข้ึนบริเวณถุงลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยท่ีถุงลมและระหวางหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อ•การสูบบุหรี่การสูดอากาศท่ีมีสารปนเปอนและการเปนโรคเก่ียวกับระบบหายใจบางโรคอาจทําใหเกิดโรคถุงลมโปงพองซึ่งมีผลใหความจุอากาศของปอดลดลงดังนั้นจึงควรดูแลรักษาระบบหายใจใหทําหนาท่ีเปนปกติ

4.ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบขับถายในการกําจัดของเสียทางไต5.ตระหนักถึงความสําคัญของระบบขับถายในการกําจัดของเสียทางไตโดยการบอกแนวทางในการปฏิบัติตนท่ีชวยใหระบบขับถายทําหนาท่ีไดอยางปกติ

•ระบบขับถายมีอวัยวะท่ีเก่ียวของคือไตทอไต กระเพาะปสสาวะและทอปสสาวะโดยมีไตทําหนาท่ีกําจัดของเสียเชนยูเรียแอมโมเนยีกรดยูริก รวมท้ังสารท่ีรางกายไมตองการออกจากเลือดและควบคุมสารท่ีมีมากหรือนอยเกินไปเชนน้ําโดยขับออกมาในรูปของปสสาวะ•การเลือกรับประทานอาหารท่ีเหมาะสมเชนรับประทานอาหารท่ีไมมีรสเค็มจัดการดื่มน้ําสะอาดใหเพียงพอเปนแนวทางหนึ่งท่ีชวยใหระบบขับถายทําหนาท่ีไดอยางปกติ

6.บรรยายโครงสรางและหนาท่ีของหัวใจหลอดเลือดและเลือด7.อธิบายการทํางานของระบบหมุนเวียนเลือดโดยใชแบบจําลอง

•ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบดวยหัวใจหลอดเลือดและเลือด•หัวใจของมนุษยแบงเปน4หองไดแกหัวใจหองบน2หองและหองลาง2หองระหวางหัวใจหองบนและหัวใจหองลางมีลิ้นหัวใจก้ัน

•หลอดเลือดแบงเปนหลอดเลือดอารเตอรี หลอดเลือดเวนหลอดเลือดฝอย ซึ่งมีโครงสรางตางกัน•เลือดประกอบดวยเซลลเม็ดเลือดเพลตเลตและพลาสมา

Page 18: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง•การบีบและคลายตัวของหัวใจทําใหเลือดหมุนเวียนและลําเลียงสารอาหารแกสของเสียและสารอ่ืนๆไปยังอวัยวะและเซลลตางๆท่ัวรางกาย•เลือดท่ีมีปริมาณแกสออกซิเจนสูงจะออกจากหัวใจไปยังเซลลตางๆท่ัวรางกายขณะเดียวกันแกสคารบอนไดออกไซดจากเซลลจะแพรเขาสูเลือดและลําเลียงกลับเขาสูหัวใจและถูกสงไปแลกเปลี่ยนแกสท่ีปอด

8.ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเตนของหัวใจขณะปกติและหลังทํากิจกรรม9.ตระหนักถึงความสําคัญของระบบหมุนเวียนเลือดโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือดใหทํางานเปนปกติ

•ชีพจรบอกถึงจังหวะการเตนของหัวใจซึ่งอัตราการเตนของหัวใจในขณะปกติและหลังจากทํากิจกรรมตางๆจะแตกตางกันสวนความดันเลือดระบบหมุนเวียนเลือดเกิดจากการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด•อัตราการเตนของหัวใจมีความแตกตางกันในแตละบุคคลคนท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือดจะสงผลทําใหหัวใจสูบฉีดเลือดไมเปนปกติ•การออกกําลังกายการเลือกรับประทานอาหารการพักผอนและการรักษาภาวะอารมณใหเปนปกติจึงเปนทางเลือกหนึ่งในการดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือดใหเปนปกติ

10.ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคุมการทํางานตางๆของรางกาย11.ตระหนักถึงความสําคัญของระบบประสาทโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษารวมถึงการปองกันการกระทบกระเทือนและอันตรายตอสมองและไขสันหลัง

•ระบบประสาทสวนกลางประกอบดวยสมองและไขสันหลังจะทําหนาท่ีรวมกับเสนประสาทซึ่งเปนระบบประสาทรอบนอกในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆรวมถึงการแสดงพฤติกรรมเพ่ือการตอบสนองตอสิ่งเรา•เม่ือมีสิ่งเรามากระตุนหนวยรับความรูสึก จะเกิดกระแสประสาทสงไปตามเซลลประสาทรับความรูสึกไปยังระบบประสาทสวนกลางแลวสงกระแสประสาทมาตามเซลลประสาทสั่งการไปยังหนวยปฏิบัติงานเชนกลามเนื้อ•ระบบประสาทเปนระบบท่ีมีความซับซอนและมีความสัมพันธกับทุกระบบในรางกายดังนั้นจึงควรปองกันการเกิดอุบัติเหตท่ีุกระทบกระเทือนตอสมองหลีกเลี่ยงการใชสารเสพติดหลีกเลี่ยงภาวะเครียดและรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนเพ่ือดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานเปนปกติ

12.ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุของเพศชายและเพศหญิงโดยใชแบบจําลอง13.อธิบายผลของฮอรโมนเพศชายและเพศหญิงท่ี

•มนุษยมีระบบสืบพันธุท่ีประกอบดวยอวัยวะตางๆ ท่ีทําหนาท่ีเฉพาะโดยรังไขในเพศหญิงจะทําหนาท่ีผลิตเซลลไข สวนอัณฑะในเพศชายจะทําหนาท่ีสรางเซลลอสุจิ•ฮอรโมนเพศทําหนาท่ีควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางเพศท่ีแตกตางกันเม่ือเขาสูวัยหนุมสาวจะมีการสรางเซลลไขและเซลลอสุจิการตกไขการมีรอบเดือนและถามีการปฏิสนธิของเซลลไขและเซลลอสุจิจะทําใหเกิดการตั้งครรภ

Page 19: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางควบคุมการเปลี่ยนแปลงของรางกายเม่ือเขาสูวัยหนุมสาว14.ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของรางกายเม่ือเขาสูวัยหนุมสาวโดยการดูแลรักษารางกายและจิตใจของตนเองในชวงท่ีมีการเปลี่ยนแปลง15.อธิบายการตกไขการมีประจําเดือนการปฏิสนธิและการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปนทารก16.เลือกวิธีการคุมกําเนิดท่ีเหมาะสมกับสถานการณท่ีกําหนด17.ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภกอนวัยอันควรโดยการประพฤติตนใหเหมาะสม

•การมีประจําเดือนมีความสัมพันธกับการตกไขโดยเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอรโมนเพศหญิง•เม่ือเพศหญิงมีการตกไขและเซลลไขไดรับการปฏิสนธิกับเซลลอสุจิจะทําใหไดไซโกตไซโกตจะเจริญเปนเอ็มบริโอและฟตัสจนกระท่ังคลอดเปนทารกแตถาไมมีการปฏิสนธิเซลลไขจะสลายตัวผนังดานในมดลูกรวมท้ังหลอดเลือดจะสลายตัวและหลุดลอกออกเรียกวาประจําเดือน•การคุมกําเนิดเปนวิธีปองกันไมใหเกิดการตั้งครรภโดยปองกันไมใหเกิดการปฏิสนธิหรือไมใหมีการฝงตัวของเอ็มบริโอซึ่งมีหลายวิธีเชนการใชถุงยางอนามัย การกินยาคุมกําเนิด

ม. 3 - -

มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอสิ่งมีชีวิตความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม. 1 - -ม. 2 - -ม. 3 1.อธิบายความสัมพันธ

ระหวาง ยีนดีเอ็นเอและโครโมโซมโดยใชแบบจําลอง

•ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตสามารถถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งไดโดยมียีนเปนหนวยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม•โครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีนขดอยูในนิวเคลียสยีนดีเอ็นเอและโครโมโซมมีความสัมพันธกันโดยบางสวนของดีเอ็นเอทําหนาท่ีเปนยีนท่ีกําหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิต•สิ่งมีชีวิตท่ีมีโครโมโซม2ชุดโครโมโซมท่ีเปนคูกันมีการเรียงลําดับของยีนบนโครโมโซมเหมือนกันเรียกวาฮอมอโลกัสโครโมโซมยีนหนึ่งท่ีอยูบนคูฮอมอโลกัสโครโมโซมอาจมีรูปแบบแตกตางกันเรียกแตละรูปแบบของยีนท่ีตางกันนี้วาแอลลีล

Page 20: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางซึ่งการเขาคูกันของแอลลีลตางๆอาจสงผลทําใหสิ่งมีชีวิตมีลักษณะท่ีแตกตางกันได•สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีจํานวนโครโมโซมคงท่ีมนุษยมีจํานวนโครโมโซม23คูเปนออโตโซม22คูและโครโมโซมเพศ1คูเพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปนXXเพศชายมีโครโมโซมเพศเปนXY

2.อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวท่ีแอลลีลเดนขมแอลลีลดอยอยางสมบูรณ3.อธิบายการเกิดจีโนไทปและฟโนไทปของลูกและคํานวณอัตราสวนการเกิดจีโนไทปและฟโนไทปของรุนลูก

•สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีจํานวนโครโมโซมคงท่ีมนุษยมีจํานวนโครโมโซม23คูเปนออโตโซม22คูและโครโมโซมเพศ1คูเพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปนXXเพศชายมีโครโมโซมเพศเปนXY•เมนเดลไดศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของตนถ่ัวชนิดหนึ่งและนํามาสูหลักการพ้ืนฐานของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต•สิ่งมีชีวิตท่ีมีโครโมโซมเปน2ชุดยีนแตละตําแหนงบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี2แอลลีลโดยแอลลีลหนึ่งมาจากพอและอีกแอลลีลมาจากแมซึ่งอาจมีรูปแบบเดียวกันหรือแตกตางกันแอลลีลท่ีแตกตางกันนี้แอลลีลหนึ่งอาจมีการแสดงออกขมอีกแอลลีลหนึ่งไดเรียกแอลลีลนั้นวาเปนแอลลีลเดนสวนแอลลีลท่ีถูกขมอยางสมบูรณเรียกวาเปนแอลลีลดอย•เม่ือมีการสรางเซลลสืบพันธุแอลลีลท่ีเปนคูกันในแตละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกันไปสูเซลลสืบพันธุแตละเซลลโดยแตละเซลลสืบพันธุจะไดรับเพียง1แอลลีลและจะมาเขาคูกับแอลลีลท่ีตําแหนงเดียวกันของอีกเซลลสืบพันธุหนึ่งเม่ือเกิดการปฏิสนธิจนเกิดเปนจีโนไทปและแสดงฟโนไทปในรุนลูก

4.อธิบายความแตกตางของการแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอซิส

•กระบวนการแบงเซลลของสิ่งมีชีวิตมี2แบบคือไมโทซิสและไมโอซิส•ไมโทซิสเปนการแบงเซลลเพ่ือเพ่ิมจํานวนเซลลรางกายผลจากการแบงจะไดเซลลใหม2เซลลท่ีมีลักษณะและจํานวนโครโมโซมเหมือนเซลลตั้งตน•ไมโอซิสเปนการแบงเซลลเพ่ือสรางเซลลสืบพันธุผลจากการแบงจะไดเซลลใหม4เซลลท่ีมีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลลตั้งตนเม่ือเกิดการปฏิสนธิของเซลลสืบพันธุลูกจะไดรับการถายทอดโครโมโซมชุดหนึ่งจากพอและอีกชุดหนึ่งจากแมจึงเปนผลใหรุนลูกมีจํานวนโครโมโซมเทากับรุนพอแมและจะคงท่ีในทุกๆรุน

5.บอกไดวาการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรม

•การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเชนโรคธาลัสซีเมียเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของยีนกลุมอาการดาวนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจํานวนโครโมโซม

Page 21: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางพรอมท้ังยกตัวอยางโรคทางพันธุกรรม6.ตระหนักถึงประโยชนของความรูเรื่องโรคทางพันธุกรรมโดยรูวากอนแตงงานควรปรึกษาแพทยเพ่ือตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกท่ีอาจเกิดโรคทางพันธุกรรม

•โรคทางพันธุกรรมสามารถถายทอดจากพอแมไปสูลูกไดดังนั้นกอนแตงงานและมีบุตรจึงควรปองกันโดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงจากการถายทอดโรคทางพันธุกรรม

7.อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและผลกระทบท่ีอาจมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมโดยใชขอมูลท่ีรวบรวมได8.ตระหนักถึงประโยชนและผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีอาจมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมโดยการเผยแพรความรูท่ีไดจากการโตแยงทางวิทยาศาสตรซึ่งมีขอมูลสนับสนุน

•มนุษยเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติเพ่ือใหไดสิ่งมีชีวิตท่ีมีลักษณะตามตองการเรียกสิ่งมีชีวิตนี้วาสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม• ในปจจุบันมนุษยมีการใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเปนจํานวนมากเชนการผลิตอาหารการผลิตยารักษาโรคการเกษตรอยางไรก็ดีสังคมยังมีความกังวลเก่ียวกับผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมซึ่งยังทําการติดตามศึกษาผลกระทบดังกลาว

9.เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตางๆ10.อธิบายความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและตอมนุษย11.แสดงความตระหนักในคุณคาและความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีสวนรวมในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ

•ความหลากหลายทางชีวภาพมี3ระดับ ไดแกความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทางพันธุกรรมความหลากหลายทางชีวภาพนี้มีความสําคัญตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศระบบนิเวศท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงจะรักษาสมดุลไดดีกวาระบบนิเวศท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพต่ํากวานอกจากนี้ความหลากหลายทางชีวภาพยังมีความสําคัญตอมนุษยในดานตางๆ เชนใชเปนอาหารยารักษาโรควัตถุดิบในอุตสาหกรรมตางๆดังนั้นจึงเปนหนาท่ีของทุกคนในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพใหคงอยู

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

Page 22: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙

มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม. 1 1.อธิบายสมบัติทางกายภาพ

บางประการของธาตุโลหะอโลหะและก่ึงโลหะโดยใชหลักฐานเชิงประจักษท่ีไดจากการสังเกตและการทดสอบและใชสารสนเทศท่ีไดจากแหลงขอมูลตางๆรวมท้ังจัดกลุมธาตุเปนโลหะอโลหะและก่ึงโลหะ

•ธาตุแตละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวและมีสมบัติทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการตางกันซึ่งสามารถนํามาจัดกลุมธาตุเปนโลหะอโลหะและก่ึงโลหะธาตุโลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมีผิวมันวาวนําความรอนนําไฟฟา ดึงเปนเสนหรือตีเปนแผนบางๆไดและมีความหนาแนนท้ังสูงและต่ําธาตุอโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ํามีผิวไมมันวาวไมนําความรอนไมนําไฟฟาเปราะแตกหักงายและมีความหนาแนนต่ําธาตุก่ึงโลหะมีสมบัติบางประการเหมือนโลหะและสมบัติบางประการเหมือนอโลหะ

2.วิเคราะหผลจากการใชธาตุโลหะอโลหะก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตสิ่งแวดลอมเศรษฐกิจและสังคมจากขอมูลท่ีรวบรวมได

3.ตระหนักถึงคุณคาของการใชธาตุโลหะอโลหะก่ึงโลหะธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนวทางการใชธาตุอยางปลอดภัยคุมคา4.เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมโดยการวัดอุณหภูมิ เขียนกราฟแปลความหมายขอมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ

•ธาตุโลหะอโลหะและก่ึงโลหะท่ีสามารถแผรังสีไดจัดเปนธาตุกัมมันตรังสี•ธาตุมีท้ังประโยชนและโทษการใชธาตุโลหะอโลหะก่ึงโลหะธาตุกัมมันตรังสีควรคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตสิ่งแวดลอมเศรษฐกิจและสังคม•สารบริสุทธิ์ประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียวสวนสารผสมประกอบดวยสารตั้งแต2ชนิดข้ึนไปสารบริสุทธิ์แตละชนิดมีสมบัติบางประการท่ีเปนคาเฉพาะตัวเชนจุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ีแตสารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมคงท่ีข้ึนอยูกับชนิดและสัดสวนของสารท่ีผสมอยูดวยกัน

5.อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนนของสารบริสุทธิ์และสารผสม6.ใชเครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม

•สารบริสุทธิ์แตละชนิดมีความหนาแนนหรือมวลตอหนึ่งหนวยปริมาตรคงท่ีเปนคาเฉพาะของสารนั้นณสถานะและอุณหภูมิหนึ่งแตสารผสมมีความหนาแนนไมคงท่ีข้ึนอยูกับชนิดและสัดสวนของสารท่ีผสมอยูดวยกัน

Page 23: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง7.อธิบายเก่ียวกับวามสัมพันธระหวางอะตอมธาตุและสารประกอบโดยใชแบบจําลองและสารสนเทศ

•สารบริสุทธิ์แบงออกเปนธาตุและสารประกอบธาตุประกอบดวยอนุภาคท่ีเล็กท่ีสุดท่ียังแสดงสมบัติของธาตุนั้นเรียกวาอะตอมธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไมสามารถแยกสลายเปนสารอ่ืนไดดวยวิธีทางเคมีธาตุเขียนแทนดวยสัญลักษณธาตุสารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต2ชนิดข้ึนไปรวมตัวกันทางเคมีในอัตราสวนคงท่ีมีสมบัติแตกตางจากธาตุท่ีเปนองคประกอบสามารถแยกเปนธาตุไดดวยวิธีทางเคมีธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทนไดดวยสูตรเคมี

8.อธิบายโครงสรางอะตอมท่ีประกอบดวยโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนโดยใชแบบจําลอง

•อะตอมประกอบดวยโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนโปรตอนมีประจุไฟฟาบวกธาตุชนิดเดียวกันมีจํานวนโปรตอนเทากันและเปนคาเฉพาะของธาตุนั้นนิวตรอนเปนกลางทางไฟฟาสวนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟาลบเม่ืออะตอมมีจํานวนโปรตอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอนจะเปนกลางทางไฟฟาโปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอมเรียกวานิวเคลียสสวนอิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีอยูในท่ีวางรอบนิวเคลียส

9.อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและการเคลื่อนท่ีของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลวและแกสโดยใชแบบจําลอง

•สสารทุกชนิดประกอบดวยอนุภาคโดยสารชนิดเดียวกันท่ีมีสถานะของแข็งของเหลวแกสจะมีการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคการเคลื่อนท่ีของอนุภาคแตกตางกันซึ่งมีผลตอรูปรางและปริมาตรของสสาร•อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกันมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคมากท่ีสุดอนุภาคสั่นอยูกับท่ีทําใหมีรูปรางและปริมาตรคงท่ี•อนุภาคของของเหลวอยูใกลกันมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็งแตมากกวาแกสอนุภาคเคลื่อนท่ีไดแตไมเปนอิสระเทาแกสทําใหมีรูปรางไมคงท่ีแตปริมาตรคงท่ี•อนุภาคของแกสอยูหางกันมากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยท่ีสุดอนุภาคเคลื่อนท่ีไดอยางอิสระทุกทิศทาง ทําใหมีรูปรางและปริมาตรไมคงท่ี

10.อธิบายความสัมพันธระหวาง พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนสถานะของสสารโดยใชหลักฐานเชิงประจักษและแบบจําลอง

•ความรอนมีผลตอการเปลี่ยนสถานะของสสารเม่ือใหความรอนแกของแข็งอนุภาคของของแข็งจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนจนถึงระดับหนึ่งซึ่งของแข็งจะใชความรอนในการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวเรียกความรอนท่ีใชในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลววาความรอนแฝงของการหลอมเหลวและอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ีเรียกอุณหภูมินี้วาจุดหลอมเหลว•เม่ือใหความรอนแกของเหลวอนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนจนถึงระดับหนึ่งซึ่งของเหลวจะใชความรอน

Page 24: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางในการเปลี่ยนสถานะเปนแกสเรียกความรอนท่ีใชในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกสวาความรอนแฝงของการกลายเปนไอและอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ีเรียกอุณหภูมินี้วาจุดเดือด• เม่ือทําใหอุณหภูมิของแกสลดลงจนถึงระดับหนึ่งแกสจะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวเรียกอุณหภูมินี้วาจุดควบแนนซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของของเหลวนั้น•เม่ือทําใหอุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเปนของแข็งเรียกอุณหภูมินี้วาจุดเยือกแข็งซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนั้น

ม.2 1.อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหงการตกผลึกการกลั่นอยางงายโครมาโทกราฟแบบกระดาษการสกัดดวยตัวทําละลายโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ2.แยกสารโดยการระเหยแหงการตกผลึกการกลั่นอยางงายโครมาโทกราฟแบบกระดาษการสกัดดวยตัวทําละลาย

•การแยกสารผสมใหเปนสารบริสุทธิ์ทําไดหลายวิธีข้ึนอยูกับสมบัติของสารนั้นๆการระเหยแหงใชแยกสารละลายซึ่งประกอบดวยตัวละลายท่ีเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวโดยใชความรอนระเหยตัวทําละลายออกไปจนหมดเหลือแตตัวละลายการตกผลึกใชแยกสารละลายท่ีประกอบดวยตัวละลายท่ีเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวโดยทําใหสารละลายอ่ิมตัวแลวปลอยใหตัวทําละลายระเหยออกไปบางสวนตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมาการกลั่นอยางงายใชแยกสารละลายท่ีประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวท่ีมีจุดเดือดตางกันมากวิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยใหความรอนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเปนไอแยกจากสารละลายแลวควบแนนกลับเปนของเหลวอีกครั้งขณะท่ีของเหลวเดือดอุณหภูมิของไอจะคงท่ีโครมาโทกราฟแบบกระดาษเปนวิธีการแยกสารผสมท่ีมีปริมาณนอยโดยใชแยกสารท่ีมีสมบัติการละลายในตัวทําละลายและการถูกดูดซับดวยตัวดูดซับแตกตางกัน ทําใหสารแตละชนิดเคลื่อนท่ีไปบนตัวดูดซับไดตางกันสารจึงแยกออกจากกันไดอัตราสวนระหวางระยะทางท่ีสารองคประกอบแตละชนิดเคลื่อนท่ีไดบนตัวดูดซับกับระยะทางท่ีตัวทําละลายเคลื่อนท่ีไดเปนคาเฉพาะตัวของสารแตละชนิดในตัวทําละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆการสกัดดวยตัวทําละลายเปนวิธีการแยกสารผสมท่ีมีสมบัติการละลายในตัวทําละลายท่ีตางกันโดยชนิดของตัวทําละลายมีผลตอชนิดและปริมาณของสารท่ีสกัดไดการสกัดโดยการกลั่นดวยไอน้ําใชแยกสารท่ีระเหยงายไมละลายน้ําและไมทําปฏิกิริยากับน้ําออกจากสารท่ีระเหยยากโดยใชไอน้ําเปนตัวพา

Page 25: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง3.นําวิธีการแยกสารไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร

•ความรูดานวิทยาศาสตรเก่ียวกับการแยกสารบูรณาการกับคณิตศาสตรเทคโนโลยีโดยใชกระบวนการทางวิศวกรรมสามารถนําไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันหรือปญหาท่ีพบในชุมชนหรือสรางนวัตกรรมโดยมีข้ันตอนดังนี้-ระบุปญหาในชีวิตประจําวันท่ีเก่ียวกับการแยกสารโดยใชสมบัติทางกายภาพหรือนวตักรรมท่ีตองการพัฒนาโดยใชหลักการดังกลาว-รวบรวมขอมูลและแนวคิดเก่ียวกับการแยกสารโดยใชสมบัติทางกายภาพท่ีสอดคลองกับปญหาท่ีระบุหรือนําไปสูการพัฒนานวัตกรรมนั้น-ออกแบบวิธีการแกปญหาหรือพัฒนานวัตกรรมท่ีเก่ียวกับการแยกสารในสารผสมโดยใชสมบัติทางกายภาพโดยเชื่อมโยงความรูดานวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและกระบวนการทางวิศวกรรมรวมท้ังกําหนดและควบคุมตัวแปรอยางเหมาะสมครอบคลุม-วางแผนและดําเนินการแกปญหาหรือพัฒนานวัตกรรมรวบรวมขอมูลจัดกระทําขอมูลและเลือกวิธีการสื่อความหมายท่ีเหมาะสมในการนําเสนอผล-ทดสอบประเมินผลปรับปรุงวิธีการแกปญหาหรือนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนโดยใชหลักฐานเชิงประจักษท่ีรวบรวมได-นําเสนอวิธีการแกปญหาหรือผลของนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนและผลท่ีไดโดยใชวิธีการสื่อสารเหมาะสมและนาสนใจ

4.ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนิดตัวละลายชนิดตัวทําละลายอุณหภูมิท่ีมีตอสภาพละลายไดของสารรวมท้ังอธิบายผลของความดันท่ีมีตอสภาพละลายไดของสารโดยใชสารสนเทศ

• สารละลายอาจมีสถานะเปนของแข็งของเหลวและแกสสารละลายประกอบดวยตัวทําละลายและตัวละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารท่ีมีสถานะเดียวกันสารท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดจัดเปนตัวทําละลายกรณีสารละลายเกิดจากสารท่ีมีสถานะตางกันสารท่ีมีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเปนตัวทําละลาย•สารละลายท่ีตัวละลายไมสามารถละลายในตัวทําละลายไดอีกท่ีอุณหภูมิหนึ่งๆเรียกวาสารละลายอ่ิมตัว•สภาพละลายไดของสารในตัวทําละลายเปนคาท่ีบอกปริมาณของสารท่ีละลายไดในตัวทําละลาย100กรัมจนไดสารละลายอ่ิมตัวณอุณหภูมิและความดันหนึ่งๆสภาพละลายไดของสารบงบอกความสามารถในการละลายไดของตัวละลายในตัวทําละลาย ซึ่งความสามารถในการละลายของสารข้ึนอยูกับชนิดของตัวทําละลายและตัวละลายอุณหภูมิและความดัน

Page 26: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง•สารชนิดหนึ่งๆมีสภาพละลายไดแตกตางกันในตัวทําละลายท่ีแตกตางกันและสารตางชนิดกันมีสภาพละลายไดในตัวทําละลายหนึ่งๆไมเทากัน•เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนสารสวนมากสภาพละลายไดของสารจะเพ่ิมข้ึนยกเวนแกสเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนสภาพการละลายไดจะลดลงสวนความดันมีผลตอแกสโดยเม่ือความดันเพ่ิมข้ึนสภาพละลายไดจะสูงข้ึนความรูเก่ียวกับสภาพละลายไดของสารเม่ือเปลี่ยนแปลงชนิดตัวละลายตัวทําละลายและอุณหภูมิสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันเชนการทําน้ําเชื่อมเขมขนการสกัดสารออกจากสมุนไพรใหไดปริมาณมากท่ีสุด

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง5.ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหนวยความเขมขนเปนรอยละปริมาตรตอปริมาตรมวลตอมวลและมวลตอปริมาตร6.ตระหนักถึงความสําคัญของการนําความรูเรื่องความเขมขนของสารไปใชโดยยกตัวอยางการใชสารละลายในชีวิตประจําวันอยางถูกตองและปลอดภัย

•ความเขมขนของสารละลายเปนการระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายหนวยความเขมขนมีหลายหนวยท่ีนิยมระบุเปนหนวยเปนรอยละปริมาตรตอปริมาตรมวลตอมวลและมวลตอปริมาตร•รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตรเปนการระบุปริมาตรตัวละลายในสารละลาย100 หนวยปริมาตรเดียวกันนิยมใชกับสารละลายท่ีเปนของเหลวหรือแกส•รอยละโดยมวลตอมวลเปนการระบุมวลตัวละลายในสารละลาย100 หนวยมวลเดียวกันนิยมใชกับสารละลายท่ีมีสถานะเปนของแข็ง•รอยละโดยมวลตอปริมาตรเปนการระบุมวลตัวละลายในสารละลาย100หนวยปริมาตรนิยมใชกับสารละลายท่ีมีตัวละลายเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลว•การใชสารละลายในชีวิตประจําวันควรพิจารณาจากความเขมขนของสารละลายข้ึนอยูกับจุดประสงคของการใชงานและผลกระทบตอสิ่งชีวิตและสิ่งแวดลอม

ม.3

1.ระบุสมบัติทางกายภาพและการใชประโยชนวัสดุประเภทพอลิเมอรเซรามิกสและวัสดุผสมโดยใชหลักฐานเชิงประจักษและสารสนเทศ2.ตระหนักถึงคุณคาของการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร

•พอลิเมอรเซรามิกสและวัสดุผสมเปนวัสดุท่ีใชมากในชีวิตประจําวัน

•พอลิเมอรเปนสารประกอบโมเลกุลใหญท่ีเกิดจากโมเลกุลจํานวนมากรวมตัวกันทางเคมีเชนพลาสติกยางเสนใยซึ่งเปนพอลิเมอรท่ีมีสมบัติแตกตางกันโดยพลาสติกเปนพอลิเมอรท่ีข้ึนรูปเปนรูปทรงตางๆไดยางยืดหยุนไดสวนเสนใยเปนพอลิเมอรท่ีสามารถดึงเปนเสนยาวไดพอลิเมอรจึงใชประโยชนไดแตกตางกัน

Page 27: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางเซรามิกสและวัสดุผสมโดยเสนอแนะแนวทางการใชวัสดุอยางประหยัดและคุมคา

•เซรามิกสเปนวัสดุท่ีผลิตจากดินหินทราย และแรธาตุตางๆจากธรรมชาติและสวนมากจะผานการเผาท่ีอุณหภูมิสูงเพ่ือใหไดเนื้อสารท่ีแข็งแรงเซรามิกสสามารถทําเปนรูปทรงตางๆไดสมบัติท่ัวไปของเซรามิกสจะแข็งทนตอการสึกกรอนและเปราะสามารถนําไปใชประโยชนไดเชนภาชนะท่ีเปนเครื่องปนดินเผาชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

•วัสดุผสมเปนวัสดุท่ีเกิดจากวัสดุตั้งแต2ประเภทท่ีมีสมบัติแตกตางกันมารวมตัวกันเพ่ือนําไปใชประโยชนไดมากข้ึนเชนเสื้อกันฝนบางชนิดเปนวัสดุผสมระหวางผากับยางคอนกรีตเสริมเหล็กเปนวัสดุผสมระหวางคอนกรีตกับเหล็ก•วัสดุบางชนิดสลายตัวยากเชนพลาสติก การใชวัสดุอยางฟุมเฟอยและไมระมัดระวังอาจกอปญหาตอสิ่งแวดลอม

3.อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีรวมถึงการจัดเรียงตัวใหมของอะตอมเม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใชแบบจําลองและสมการขอความ

•การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารเปนการเปลี่ยนแปลงท่ีทําใหเกิดสารใหมโดยสารท่ีเขาทําปฏิกิริยาเรียกวาสารตั้งตนสารใหมท่ีเกิดข้ึนจากปฏิกิริยาเรียกวาผลิตภัณฑการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนไดดวยสมการขอความ•การเกิดปฏิกิริยาเคมีอะตอมของสารตั้งตนจะมีการจัดเรียงตัวใหมไดเปนผลิตภัณฑซึ่งมีสมบัติแตกตางจากสารตั้งตนโดยอะตอมแตละชนิดกอนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีมีจํานวนเทากัน

4.อธิบายกฎทรงมวลโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ

•เม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมีมวลรวมของสารตั้งตนเทากับมวลรวมของผลิตภัณฑซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล

5.วิเคราะหปฏิกิริยาดูดความรอนและปฏิกิริยาคายความรอนจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยา

•เม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมีมีการถายโอนความรอนควบคูไปกับการจัดเรียงตัวใหมของอะตอมของสารปฏิกิริยาท่ีมีการถายโอนความรอนจากสิ่งแวดลอมเขาสูระบบเปนปฏิกิริยาดูดความรอนปฏิกิริยาท่ีมีการถายโอนความรอนจากระบบออกสูสิ่งแวดลอมเปนปฏิกิริยาคายความรอนโดยใชเครื่องมือท่ีเหมาะสมในการวัดอุณหภูมิเชนเทอรมอมิเตอรหัววัดท่ีสามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิไดอยางตอเนื่อง

6.อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็กปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบสและปฏิกิริยาของเบสกับโลหะโดยใชหลักฐานเชิงประจักษและอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม

•ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวันมีหลายชนิดเชนปฏิกิริยาการเผาไหมเกิดสนิมของเหล็กปฏิกิริยาของกรดกับโลหะปฏิกิริยาของกรดกับเบสปฏิกิริยาของเบสกับโลหะการเกิดฝนกรดการสังเคราะหดวยแสงปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนไดดวยสมการขอความซึ่งแสดงชื่อของสารตั้งตนและผลิตภัณฑเชนเชื้อเพลิง+ออกซิเจน +คารบอนไดออกไซด+น้ําปฏิกิริยาการเผาไหมเปนปฏิกิริยาระหวางสารกับออกซิเจนสารท่ีเกิดปฏิกิริยาการเผาไหมสวนใหญเปนสารประกอบท่ีมีคารบอนและ

Page 28: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางการเกิดฝนกรดการสังเคราะหดวยแสง โดยใชสารสนเทศรวมท้ังเขียนสมการขอความแสดงปฏิกิริยาดังกลาว

ไฮโดรเจนเปนองคประกอบซึ่งถาเกิดการเผาไหมอยางสมบูรณจะไดผลิตภัณฑเปนคารบอนไดออกไซดและน้ํา•การเกิดสนิมของเหล็กเกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางเหล็กน้ําและออกซิเจนไดผลิตภัณฑเปนสนิมของเหล็ก•ปฏิกิริยาการเผาไหมและการเกิดสนิมของเหล็กเปนปฏิกิริยาระหวางสารตางๆกับออกซิเจน•ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะกรดทําปฏิกิริยากับโลหะไดหลายชนิดไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและแกสไฮโดรเจน•ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคารบอเนตไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดเกลือของโลหะและน้ํา•ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและน้ําหรืออาจไดเพียงเกลือของโลหะ•ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิดไดผลิตภัณฑเปนเกลือของเบสและแกสไฮโดรเจน•การเกิดฝนกรด เปนผลจากปฏิกิริยาระหวางน้ําฝนกับออกไซดของไนโตรเจนหรือออกไซดของซัลเฟอรทําใหน้ําฝนมีสมบัติเปนกรด

•การสังเคราะหดวยแสงของพืชเปนปฏิกิริยาระหวางแกสคารบอนไดออกไซดกับน้ํา โดยมีแสงชวยในการเกิดปฏิกิริยาไดผลิตภัณฑเปนน้ําตาลกลูโคสและออกซิเจน

7.ระบุประโยชนและโทษของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมและยกตัวอยางวิธีการปองกันและแกปญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวันจากการสืบคนขอมูล8.ออกแบบวิธีแกปญหาในชีวิตประจําวันโดยใชความรูเก่ียวกับปฏิกิริยาเคมีโดยบูรณาการวทิยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร

•ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวันมีท้ังประโยชนและโทษตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม จึงตองระมัดระวังผลจากปฏิกิริยาเคมีตลอดจนรูจักวิธีปองกันและแกปญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวัน•ความรูเก่ียวกับปฏิกิริยาเคมีสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันและสามารถบูรณาการกับคณิตศาสตรเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตรเพ่ือใชปรับปรุงผลิตภัณฑใหมีคุณภาพตามตองการหรืออาจสรางนวัตกรรมเพ่ือปองกันและแกปญหาท่ีเกิดข้ึนจากปฏิกิริยาเคมี โดยใชความรูเก่ียวกับปฏิกิริยาเคมีเชนการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาเคมีการเพ่ิมปริมาณผลผลิต

มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวันผลของแรงท่ีกระทําตอวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

Page 29: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1

1.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายความสัมพันธระหวางความดันอากาศกับความสูงจากพ้ืนโลก

•เม่ือวัตถุอยูในอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระทําตอวัตถุในทุกทิศทางแรงท่ีอากาศกระทําตอวัตถุข้ึนอยูกับขนาดพ้ืนท่ีของวัตถุนั้น

แรงท่ีอากาศกระทําตั้งฉากกับผิววัตถุตอหนึ่งหนวยพ้ืนทีเรียกวาความดันอากาศ•ความดันอากาศมีความสัมพันธกับความสูงจากพ้ืนโลกโดยบริเวณท่ีสูงจากพ้ืนโลกข้ึนไปอากาศเบาบางลงมวลอากาศนอยลงความดันอากาศก็จะลดลง

ม.2

1.พยากรณการเคลื่อนท่ีของวัตถุท่ีเปนผลของแรงลัพธท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทําตอวัตถุในแนวเดียวกันจากหลักฐานเชิงประจักษ2.เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทําตอวัตถุในแนวเดียวกัน

3.ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายปจจัยท่ีมีผลตอความดันของของเหลว

•แรงเปนปริมาณเวกเตอรเม่ือมีแรงหลายๆแรงกระทําตอวัตถุแลวแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนยวัตถุจะไมเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีแตถาแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนยวัตถุจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ี•เม่ือวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรงท่ีของเหลวกระทําตอวัตถุในทุกทิศทางโดยแรงท่ีของเหลวกระทําตั้งฉากกับผิววัตถุตอหนึ่งหนวยพ้ืนท่ีเรียกวาความดันของของเหลว•ความดันของของเหลวมีความสัมพันธกับความลึกจากระดับผิวหนาของของเหลวโดยบริเวณท่ีลึกลงไปจากระดับผิวหนาของของเหลวมากข้ึนความดันของของเหลวจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากของเหลวท่ีอยูลึกกวาจะมีน้ําหนักของของเหลวดานบนกระทํามากกวา

4.วิเคราะหแรงพยุงและการจมการลอยของวัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชิงประจักษ5.เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทําตอวัตถุในของเหลว

•เม่ือวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรงพยุงเนื่องจากของเหลวกระทําตอวัตถุโดยมีทิศข้ึนในแนวดิ่งการจมหรือการลอยของวัตถุข้ึนกับน้ําหนักของวัตถุและแรงพยุงถาน้ําหนักของวัตถุและแรงพยุงของของเหลวมีคาเทากันวัตถุจะลอยนิ่งอยูในของเหลวแตถาน้ําหนักของวัตถุมีคามากกวาแรงพยุงของของเหลววัตถุจะจม

7.ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายปจจัยท่ีมีผลตอขนาดของแรงเสียดทาน8.เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอ่ืนๆท่ีกระทําตอวัตถุ9.ตระหนักถึงประโยชนของความรูเรื่องแรงเสียดทานโดยวิเคราะหสถานการณปญหาและเสนอแนะ

•ขนาดของแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุข้ึนกับลักษณะผิวสัมผัสและขนาดของแรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหวางผิวสัมผัส•กิจกรรมในชีวิตประจําวันบางกิจกรรมตองการแรงเสียดทานเชนการเปดฝาเกลียวขวดน้ําการใชแผนกันลื่นในหองน้ําบางกิจกรรมไมตองการแรงเสียดทานเชนการลากวัตถุบนพ้ืนการใชน้ํามันหลอลื่นในเครื่องยนต•ความรูเรื่องแรงเสียดทานสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

Page 30: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางวิธีการลดหรือเพ่ิมแรงเสียดทานท่ีเปนประโยชนตอการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน10.ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายโมเมนตของแรงเม่ือวัตถุอยูในสภาพสมดุลตอการหมุนและคํานวณโดยใชสมการ M=Fl

•เม่ือมีแรงท่ีกระทําตอวัตถุโดยไมผานศูนยกลางมวลของวัตถุจะเกิดโมเมนตของแรงทําใหวัตถุหมุนรอบศูนยกลางมวลของวัตถุนั้น•โมเมนตของแรงเปนผลคูณของแรงท่ีกระทําตอวัตถุกับระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงเม่ือผลรวมของโมเมนตของแรงมีคาเปนศูนยวัตถุจะอยูในสภาพสมดุลตอการหมุนโดยโมเมนตของแรงในทิศทวนเข็มนาฬิกาจะมีขนาดเทากับโมเมนตของแรงในทิศตามเข็มนาฬิกา•ของเลนหลายชนิดประกอบดวยอุปกรณหลายสวนท่ีใชหลักการโมเมนตของแรงความรูเรื่องโมเมนตของแรงสามารถนําไปใชออกแบบและประดิษฐของเลนได

11.เปรียบเทียบแหลงของสนามแมเหล็กสนามไฟฟาและสนามโนมถวงและทิศทางของแรงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในแตละสนามจากขอมูลท่ีรวบรวมได12.เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเหล็กแรงไฟฟาและแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุ

•วัตถุท่ีมีมวลจะมีสนามโนมถวงอยูโดยรอบแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามโนมถวงจะมีทิศพุงเขาหาวัตถุท่ีเปนแหลงของสนามโนมถวง•วัตถุท่ีมีประจุไฟฟาจะมีสนามไฟฟาอยูโดยรอบแรงไฟฟาท่ีกระทําตอวัตถุท่ีมีประจุจะมีทิศพุงเขาหาหรือออกจากวัตถุท่ีมีประจุท่ีเปนแหลงของสนามไฟฟา•วัตถุท่ีเปนแมเหล็กจะมีสนามแมเหล็กอยูโดยรอบแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอข้ัวแมเหล็กจะมีทิศพุงเขาหาหรือออกจากข้ัวแมเหล็กท่ีเปนแหลงของสนามแมเหล็ก

13.วิเคราะหความสัมพันธระหวางขนาดของแรงแมเหล็ก

แรงไฟฟาและแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามนั้นๆกับระยะหางจากแหลงของสนามถึงวัตถุจากขอมูลท่ีรวบรวมได14.อธิบายและคํานวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนท่ีของวัตถุโดยใชสมการ

จากหลักฐานเชิงประจักษ

•ขนาดของแรงโนมถวงแรงไฟฟาและแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามนั้นๆจะมีคาลดลงเม่ือวัตถุอยูหางจากแหลงของสนามนั้นๆมากข้ึน•การเคลื่อนท่ีของวัตถุเปนการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุเทียบกับตําแหนงอางอิงโดยมีปริมาณท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีซึ่งมีท้ังปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอรเชนระยะทางอัตราเร็วการกระจัดความเร็วปริมาณสเกลารเปนปริมาณท่ีมีขนาดเชนระยะทางอัตราเร็วปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณท่ีมีท้ังขนาดและทิศทางเชนการกระจัดความเร็ว•เขียนแผนภาพแทนปริมาณเวกเตอรไดดวยลูกศรโดยความยาวของลูกศรแสดงขนาดและหัวลูกศรแสดงทิศทางของเวกเตอรนั้นๆ•ระยะทางเปนปริมาณสเกลารโดยระยะทางเปนความยาวของเสนทางท่ีเคลื่อนท่ีได

Page 31: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๘

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง15.เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเร็ว

•การกระจัดเปนปริมาณเวกเตอร โดยการกระจัดมีทิศชี้จากตําแหนงเริ่มตนไปยังตําแหนงสุดทายและมีขนาดเทากับระยะท่ีสั้นท่ีสุดระหวางสองตําแหนงนั้น•อัตราเร็วเปนปริมาณสเกลารโดยอัตราเร็วเปนอัตราสวนของระยะทางตอเวลา•ความเร็วปริมาณเวกเตอรมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัดโดยความเร็วเปนอัตราสวนของการกระจัดตอเวลา

ม.3

- -

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงานปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณท่ีเก่ียวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟารวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1 1.วิเคราะหแปลความหมาย

ขอมูลและคํานวณปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะโดยใชสมการQ=mc∆tและ Q=mL2.ใชเทอรมอมิเตอรในการวัดอุณหภูมิของสสาร

•เม่ือสสารไดรับหรือสูญเสียความรอนอาจทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะหรือเปลี่ยนรูปราง•ปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิข้ึนกับมวลความรอนจําเพาะและอุณหภูมิท่ีเปลี่ยนไป•ปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะข้ึนกับมวลและความรอนแฝงจําเพาะโดยขณะท่ีสสารเปลี่ยนสถานะอุณหภูมิจะไมเปลี่ยนแปลง

3.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการขยายตัวหรือหดตัวของสสารเนื่องจากไดรับหรือสูญเสียความรอน4.ตระหนักถึงประโยชนของความรูของการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความรอนโดยวิเคราะหสถานการณปญหาและ

•ความรอนทําใหสสารขยายตัวหรือหดตัวไดเนื่องจากเม่ือสสารไดรับความรอนจะทําใหอนุภาคเคลื่อนท่ีเร็วข้ึนทําใหเกิดการขยายตัวแตเม่ือสสารคายความรอนจะทําใหอนุภาคเคลื่อนท่ีชาลงทําใหเกิดการหดตัว•ความรูเรื่องการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความรอนนําไปใชประโยชนไดดานตางๆเชนการสรางถนนการสรางรางรถไฟการทําเทอรมอมิเตอร

Page 32: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๙

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางเสนอแนะวิธีการนําความรูมาแกปญหาในชีวิตประจําวัน5.วิเคราะหสถานการณการถายโอนความรอนและคํานวณปริมาณความรอนท่ีถายโอนระหวางสสารจนเกิดสมดุลความรอนโดยใชสมการQสูญเสีย=Qไดรับ

•ความรอนถายโอนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิสูงกวาไปยังสสารท่ีมีอุณหภูมิต่ํากวาจนกระท่ังอุณหภูมิของสสารท้ังสองเทากันสภาพท่ีสสารท้ังสองมีอุณหภูมิเทากันเรียกวาสมดุลความรอน•เม่ือมีการถายโอนความรอนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิตางกันจนเกิดสมดุลความรอนความรอนท่ีเพ่ิมข้ึนของสสารหนึ่งจะเทากับความรอนท่ีลดลงของอีกสสารหนึ่งซึ่งเปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงาน

6.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการถายโอนความรอนโดยการนําความรอนการพาความรอนการแผรังสีความรอน7.ออกแบบเลือกใชและสรางอุปกรณ เพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวันโดยใชความรูเก่ียวกับการถายโอนความรอน

•การถายโอนความรอนมี3แบบคือการนําความรอนการพาความรอนและการแผรังสีความรอนการนําความรอนเปนการถายโอนความรอนท่ีอาศัยตัวกลางโดยท่ีตัวกลางไมเคลื่อนท่ีการพาความรอนเปนการถายโอนความรอนท่ีอาศัยตัวกลางโดยท่ีตัวกลางเคลื่อนท่ีไปดวยสวนการแผรังสีความรอนเปนการถายโอนความรอนท่ีไมตองอาศัยตัวกลาง•ความรูเก่ียวกับการถายโอนความรอนสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดเชนการเลือกใชวัสดุเพ่ือนํามาทําภาชนะบรรจุอาหารเพ่ือเก็บความรอนหรือการออกแบบระบบระบายความรอนในอาคาร

ม.2 1.วิเคราะหสถานการณและคํานวณเก่ียวกับงานและกําลังท่ีเกิดจากแรงท่ีกระทําตอวัตถุโดยใชสมการ

จากขอมูลท่ีรวบรวมได2.วิเคราะหหลักการทํางานของเครื่องกลอยางงายจากขอมูลท่ีรวบรวมได3.ตระหนักถึงประโยชนของความรูของเครื่องกลอยางงายโดยบอกประโยชนและการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน4.ออกแบบและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายปจจัยท่ีมีผลตอพลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวง

•เม่ือออกแรงกระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเคลื่อนท่ี โดยแรงอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนท่ีจะเกิดงานงานจะมีคามากหรือนอยข้ึนกับขนาดของแรงและระยะทางในแนวเดียวกับแรง•งานท่ีทําในหนึ่งหนวยเวลาเรียกวากําลัง หลักการของงานนําไปอธิบายการทํางานของเครื่องกลอยางงายไดแกคานพ้ืนเอียงรอกเดี่ยวลิ่มสกรูลอและเพลาซี่งนําไปใชประโยชนดานตางๆในชีวิตประจําวัน• พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีพลังงานจลนจะมีคามากหรือนอยข้ึนกับมวลและอัตราเร็วสวนพลังงานศักยโนมถวงเก่ียวของกับตําแหนงของวัตถุจะมีคามากหรือนอยข้ึนกับมวลและตําแหนงของวัตถุเม่ือวัตถุอยูในสนามโนมถวงวัตถุจะมีพลังงานศักยโนมถวงพลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวงเปนพลังงานกล

Page 33: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๐

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง5.แปลความหมายขอมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานระหวางพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนของวัตถุโดยพลังงานกลของวัตถุมีคาคงตัวจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•ผลรวมของพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนเปนพลังงานกลพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนของวัตถุหนึ่งๆสามารถเปลี่ยนกลับไปมาไดโดยผลรวมของพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนมีคาคงตัวนั่นคือพลังงานกลของวัตถุมีคาคงตัว

6.วิเคราะหสถานการณและอธิบายการเปลี่ยนและการถายโอนพลังงานโดยใชกฎการอนุรักษพลังงาน

•พลังงานรวมของระบบมีคาคงตัวซึ่งอาจเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งเปนอีกพลังงานหนึ่งเชนพลังงานกลเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาพลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอนพลังงานเสียงพลังงานแสงเนื่องมาจากแรงเสียดทานพลังงานเคมีในอาหารเปลี่ยนเปนพลังงานท่ีไปใชในการทํางานของสิ่งมีชวีิต•นอกจากนี้พลังงานยังสามารถถายโอนไปยังอีกระบบหนึ่งหรือไดรับพลังงานจากระบบอ่ืนไดเชนการถายโอนความรอนระหวางสสารการถายโอนพลังงานของการสั่นของแหลงกําเนิดเสียงไปยังผูฟงท้ังการเปลี่ยนพลังงานและการถายโอนพลังงานพลังงานรวมท้ังหมดมีคาเทาเดิมตามกฎการอนุรักษพลังงาน

ม.3 1.วิเคราะหความสัมพันธระหวางความตางศักยกระแสไฟฟาและความตานทานและคํานวณปริมาณท่ีเก่ียวของโดยใชสมการ V=IRจากหลักฐานเชิงประจักษ2.เขียนกราฟความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยไฟฟา3.ใชโวลตมิเตอรแอมมิเตอรในการวดัปริมาณทางไฟฟา

•เม่ือตอวงจรไฟฟาครบวงจรจะมีกระแสไฟฟาออกจากข้ัวบวกผานวงจรไฟฟาไปยังข้ัวลบของแหลงกําเนิดไฟฟาซึ่งวัดคาไดจากแอมมิเตอร•คาท่ีบอกความแตกตางของพลังงานไฟฟาตอหนวยประจุระหวางจุด2จุดเรียกวาความตางศักยซึ่งวัดคาไดจากโวลตมิเตอร

•ขนาดของกระแสไฟฟามีคาแปรผันตรงกับความตางศักยระหวางปลายท้ังสองของตัวนําโดยอัตราสวนระหวางความตางศักยและกระแสไฟฟามีคาคงท่ีเรียกคาคงท่ีนี้วาความตานทาน

4.วิเคราะหความตางศักยไฟฟาและกระแสไฟฟาในวงจรไฟฟาเม่ือตอตัวตานทานหลายตัวแบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ5.เขียนแผนภาพวงจรไฟฟาแสดงการตอตัวตานทาน

•ในวงจรไฟฟาประกอบดวยแหลงกําเนิดไฟฟาสายไฟฟาและอุปกรณไฟฟาโดยอุปกรณไฟฟาแตละชิ้นมีความตานทานในการตอตัวตานทานหลายตัวมีท้ังตอแบบอนุกรมและแบบขนาน•การตอตัวตานทานหลายตัวแบบอนุกรมในวงจรไฟฟาความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากับผลรวมของความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัวโดยกระแสไฟฟาท่ีผานตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากัน

Page 34: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๑

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางแบบอนุกรมและขนาน6.บรรยายการทํางานของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสอยางงายในวงจรจากขอมูลท่ีรวบรวมได7.เขียนแผนภาพและตอชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสอยางงายในวงจรไฟฟา

•การตอตัวตานทานหลายตัวแบบขนานในวงจรไฟฟากระแสไฟฟาท่ีผานวงจรมีคาเทากับผลรวมของกระแสไฟฟาท่ีผานตัวตานทานแตละตัวโดยความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากัน•ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสมีหลายชนิดเชนตัวตานทานไดโอดทรานซิสเตอรตัวเก็บประจุโดยชิ้นสวนแตละชนิดทําหนาท่ีแตกตางกันเพ่ือใหวงจรทํางานไดตามตองการ•ตัวตานทานทําหนาท่ีควบคุมปริมาณกระแสไฟฟาในวงจรไฟฟาไดโอดทําหนาท่ีใหกระแสไฟฟาผานทางเดียวทรานซิสเตอรทําหนาท่ีเปนสวิตชปดหรือเปดวงจรไฟฟาและควบคุมปริมาณกระแสไฟฟาตัวเก็บประจุทําหนาท่ีเก็บและคายประจุไฟฟา•เครื่องใชไฟฟาอยางงายประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสหลายชนิดท่ีทํางานรวมกันการตอวงจรอิเล็กทรอนิกสโดยเลือกใชชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสท่ีเหมาะสมตามหนาท่ีของชิ้นสวนนั้นๆจะสามารถทําใหวงจรไฟฟาทํางานไดตามตองการ

8.อธิบายและคํานวณพลังงานไฟฟาโดยใชสมการW=Ptรวมท้ังคํานวณคาไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาในบาน

9.ตระหนักในคุณคาของการเลือกใชเครื่องใชไฟฟาโดยนําเสนอวิธีการใชครื่องใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย

•เครื่องใชไฟฟาจะมีคากําลังไฟฟาและความตางศักยกํากับไวกําลังไฟฟามีหนวยเปนวัตตความตางศักยมีหนวยเปนโวลตคาไฟฟาสวนใหญคิดจากพลังงานไฟฟาท่ีใชท้ังหมดซึ่งหาไดจากผลคูณของกําลังไฟฟาในหนวยกิโลวัตตกับเวลาในหนวยชั่วโมงพลังงานไฟฟามีหนวยเปนกิโลวัตตชั่วโมงหรือหนวย•วงจรไฟฟาในบานมีการตอเครื่องใชไฟฟาแบบขนานเพ่ือใหความตางศักยเทากันการใชเครื่องใชไฟฟาในชีวิตประจําวันตองเลือกใชเครื่องใชไฟฟาท่ีมีความตางศักยและกําลังไฟฟาใหเหมาะกับการใชงานและการใชเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟาตองใชอยางถูกตองปลอดภัยและประหยัด

10.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายสวนประกอบของคลื่น

•คลื่นเกิดจากการสงผานพลังงานโดยอาศัยตัวกลางและไมอาศัยตัวกลาง ในคลื่นกลพลังงานจะถูกถายโอนผานตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางไมเคลื่อนท่ีไปกับคลื่นคลื่นท่ีแผออกมาจากแหลงกําเนิดคลื่นอยางตอเนื่องและมีรูปแบบท่ีซ้ํากัน บรรยายไดดวยความยาวคลื่นความถ่ีแอมพลิจูด

11.อธิบายคลื่นแมเหล็กไฟฟาและสเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากขอมูลท่ีรวบรวมได12.ตระหนักถึงประโยชนและอันตรายจากคลื่น

•คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นท่ีไมอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนท่ีมีความถ่ีตอเนื่องเปนชวงกวางมากเคลื่อนท่ีในสุญญากาศดวยอัตราเร็วเทากันแตจะเคลื่อนท่ีดวยอัตราเร็วตางกันในตัวกลางอ่ืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาแบงออกเปนชวงความถ่ีตางๆเรียกวาสเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตละชวงความถ่ีมีชื่อเรียก

Page 35: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๒

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางแมเหล็กไฟฟาโดยนําเสนอการใชประโยชนในดานตางๆและอันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชีวิตประจําวัน

ตางกันไดแกคลื่นวิทยุไมโครเวฟอินฟราเรดแสงท่ีมองเห็นอัลตราไวโอเลตรังสีเอกซและรังสีแกมมาซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนได•เลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีมีความยาวคลื่นเดียวเปนลําแสงขนานและมีความเขมสูงนําไปใชประโยชนในดานตางๆเชนดานการสื่อสารมีการใชเลเซอรสําหรับสงสารสนเทศผานเสนใยนําแสงโดยอาศัยหลักการการสะทอนกลับหมดของแสงดานการแพทยใชในการผาตัด•คลื่นแมเหล็กไฟฟานอกจากจะสามารถนําไปใชประโยชนแลวยังมีโทษตอมนุษยดวยเชนถามนุษยไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตมากเกินไปอาจจะทําใหเกิดมะเร็งผิวหนังหรือถาไดรังสีแกมมาซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีมีพลังงานสูงและสามารถทะลุผานเซลลและอวัยวะไดอาจทําลายเนื้อเยื่อหรืออาจทําใหเสียชีวิตได

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง13.ออกแบบการทดลองและดําเนินการทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายกฎการสะทอนของแสง14.เขียนแผนภาพการเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา

•เม่ือแสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะทอนซึ่งเปนไปตามกฎการสะทอนของแสงโดยรังสีตกกระทบเสนแนวฉากรังสีสะทอนอยูในระนาบเดียวกันและมุมตกกระทบเทากับมุมสะทอนภาพจากกระจกเงาเกิดจากรังสีสะทอนตัดกันหรือตอแนวรังสีสะทอนใหตัดกันโดยถารังสีสะทอนตัดกันจริงจะเกิดภาพจริงแตถาตอแนวรังสีสะทอนใหไปตัดกันจะเกิดภาพเสมือน

15.อธิบายการหักเหของแสงเม่ือผานตัวกลางโปรงใสท่ีแตกตางกันและอธิบายการกระจายแสงของแสงขาวเม่ือผานปริซึมจากหลักฐานเชิงประจักษ16.เขียนแผนภาพการเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนสบาง

•เม่ือแสงเดินทางผานตัวกลางโปรงใสท่ีแตกตางกัน เชนอากาศและน้ําอากาศและแกวจะเกิดการหักเหหรืออาจเกิดการสะทอนกลับหมดในตัวกลางท่ีแสงตกกระทบการหักเหของแสงผานเลนสทําใหเกิดภาพท่ีมีชนิดและขนาดตางๆ•แสงขาวประกอบดวยแสงสีตางๆเม่ือแสงขาวผานปริซึมจะเกิดการกระจายแสงเปนแสงสีตางๆเรียกวาสเปกตรัมของแสงขาวเม่ือเคลื่อนท่ีในตัวกลางใดๆท่ีไมใชอากาศจะมีอัตราเร็วตางกันจึงมีการหักเหตางกัน

17.อธิบายปรากฏการณท่ีเก่ียวกับแสงและการทํางานของ

•การสะทอนและการหักเหของแสงนําไปใชอธิบายปรากฏการณท่ีเก่ียวกับแสงเชนรุงมิราจและอธิบายการทํางานของ

Page 36: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๓

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางทัศนอุปกรณจากขอมูลท่ีรวบรวมได18.เขียนแผนภาพการเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณและเลนสตา

ทัศนอุปกรณเชนแวนขยายกระจกโคงจราจรกลองโทรทรรศนกลองจุลทรรศนและแวนสายตา• ในการมองวัตถุเลนสตาจะถูกปรับโฟกัส เพ่ือใหเกิดภาพชัดท่ีจอตาความบกพรองทางสายตาเชนสายตาสั้นและสายตายาวเปนเพราะตําแหนงท่ีเกิดภาพไมไดอยูท่ีจอตาพอดีจึงตองใชเลนสในการแกไขเพ่ือชวยใหมองเห็นเหมือนคนสายตาปกติโดยคนสายตาสั้นใชเลนสเวาสวนคนสายตายาวใชเลนสนูน

19.อธิบายผลของความสวางท่ีมีตอดวงตาจากขอมูลท่ีไดจากการสืบคน20.วัดความสวางของแสงโดยใชอุปกรณวัดความสวางของแสง21.ตระหนักในคุณคาของความรูเรื่องความสวางของแสงท่ีมีตอดวงตาโดยวิเคราะหสถานการณปญหาและเสนอแนะการจัดความสวางใหเหมาะสมในการทํากิจกรรมตางๆ

•ความสวางของแสงมีผลตอดวงตามนุษยการใชสายตาในสภาพแวดลอมท่ีมีความสวางไมเหมาะสมจะเปนอันตรายตอดวงตาเชนการดูวัตถุในท่ีมีความสวางมากหรือนอยเกินไปการจองดูหนาจอภาพเปนเวลานานความสวางบนพ้ืนท่ีรับแสงมีหนวยเปนลักซความรูเก่ียวกับความสวางสามารถนํามาใชจัดความสวางใหเหมาะสมกับการทํากิจกรรมตางๆเชนการจัดความสวางท่ีเหมาะสมสําหรับการอานหนังสือ

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ีสงผลตอสิ่งมีชีวิตและการประยุกตใชเทคโนโลยีอวกาศ

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1 - -ม.2 - -ม.3 1.อธิบายการโคจรของดาว

เคราะหรอบดวงอาทิตยดวยแรงโนมถวงจากสมการ

•ในระบบสุริยะมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลางโดยมีดาวเคราะหและบริวาร ดาวเคราะหแคระดาวเคราะหนอย ดาวหาง และอ่ืน

ๆเชนวัตถุคอยเปอรโคจรอยูโดยรอบซึ่งดาวเคราะหและวัตถุ

เหลานี้โคจรรอบดวงอาทิตยดวยแรงโนมถวงแรงโนมถวงเปนแรงดึงดูดระหวางวัตถุสองวัตถุโดยเปนสัดสวนกับผลคูณของมวลท้ังสองและเปนสัดสวนผกผันกับกําลังสองของระยะทางระหวาง

วัตถุท้ังสองแสดงไดโดยสมการเม่ือ F แทนความโนมถวงระหวางมวลท้ังสอง

Page 37: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๔

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางG แทนคานิจโนมถวงสากลm1แทนมวลของวัตถุแรกm2แทนมวลของวัตถุท่ีสองและ r แทนระยะหางระหวางวัตถุท้ังสอง

2.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการเกิดฤดูและการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย

•การท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตยในลักษณะท่ีแกนโลกเอียงกับแนวตั้งฉากของระนาบทางโคจรทําใหสวนตางๆบนโลกไดรับปริมาณแสงจากดวงอาทิตยแตกตางกันในรอบปเกิดเปนฤดูกลางวันกลางคืนยาวไมเทากันและตําแหนงการข้ึนและตกของดวงอาทิตยท่ีขอบฟาและเสนทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตยเปลี่ยนไปในรอบปซึ่งสงผลตอการดํารงชีวิต

3.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการเกิดขางข้ึนขางแรมการเปลี่ยนแปลงเวลาการข้ึนและตกของดวงจันทร และการเกิดน้ําข้ึนน้ําลง

•ดวงจันทรโคจรรอบโลกโลกและดวงจันทรโคจรรอบดวงอาทิตยดวงจันทรรับแสงจากดวงอาทิตยครึ่งดวงตลอดเวลาเม่ือดวงจันทรโคจรรอบโลกไดหันสวนสวางมายังโลกแตกตางกันจึงทําใหคนบนโลกสังเกตสวนสวางของดวงจันทรแตกตางไปในแตละวันเกิดเปนขางข้ึนขางแรม•ดวงจันทรโคจรรอบโลกในทิศทางเดียวกันกับท่ีโลกหมุนรอบตัวเองจึงทําใหเห็นดวงจันทรข้ึนชาไปประมาณวันละ50นาที•แรงโนมถวงท่ีดวงจันทรดวงอาทิตยกระทําตอโลกทําใหเกิดปรากฏการณน้ําข้ึนน้ําลงซึ่งสงผลตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลกวันท่ีน้ํามีระดับการข้ึนสูงสุดและลงต่ําสุดเรียกวันน้ําเกิดสวนวันท่ีระดับน้ํามีการข้ึนและลงนอยเรียกวันน้ําตายโดยวันน้ําเกิดน้ําตายมีความสัมพันธกับขางข้ึนขางแรม

4.อธิบายการใชประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศและยกตัวอยางความกาวหนาของโครงการสํารวจอวกาศจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•เทคโนโลยีอวกาศไดมีบทบาทตอการดํารงชีวิตของมนุษยในปจจุบันมากมายมนุษยไดใชประโยชนจากเทคโนโลยีอวกาศเชนระบบนําทางดวยดาวเทียม(GNSS)การติดตามพายุสถานการณไฟปาดาวเทียมชวยภัยแลงการตรวจคราบน้ํามันในทะเล•โครงการสํารวจอวกาศตางๆไดพัฒนาเพ่ิมพูนความรูความเขาใจตอโลกระบบสุริยะและเอกภพมากข้ึนเปนลําดับตัวอยางโครงการสํารวจอวกาศเชนการสํารวจสิ่งมีชีวิตนอกโลกการสํารวจดาวเคราะหนอกระบบสุริยะการสํารวจดาวอังคารและบริวารอ่ืนของดวงอาทิตย

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศมาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลกกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน

โลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

Page 38: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๕

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1 1.สรางแบบจําลองท่ีอธิบาย

การแบงชั้นบรรยากาศและเปรียบเทียบประโยชนของบรรยากาศแตละชั้น

•โลกมีบรรยากาศหอหุมนักวิทยาศาสตรใชสมบัติและองคประกอบของบรรยากาศในการแบงบรรยากาศของโลกออกเปนชั้นซึ่งแบงไดหลายรูปแบบตามเกณฑท่ีแตกตางกันโดยท่ัวไปนักวิทยาศาสตรใชเกณฑการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบงบรรยากาศไดเปน5ชั้นไดแก ชั้นโทรโพสเฟยรชั้นสตราโตสเฟยรชั้นมีโซสเฟยรชั้นเทอรโมสเฟยร และชั้นเอกโซสเฟยร•บรรยากาศแตละชั้นมีประโยชนตอสิ่งมีชีวิตแตกตางกันโดยชั้นโทรโพสเฟยรมีปรากฏการณลมฟาอากาศท่ีสําคัญตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชั้นสตราโตสเฟยรชวยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยไมใหมายังโลกมากเกินไปชั้นมีโซสเฟยรชวยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผานเขามาใหเกิดการเผาไหมกลายเปนวัตถุขนาดเล็กลดโอกาสท่ีจะทําความเสียหายแกสิ่งมีชีวิตบนโลกชั้นเทอรโมสเฟยรสามารถสะทอนคลื่นวิทยุและชั้นเอกโซสเฟยรเหมาะสําหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับต่ํา

2.อธิบายปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของลมฟาอากาศจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•ลมฟาอากาศเปนสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพ้ืนท่ีหนึ่งท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยูกับองคประกอบลมฟาอากาศไดแกอุณหภูมิอากาศความกดอากาศลมความชื้นเมฆและหยาดน้ําฟาโดยหยาดน้ําฟาท่ีพบบอยในประเทศไทยไดแกฝนองคประกอบลมฟาอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยูกับปจจัยตางๆเชนปริมาณรังสีจากดวงอาทิตยและลักษณะพ้ืนผิวโลกสงผลตออุณหภูมิอากาศอุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ําสงผลตอความชื้นความกดอากาศสงผลตอลมความชืน้และลมสงผลตอเมฆ

3.เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุ ฝนฟาคะนองและพายุหมุนเขตรอนและผลท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมรวมท้ังนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนใหเหมาะสมและปลอดภัย

•พายุฝนฟาคะนองเกิดจากการท่ีอากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชื้นสูงเคลื่อนท่ีข้ึนสูระดับความสูงท่ีมีอุณหภูมิต่ําลงจนกระท่ังไอน้ําในอากาศเกิดการควบแนนเปนละอองน้ําและเกิดตอเนื่องเปนเมฆขนาดใหญพายุฝนฟาคะนองทําใหเกิดฝนตกหนักลมกรรโชกแรงฟาแลบฟาผาซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน•พายุหมุนเขตรอนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเลท่ีน้ํามีอุณหภูมิสูงตั้งแต 26-27 องศาเซลเซียสข้ึนไปทําใหอากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชื้นสูงบริเวณนั้นเคลื่อนท่ีสูงข้ึนอยางรวดเร็วเปนบริเวณกวางอากาศจากบริเวณอ่ืนเคลื่อนเขามาแทนท่ีและพัดเวียนเขา

Page 39: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๖

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางหาศูนยกลางของพายุยิ่งใกลศูนยกลางอากาศจะเคลื่อนท่ีพัดเวียนเกือบเปนวงกลมและมีอัตราเร็วสูงท่ีสุดพายุหมุนเขตรอนทําใหเกิดคลื่นพายุซัดฝงฝนตกหนักซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสินจึงควรปฏิบัติตนใหปลอดภัยโดยติดตามขาวสารการพยากรณอากาศและไมเขาไปอยูในพ้ืนท่ีท่ีเสี่ยงภัย

4.อธิบายการพยากรณอากาศและพยากรณอากาศอยางงายจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•การพยากรณอากาศเปนการคาดการณลมฟาอากาศท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมีการตรวจวัดองคประกอบลมฟาอากาศการสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลองคประกอบลมฟาอากาศระหวางพ้ืนท่ีการวิเคราะหขอมูลและสรางคําพยากรณอากาศ

5.ตระหนักถึงคุณคาของการพยากรณอากาศ โดยนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนและการใชประโยชนจากคําพยากรณอากาศ

•การพยากรณอากาศสามารถนํามาใชประโยชนดานตางๆเชนการใชชีวิตประจําวัน การคมนาคมการเกษตรการปองกันและเฝาระวังภัยพิบัติทางธรรมชาติ

6.อธิบายสถานการณและผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องโดยปจจัยทางธรรมชาติแตปจจุบันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดข้ึนอยางรวดเร็วเนื่องจากกิจกรรมของมนุษยในการปลดปลอยแกสเรือนกระจกสูบรรยากาศแกสเรือนกระจกท่ีถูกปลดปลอยมากท่ีสุดไดแกแกสคารบอนไดออกไซดซึง่หมุนเวียนอยูในวัฏจักรคารบอน

7.ตระหนักถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกโดยนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก

•การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมเชนการหลอมเหลวของน้ําแข็งข้ัวโลกการเพ่ิมข้ึนของระดับทะเลการเปลี่ยนแปลงวัฏจักรน้ําการเกิดโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ําและการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีรุนแรงข้ึนมนุษยจึงควรเรียนรูแนวทางการปฏิบัติตนภายใตสถานการณดังกลาว ท้ังแนวทางการปฏิบัติตนใหเหมาะสมและแนวทางการลดกิจกรรมท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก

ม.2 1.เปรียบเทียบกระบวนการเกิดสมบัติและการใชประโยชนรวมท้ังอธิบายผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของซากสิ่งมีชีวิตในอดีตโดยกระบวนการทางเคมีและธรณีวิทยาเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพไดแกถานหินหินน้ํามันและปโตรเลียมซึ่งเกิดจากวัตถุตนกําเนิดและสภาพแวดลอมการเกิดท่ีแตกตางกันทําใหไดชนิดของเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพท่ีมีลักษณะสมบัติและการนําไปใชประโยชนแตกตางกันสําหรับปโตรเลียมจะตองมีการผานการกลั่นลําดับสวนกอนการใชงานเพ่ือใหไดผลิตภัณฑท่ีเหมาะสมตอการใชประโยชนเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไปเนื่องจากตองใชเวลานานหลายลานปจึงจะเกิดข้ึนใหมได

Page 40: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๗

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง2.แสดงความตระหนักถึงผลจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพโดยนําเสนอแนวทางการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ

•การเผาไหมเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพในกิจกรรมตางๆของมนุษยจะทําใหเกิดมลพิษทางอากาศซึ่งสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมนอกจากนี้แกสบางชนิดท่ีเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเชน แกสคารบอนไดออกไซดและไนตรัสออกไซดยังเปนแกสเรือนกระจกซึ่งสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกรุนแรงข้ึน ดังนั้นจึงควรใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพโดยคํานึงถึงผลท่ีเกิดข้ึนตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมเชนเลือกใชพลังงานทดแทนหรือเลือกใชเทคโนโลยีท่ีลดการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ

3.เปรียบเทียบขอดีและขอจํากัดของพลังงานทดแทนแตละประเภทจากการรวบรวมขอมูลและนําเสนอแนวทางการใชพลังงานทดแทนท่ีเหมาะสมในทองถ่ิน

•เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนแหลงพลังงานท่ีสําคัญในกิจกรรมตางๆของมนุษยเนื่องจากเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพมีปริมาณจํากัดและมักเพ่ิมมลภาวะในบรรยากาศมากข้ึนจึงมีการใชพลังงานทดแทนมากข้ึนเชนพลังงานแสงอาทิตยพลังงานลมพลังงานน้ําพลังงานชีวมวลพลังงานคลื่นพลังงานความรอนใตพิภพพลังงานไฮโดรเจนซึ่งพลังงานทดแทนแตละชนิดจะมีขอดีและขอจํากัดท่ีแตกตางกัน

4.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายโครงสรางภายในโลกตามองคประกอบทางเคมีจากขอมูลท่ีรวบรวมได

•โครงสรางภายในโลกแบงออกเปนชั้นตามองคประกอบทางเคมีไดแกเปลือกโลกซึ่งอยูนอกสุดประกอบดวยสารประกอบของซิลิกอนและอะลูมิเนียมเปนหลักเนื้อโลกคือสวนท่ีอยูใตเปลือกโลกลงไปจนถึงแกนโลกมีองคประกอบหลักเปนสารประกอบของซิลิกอนแมกนีเซียมและเหล็กและแกนโลกคือสวนท่ีอยูใจกลางของโลกมีองคประกอบหลักเปนเหล็กและนิกเกิลซึ่งแตละชั้นมีลักษณะแตกตางกัน

5.อธิบายกระบวนการผุพังอยูกับท่ีการกรอนและการสะสมตัวของตะกอนจากบบจําลองรวมท้ังยกตัวอยางผลของกระบวนการดังกลาวท่ีทําใหผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง

•การผุพังอยูกับท่ีการกรอนและการสะสมตัวของตะกอนเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาท่ีทําใหผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนภูมิลักษณแบบตางๆโดยมีปจจัยสําคัญคือน้ําลมธารน้ําแข็งแรงโนมถวงของโลกสิ่งมีชีวิตสภาพอากาศและปฏิกิริยาเคมี•การผุพังอยูกับท่ีคือการท่ีหินผุพังทําลายลงดวยกระบวนการตางๆไดแกลมฟาอากาศกับน้ําฝนและรวมท้ังการกระทําของตนไมกับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตรซึ่งมีการเพ่ิมและลดอุณหภูมิสลับกันเปนตน•การกรอนคือกระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการท่ีทําใหสารเปลือกโลกหลุดไปละลายไปหรือกรอนไปโดยมีตัวนําพาธรรมชาติคือลมน้ําและธารน้ําแข็งรวมกับปจจัยอ่ืนๆไดแกลมฟาอากาศสารละลาย การครูดถูการนําพาท้ังนี้ไมรวมถึงการพังทลายเปนกลุมกอนเชนแผนดินถลมภูเขาไฟระเบิด

Page 41: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๘

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง•การสะสมตัวของตะกอนคือการสะสมตัวของวัตถุจากการนําพาของน้ําลมหรือธารน้ําแข็ง

6.อธิบายลักษณะของชั้นหนาตัดดินและกระบวนการเกิดดินจากแบบจําลองรวมท้ังระบุปจจัยท่ีทําใหดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน

•ดินเกิดจากหินท่ีผุพังตามธรรมชาติผสมคลุกเคลากับอินทรียวัตถุท่ีไดจากการเนาเปอยของซากพืชซากสัตวทับถมเปนชั้นๆบนผิวโลกชั้นดินแบงออกเปนหลายชั้นขนานหรือเกือบขนานไปกับผิวหนาดินแตละชั้นมีลักษณะแตกตางกันเนื่องจากสมบัติทางกายภาพเคมีชีวภาพและลักษณะอ่ืนๆเชนสีโครงสรางเนื้อดินการยึดตัวความเปนกรด-เบสสามารถสังเกตไดจากการสํารวจภาคสนามการเรียกชื่อชั้นดินหลักจะใชอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญไดแกO, A, E,B,C,R•ชั้นหนาตัดดินเปนชั้นดินท่ีมีลักษณะปรากฏใหเห็นเรียงลําดับเปนชั้นจากชั้นบนสุดถึงชั้นลางสุด•ปจจัยท่ีทําใหดินแตละทองถ่ินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกันไดแกวัตถุตนกําเนิดดินภูมิอากาศสิง่มีชีวิตในดินสภาพภูมิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดิน

7.ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใชเครื่องมือท่ีเหมาะสมและนําเสนอแนวทางการใชประโยชนดินจากขอมูลสมบัติของดิน

•สมบัติบางประการของดินเชนเนื้อดินความชื้นดินคาความเปนกรด-เบสธาตุอาหารในดินสามารถนําไปใชในการตัดสินใจถึงแนวทางการใชประโยชนท่ีดินโดยอาจนําไปใชประโยชนทางการเกษตรหรืออ่ืนๆซึ่งดินท่ีไมเหมาะสมตอการทําการเกษตรเชนดินจืดดินเปรี้ยวดินเค็มและดินดานอาจเกิดจากสภาพดินตามธรรมชาติหรือการใชประโยชนจะตองปรับปรุงใหมีสภาพเหมาะสมเพ่ือนําไปใชประโยชน

8.อธิบายปจจัยและระบวนการเกิดแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดินจากแบบจําลอง

•แหลงน้ําผิวดินเกิดจากน้ําฝนท่ีตกลงบนพ้ืนโลกไหลจากท่ีสูงลงสูท่ีต่ําดวยแรงโนมถวงการไหลของน้ําทําใหพ้ืนโลกเกิดการกัดเซาะเปนรองน้ําเชนลําธารคลองและแมน้ําซึ่งรองน้ําจะมีขนาดและรูปรางแตกตางกันข้ึนอยูกับปริมาณน้ําฝน ระยะเวลาในการกัดเซาะชนิดดินและหินและลักษณะภมิูประเทศเชนความลาดชันความสูงต่ําของพ้ืนท่ี เม่ือน้ําไหลไปยังบริเวณท่ีเปนแองจะเกิดการสะสมตัวเปนแหลงน้ําเชนบึงทะเลสาบทะเลและมหาสมุทร•แหลงน้ําใตดินเกิดจากการซึมของน้ําผิวดินลงไปสะสมตัวใตพ้ืนโลกซึ่งแบงเปนน้ําในดินและน้ําบาดาลน้ําในดินเปนน้ําท่ีอยูรวมกับอากาศตามชองวางระหวางเม็ดดินสวนน้ําบาดาลเปนน้ําท่ีไหลซึมลึกลงไปและถูกกักเก็บไวในชั้นหินหรือชั้นดินจนอ่ิมตัวไปดวยน้ํา

9.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการใชน้ํา และนําเสนอ

•แหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดินถูกนํามาใชในกิจกรรมตาง ๆของมนุษยสงผลตอการจัดการการใชประโยชนน้ําและคุณภาพ

Page 42: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๓๙

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางแนวทางการใชน้ําอยางยั่งยืนในทองถ่ินของตนเอง

ของแหลงน้ําเนื่องจากการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากรการใชประโยชนพ้ืนท่ีในดานตางๆเชนภาคเกษตรกรรมภาคอุตสาหกรรมและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนในพ้ืนท่ีลุมน้ําและแหลงน้ําผิวดินไมเพียงพอสําหรับกิจกรรมของมนุษยน้ําจากแหลงน้ําใตดินจึงถูกนํามาใชมากข้ึนสงผลใหปริมาณน้ําใตดินลดลงมากจึงตองมีการจัดการใชน้ําอยางเหมาะสมและยั่งยืนซึ่งอาจทําไดโดยการจัดหาแหลงน้ําเพ่ือใหมีแหลงน้ําเพียงพอสําหรับการดํารงชีวิตการจัดสรรและการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพการอนุรักษและฟนฟูแหลงน้ําการปองกันและแกไขปญหาคุณภาพน้ํา

10.สรางแบบจําลองท่ีอธิบายกระบวนการเกิดและผลกระทบของน้ําทวมการกัดเซาะชายฝงดินถลมหลุมยุบแผนดินทรุด

•น้ําทวมการกัดเซาะชายฝงดินถลมหลุมยุบแผนดินทรุดมีกระบวนการเกิดและผลกระทบท่ีแตกตางกันซึ่งอาจสรางความเสียหายรายแรงแกชีวิตและทรัพยสิน•น้ําทวมเกิดจากพ้ืนท่ีหนึ่งไดรับปริมาณน้ําเกินกวาท่ีจะกักเก็บไดทําใหแผนดินจมอยูใตน้ําโดยข้ึนอยูกับปริมาณน้ําและสภาพทางธรณีวิทยาของพ้ืนท่ี•การกัดเซาะชายฝงเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงของชายฝงทะเลท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลมทําใหตะกอนจากท่ีหนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่งแนวของชายฝงเดิมจึงเปลี่ยนแปลงไปบริเวณท่ีมีตะกอนเคลื่อนเขามานอยกวาปริมาณท่ีตะกอนเคลื่อนออกไปถือวาเปนบริเวณท่ีมีการกัดเซาะชายฝง•ดินถลมเปนการเคลื่อนท่ีของมวลดินหรือหินจํานวนมากลงตามลาดเขาเนื่องจากแรงโนมถวงของโลกเปนหลักซึ่งเกิดจากปจจัยสําคัญไดแกความลาดชันของพ้ืนท่ีสภาพธรณีวิทยาปริมาณน้ําฝนพืชปกคลุมดินและการใชประโยชนพ้ืนท่ี•หลุมยุบคือแองหรือหลุมบนแผนดินขนาดตางๆท่ีอาจเกิดจากการถลมของโพรงถํ้าหินปูนเกลือหินใตดินหรือเกิดจากน้ําพัดพาตะกอนลงไปในโพรงถํ้าหรือธารน้ําใตดิน•แผนดินทรุดเกิดจากการยุบตัวของชั้นดิน หรือหินรวนเม่ือมวลของแข็งหรือของเหลวปริมาณมากท่ีรองรับอยูใตชั้นดินบริเวณนั้นถูกเคลื่อนยายออกไปโดยธรรมชาติหรือโดยการกระทําของมนุษย

ม.3 - -

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

Page 43: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๐

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคมและสิ่งแวดลอม

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1 1.อธิบายแนวคิดหลักของ

เทคโนโลยีในชีวิตประจําวันและวิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

•เทคโนโลยีเปนสิ่งท่ีมนุษยสรางหรือพัฒนาข้ึนซึ่งอาจเปนไดท้ังชิ้นงานหรือวิธีการเพ่ือใชแกปญหาสนองความตองการหรือเพ่ิมความสามารถในการทํางานของมนุษย• ระบบทางเทคโนโลยีเปนกลุมของสวนตางๆตั้งแตสองสวนข้ึนไปประกอบเขาดวยกันและทํางานรวมกันเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคโดยในการทํางานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปดวยตัวปอน (input) กระบวนการ(process)และผลผลิต(output)ท่ีสัมพันธกันนอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีขอมูลยอนกลับ(feedback)เพ่ือใชปรับปรุงการทํางานไดตามวัตถุประสงคซึ่งการวิเคราะหระบบทางเทคโนโลยีชวยใหเขาใจองคประกอบและการทํางานของเทคโนโลยีรวมถึงสามารถปรับปรุงใหเทคโนโลยีทํางานไดตามตองการ•เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันซึ่งมีสาเหตุหรือปจจัยมาจากหลายดานเชนปญหาความตองการความกาวหนาของศาสตรตางๆเศรษฐกิจสังคม

2.ระบุปญหาหรือความตองการในชีวิตประจําวันรวบรวมวิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา

•ปญหาหรือความตองการในชีวิตประจําวันพบไดจากหลายบริบทข้ึนกับสถานการณท่ีประสบเชนการเกษตรการอาหาร•การแกปญหาจําเปนตองสืบคนรวบรวมขอมูลความรูจากศาสตรตางๆท่ีเก่ียวของเพ่ือนําไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา

3.ออกแบบวิธีการแกปญหาโดยวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนนําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจวางแผนและดําเนินการแกปญหา

•การวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนโดยคํานึงถึงเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยูชวยใหไดแนวทางการแกปญหาท่ีเหมาะสม•การออกแบบแนวทางการแกปญหาทําไดหลากหลายวิธีเชนการรางภาพการเขียนแผนภาพการเขียนผังงาน•การกําหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการทํางานกอนดําเนินการแกปญหาจะชวยใหทํางานสําเร็จไดตามเปาหมายและลดขอผิดพลาดของการทํางานท่ีอาจเกิดข้ึน

4.ทดสอบประเมินผลและระบุขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนพรอมท้ังหาแนวทางการปรับปรุงแกไข

•การทดสอบและประเมินผลเปนการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการวาสามารถแกปญหาไดตามวัตถุประสงคภายใตกรอบของปญหาเพ่ือหาขอบกพรองและดําเนินการปรับปรุงโดยอาจทดสอบซ้ําเพ่ือใหสามารถแกปญหาได

Page 44: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๑

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางและนําเสนอผลการแกปญหา •การนําเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจ

เก่ียวกับกระบวนการทํางานและชิ้นงานหรือวิธีการท่ีไดซึ่งสามารถทําไดหลายวิธีเชนการเขียนรายงานการทําแผนนําเสนอผลงานการจัดนิทรรศการการนําเสนอผานสื่อออนไลน

5.ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือกลไกไฟฟาหรืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย

•วัสดุแตละประเภทมีสมบัติแตกตางกันเชนไมโลหะพลาสติกจึงตองมีการวิเคราะหสมบัติเพ่ือเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน•การสรางชิ้นงานอาจใชความรูเรื่องกลไกไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเชนLED บัซเซอรมอเตอรวงจรไฟฟา•อุปกรณและเครื่องมือในการสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภทตองเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมและปลอดภัยรวมท้ังรูจักเก็บรักษา

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.2 1.คาดการณแนวโนม

เทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและวิเคราะหเปรียบเทียบตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตอชีวิตสังคมและสิ่งแวดลอม

•สาเหตุหรือปจจัยตางๆเชนความกาวหนาของศาสตรตางๆการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมทําใหเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา•เทคโนโลยีแตละประเภทมีผลกระทบตอชีวิตสังคม และสิ่งแวดลอมท่ีแตกตางกันจึงตองวิเคราะหเปรียบเทียบขอดีขอเสียและตัดสินใจเลือกใชใหเหมาะสม

2.ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถ่ินสรุปกรอบของปญหารวบรวมวิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา

•ปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถ่ินมีหลายอยางข้ึนกับบริบทหรือสถานการณท่ีประสบเชนดานพลังงานสิ่งแวดลอมการเกษตรการอาหาร•การระบุปญหาจําเปนตองมีการวิเคราะหสถานการณของปญหาเพ่ือสรุปกรอบของปญหาแลวดําเนินการสืบคนรวบรวมขอมูลความรูจากศาสตรตางๆท่ีเก่ียวของเพ่ือนําไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา

3.ออกแบบวิธีการแกปญหาโดยวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปน

•การวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนโดยคํานึงถึงเงื่อนไขและทรัพยากรเชนงบประมาณเวลาขอมูลและสารสนเทศวัสดุเครื่องมือและอุปกรณชวยใหไดแนวทางการแกปญหาท่ีเหมาะสม

Page 45: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๒

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยูนําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจวางแผน ข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน

•การออกแบบแนวทางการแกปญหาทําไดหลากหลายวิธีเชนการรางภาพการเขียนแผนภาพการเขียนผังงาน•การกําหนดข้ันตอนระยะเวลาในการทํางานกอนดําเนินการแกปญหาจะชวยใหการทํางานสําเร็จไดตามเปาหมายและลดขอผิดพลาดของการทํางานท่ีอาจเกิดข้ึน

4.ทดสอบประเมินผลและอธิบายปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบเงื่อนไขพรอมท้ังหาแนวทางการปรับปรุงแกไขและนําเสนอผลการแกปญหา

• การทดสอบและประเมินผลเปนการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการวาสามารถแกปญหาไดตามวัตถุประสงคภายใตกรอบของปญหาเพ่ือหาขอบกพรองและดําเนินการปรับปรุงใหสามารถแกไขปญหาได•การนําเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจเก่ียวกับกระบวนการทํางานและชิ้นงานหรือวิธีการท่ีไดซึ่งสามารถทําไดหลายวิธีเชนการเขียนรายงานการทําแผนนําเสนอผลงานการจัดนิทรรศการ

5.ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือกลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานไดอยางถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย

•วัสดุแตละประเภทมีสมบัติแตกตางกันเชนไมโลหะพลาสติกจึงตองมีการวิเคราะหสมบัติเพ่ือเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน•การสรางชิ้นงานอาจใชความรูเรื่องกลไก ไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเชนLEDมอเตอรบัซเซอรเฟองรอกลอเพลา•อุปกรณและเครื่องมือในการสรางชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภทตองเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมและปลอดภัยรวมท้ังรูจักเก็บรักษา

ม.3 1.วิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธของเทคโนโลยีกับศาสตรอ่ืนโดยเฉพาะวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรเพ่ือเปนแนวทางการแกปญหาหรือพัฒนางาน

•เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันซึ่งมีสาเหตุหรือปจจัยมาจากหลายดานเชนปญหาหรือความตองการของมนุษยความกาวหนาของศาสตรตางๆการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมสิ่งแวดลอม•เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอ่ืนโดยเฉพาะวิทยาศาสตรโดยวิทยาศาสตรเปนพ้ืนฐานความรูท่ีนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีและเทคโนโลยีท่ีไดสามารถเปนเครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควาเพ่ือใหไดมาซึ่งองคความรูใหม

2.ระบุปญหาหรือความตองการของชุมชนหรือทองถ่ินเพ่ือพัฒนางานอาชีพสรุปกรอบของปญหารวบรวม

•ปญหาหรือความตองการอาจพบไดในงานอาชีพของชุมชนหรือทองถ่ินซึ่งอาจมีหลายดานเชนดานการเกษตรอาหารพลังงานการขนสง

Page 46: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๓

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางวิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหาโดยคํานึงถึงความถูกตองดานทรัพยสินทางปญญา

•การวิเคราะหสถานการณปญหาชวยใหเขาใจเงื่อนไขและกรอบของปญหาไดชัดเจนจากนั้นดําเนินการสืบคนรวบรวมขอมูลความรูจากศาสตรตางๆท่ีเก่ียวของเพ่ือนําไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา

3.ออกแบบวิธีการแกปญหาโดยวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยูนําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจดวยเทคนิคหรือวิธีการท่ีลากหลายวางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน

•การวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนโดยคํานึงถึงทรัพยสินทางปญญาเงื่อนไขและทรัพยากร เชนงบประมาณเวลาขอมูลและสารสนเทศวัสดุเครื่องมือและอุปกรณชวยใหไดแนวทางการแกปญหาท่ีเหมาะสม•การออกแบบแนวทางการแกปญหาทําไดหลากหลายวิธีเชนการรางภาพการเขียนแผนภาพการเขียนผังงาน•เทคนิคหรือวิธีการในการนําเสนอแนวทางการแกปญหามีหลากหลายเชนการใชแผนภูมิตารางภาพเคลื่อนไหว•การกําหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการทํางานกอนดําเนินการแกปญหาจะชวยใหการทํางานสําเร็จไดตามเปาหมายและลดขอผิดพลาดของการทํางานท่ีอาจเกิดข้ึน

4.ทดสอบประเมินผลวิเคราะหและใหเหตุผลของปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบเงื่อนไขพรอมท้ังหาแนวทางการปรับปรุงแกไขและนําเสนอผลการแกปญหา

•การทดสอบและประเมินผลเปนการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการวาสามารถแกปญหาไดตามวัตถุประสงคภายใตกรอบของปญหาเพ่ือหาขอบกพรองและดําเนินการปรับปรุงโดยอาจทดสอบซ้ําเพ่ือใหสามารถแกไขปญหาได•การนําเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจเก่ียวกับกระบวนการทํางานและชิ้นงานหรือวิธีการท่ีไดซึ่งสามารถทําไดหลายวิธีเชนการเขียนรายงานการทําแผนนําเสนอผลงานการจัดนิทรรศการการนําเสนอผานสื่อออนไลน

5.ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือกลไกไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสใหถูกตองกับลักษณะของงานและปลอดภัยเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางาน

• วัสดุแตละประเภทมีสมบัติแตกตางกันเชนไมโลหะพลาสติกเซรามิกจึงตองมีการวิเคราะหสมบัติเพ่ือเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน•การสรางชิ้นงานอาจใชความรูเรื่องกลไก ไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเชนLEDLDRมอเตอรเฟองคาน รอกลอเพลา•อุปกรณและเครื่องมือในการสรางชิน้งานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภทตองเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมและปลอดภัยรวมท้ังรูจักเก็บรักษา

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาท่ีพบในชีวิตจริงอยางเปนข้ันตอนและเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูการทํางานและการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพรูเทาทันและมีจริยธรรม

Page 47: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๔

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลางม.1 1.ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใช

แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแกปญหาหรืออธิบายการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง

•แนวคิดเชิงนามธรรมเปนการประเมินความสําคัญของรายละเอียดของปญหาแยกแยะสวนท่ีเปนสาระสําคัญออกจากสวนท่ีไมใชสาระสําคัญ•ตัวอยางปญหาเชนตองการปูหญาในสนามตามพ้ืนท่ีท่ีกําหนดโดยหญาหนึ่งผืนมีความกวาง50เซนติเมตรยาว50 เซนติเมตรจะใชหญาท้ังหมดก่ีผืน

2.ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายเพ่ือแกปญหาทางคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร

•การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชตัวแปรเงื่อนไขวนซ้ํา•การออกแบบอัลกอริทึมเพ่ือแกปญหาทางคณิตศาสตรวิทยาศาสตรอยางงายอาจใชแนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพ่ือใหการแกปญหามีประสิทธิภาพ•การแกปญหาอยางเปนข้ันตอนจะชวยใหแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ•ซอฟตแวรท่ีใชในการเขียนโปรแกรมเชนScratch,python,java,c•ตัวอยางโปรแกรมเชนโปรแกรมสมการ การเคลื่อนท่ีโปรแกรมคํานวณหาพ้ืนท่ีโปรแกรมคํานวณดัชนีมวลกาย

3.รวบรวมขอมูลปฐมภูมิประมวลผลประเมินผลนําเสนอขอมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

•การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิประมวลผลสรางทางเลือกประเมินผลจะทําใหไดสารสนเทศเพ่ือใชในการแกปญหาหรือการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพ•การประมวลผลเปนการกระทํากับขอมูล เพ่ือใหไดผลลัพธท่ีมีความหมายและมีประโยชนตอการนําไปใชงานสามารถทําไดหลายวิธี เชนคํานวณอัตราสวนคํานวณคาเฉลี่ย•การใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลายในการรวบรวมประมวลผล สรางทางเลือกประเมินผลนําเสนอจะชวยใหแกปญหาไดอยางรวดเร็วถูกตองและแมนยํา•ตัวอยางปญหาเนนการบูรณาการกับวิชาอ่ืนเชนตมไขใหตรงกับพฤติกรรมการบรโิภคคาดัชนี มวลกายของคนในทองถ่ินการสรางกราฟผลการทดลองและวิเคราะหแนวโนม

4.ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยใชสื่อและแหลงขอมูลตามขอกําหนดและขอตกลง

•ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยเชนการปกปองความเปนสวนตัวและอัตลักษณ•การจัดการอัตลักษณเชนการตั้งรหัสผาน การปกปองขอมูลสวนตัว•การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหาเชนละเมิดความเปนสวนตัวผูอ่ืนอนาจารวิจารณผูอ่ืนอยางหยาบคาย

Page 48: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๕

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง•ขอตกลงขอกําหนดในการใชสื่อหรือแหลงขอมูลตางๆเชนCreativecommons

ม.2 1.ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาหรือการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง

•แนวคิดเชิงคํานวณ•การแกปญหาโดยใชแนวคิดเชิงคํานวณ•ตัวอยางปญหา เชน การเขาแถวตามลําดับความสูงใหเร็วท่ีสุดจัดเรียงเสื้อใหหาไดงายท่ีสุด

2.ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา

•ตัวดําเนินการบูลีน•ฟงกชัน•การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชตรรกะและฟงกชัน•การออกแบบอัลกอริทึมเพ่ือแกปญหาอาจใชแนวคิดเชิงคํานวณในการออกแบบเพ่ือใหการแกปญหามีประสิทธิภาพ•การแกปญหาอยางเปนข้ันตอนจะชวยใหแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ•ซอฟตแวรท่ีใชในการเขียนโปรแกรมเชนScratch,python,java,c•ตัวอยางโปรแกรมเชนโปรแกรมตัดเกรดหาคําตอบท้ังหมดของอสมการหลายตัวแปร

3.อภิปรายองคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการสื่อสารเพ่ือประยุกตใชงานหรือแกปญหาเบื้องตน

•องคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร•เทคโนโลยีการสื่อสาร•การประยุกตใชงานและการแกปญหาเบื้องตน

4.ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยมีความรับผิดชอบสรางและแสดงสิทธิในการเผยแพรผลงาน

•ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยโดยเลือกแนวทางปฏิบัติเม่ือพบเนื้อหาท่ีไมเหมาะสม เชนแจงรายงานผูเก่ียวของปองกันการเขามาของขอมูลท่ีไมเหมาะสมไมตอบโตไมเผยแพร•การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบ เชนตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพรขอมูล•การสรางและแสดงสิทธิความเปนเจาของผลงาน•การกําหนดสิทธิการใชขอมูล

ม.3 1.พัฒนาแอปพลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรค

• ข้ันตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน•InternetofThings (IoT)•ซอฟตแวรท่ีใชในการพัฒนาแอปพลิเคชัน เชนScratch,python,java,c,AppInventor

Page 49: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๖

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง•ตัวอยางแอปพลิเคชันเชนโปรแกรมแปลงสกุลเงินโปรแกรมผันเสียงวรรณยุกตโปรแกรมจําลองการแบงเซลลระบบรดน้ําอัตโนมัติ

2.รวบรวมขอมูล ประมวลผลประเมินผลนําเสนอขอมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

•การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิประมวลผลสรางทางเลือกประเมินผลจะทําใหไดสารสนเทศเพ่ือใชในการแกปญหาหรือการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพ•การประมวลผลเปนการกระทํากับขอมูล เพ่ือใหไดผลลัพธท่ีมีความหมายและมีประโยชนตอการนําไปใชงาน•การใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลายในการรวบรวมประมวลผลสรางทางเลือกประเมินผลนําเสนอจะชวยใหแกปญหาไดอยางรวดเร็วถูกตองและแมนยํา•ตัวอยางปญหาเชน การเลือกโปรโมชันโทรศัพทใหเหมาะกับพฤติกรรมการใชงานสินคาเกษตรท่ีตองการและสามารถปลูกไดในสภาพดินของทองถ่ิน

3.ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลวิเคราะหสื่อและผลกระทบจากการใหขาวสารท่ีผิดเพ่ือการใชงานอยางรูเทาทัน

• การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลเชนตรวจสอบและยืนยันขอมูลโดยเทียบเคียงจากขอมูลหลายแหลงแยกแยะขอมูลท่ีเปนขอเท็จจริงและขอคิดเห็นหรือใชPROMPT•การสืบคนหาแหลงตนตอของขอมูล•เหตุผลวิบัต(ิlogical fallacy)•ผลกระทบจากขาวสารท่ีผิดพลาด•การรูเทาทันสื่อเชน การวิเคราะหถึงจุดประสงคของขอมูลและผูใหขอมูลตีความแยกแยะเนื้อหาสาระของสื่อเลือกแนวปฏิบัติไดอยางเหมาะสม เม่ือพบขอมูลตางๆ

4.ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีความรับผิดชอบตอสังคมปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอรใชลิขสิทธิ์ของผูอ่ืนโดยชอบธรรม

•การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยเชนการทําธุรกรรมออนไลนการซื้อสินคาซื้อซอฟตแวรคาบริการสมาชิกซื้อไอเท็ม•การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบเชนไมสรางขาวลวงไมแชรขอมูลโดยไมตรวจสอบขอเท็จจริง•กฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอร•การใชลิขสิทธิ์ของผูอ่ืนโดยชอบธรรม (fair use)

Page 50: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๗

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา๑. โครงสรางเวลาเรียนท่ีหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ กําหนด

กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม

เวลาเรียนระดับประถมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยคณิตศาสตรวิทยาศาสตร

-วิทยาศาสตร-เทคโนโลยี

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

-ประวัติศาสตร ๔๐ ชั่วโมง/ป ๔๐ ชั่วโมง/ป ๔๐ ชั่วโมง/ป-ศาสนา ศีลธรรม

จริยธรรม-หนาท่ีพลเมืองวัฒนธรรมและดําเนินชีวิตในสังคม-เศรษฐศาสตร-ภูมิศาสตร

สุขศึกษาและพลศึกษาศิลปะการงานอาชีพภาษาตางประเทศรวมเวลาเรียนพื้นฐาน ๘๘๐ ช่ัวโมง/ป ๘๘๐ ช่ัวโมง/ป ๘๘๐ ช่ัวโมง/ปกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑๒๐ ชั่วโมงตอป ๑๒๐ ชั่วโมงตอป ๑๒๐ ชั่วโมงตอปรายวิชา/กิจกรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมตามความพรอมและจุดเนนกลุมสาระการเรียนรู

สถานศึกษากําหนด สถานศึกษากําหนด สถานศึกษากําหนด

จัดสรรเวลาตามความเหมาะสม

จัดสรรเวลาตามความเหมาะสม

จัดสรรเวลาตามความเหมาะสม

Page 51: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๘

๒. โครงสรางหลักสูตรโรงเรียนคูซอดประชาสรรค๒.๑ โครงสรางหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

โครงสรางเวลาเรียนของโรงเรียนคูซอดประชาสรรคระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม ม.๑ ม.๒ ม.๓ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

ภาษาไทย ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐คณิตศาสตร ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐วิทยาศาสตร ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

-วิทยาศาสตร ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐-เทคโนโลยี ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

-ประวัติศาสตร ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐-ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐-หนาท่ีพลเมืองวัฒนธรรมและดําเนินชีวิตในสังคม-เศรษฐศาสตร-ภูมิศาสตร

สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐การงานอาชีพ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ภาษาตางประเทศ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐รวมเวลาเรียนพื้นฐาน ๔๔๐ ๔๔๐ ๔๔๐ ๔๔๐ ๔๔๐ ๔๔๐กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐รายวิชาเพิ่มเติม ๑๒๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐หนาท่ีพลเมือง ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐เทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ภาษาตางประเทศ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐เลือกเรียนเพิ่มเติมอิสระ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐รวมเวลาเรียนรายภาค ๖๒๐ ๕๘๐ ๖๒๐ ๕๘๐ ๖๒๐ ๕๘๐รวมเวลาเรียนรายป ๑๒๐๐ ๑๒๐๐ ๑๒๐๐

Page 52: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๔๙

๒.๒ โครงสรางหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโครงสรางเวลาเรียนของโรงเรียนคูซอดประชาสรรค

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทย - คณิต)

กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม ม.๔ ม.๕ ม.๖ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐คณิตศาสตร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐วิทยาศาสตร ๖๐ ๒๐ ๖๐ ๘๐ ๖๐ ๒๐

-วิทยาศาสตร ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐-เทคโนโลยี ๒๐ ๒๐ ๒๐

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐

-ประวัติศาสตร ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐-ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐-หนาที่พลเมืองวัฒนธรรมและดําเนินชีวิตในสังคม-เศรษฐศาสตร-ภูมิศาสตร

สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ศิลปะ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐การงานอาชีพ ๒๐ ๒๐ ๒๐ภาษาตางประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐รวมเวลาเรียนพื้นฐาน ๓๐๐ ๒๔๐ ๒๘๐ ๓๒๐ ๒๖๐ ๒๔๐กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐รายวิชาเพิ่มเติม ๓๐๐ ๓๔๐ ๓๒๐ ๒๖๐ ๓๔๐ ๓๔๐คณิตศาสตรเพ่ิมเติม ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ฟสิกส ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐เคมี ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ชีววิทยา ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ๔๐หนาท่ีพลเมือง ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ภาษาตางประเทศ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐เทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐เลือกเรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐รวมเวลาเรียนท้ังหมด ๖๖๐ ๖๔๐ ๖๖๐ ๖๔๐ ๖๖๐ ๖๔๐รวมเวลาเรียนรายป ๑๓๐๐ ๑๓๐๐ ๑๓๐๐

Page 53: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๐

๒.๓ โครงสรางหลักสูตรชั้นปโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๑ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๑ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ชั่วโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐)ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐)ว๒๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐) ว๒๑๑๘๒ วิทยาการคํานวณ ๐.๕ (๒๐)ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐) ส๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐)ส๒๑๑๐๓ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐)พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐)พ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐)ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐) ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐)ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ (๒๐)อ๒๑๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐) อ๒๑๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐)รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๓.๐ (๑๒๐) รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๒.๐ (๘๐)

ส๒๑๒๓๑ หนาท่ีพลเมือง ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๒๓๒ หนาท่ีพลเมือง ๐.๕ (๒๐)ว๒๑๒๘๑ เทคโนโลยี ๑ ๑.๐ (๔๐) อ๒๑๒๐๖ ภาษาอังกฤษฟง-พูด ๐.๕ (๒๐)อ๒๑๒๐๖ ภาษาอังกฤษฟง-พูด ๐.๕ (๒๐) เลือกเรยีน ๑.๐ (๔๐)

เลือกเรยีน ๑.๐ (๔๐) ว๒๑๒๐๒ วิทยาศาสตรกับการแกปญหาว๒๑๒๐๑ ของเลนเชิงวิทยาศาสตร ว๒๑๒๘๒ เทคโนโลยี ๒ศ๒๐๒๐๗ ดนตรตีามความถนัด ศ๒๐๒๐๓ ดนตรีพ้ืนเมืองง๒๐๒๐๓ การผลิตเครื่องดื่มสมุนไพร ง๒๐๒๐๔ การแปรรปูอาหารง๒๐๒๖๑ ชางรอยมาลัย ง๒๐๒๖๓ ประดิษของชํารวย ๑กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐กิจกรรมชุมนุม ๑๕ กิจกรรมชุมนุม ๑๕กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕ กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐กิจกรรมคณุธรรมจริยธรรม กิจกรรมคณุธรรมจริยธรรมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู

Page 54: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๑

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒

ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๒ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๒ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ช่ัวโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐) ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐)ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐) ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐)ว๒๒๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐) ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคํานวณ ๐.๕ (๒๐)ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐) ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐)ส๒๒๑๐๑ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐) ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐)พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐)พ๒๒๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๒๑๐๔ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐)ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐) ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐)ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐) ง๒๒๑๐๒ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐)อ๒๒๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐) อ๒๒๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐)รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๓.๐ (๑๒๐) รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๒.๐ (๘๐)ส๒๒๒๓๑ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐) ส๒๒๒๓๒ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐)ว๒๒๒๘๑ เทคโนโลยี ๓ ๑.๐ (๔๐) อ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพ่ือความเพลดิเพลนิ ๔ ๐.๕ (๒๐)อ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือความเพลดิเพลนิ ๓ ๐.๕ (๒๐) เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐)

เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐) ว๒๒๒๐๒ สนุกกับอิเล็กทรอนกิสและไอที

ว๒๒๒๐๑ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ว๒๒๒๘๒ เทคโนโลยี ๔

ง๒๐๒๖๕ งานใบตอง ง๒๐๒๖๔ ดอกไมประดิษฐ

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐กิจกรรมชุมนุม ๑๕ กิจกรรมชุมนุม ๑๕กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕ กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐

กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู

Page 55: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๒

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓

ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๓ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๓ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ชั่วโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐) ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๕ (๖๐)ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐) ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร ๑.๕ (๖๐)

ว๒๓๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐) ว๒๓๑๘๒ วิทยาการคํานวณ ๐.๕ (๒๐)ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐) ส๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐)ส๒๓๑๐๓ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐) ส๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐)พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐)พ๒๓๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๒๓๑๐๔ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐)ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐) ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐)ง๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐) ง๒๓๑๐๒ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐)อ๒๓๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐) อ๒๓๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๕ (๖๐)รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม ๓.๐ (๑๒๐) รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๐ (๘๐)ส๒๓๒๓๑ หนาท่ีพลเมือง ๐.๕ (๒๐) ส๒๓๒๓๒ หนาท่ีพลเมือง ๐.๕ (๒๐)ว๒๓๒๘๑ เทคโนโลยี ๕ ๑.๐ (๔๐) อ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษฟง-พูด๒ ๐.๕ (๒๐)อ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษฟง-พูด ๑ ๐.๕ (๒๐) เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐)เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐) ว๒๓๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตรว๒๓๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร ง๒๐๒๐๓ อาหารไทยง๒๐๒๐๗ การจัดสวนถาด ง๒๐๒๐๖ การปลูกผักสวนครัวง๒๐๒๐๕ การเลี้ยงปลาน้ําจืด ว๒๓๒๘๒ เทคโนโลยี ๖

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๖๐กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐กิจกรรมชุมนุม ๑๕ กิจกรรมชุมนุม ๑๕กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕ กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๑๕กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๑๐

กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู

Page 56: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๓

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔

ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๔ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๔ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ชั่วโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๗.๕ (๓๐๐) รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๖.๐ (๒๔๐)ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐) ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐)ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐) ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐)ว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตร (ชีววิทยา) ๑.๕ (๖๐) ว๓๑๑๐๒ การออกแบบเทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐)ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐) ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐)ส๓๑๑๐๓ ประวัติศาสตร ๐.๕ (๒๐) ส๓๑๑๐๔ ประวิติศาสตร ๐.๕ (๒๐)พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐)ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐) ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐)ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐) อ๓๑๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐)อ๓๑๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐) อ๓๑๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐)

รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๗.๕ (๓๐๐) รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๗.๕ (๓๐๐)ค๓๑๒๐๑ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๑ ๑.๕ (๖๐) ค๓๑๒๐๒ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๒ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๐๑ ฟสิกส๑ ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๐๒ ฟสิกส๒ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๒๑ เคม๑ี ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ ๑.๕ (๖๐)ส๓๐๒๒๑ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐) ว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา๑ ๑.๕ (๖๐)

อ๓๑๒๐๑ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน๑ ๐.๕ (๒๐) ว๓๐๒๖๑ โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ๑.๐ (๔๐)

ว๓๐๒๘๑ การวิเคราะหและแกปญหา ๑.๐ (๔๐) ส๓๐๒๒๒ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐)ง๓๐๒๗๒ การบัญชีเบื้องตน ๑.๐ (๔๐) อ๓๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน ๐.๕ (๒๐)

เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐)กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐)กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ กิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ

Page 57: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๔

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕

ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๕ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๕ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ชั่วโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๗.๐ (๒๘๐) รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๘.๐ (๓๒๐)ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐) ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐)ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐) ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐)ว๓๒๑๐๑ วิทยาศาสตร (เคมี) ๑.๕ (๖๐) ว๓๒๑๐๒ วิทยาศาสตร (ฟสิกส) ๑.๕ (๖๐)ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐) ว๓๒๑๐๓ วิทยาการคํานวณ ๐.๕ (๒๐)ส๓๒๑๐๓ ประวิติศาสตร ๐.๕ (๒๐) ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐)พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐) ส๓๒๑๐๔ ประวิติศาสตร ๐.๕ (๒๐)ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐) พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐)อ๓๒๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐) ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐)

ง๓๒๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐)อ๓๑๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐)

รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๘.๐ (๓๒๐) รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๖.๕ (๒๖๐)ค๓๒๒๐๑ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๑ ๑.๕ (๖๐) ค๓๒๒๐๒ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๒ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๐๓ ฟสิกส ๓ ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา ๓ ๑.๕ (๖๐)ส๓๒๒๐๑ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐) ส๓๒๒๐๒ หนาที่พลเมือง ๐.๕ (๒๐)

อ๓๒๒๐๓ ภาษาอังกฤษเพื่อการบันเทิง ๑ ๐.๕ (๒๐) อ๓๒๒๐๔ภาษาอังกฤเพื่อการบันเทิง๒ ๐.๕ (๒๐)

เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐) เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐)

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐)กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐)

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐)

กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ กิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ

Page 58: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๕

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนคูซอดประชาสรรค (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖

ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๖ (ภาคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกปท่ี ๖ (ภาคเรียนท่ี ๒)

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(หนวยกิต/ชั่วโมง) (หนวยกิต/ชั่วโมง)

รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๖.๕ (๒๖๐) รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน ๖.๐ (๒๔๐)ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐) ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ (๔๐)ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐) ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๐ (๔๐)ว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร

(โลก ดาราศาสตรและอวกาศ) ๑.๕ (๖๐)ว๓๓๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี

๐.๕ (๒๐)ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐) ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๑.๐ (๔๐)พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ (๒๐)ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐) ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕ (๒๐)อ๓๓๑๐๑ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐) ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ (๒๐)

อ๓๓๑๐๒ ภาษาตางประเทศ ๑.๐ (๔๐)รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๗.๕ (๓๐๐) รหัสวิชา รายวิชาเพ่ิมเติม ๗.๕ (๓๐๐)ค๓๓๒๐๑ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๕ ๑.๕ (๖๐) ค๓๓๒๐๒ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๖ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๐๔ ฟสิกส ๔ ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๐๕ ฟสิกส๕ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๒๔ เคม๔ี ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ ๑.๕ (๖๐)ว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา๔ ๑.๕ (๖๐) ว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา๕ ๑.๕ (๖๐)อ๓๓๒๐๓ ภาษาอังกฤษเพื่อการบันเทิง ๑ ๐.๕ (๒๐) อ๓๓๒๐๔ ภาษาอังกฤเพื่อการบันเทิง ๒ ๐.๕ (๒๐)

เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐) เลือกเรียน ๑.๐ (๔๐)ว๓๐๒๘๕ การเขียนโปรแกรมภาษา ง๓๐๒๖๙ การผูกผาง๓๐๒๐๖ การจัดสวนแกว ว๓๐๒๘๖ โครงงานคอมพิวเตอร

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ (๖๐)กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมแนะแนว ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมชุมนุม ๐.๕ (๒๐)กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐)

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๐.๕ (๒๐)

กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ กิจกรรมอาชพีระยะส้ันและการมีงานทาํ

Page 59: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๖

โครงสรางรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

๑. รายวิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร๒ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๑๑๐๓ การออกแบบเทคโนโลยี ๑ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิตว๒๑๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๑ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิตว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร ๔ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๒๑๐๓ การออกแบบเทคโนโลยี ๒ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิตว๒๒๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๒ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิตว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๕ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร๖ จํานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกิตว๒๓๑๐๓ การออกแบบเทคโนโลยี ๓ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิตว๒๓๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๓ จํานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวยกิต

๒. วิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๐๑ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกส๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๑๒๐๒ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกส๒ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๒๒๐๑ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๒๒๐๒ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร๒ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๓๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร ๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๓๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร ๒ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๑๒๘๑ เทคโนโลยี ๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๑๒๘๒ เทคโนโลยี ๒ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๒๒๘๑ เทคโนโลยี ๓ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๒๒๘๒ เทคโนโลยี ๔ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๓๒๘๑ เทคโนโลยี ๕ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิตว๒๓๒๘๒ เทคโนโลยี ๖ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนวยกิต

Page 60: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๗

โครงสรางหลักสูตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรโรงเรียนคูซอดประชาสรรค พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

ระดับช้ัน ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒รายวิชา นก./ชม. รายวิชา นก./ชม.

ม.๑ วิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑ว๒๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑วิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๐๑ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกสว๒๑๒๘๑ เทคโนโลยี ๑

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)

๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร ๒ว๒๑๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๑วิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๐๒ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกส ๒ว๒๑๒๘๒ เทคโนโลยี ๒

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)

๑.๐ (๔๐)

ม.๒ วิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ว๒๒๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒วิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๐๑ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ๑ว๒๒๒๘๑ เทคโนโลยี ๓

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)

๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร ๔ว๒๒๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๒

วิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๐๒ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ๒ว๒๒๒๘๒ เทคโนโลยี ๔

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)

๑.๐ (๔๐)ม.๓ วิชาพื้นฐาน

ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๕ว๒๓๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓วิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร ๑ว๒๓๒๘๑ เทคโนโลยี ๕

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร ๖ว๒๓๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๓

วิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร ๒ว๒๓๒๘๒ เทคโนโลยี ๖

๑.๕ (๖๐)๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)๑.๐ (๔๐)

Page 61: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๘

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร ศึกษาประเภท โครงสรางและหนาท่ีของสวนประกอบภายในเซลลสิ่งมีชีวิตดวยกลองจุลทรรศน กระบวนการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลลดวยวิธีการแพร และการออสโมซีส การดํารงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชการเลียงสารในพืช การเจริญเติบโตของพืช การสืบพันธุของพืช และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเก่ียวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจําแนกสารดวยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของสารการเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิและสารผสม การใชความรูทางเคมีใหเปนประโยชนตอการเลือกใชสารเคมีในชีวิตประจันไดอยางเหมาะสมและปลอดภัย

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูลการสังเกต การวิเคราะห การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรมตัวช้ีวัด

ว ๑.๒ ม.๑/๑ - ม.๑/๑๘ว ๒.๑ ม.๑/๑- ม.๑/๑๐

รวม ๒๘ ตัวช้ีวัด

Page 62: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๕๙

โครงสรางรายวิชาว๒๑๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑ หนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต

ว๑.๒ ม.๑/๑ม.๑/๒

-เซลลเปนหนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลลเพียงเซลลเดียว เชน อะมีบาพารามีเซียม ยีสต บางชนิดมีหลายเซลล เชนพืช สัตว-โครงสรางพ้ืนฐานท่ีพบในเซลลพืชและเซลลสัตวและสามารถสังเกตไดดวยกลองจุลทรรศนใชแสงไดแก เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสรางท่ีพบในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสัตว ไดแก ผนังเซลลและคลอโรพลาสต

๖ ๑๕

๒ รูปรางและหนาท่ีของเซลล

ว๑.๒ ม.๑/๓ -เซลลของสิ่งมีชีวิตมีรูปรางลักษณะท่ีหลากหลายและมีความเหมาะสมกับหนาท่ีของเซลลนั้น เชนเซลลประสาทสวนใหญมีเสนใยประสาทเปนแขนงยาวนํากระแสประสาทไปยังเซลลอ่ืนๆ ท่ีอยูไกลออกไป เซลลขนรากเปนเซลลผิวของรากท่ีมีผนังเซลลและเยื่อหุมเซลลยื่นยาวออกมาลักษณะคลายขนเสนเล็กๆ เพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีผิวในการดูดน้ําและธาตุอาหาร

๒ ๓

๓ ระบบของสิ่งมีชีวติ

ว๑.๒ ม.๑/๔ -พืชและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลมีการจัดระบบ โดยเริ่มจากเซลลไปเปนเนื้อเยื่ออวัยวะ ระบบอวัยวะและสิ่งมีชีวิตตามลําดับเซลลหลายเซลลมารวมกันเปนเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดมารวมกันและทํางานรวมกันเปนอวัยวะ อวัยวะตางๆ ทํางานรวมกันเปนระบบอวัยวะระบบอวัยวะทุกระบบทํางานรวมกันเปนสิ่งมีชีวิต

๒ ๒

Page 63: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/

ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๔ กระบวนการแพรและออสโมซีส

ว๑.๒ ม.๑/๕

-เซลลมีการนําสารเขาสูเซลลเพ่ือใชในกระบวนการตางๆ ของเซลล และมีการขจัดสารบางอยางท่ีเซลลไมตองการออกนอกเซลล การนําสารเขาและออกจากเซลลมีหลายวิธี เชน การแพรเปนการเคลื่อนท่ีของสารจากบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารสูงไปสูบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารต่ํา สวนออสโมซิสเปนการแพรของน้ําผานเยื่อหุมเซลลจากดานท่ีมีความเขมขนของสารละลายต่ําไปยังดานท่ีมีความเขมขนของสารละลายสูงกวา

๔ ๖

๕ กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช

ว๑.๒ ม.๑/๖ม.๑/๗

ม.๑/๘

-กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชท่ีเกิดข้ึนในคลอโรพลาสต จําเปนตองใชแสง แกสคารบอนไดออกไซดคลอโรฟลลและน้ํา ผลผลิตท่ีไดจากการสังเคราะหดวยแสง ไดแก น้ําตาลและแกสออกซิเจน

๖ ๑๐

๖ ไซเล็มและโฟลเอ็ม

ว๑.๒ ม.๑/๙ม.๑/๑๐

พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเปนเนื้อเยื่อมีลักษณะคลายทอเรียงตัวกันเปนกลุมเฉพาะท่ี โดยไซเล็ม ทําหนาท่ีลําเลียงน้ําและธาตุอาหาร มีทิศทางลําเลียงจากการรากไปสูลําตน ใบและสวนตางๆ ของพืช เพ่ือใชในการสังเคราะหดวยแสง รวมถึงกระบวนการอ่ืนๆ สวนโฟลเอ็มทําหนาท่ีลําเลียงอาหารท่ีไดจากการสังเคราะหดวยแสง มีทิศทางลําเลียงจากบริเวณท่ีมีการสังเคราะหดวยแสงไปสูสวนตางๆ ของพืช

๔ ๔

๗ การสืบพันธุของพืช

ว๑.๒ ม.๑/๑๑ม.๑/๑๒ม.๑/๑๓

การสืบพันธแบบอาศัยเพศเปนการสืบพันธท่ีมีการผสมของสเปรมกับเซลลไข การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้ึนท่ีดอก โดยภายในอับเรณูของสวนเกสรเพศผูมีเรณู ซึ่งทําหนาท่ีสรางสเปรม ภายในออวุลของสวนเกสร เพศเมียมีถุงเอ็มบริโอ ทําหนาท่ีสรางเซลลไข-การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ เปนการสืบพันธุท่ีพืชตนใหมไมไดเกิดจากการปฏิสนธิระหวางสเปรมกับเซลลไขแตเกิดจากสวนตางๆ ของพืช เชน ราก ลําตน ใบ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาข้ึนมาเปนตนใหมได

๖ ๘

Page 64: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๑

๘ ธาตุอาหารของพืช

ว๑.๒ ม.๑/๑๔ม.๑/๑๕

-พืชตองการธาตุอาหารท่ีจําเปนหลายชนิดในการเจริญเติบโตและการดํารงชีวิต-พืชตองการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ไดแกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียมแมกนีเซียม และกํามะถัน ซึ่งในดินอาจมีไมเพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตของพืช จึงตองมีการใหธาตุอาหารในรูปของปุยกับพืชอยางเหมาะสม

๒ ๓

๙ เทคโนโลยีชีวภาพ

ว๑.๒ ม.๑/๑๖ม.๑/๑๗ม.๑/๑๘

เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เปนการนําความรูเก่ียวกับปจจัยท่ีจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชมาใชในการเพ่ิมจํานวนพืชและทําใหพืชสามารถเจริญเติบโตไดในหลอดทดลอง ซึ่งจะไดพืชจํานวนมากในระยะเวลาสั้น และสามารถนําเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาประยุกตเพ่ือการอนุรักษพันธุกรรมพืช ปรับปรุงพันธุพืชท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ การผลิตยาและสารสําคัญในพืชและอ่ืนๆ

๔ ๔

๑๐ สมบัติของสาร

ว๒.๑ ม.๑/๑ม.๑/๒ ม.๑/๓

-ธาตุแตละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวและมีสมบัติทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการตางกันซึ่งสามารถนํามาจัดกลุมธาตุเปนโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นําความรอน นําไฟฟา ดึงเปนเสน หรือตีเปนแผนบาง ๆ ได และมีความหนาแนนท้ังสูงและต่ํา ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ํา มีผิวไมมันวาว ไมนําความรอน ไมนําไฟฟา เปราะแตกหักงายและมีความหนาแนนต่ํา ธาตุก่ึงโลหะมีสมบัติบางประการเหมือนโลหะ และสมบัติบางประการเหมือนอโลหะ

๖ ๑๕

Page 65: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๒

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑๑ สารบริสุทธิ์และสารผสม

ว๒.๑ ม.๑/๔ม.๑/๕ ม.๑/๖

สารบริสุทธิ์ประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียว สวนสารผสมประกอบดวยสารตั้งแต ๒ ชนิดข้ึนไป สารบริสุทธแตละชนิดมีสมบัติบางประการท่ีเปนคาเฉพาะตัว เชน จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แตสารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมคงท่ี ข้ึนอยูกับชนิดและสัดสวนของสารท่ีผสมอยูดวยกัน

๕ ๑๕

๑๒ ธาตุและสารประกอบ

ว๒.๑ ม.๑/๗ม.๑/๘

ธาตุประกอบดวยอนุภาคท่ีเล็กท่ีสุดท่ียังแสดงสมบัติของธาตุนั้นเรียกวา อะตอมธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไมสามารถแยกสลายเปนสารอ่ืนไดดวยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนดวยสัญลักษณธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต ๒ ชนิดข้ึนไปรวมตัวกันทางเคมีในอัตราสวนคงท่ี มีสมบัติแตกตางจากธาตุท่ีเปนองคประกอบ สามารถแยกเปนธาตุไดดวยวิธีทางเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทนไดดวยสูตรเคมีโครงสรางอะตอมท่ีประกอบดวยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนโดยใชแบบจําลอง

๕ ๕

Page 66: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๓

Page 67: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๔

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑๓ สถานะของสาร ว๒.๑ ม.๑/๙ -สสารทุกชนิดประกอบดวยอนุภาคโดยสารชนิดเดียวกันท่ีมีสถานะของแข็งของเหลว แกส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคการเคลื่อนท่ีของอนุภาคแตกตางกัน ซึ่งมีผลตอรูปรางและปริมาตรของสสาร-อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกันมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคมากท่ีสุดอนุภาคสั่นอยูกับท่ี ทําใหมีรูปรางและปริมาตรคงท่ี-อนุภาคของของเหลวอยูใกลกันมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็งแตมากกวาแกส อนุภาคเคลื่อนท่ีไดแตไมเปนอิสระเทาแกส ทําใหมีรูปรางไมคงท่ี แตปริมาตรคงท่ี-อนุภาคของแกสอยูหางกันมากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยท่ีสุดอนุภาคเคลื่อนท่ีไดอยางอิสระทุกทิศทางทําใหมีรูปรางและปริมาตรไมคงท่ี

๔ ๖

๑๔ พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร

ว๒.๑ ม.๑/๑๐ ความรอนมีผลตอการเปลี่ยนสถานะของสสารเม่ือใหความรอนแกของแข็งอนุภาคของของแข็งจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนจนถึงระดับหนึ่งซึ่งของแข็งจะใชความรอนในการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวเรียกความรอนในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลววาความรอนแฝงของการหลอมเหลว

๔ ๔

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

Page 68: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๕

เม่ือใหความรอนแกของเหลวอนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนจนถึงระดับหนึ่งซึ่งของเหลวจะใชความรอนในการเปลี่ยนสถานะเปนแกสเรียกความรอนท่ีใชในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกสวาความรอนแฝงของการกลายเปนไอ

รวม ๒๘ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 69: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๖

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความรอนท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงของสาร การถายโอนความรอน การดูดกลืนและคายความรอน สมดุลความรอน องคประกอบของบรรยากาศ การแบงชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตยตอบรรยากาศ องคประกอบของบรรยากาศ ไดแกอุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆ และฝน พายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน มรสุม การพยากรณอากาศ และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูลการสังเกต การวิเคราะห การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรม

ตัวช้ีวัดว ๒.๒ ม.๑/๑ว ๒.๓ ม.๑/๑- ม๑./๗ว ๓.๒ ม.๑/๑-ม๑./๗

รวม ๑๕ ตัวช้ีวัด

Page 70: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๗

โครงสรางรายวิชาว ๒๑๑๐๒ รายวิชาวิทยาศาสตร ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑ ความดันและความสูง

ว๒.๒ ม.๑/๑ -เม่ือวัตถุอยูในอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระทําตอวัตถุในทุกทิศทาง แรงท่ีอากาศกระทําตอวัตถุข้ึนอยูกับขนาดพ้ืนท่ีของวัตถุนั้น แรงท่ีอากาศกระทําตั้งฉากกับผิววัตถุตอหนึ่งหนวยพ้ืนท่ีเรียกวาความดันอากาศ-ความดันอากาศมีความสัมพันธกับความสูงจากพ้ืนโลก โดยบริเวณท่ีสูงจากพ้ืนโลกข้ึนไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศนอยลง ความดันอากาศก็จะลดลง

๘ ๘

๒ ปริมาณความรอน

ว๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒

เม่ือสสารไดรับหรือสูญเสียความรอนอาจทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลี่ยนรูปราง-ปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิข้ึนกับมวล ความรอนจําเพาะและอุณหภูมิท่ีเปลี่ยนไป-ปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะข้ึนกับมวลและความรอนแฝงจําเพาะ โดยขณะท่ีสสารเปลี่ยนสถานะอุณหภูมิจะไมเปลี่ยนแปลง

๖ ๕

๓ ประโยชนของการหดและขยายตัวของสสาร

ว๒.๑ ม.๑/๓ ม.๑/๔

-ความรอนทําใหสสารขยายตัวหรือหดตัวได เนื่องจากสสารไดรับความรอนจะทําใหอนุภาคเคลื่อนท่ีเร็วข้ึน ทําใหเกิดการขยายตัว แตเม่ือสสารคายความรอนจะทําใหอนุภาคเคลื่อนท่ีชาลง ทําใหเกิดการหดตัว

๘ ๙

Page 71: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๔ การถายโอนความรอน

ว๒.๑ ม.๑/๕ม.๑/๖ ม.๑/

-ความรอนถายโอนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิสูงกวาไปยังสสารท่ีมีอุณหภูมิต่ํากวาจนกระท่ังอุณหภูมิของสสารท้ังสองเทากัน สภาพท่ีสสารท้ังสองมีอุณหภูมิเทากัน เรียกวา สมดุลความรอน-เม่ือมีการถายโอนความรอนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิตางกันจนเกิดสมดุลความรอน ความรอนท่ีเพ่ิมข้ึนของสสารหนึ่งจะเทากับความรอนท่ีลดลงของอีกสสารหนึ่ง ซึ่งเปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงาน

๘ ๘

๕ การแบงชั้นบรรยากาศ

ว๓.๒ ม.๑/๑ โลกมีบรรยากาศหอหุม นักวิทยาศาสตรใชสมบัติและองคประกอบของบรรยากาศในการแบงบรรยากาศของโลกออกเปนชั้น ซึ่งแบงไดหลายรูปแบบตามเกณฑท่ีแตกตางกัน โดยท่ัวไปนักวิทยาศาสตรใชเกณฑการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบงบรรยากาศ ไดเปน ๕ ชั้น ไดแกชั้นโทรโพสเฟยร ชั้นสตราโตสเฟยร ชั้นมีโซสเฟยร ชั้นเทอรโมสเฟยร และชั้นเอกโซสเฟยร

๘ ๑๐

๖ ลมฟาอากาศ

ว๓.๒ ม.๑/๒ ลมฟาอากาศ เปนสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพ้ืนท่ีหนึ่งท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยูกับองคประกอบลงฟาอากาศ ไดแก อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆและหยาดน้ําฟา โดยหยาดน้ําฟาท่ีพบบอยในประเทศไทย ไดแก ฝน องคประกอบลมฟาอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ข้ึนอยูกับปจจัยตางๆ เชน ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย และลักษณะพ้ืนผิวโลกสงผลตออุณหภูมิอากาศอุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ําสงผลตอความชื้นความกดอากาศสงผลตอลม ความชื้นและลมสงผลตอเมฆ

๖ ๕

๗ พายุ ว๓.๒ ม.๑/๓ -พายุหมุนเขตรอนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเลท่ีน้ํามีอุณหภูมิสูงตั้งแต ๒๖-๒๗ องศาเซลเซียส ข้ึนไป ทําใหอากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชื้นสูงบริเวณนั้นเคลื่อนท่ีสูงข้ึนอยางรวดเร็วเปนบริเวณกวาง อากาศจากบริเวณอ่ืนเคลื่อนท่ีเขามาแทนท่ีและพัดเวียนเขาหาศูนยกลางของพายุ ยิ่งใกล

๕ ๕

Page 72: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๖๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ศูนยกลาง อากาศจะเคลื่อนท่ีพัดเวียนเกือบเปนวงกลมและมีอัตราเร็วสูงสุด พายุหมุนเขตรอนทําใหเกิดคลื่นพายุซัดฝง ฝนตกหนัก ซึ่งอาจกอนใหเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน จึงควรปฏิบัติตนใหปลอดภัยโดยติดตามขาวสารการพยากรณอากาศ

๙ ภูมิอากาศโลก

ว๓.๒ ม.๑/๖ม.๑/๗

-ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องโดยปจจัยทางธรรมชาติ แตปจจุบันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดข้ึนอยางรวดเร็วเนื่องจากกิจกรรมของมนุษยในการปลดปลอยแกสเรือนกระจกสูบรรยากาศ แกสเรือนกระจกท่ีถูกปลดปลอยมากท่ีสุด ไดแก แกสคารบอนไดออกไซดซึ่งหมุนเวียนอยูในวัฏจักรคารบอน

๕ ๕

รวม ๑๕ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 73: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๐

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิ เคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การทํางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกตใชความรู ทักษะและทรัพยากร โดยวิเคราะหเปรียบเทียบและเลือกขอมูลท่ีจําเปนเพ่ือออกแบบวิธีการแกปญหาในชีวิตประจําวันในดานการเกษตรและอาหาร และสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไกไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหา

โดยอาศัยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบุปญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา ออกแบบวิธีการแกปญหา วางแผนและดําเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงานเลือกใชวัดสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการแกปญหาไดอยางถูกตอง เหมาะสมและปลอดภยั

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรมตัวช้ีวัด

ว ๔.๑ ม.๑/๑-๕รวม ๕ ตัวช้ีวัด

Page 74: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๑

โครงสรางรายวิชา

ว๒๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการ

เรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/

ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ เทคโนโลยีรอบตัว

ว๔.๑ ม.๑/๑ อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันและวิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

๔ ๒๐

๒ วัสดุและอุปกรณนารู

ว๔.๑ ม.๑/๕ ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไฟฟาหรืออิเล็กทรอนิกส เพ่ือแกปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสม และปลอดภัย

๔ ๒๐

๓ การแกปญหาตามกระบวนการออกแบบ

ว๔.๑ ม.๑/๒-๔

ระบุปญหาหรือความตองการในชีวิตประจําวัน รวบรวม วิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา

๔ ๒๐

การออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะห เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปน นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจ วางแผนและดําเนินการแกปญหา

๕ ๒๕

ทดสอบ ประเมินผลและระบุขอบกพรองท่ีเกิดข้ึน พรอมท้ังหาแนวทางปรับปรุงแกไขและนําเสนอผลการแกปญหา

๓ ๑๕

รวม ๕ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 75: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๒

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๑๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจําเปนตอการแกปญหา ข้ันตอนการแกปญหา การเขียนรหัสจําลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายท่ีมีการใชงานตัวแปร เงื่อนไขและการวนซ้ํา เพ่ือแกปญหาทางคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร การรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ การประมวลผลขอมูล การสรางทางเลือกและประเมินผลเพ่ือตัดสินใจ ซอฟตแวรและบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีใชในการจัดการขอมูล แนวทางการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศใหปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ขอตกลงและขอกําหนด การใชสื่อและแหลงขอมูล

โดยนําแนวคิดนามธรรมและข้ันตอนการแกปญหาไปประยุกตใชในการเขียนโปรแกรมหรือแกปญหาในชีวิตจริง รวบรวมขอมูลและสรางทางเลือก

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เกิดประโยชนตอการเรียนรู และไมสรางความเสียหายใหแกผูอ่ืน มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรมตัวช้ีวัด

ว ๔.๒ ม.๑/๑-๔รวม ๔ ตัวช้ีวัด

Page 76: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๓

โครงสรางรายวิชา

ว๒๑๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ ตระหนักรูตระหนักคิด

ว๔.๒ ม.๑/๔ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยใชสื่อและแหลงขอมูลตามขอกําหนดและขอตกลง

๒ ๑๐

๒ รวบรวมขอมูลอยางไรดี

ว๔.๒ ม.๑/๔ รวบรวมขอมูลปฐมภูมิประมวลผลประเมินผลนําเสนอขอมูล และสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

๒ ๑๐

๓ แนวคิดเชิงนามธรรม

ว๔.๒ ม.๑/๑ ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแกปญหาหรืออธิบายการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง

๓ ๑๕

๔ การแกปญหา ว๔.๒ ม.๑/๑-๒ ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายเพ่ือแกปญหาทางคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร

๓ ๑๕

๕ Scratch ว๔.๒ ม.๑/๑-๒ ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแกปญหาหรืออธิบายการทํางานท่ีพบในชีวิตจริงออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายเพ่ือแกปญหาทางคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร

๕ ๒๕

๖ สนุกกับฟอรมออนไลน

ว๔.๒ ม.๑/๔ รวบรวมขอมูลปฐมภูมิประมวลผลประเมินผลนําเสนอขอมูล และสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

๒ ๑๐

๗ ค.ป.ส.โชว ว๔.๒ ม.๑/๔ รวบรวมขอมูลปฐมภูมิประมวลผลประเมินผลนําเสนอขอมูล และสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใช

๓ ๑๕

Page 77: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

ซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

รวม ๔ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

อธิบาย ทดลอง แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลึก การกลั่นอยางงาย โครมาโทกราฟแบบกระดาษ การสกัดดวยตัวทําละลาย ชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทําละลาย อุณหภูมิ ความดัน ปริมาณตัวละลายในสารละลายในหนวยความเขมขนเปนรอยละ ปริมาตรตอปริมาตร มวลตอมวล และมวลตอปริมาตร วิเคราะห คํานวณ ออกแบบการทดลองและทดลอง งานและกําลัง หลักการทํางานของเครื่องกลอยางงาย ออกแบบ ทดลองปจจัยท่ีมีผลตอพลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวง การเปลี่ยนพลังงานระหวางพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลน การเปลี่ยนและการถายโอนพลังงานโดยใชกฎการอนุรักษพลังงานพยากรณ ออกแบบการทดลอง ทดลอง เขียนแผนภาพ การเคลื่อนท่ีของวัตถุแรงและแรงลัพธท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทําตอวัตถุในแนวเดียวกัน ปจจัยท่ีมีผลตอความดันของของเหลว แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลว แรงท่ีกระทําตอวัตถุในของเหลว แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานจลน แรงอ่ืน ๆ ท่ีกระทําตอวัตถุ โมเมนตของแรง สนามแมเหล็กสนามไฟฟา และสนามโนมถวง และทิศทางของแรงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในแตละสนาม แรงแมเหล็กแรงไฟฟาและแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุ อัตราเร็ว ความเร็วและการกระจัด

โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบสืบคนขอมูล การทดลองและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรค

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดว๒.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖ว๒.๓ ม.๒/๑- ม.๒/๖ว๒.๒ ม.๒/๑- ม.๒/๑๕

รวม ๒๗ ตัวช้ีวัด

Page 78: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๕

โครงสรางรายวิชาว๒๒๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑ การแย กสาร ๑.อธบิายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหงการตกผลึก การกลั่นอยางงาย โครมาโทกราฟแบบกระดาษ การสกัดดวยตัวทําละลาย โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ๒.แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลึกการกลั่นอยางงาย โครมาโทกราฟแบบกระดาษการสกัดดวยตัวทําละลาย

- การแยกสารผสมใหเปนสารบริสุทธิ์ทําไดหลายวิธีข้ึนอยูกับสมบัติของสารนั้นๆ การระเหยแหงใชแยกสารละลายซึ่งประกอบดวยตัวละลายท่ีเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวโดยใชความรอนระเหยตัวทําละลายออกไปจนหมดเหลือแตตัวละลายการตกผลึกใชแยกสารละลายท่ีประกอบดวยตัวละลายท่ีเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวโดยทําใหสารละลายอ่ิมตัวแลวปลอยใหตัวทําละลายระเหยออกไปบางสวน ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอยางงายใชแยกสารสารละลายท่ีประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลายท่ีเปนของเหลวท่ีมีจุดเดือดตางกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลว บริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยใหความรอนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเปนไอแยกจาก

Page 79: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/

ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

สารละลายแลวควบแนนกลับเปนของเหลวอีกครั้ง ขณะท่ีของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงท่ี โครมาโทกราฟแบบกระดาษเปนวิธีการแยกสารผสมท่ีมีปริมาณนอยโดยใชแยกสารท่ีมีสมบัติการละลายในตัวทําละลายและการถูกดูดซับดวยตัวดูดซับแตกตางกัน ทําใหสารแตละชนิดเคลื่อนท่ีไปบนตัวดูดซับไดตางกันสารจึงแยกออกจากกันไดอัตราสวนระหวางระยะทางท่ีสารองคประกอบแตละชนิดเคลื่อนท่ีไดบนตัวดูดซับ กับระยะทางท่ีตัวทําละลายเคลื่อนท่ีไดซึ่งเปนคาเฉพาะตัวของสารแตละชนิดในตัวทําละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ การสกัดดวยตัวทําละลายเปนวิธีการแยกสารผสมท่ีมีสมบัติการละลายในตัวทําละลายท่ีตางกัน โดยชนิดของตัวทําละลายมีผลตอชนิดและปริมาณของสารท่ีสกัดได การสกัดโดยการกลั่นดวยไอ น้ํา ใชแยกสารท่ีระเหยงาย ไมละลายน้ํา และไมทําปฏิกิริยากับน้ํา ออกจากสารท่ีระเหยยาก โดยใชไอน้ําเปนตัวพา

Page 80: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๓. นําวิธีการแยกสารไปใชแกปญหาในวิตประจําวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร

- ความรูดานวิทยาศาสตรเก่ียวกับการแยกสารบูรณาการกับคณิตศาสตรเทคโนโลยี โดยใชกระบวนการทางวิศวกรรมสามารถนําไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวัน หรือปญหาท่ีพบในชุมชน หรือสรางนวัตกรรม โดยมีข้ันตอน ดังนี้ระบุปญหาในชีวิตประจําวันท่ีเก่ียวกับการแยกสารโดยใชสมบัติทางกายภาพ หรือนวัตกรรมท่ีตองการพัฒนาโดยใชหลักการดังกลาว- รวบรวมขอมูลและแนวคิดเก่ียวกับการแยกสารโดยใชสมบัติทางกายภาพท่ีสอดคลองกับปญหาท่ีระบุหรือนําไปสูการพัฒนานวัตกรรมนั้น

- ออกแบบวิธีการแกปญหา หรือพัฒนานวัตกรรมท่ีเก่ียวกับการแยกสารในสารผสมโดยใชสมบัติทางกายภาพโดยเชื่อมโยงความรูดานวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและกระบวนการทางวิศวกรรมรวมท้ังกําหนดและควบคุม

๒ ๒

Page 81: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ตัวแปรอยางเหมาะสมครอบคลุม- วางแผนและดําเนินการแกปญหา หรือพัฒนานวัตกรรม รวบรวมขอมูลจัดกระทําขอมูลและเลือกวิธีการสื่อความหมายท่ีเหมาะสมในการนําเสนอผล

- ทดสอบ ประเมินผลปรับปรุงวิธีการแกปญหาหรือนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนโดยใชหลักฐานเชิงประจักษท่ีรวบรวมได

- นําเสนอวิธีการแกปญหา หรือผลของนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึน และผลท่ีได โดยใชวิธีการสื่อสารท่ีเหมาะสมและนาสนใจ

๔. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทําละลาย อุณหภูมิ ท่ีมีตอสภาพละลายไดของสารรวมท้ังอธบิายผลของความดันท่ีมีตอสภาพละลายไดของสารโดยใชสารสนเทศ

- สารละลายอาจมีสถานะเปนของแข็ง ของเหลวและแกส สารละลายประกอบดวยตัวทําละลายและตัวละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารท่ีมีสถานะเดียวกัน สารท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดจัดเปนตัวทําละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารท่ีมีสถานะตางกัน สารท่ีมีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเปนตัวทําละลาย

๓ ๔

Page 82: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๗๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

- สารละลายท่ีตัวละลายไมสามารถละลายในตัวทําละลายไดอีกท่ีอุณหภูมิหนึ่ง ๆ เรียกวาสารละลายอ่ิมตัว- สภาพละลายไดของสารในตัวทําละลาย เปนคาท่ีบอกปริมาณของสารท่ีละลายไดในตัวทําละลาย๑๐๐ กรัม จนไดสารละลายอ่ิมตัว ณ อุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ สภาพละลายไดของสารบงบอกความสามารถในการละลายไดของตัวละลายในตัวทําละลาย ซึ่งความสามารถในการละลายของสารข้ึนอยูกับชนิดของตัวทําละลายและตัวละลาย อุณหภูมิ และความดัน- สารชนิดหนึ่ง ๆ มีสภาพละลายไดแตกตางกันในตัวทําละลายท่ีแตกตางกัน และสารตางชนิดกันมีสภาพละลายไดในตัวทําละลายหนึ่ง ๆ ไมเทากัน- เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน สารสวนมาก สภาพละลายไดของสารจะเพ่ิมข้ึน ยกเวนแกสเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนสภาพการละลายไดจะลดลงสวนความดันมีผลตอแกส

Page 83: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

โดยเม่ือความดันเพ่ิมข้ึนสภาพละลายไดจะสูงข้ึน- ความรูเก่ียวกับสภาพละลายไดของสารเม่ือเปลี่ยนแปลงชนิดตัวละลายตัวทําละลาย และอุณหภูมิ สามารถนาไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันเชน การทําน้ําเชื่อมเขมขนการสกัดสารออกจากสมุนไพรใหไดปริมาณมากท่ีสุด

๕. ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหนวยความเขมขนเปนรอยละ ปริมาตรตอปริมาตร มวลตอมวลและมวลตอปริมาตร๖. ตระหนักถึงความสําคัญของการนําความรูเรื่องความเขมขนของสารไปใช โดยยกตัวอยางการใชสารละลายในชีวิตประจําวันอยางถูกตองและปลอดภัย

- ความเขมขนของสารละลาย เปนการระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย หนวยความเขมขนมีหลายหนวยท่ีนิยมระบุเปนหนวยเปนรอยละ ปริมาตรตอปริมาตรมวลตอมวล และมวลตอปริมาตร- รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร เปนการระบุปริมาตรตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หนวยปริมาตรเดียวกัน นิยมใชกับสารละลายท่ีเปนของเหลวหรือแกส- รอยละโดยมวลตอมวลเปนการระบุมวลตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หนวยมวลเดียวกัน นิยมใชกับสารละลายท่ีมีสถานะเปนของแข็ง

Page 84: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

- รอยละโดยมวลตอปริมาตร เปนการระบุมวลตัวละลายในสารละลาย๑๐๐ หนวยปริมาตรนิยมใชกับสารละลายท่ีมีตัวละลายเปนของแข็งในตัวทําละลายท่ีเปนของเหลว การใชสารละลายในชีวิตประจําวัน ควรพิจารณาจากความเขมขนของสารละลาย ข้ึนอยูกับจุดประสงคของการใชงานและผลกระทบตอสิ่งชีวิตและสิ่งแวดลอม

๒ งานและพลังงาน ๑.วิเคราะหสถานการณและคํานวณเก่ียวกับงานและกําลังท่ีเกิดจากแรงท่ีกระทําตอวัตถุโดยใชสมการ W = Fsและ P = จากขอมูลท่ีรวบรวมได๒. วิเคราะหหลักการทํางานของเครื่องกลอยางงายจากขอมูลท่ีรวบรวมได๓. ตระหนักถึงประโยชนของความรูของเครื่องกลอยางงายโดยบอกประโยชนและการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

- เม่ือออกแรงกระทําตอวัตถุ แลวทําใหวัตถุเคลื่อนท่ีโดยแรงอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนท่ีจะเกิดงานงานจะมีคามาก หรือนอยข้ึนกับขนาดของแรงและระยะทางในแนวเดียวกับแรง- งานท่ีทําในหนึ่งหนวยเวลาเรียกวากําลัง หลักการของงานนําไปอธบิายการทํางานของเครื่องกลอยางงาย ไดแก คาน พ้ืนเอียงรอกเดี่ยว ลิ่ม สกรู ลอและเพลา ซี่งนําไปใชประโยชนดานตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

Page 85: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๔. ออกแบบและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธบิายปจจัยท่ีมีผลตอพลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวง

พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีพลังงานจลนจะมีคามากหรือนอยข้ึนกับมวลและอัตราเร็ว สวนพลังงานศักยโนมถวงเก่ียวของกับตําแหนงของวัตถุ จะมีคามาก หรือนอยข้ึนกับมวลและตําแหนงของวัตถุ เม่ือวัตถุอยูในสนามโนมถวงวัตถุจะมีพลังงานศักยโนมถวง พลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวงเปนพลังงานกล

๓ ๔

๕.แปลความหมายขอมูลและอธบิายการเปลี่ยนพลังงานระหวางพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนของวัตถุโดยพลังงานกลของวัตถุมีคาคงตัวจากขอมูลท่ีรวบรวมได

- ผลรวมของพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนเปนพลังงานกล พลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนของวัตถุหนึ่ง ๆสามารถเปลี่ยนกลับไปมาไดโดยผลรวมของพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนมีคาคงตัว นั่นคือพลังงานกลของวัตถุมีคาคงตัว

๒ ๔

๖.วิเคราะหสถานการณและอธบิายการเปลี่ยนและการถายโอนพลังงานโดยใชกฎการอนุรักษพลังงาน

- พลังงานรวมของระบบมีคาคงตัวซึ่งอาจเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งเปนอีกพลังงานหนึ่ง เชน พลังงานกลเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาพลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน พลังงานเสียง พลังงานแสง

๒ ๔

Page 86: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

เนื่องมาจากแรงเสียดทานพลังงานเคมีในอาหารเปลี่ยนเปนพลังงานท่ีไปใชในการทํางานของสิ่งมีชีวิต- นอกจากนี้พลังงานยังสามารถถายโอนไปยังอีกระบบหนึ่ง หรือไดรับพลังงานจากระบบอ่ืนไดเชน การถายโอนความรอนระหวางสสาร การถายโอนพลังงานของการสั่นของแหลงกําเนิดเสียงไปยังผูฟงท้ังการเปลี่ยนพลังงานและการถายโอนพลังงานพลังงานรวมท้ังหมดมีคาเทาเดิมตามกฎการอนุรักษพลังงาน

๓ แรงและการเคลื่อนท่ี

๑.พยากรณการเคลื่อนท่ีของวัตถุท่ีเปนผลของแรงลัพธท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทําตอวัตถุในแนวเดียวกันจากหลักฐานเชิงประจักษ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทําตอวัตถุในแนวเดียวกัน

แรงเปนปริมาณเวกเตอรเม่ือมีแรง หลาย ๆ แรงกระทําตอวัตถุ แลวแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะไมเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีแตถาแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ี

Page 87: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๓.ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธบิายปจจัยท่ีมีผลตอความดันของของเหลว

- เม่ือวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรงท่ีของเหลวกระทําตอวัตถุในทุกทิศทาง โดยแรงท่ีของเหลวกระทําตั้งฉากกับผิววัตถุตอหนึ่งหนวยพ้ืนท่ี เรียกวาความดันของของเหลว- ความดันของของเหลวมีความสัมพันธกับความลึกจากระดับผิวหนาของของเหลว โดยบริเวณท่ีลึกลงไปจากระดับผิวหนาของของเหลวมากข้ึน ความดันของของเหลวจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากของเหลวท่ีอยูลึกกวา จะมีน้ําหนักของของเหลวดานบนกระทํามากกวา

๓ ๔

๔. วิเคราะหแรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชิงประจักษ๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทําตอวัตถุในของเหลว

- เม่ือวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรงพยุงเนื่องจากของเหลวกระทําตอวัตถุโดยมีทิศข้ึนในแนวดิ่ง การจมหรือการลอยของวัตถุข้ึนกับน้ําหนักของวัตถุและแรงพยุง ถาน้ําหนักของวัตถุและแรงพยุงของของเหลวมีคาเทากัน วัตถุจะลอยนิ่งอยูในของเหลว แตถาน้ําหนักของวัตถุมีคามากกวาแรงพยุงของของเหลว วัตถุจะจม

Page 88: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๖.อธบิายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลนจากหลักฐานเชิงประจักษ

- แรงเสียดทานเปนแรงท่ีเกิดข้ึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ เพ่ือตานการเคลื่อนท่ีของวัตถุนั้น โดยถาออกแรงกระทําตอวัตถุท่ีอยูนิ่งบนพ้ืนผิวใหเคลื่อนท่ีแรงเสียดทานก็จะตานการเคลื่อนท่ีของวัตถุแรงเสียดทานท่ีเกิดข้ึนในขณะท่ีวัตถุยังไมเคลื่อนท่ีเรียก แรงเสียดทานสถิต แตถาวัตถุกําลังเคลื่อนท่ีแรงเสียดทานก็จะทําใหวัตถุนั้นเคลื่อนท่ีชาลง หรือหยุดนิ่ง เรียก แรงเสียดทานจลน

๒ ๔

๗.ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธบิายปจจัยท่ีมีผลตอขนาดของแรงเสียดทาน๘. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอ่ืน ๆ ท่ีกระทําตอวัตถุ

- ขนาดของแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุข้ึนกับลักษณะผิวสัมผัสและขนาดของแรงปฏิกิรยิาตั้งฉากระหวางผิวสัมผัส

Page 89: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๙. ตระหนักถึงประโยชนของความรูเร่ืองแรงเสียดทานโดยวิเคราะหสถานการณปญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เปนประโยชนตอการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวนั

- กิจกรรมในวิตประจําวันบางกิจกรรมตองการแรงเสียดทาน เชน การเปดฝาเกลียวขวดน้ํา การใชแผนกันลื่นในหองน้ํา บางกิจกรรมไมตองการแรงเสียดทาน เชน การลากวัตถุบนพ้ืน การใชน้ํามันหลอลื่นในเครื่องยนต- ความรูเรื่องแรงเสียดทานสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

๒ ๒

๑๐. ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธบิายโมเมนตของแรงเม่ือวัตถุอยูในสภาพสมดุลตอการหมุนและคํานวณโดยใชสมการ M = Fl

- เม่ือมีแรงท่ีกระทําตอวัตถุโดยไมผานศูนยกลางมวลของวัตถุ จะเกิดโมเมนตของแรง ทําใหวัตถุหมุนรอบศูนยกลางมวลของวัตถุนั้น- โมเมนตของแรงเปนผลคูณของแรงท่ีกระทําตอวัตถุกับระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงเม่ือผลรวมของโมเมนตของแรงมีคาเปนศูนย วัตถุจะอยูในสภาพสมดุลตอการหมุน โดยโมเมนตของแรงในทิศทวนเข็มนาฬิกาจะมีขนาดเทากับโมเมนตของแรงในทิศตามเข็มนาฬิกา- ของเลนหลายชนิดประกอบดวยอุปกรณหลาย

๓ ๔

Page 90: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

สวนท่ีใชหลักการโมเมนตของแรง ความรูเรื่องโมเมนตของแรงสามารถนําไปใชออกแบบและประดิษฐของเลนได

๑๑. เปรียบเทียบแหลงของสนามแมเหล็กสนามไฟฟา และสนามโนมถวง และทิศทางของแรงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในแตละสนามจากขอมูลท่ีรวบรวมได๑๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเหล็ก แรงไฟฟาและแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุ

- วัตถุท่ีมีมวลจะมีสนามโนมถวงอยูโดยรอบ แรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามโนมถวงจะมีทิศพุงเขาหาวัตถุท่ีเปนแหลงของสนามโนมถวงวัตถุท่ีมีประจุไฟฟาจะมีสนามไฟฟาอยูโดยรอบแรงไฟฟาท่ีกระทําตอวัตถุท่ีมีประจุจะมีทิศพุงเขาหาหรือออกจากวัตถุท่ีมีประจุท่ีเปนแหลงของสนามไฟฟา- วัตถุท่ีเปนแมเหล็กจะมีสนามแมเหล็กอยูโดยรอบแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอข้ัวแมเหล็กจะมีทิศพุงเขาหาหรือออกจากข้ัวแมเหล็กท่ีเปนแหลงของสนามแมเหล็ก

๑๓. วิเคราะหความสัมพันธระหวางขนาดของแรงแมเหล็กแรงไฟฟาและแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามนั้น ๆ กับระยะหางจากแหลงของสนามถึงวัตถุจากขอมูลท่ีรวบรวมได

- ขนาดของแรงโนมถวง แรงไฟฟา และแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยูในสนามนั้น ๆ จะมีคาลดลงเม่ือวัตถุอยูหางจากแหลงของสนามนั้น ๆ มากข้ึน

๒ ๔

Page 91: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑๔. อธบิายและคํานวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนท่ีของวัตถุโดยใชสมการV= และ⃑ = ⃑⃑จากหลักฐานเชิงประจักษ

- การเคลื่อนท่ีของวัตถุเปนการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุเทียบกับตําแหนงอางอิงโดยมีปริมาณท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ี ซึ่งมีท้ังปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอร เชน ระยะทางอัตราเร็ว การกระจัดความเร็ว ปริมาณสเกลารเปนปริมาณท่ีมีขนาด เชนระยะทาง อัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณท่ีมีท้ังขนาดและทิศทาง เชนการกระจัด ความเร็ว

๒ ๔

๑๕. เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเร็ว

- เขียนแผนภาพแทนปริมาณเวกเตอรไดดวยลูกศร โดยความยาวของลูกศรแสดงขนาดและหัวลูกศรแสดงทิศทางของเวกเตอรนั้น ๆ- ระยะทางเปนปริมาณสเกลาร โดยระยะทางเปนความยาวของเสนทางท่ีเคลื่อนท่ีได- การกระจัดเปนปริมาณเวกเตอร โดยการกระจัดมีทิศชีจ้ากตําแหนงเริ่มตนไปยังตําแหนงสุดทาย และมีขนาดเทากับระยะท่ีสั้นท่ีสุดระหวางสองตําแหนงนั้น

๒ ๔

Page 92: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๘๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

- อัตราเร็วเปนปริมาณสเกลาร โดยอัตราเร็วเปนอัตราสวนของระยะทางตอเวลา- ความเร็วปริมาณเวกเตอรมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัด โดยความเร็วเปนอัตราสวนของการกระจัดตอเวลา

รวม ๓ หนวย ๒๗ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 93: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๐

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

อธิบายระบบหายใจระบบขับถายระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาทระบบสืบพันธุของเพศชายและเพศหญิง การตกไข การมีประจําเดือนการปฏิสนธิ การคุมกําเนิดเปรียบเทียบอธิบายสรางแบบจําลองกระบวนการเกิด สมบัติ และการใชประโยชนจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ พลังงานทดแทนโครงสรางภายในโลกกระบวนการผุพังอยูกับท่ี การกรอน และการสะสมตัวของตะกอนชั้นหนาตัดดินและกระบวนการเกิดดิน ปจจัยท่ีทําใหดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางสมบัติบางประการของดินกระบวนการเกิดแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดิน การใชน้ําแนวทางการใชน้ําอยางยั่งยืนกระบวนการเกิดและผลกระทบของน้ําทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม หลุมยุบ แผนดินทรุด

โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบสืบคนขอมูล การทดลองและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตัวช้ีวัด

ว๑.๒ม.๒/๑ - ม.๒/๑๗ว ๓.๒ม.๒/๑ - ม.๒/๑๐

รวม ๒๗ ตัวช้ีวัด

Page 94: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๑

โครงสรางรายวิชาว๒๒๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๔ รางกายของเรา ๑. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะท่ีเก่ียวของในระบบหายใจ๒. อธิบายกลไกการหายใจเขาและออกโดยใชแบบจําลองรวมท้ังอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๓. ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจใหทางานเปนปกติ

- ระบบหายใจมีอวัยวะตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ไดแก จมูก ทอลม ปอดกะบังลม และกระดูกซี่โครง- มนุษยหายใจเขาเพ่ือนําแกสออกซิเจนเขาสูรางกายเพ่ือนําไปใชในเซลล และหายใจออกเพ่ือกําจัดแกสคารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย- อากาศเคลื่อนท่ีเขาและออกจากปอดได เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของอากาศภายในชองอกซึ่งเก่ียวของกับการทางานของกะบังลม และกระดูกซี่โครง-การแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซดในรางกาย เกิดข้ึนบริเวณถุงลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยท่ีถุงลมและระหวางหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อ- การสูบบุหรี่ การสูดอากาศท่ีมีสารปนเปอน และการเปนโรคเก่ียวกับระบบหายใจบางโรค อาจทาใหเกิดโรคถุงลมโปงพอง ซึ่งมีผลใหความจุอากาศของปอดลดลง ดังนั้นจึงควรดูแลรักษาระบบหายใจใหทําหนาท่ีเปนปกติ

Page 95: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๔. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบขับถายในการกําจัดของเสียทางไต๕. ตระหนักถึงวามสําคัญของระบบขับถายในการกําจัดของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏิบัติตนท่ีชวยใหระบบขับถายทําหนาท่ีไดอยางปกติ

- ระบบขับถายมีอวัยวะท่ีเก่ียวของ คือ ไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ และทอปสสาวะ โดยมีไตท หนาท่ีกําจัดของเสีย เชน ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก รวมท้ังสารที่รางกายไมตองการออกจากเลือด และควบคุมสารที่มีมาก หรือนอยเกินไป เชน น้าํ โดยขับออกมาในรูปของปสสาวะ- การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เชน รับประทานอาหารที่ไมมีรสเค็มจัด การดื่มน้ํา สะอาดใหเพียงพอ เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยใหระบบขับถายทําหนาทีไ่ดอยางปกติ

๖. บรรยายโครงสรางและหนาที่ของหัวใจหลอดเลือด และเลือด๗. อธิบายการทํางานของระบบหมุนเวียนเลือด โดยใชแบบจําลอง

- ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบดวยหัวใจ หลอดเลือด และเลือด- หัวใจของมนุษยแบงเปน ๔ หองไดแก หัวใจหองบน ๒ หอง และหองลาง ๒ หอง ระหวางหัวใจหองบนและหัวใจหองลางมลีิ้นหัวใจก้ัน- หลอดเลือด แบงเปน หลอดเลือดอารเตอรีหลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอย ซึ่งมีโครงสรางตางกัน- เลือด ประกอบดวย เซลลเม็ดเลือด เกล็ดเลือดและพลาสมา-การบีบและคลายตัวของหัวใจทําใหเลือดหมุนเวียนและลําเลียงสารอาหาร แกส ของเสีย และสารอ่ืน ๆ ไปยงัอวัยวะและเซลลตาง ๆทั่วรางกาย-เลือดที่มีปริมาณแกสออกซิเจนสูงจะออกจากหัวใจ

Page 96: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๓

หนวยการ

เรียนรู

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๘. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเตนของหัวใจขณะปกติและหลังทาํกิจกรรม๙. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือดใหทํางานเปนปกติ

- ชีพจรบอกถึงจังหวะการเตนของหัวใจซึ่งอัตราการเตนของหัวใจในขณะปกติและหลงัจากทาํกิจกรรมตาง ๆ จะแตกตางกัน สวนความดันเลือด เกิดจากการทางานของหัวใจและหลอดเลือด- อัตราการเตนของหัวใจมีความแตกตางกันในแตละบุคคล คนทีเ่ปนโรคหัวใจและหลอดเลือดจะสงผลทําใหหัวใจสูบฉีดเลือดไมเปนปกติ-การออกกําลังกายการเลือกรับประทานอาหาร การพักผอนและการรักษาภาวะอารมณใหเปนปกติ

๑๐. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลาง ในการควบคุมการทางานตาง ๆ ของรางกาย๑๑. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถึงกรปองกันการกระทบกระเทือนและอันตรายตอสมองและไขสันหลัง

- ระบบประสาทสวนกลางประกอบดวยสมองและไขสันหลัง จะทําหนาท่ีรวมกับเสนประสาท ซึ่งเปนระบบประสาทรอบนอก ในการควบคุมการทางานของอวัยวะตาง ๆรวมถึงการแสดงพฤติกรรมเพ่ือการตอบสนองตอสิ่งเรา- เม่ือมีสิ่งเรามากระตุนหนวยรับความรูสึก จะเกิดกระแสประสาทสงไปตามเซลลประสาทรับความรูสึกไปยังระบบประสาทสวนกลาง แลวสงกระแสประสาทมาตามเซลลประสาทสั่งการ ไปยังหนวยปฏิบัติงาน เชน กลามเนื้อ

Page 97: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

- ระบบประสาทเปนระบบท่ีมีความซับซอนและมีความสัมพันธกับทุกระบบในรางกาย ดังนั้น จึงควรปองกันการเกิดอุบัติเหตุท่ีกระทบ กระเทือนตอสมองหลีกเลี่ยงการใชสารเสพติดหลีกเลี่ยงภาวะเครียด และรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนเพ่ือดูแลรักษาระบบประสาทใหทางานเปนปกติ

๑๒. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุของเพศชายและเพศหญิง โดยใชแบบจําลอง๑๓. อธิบายผลของฮอรโมนเพศชายและเพศหญิงท่ีควบคุมการเปลี่ยนแปลงของรางกายเม่ือเขาสูวัยหนุมสาว๑๔. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของรางกายเม่ือเขาสูวัยหนุมสาวโดยการดูแลรักษารางกายและจิตใจของตนเองในชวงท่ีมีการเปลี่ยนแปลง

- มนุษยมีระบบสืบพันธุท่ีประกอบดวยอวัยวะตkง ๆท่ีทําหนาท่ีเฉพาะ โดยรังไขในเพศหญิงจะทําหนาท่ีผลิตเซลลไขสวนอัณฑะในเพศชายจะทําหนาท่ีสรางเซลลอสุจิ- ฮอรโมนเพศทําหนาท่ีควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางเพศท่ีแตกตางกัน เม่ือเขาสูวัยหนุมสาวจะมีการสรางเซลลไขและเซลลอสุจิ การตกไข การมีรอบเดือน และถามีการปฏิสนธิของเซลลไขและเซลลอสุจิจะทําใหเกิดการตั้งครรภ

Page 98: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๑๕. อธิบายการตกไขการมีประจําเดือนการปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปนทารก๑๖. เลือกวิธีการคุมกําเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณที่กําหนด๑๗. ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภกอนวัยอันควรโดยการประพฤติตนใหเหมาะสม

- การมีประจําเดือน มีความสัมพันธกับการตกไขโดยเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอรโมนเพศหญิง- เม่ือเพศหญิงมีการตกไขและเซลลไขไดรับการปฏิสนธิกับเซลลอสุจิจะทําใหไดไซโกต ไซโกตจะเจริญเปนเอ็มบริโอและฟตัสจนกระท่ังคลอดเปนทารก แตถาไมมีการปฏิสนธิ เซลลไขจะสลายตัว ผนังดานในมดลูกรวมท้ังหลอดเลือดจะสลายตัวและหลุดลอกออก เรียกวาประจําเดือน- การคุมกําเนิดเปนวิธีปองกันไมใหเกิดการตั้งครรภ โดยปองกันไมใหเกิดการปฏิสนธิหรือไมใหมีการฝงตัวของเอ็มบริโอ ซึ่งมีหลายวิธี เชน การใชถุงยางอนามัยการกินยาคุมกําเนิด

๕ โลกและการเปลี่ยนแปลง

๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัติและการใชประโยชนรวมทั้งอธิบายผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ จากขอมูลที่รวบรวมได

- เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของซากสิ่งมีชีวิตในอดีตโดยกระบวนการทางเคมีและธรณีวิทยา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ไดแก ถานหิน หินน้ํามันและปโตรเลียม ซึ่งเกิดจากวัตถุตนกําเนิด และสภาพแวดลอมการเกิดท่ีแตกตางกันทําใหไดชนิดของเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพท่ีมี

๒ ๔

Page 99: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ลักษณะ สมบัติ และการนําไปใชประโยชนแตกตางกัน สําหรับปโตรเลียมจะตองมีการผานการกลั่นลําดับสวนกอนการใชงานเพ่ือใหไดผลิตภัณฑท่ีเหมาะสมตอการใชประโยชน เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไป เนื่องจากตองใชเวลานานหลายลานปจึงจะเกิดข้ึนใหมได

๒. แสดงความตระหนักถึงผลจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพโดยนําเสนอแนวทางการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ

- การเผาไหมเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพในกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษยจะทําใหเกิดมลพิษทางอากาศซึ่งสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้แกสบางชนิดท่ีเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ เชนแกสคารบอนไดออกไซด และไนตรัสออกไซด ยังเปนแกสเรือนกระจกซึ่งสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกรุนแรงข้ึน ดังนั้นจึงควรใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ โดยคํานึงถึงผลท่ีเกิดข้ึนตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน เลือกใชพลังงานทดแทน หรือเลือกใชเทคโนโลยีท่ีลดการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ

๒ ๔

Page 100: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๓. เปรียบเทียบขอดีและขอจํากัดของพลังงานทดแทนแตละประเภทจากการรวบรวมขอมูลและนําเสนอแนวทางการใชพลังงานทดแทนท่ีเหมาะสมในทองถ่ิน

- เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนแหลงพลังงานท่ีสาคัญในกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย เนื่องจากเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพมีปริมาณจํากัดและมักเพ่ิมมลภาวะในบรรยากาศมากข้ึน จึงมีการใชพลังงานทดแทนมากข้ึน เชนพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลมพลังงานน้ํา พลังงานชีวมวลพลังงานคลื่น พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานไฮโดรเจน ซึ่งพลังงานทดแทนแตละชนิดจะมีขอดีและขอจํากัดท่ีแตกตางกัน

๓ ๔

๔. สรางแบบจําลองท่ีอธิบายโครงสรางภายในโลกตามองคประกอบทางเคมีจากขอมูลท่ีรวบรวมได

- โครงสรางภายในโลกแบงออกเปนชั้นตามองคประกอบทางเคมี ไดแก เปลือกโลก ซึ่งอยูนอกสุดประกอบดวยสารประกอบของซิลิกอน และอะลูมิเนียมเปนหลักเนื้อโลกคือสวนท่ีอยูใตเปลือกโลกลงไปจนถึงแกนโลก มีองคประกอบหลักเปนสารประกอบของซิลิกอนแมกนีเซียม และเหล็ก และแกนโลกคือสวนท่ีอยูใจกลางของโลก มีองคประกอบหลักเปนเหล็กและนิกเกิล ซึ่งแตละชั้นมีลักษณะแตกตางกัน

๓ ๔

Page 101: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๕. อธิบายกระบวนการผุพังอยูกับท่ี การกรอนและการสะสมตัวของตะกอนจากบบจําลองรวมท้ังยกตัวอยางผลของกระบวนการดังกลาวท่ีทําใหผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง

- การผุพังอยูกับท่ี การกรอน และการสะสมตัวของตะกอน เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาท่ีทําใหผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนภูมิลักษณแบบตางๆ โดยมีปจจัยสาคัญคือน้ํา ลม ธารน้ําแข็ง แรงโนมถวงของโลก สิ่งมีชีวิต สภาพอากาศและปฏิกิริยาเคมี- การผุพังอยูกับท่ี คือ การท่ีหินผุพังทําลายลงดวยกระบวนการตางๆ ไดแก ลมฟาอากาศกับน้ําฝน และรวมท้ังการกระทําของตนไมกับแบคทีเรีย ตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตรซึ่งมีการเพ่ิมและลดอุณหภูมิสลับกัน เปนตน- การกรอน คือ กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการท่ีทําใหสารเปลือกโลกหลุดไป ละลายไปหรือกรอนไปโดยมีตัวนาพาธรรมชาติ คือ ลม น้ํา และธารน้ําแข็ง รวมกับปจจัยอ่ืน ๆ ไดแกลมฟาอากาศสารละลาย การครูดถู การนาพา ท้ังนี้ไมรวมถึงการพังทลายเปนกลุมกอน เชน แผนดินถลมภูเขาไฟระเบิด- การสะสมตัวของตะกอน คือการสะสมตัวของวัตถุจากการนาพาของน้ํา ลม หรือธารน้ําแข็ง

๒ ๔

Page 102: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๙๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

๖. อธิบายลักษณะของชั้นหนาตัดดินและกระบวนการเกิดดินจากแบบจาํลอง รวมทั้งระบุปจจัยที่ทําใหดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน

- ดินเกิดจากหินท่ีผุพังตามธรรมชาติผสมคลุกเคลากับอินทรียวัตถุท่ีไดจากการเนาเปอยของซากพืช ซากสัตว ทับถมเปนชั้น ๆ บนผิวโลก ชั้นดินแบงออกเปนหลายชั้น ขนานหรือเกือบขนานไปกับผิวหนาดิน แตละชั้นมีลักษณะแตกตางกันเนื่องจากสมบัติทางกายภาพเคมีชีวภาพ และลักษณะอ่ืน ๆ เชน สีโครงสราง เนื้อดิน การยึดตัวความเปนกรด-เบส สามารถสังเกตไดจากการสารวจภาคสนาม การเรียกชื่อชั้นดินหลักจะใชอักษรภาษาอังกฤษ ตัวใหญ ไดแก O, A, E, B, C, Rชั้นหนาตัดดิน เปนชั้นดินท่ีมีลักษณะปรากฏใหเห็นเรียงลําดับเปนชั้นจากชั้นบนสุดถึงชั้นลางสุด- ปจจัยท่ีทําใหดินแตละทองถ่ินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกันไดแก วัตถุตนกําเนิดดิน มิอากาศสิ่งมีชีวิตในดิน สภาพภูมิประเทศและระยะเวลาในการเกิดดิน

๒ ๔

๗. ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใชเครื่องมือท่ีเหมาะสมและนาเสนอแนวทางการใชประโยชนดินจากขอมูลสมบัติของดิน

- สมบัติบางประการของดิน เชนเนื้อดิน ความชื้นดิน คาความเปนกรดเบส ธาตุอาหารในดินสามารถนาไปใชในการตัดสินใจถึงแนวทางการใชประโยชนท่ีดิน โดยอาจนาไปใชประโยชนทางการเกษตร หรือ อ่ืน ๆ ซึ่งดิน

๓ ๔

Page 103: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ท่ีไมเหมาะสมตอการทําการเกษตร เชน ดินจืด ดินเปรี้ยวดินเค็ม และดินดาน อาจเกิดจากสภาพดินตามธรรมชาติหรือการใชประโยชนจะตองปรับปรุงใหมีสภาพเหมาะสมเพ่ือนาไปใชประโยชน

๘. อธบิายปจจัยและกระบวนการเกิดแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดิน จากแบบจําลอง

- แหลงน้ําผิวดินเกิดจากน้ําฝนท่ีตกลงบนพ้ืนโลก ไหลจากท่ีสูงลงสูท่ีต่ําดวยแรงโนมถวง การไหลของน้ําทําใหพ้ืนโลกเกิดการกัดเซาะเปนรองน้ํา เชนลําธาร คลองและแมน้ํา ซึ่งรองน้ําจะมีขนาดและรูปรางแตกตางกัน ข้ึนอยูกับปริมาณน้ําฝน ระยะเวลาในการกัดเซาะ ชนิดดินและหิน และลักษณะภูมิประเทศ เชน ความลาดชัน ความสูงต่ําของพ้ืนท่ี เม่ือน้ําไหลไปยังบริเวณท่ีเปนแองจะเกิดการสะสมตัวเปนแหลงน้ําเชน บึง ทะเลสาบ ทะเล และมหาสมุทร- แหลงน้ําใตดินเกิดจากการซึมของน้ําผิวดินลงไปสะสมตัวใตพ้ืนโลก ซึ่งแบงเปนน้ําในดินและน้ํา

๒ ๔

๙. สรางแบบจําลองท่ีอธิบายการใชน้ํา และนําเสนอแนวทางการใชน้ําอยางยั่งยืนในทองถ่ินของตนเอง

- แหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดินถูกนามาใชในกิจกรรมตาง ๆของมนุษย สงผลตอการจัดการการใชประโยชนน้ําและคุณภาพของแหลงน้ํา เนื่องจากการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากร การใช

๓ ๔

Page 104: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ประโยชนพ้ืนท่ีในดานตาง ๆ เชนภาคเกษตรกรรม าคอุตสาหกรรมและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนในพ้ืนท่ีลุมน้ํา และแหลงน้ําผิวดินไมเพียงพอสาหรับกิจกรรมของมนุษย น้ําจากแหลงน้ําใตดินจึงถูกนามาใชมากข้ึนสงผลใหปริมาณน้ําใตดินลดลงมาก จึงตองมีการจัดการใชน้ําอยางเหมาะสมและยั่งยืน ซึ่งอาจทําไดโดยการจัดหาแหลงน้ําเพ่ือใหมีแหลงน้ําเพียงพอสําหรับการดํารงชีวิต การจัดสรรและการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ การอนุรักษและฟนฟูแหลงน้ําการปองกันและแกไขปญหาคุณภาพน้ํา

๑๐. สรางแบบจําลองท่ีอธบิายกระบวนการเกิดและผลกระทบของน้ําทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม หลุมยุบ แผนดินทรุด

- น้ําทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม หลุมยุบ แผนดินทรุด มีกระบวนการเกิดและผลกระทบท่ีแตกตางกัน ซึ่งอาจสรางความเสียหายรายแรงแกชีวิต และทรัพยสิน- น้ําทวม เกิดจากพ้ืนท่ีหนึ่งไดรับปริมาณน้ําเกินกวาท่ีจะกักเก็บไดทําใหแผนดินจมอยูใตน้ํา โดยข้ึนอยูกับปริมาณน้ําและสภาพทางธรณีวิทยาของพ้ืนท่ี- การกัดเซาะชายฝง เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลง

๓ ๔

Page 105: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนักคะแนน

ของชายฝงทะเลท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลม ทําใหตะกอนจากท่ีหนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่ง แนวของชายฝงเดิมจึงเปลี่ยนแปลงไป บริเวณท่ีมีตะกอนเคลื่อนเขามานอยกวาปริมาณท่ีตะกอนเคลื่อนออกไป ถือวาเปนบริเวณท่ีมีการกัดเซาะชายฝง- ดินถลม เปนการเคลื่อนท่ีของมวลดิน หรือหินจํานวนมากลงตามลาดเขา เนื่องจากแรงโนมถวงของโลกเปนหลัก ซึ่งเกิดจากปจจัยสาคัญ ไดแก ความลาดชันของพ้ืนท่ี สภาพธรณีวิทยา ปริมาณน้ําฝน พืชปกคลุมดิน และการใชประโยชนพ้ืนท่ี- หลุมยุบ คือแองหรือหลุมบนแผนดินขนาดตาง ๆ ท่ีอาจเกิดจากการถลมของโพรงถาหินปูนเกลือหินใตดิน หรือเกิดจากน้ําพัดพาตะกอนลงไปในโพรงถาหรือธารน้ําใตดิน- แผนดินทรุดเกิดจากการยุบตัวของชัน้ดิน หรือหินรวน เม่ือมวลของแข็งหรือของเหลวปริมาณมากท่ีรองรับอยูใตชั้นดินบริเวณนั้นถูกเคลื่อนยายออกไปโดยธรรมชาติหรือโดยการกระทําของมนุษย

รวม ๕ หนวย จํานวน ๒๗ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 106: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๓

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิ เคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วิเคราะหเปรียบเทียบตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยีสะอาด ใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในการแกปญหาในทองถ่ิน ประยุกตใชความรู ทักษะและทรัพยากร โดยวิเคราะหเปรียบเทียบและเลือกขอมูลท่ีจําเปนเพ่ือออกแบบวิธีการแกปญหาในชีวิตประจําวัน นําเสนอความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไกไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหา

โดยอาศัยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบุปญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา ออกแบบวิธีการแกปญหา วางแผนและดําเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผลอธิบายปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิด ปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงาน เลือกใชวัดสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการแกปญหาไดอยางถูกตอง เหมาะสมและปลอดภัย

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรมตัวช้ีวัด

ว ๔.๑ ม.๒/๑-๕รวม ๕ ตัวช้ีวัด

Page 107: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๔

โครงสรางรายวิชา

ว๒๒๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิตหนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ เทคโนโลยีเพ่ือชีวิต

ว๔.๑ ม.๒/๑ คาดการณแนวโนมเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึน โดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและวิเคราะหเปรียบเทียบตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตอชีวิตสังคมและสิ่งแวดลอม

๒ ๑๐

๒ Google forEducation

ว๔.๑ ม.๒/๕ ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือ กลไก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานไดอยางถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย

๓ ๑๕

๓ การแกปญหาตามกระบวนการออกแบบ

ว๔.๑ ม.๒/๒ ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถ่ิน สรุปกรอบของปญหารวบรวม วิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา

๓ ๑๕

๔ เรียนรูKidbright

ว๔.๑ ม.๒/๓ ออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปน ภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจวางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน

๖ ๓๐

ว๔.๑ ม.๒/๔ ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบเงื่อนไขพรอมท้ังหาแนวทางการปรับปรุงแกไข และนําเสนอผลการแกปญหา

๖ ๓๐

รวม ๕ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 108: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๕

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๒๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจําเปนตอการแกปญหา ข้ันตอนการแกปญหา การเขียนรหัสจําลองและผังงาน ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาท่ีพบในชีวิต ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา อภิปรายองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

โดยนําแนวคิดนามธรรมและข้ันตอนการแกปญหาไปประยุกตใชในการเขียนโปรแกรมหรือแกปญหาในชีวิตจริงอยางเปนข้ันตอนและเปนระบบ รวบรวมขอมูลและสรางทางเลือก นําเสนอและเผยแพรผลงาน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เกิดประโยชนตอการเรียนรู และไมสรางความเสียหายใหแกผูอ่ืน มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรม

ตัวช้ีวัดว ๔.๒ ม.๒/๑-๔

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

Page 109: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๖

โครงสรางรายวิชา

ว๒๒๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ ComputerSystem

ว๔.๒ ม.๒/๓ อภิปรายองคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการสื่อสารเพ่ือประยุกตใชงานหรือแกปญหาเบื้องตน

๔ ๒๐

๒ Algorithm ว๔.๒ ม.๒/๑ ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหา หรือการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง

๔ ๒๐

๓ Infographic ว๔.๒ ม.๒/๔ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สรางและแสดงสิทธิในการเผยแพรผลงาน

๒ ๑๐

๔ ProgramingLanguage

ว๔.๒ ม.๒/๑ ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหา หรือการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง

๔ ๒๐

ว๔.๒ ม.๒/๒ ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา

๔ ๒๐

๕ ค.ป.ส.โชว ว๔.๒ ม.๒/๔ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สรางและแสดงสิทธิในการเผยแพรผลงาน

๒ ๑๐

รวม ๔ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 110: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๗

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาเขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตาง ๆ ในแหลงท่ีอยูเดียวกัน การถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธของผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ การสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซอาหาร ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ โดยไมทําลายสมดุล กระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวาง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวท่ีแอลลีลเดนขมแอลลีลดอยอยางสมบูรณ การเกิดจีโนไทปและฟโนไทปของลูกและคํานวณอัตราสวนการเกิดจีโนไทปและฟโนไทปของรุนลูก ความแตกตางของการแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอซิส การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรม พรอมท้ังยกตัวอยางโรคทางพันธุกรรม ประโยชนของความรูเรื่องโรคทางพันธุกรรม การใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบท่ีอาจมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ประโยชนและผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีอาจมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตาง ๆความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและตอมนุษยแสดงความตระหนักในคุณคาและความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีสวนรวมในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

โดยใชทักษะกระบวนการ อธิบาย ใช สรางแบบจําลอง คิดอยางมีวิจารณญาณ เสนอแนะแนวทาง วัด สืบคน เขียนแผนภาพ ออกแบบการทดลอง ทดลอง บรรยาย คํานวณ เขียน ระบุ เขียนสมการขอความ เปรียบเทียบ บอก

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีเจตคติท่ีดีวิทยาศาสตรตัวช้ีวัด

ว ๑.๑ม.๓/๑ – ม.๓/๖ ว ๑.๓ม.๓/๑ – ม.๓/๑๑ว ๒.๑ม.๓/๑ – ม.๓/๘รวม ๒๕ ตัวช้ีวัด

Page 111: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๘

โครงสรางรายวิชาว๒๓๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ ระบบนิเวศ

ว๑.๑ ม.๓/๑ว๑.๑ ม.๓/๒

- ระบบนิเวศประกอบดวยองคประกอบท่ีมีชีวิต เชน พืช สัตว จุลินทรีย และองคประกอบท่ีไมมีชีวิต เชน แสง น้ําอุณหภูมิ แรธาตุ แกส องคประกอบเหลานี้มีปฏิสัมพันธกัน เชน พืชตองการแสง น้ําและแกสคารบอนไดออกไซดในการสรางอาหาร สัตวตองการอาหาร และสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมในการดํารงชีวิตเชน อุณหภูมิ ความชื้น องคประกอบท้ังสองสวนนี้จําตองมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะสามารถคงอยูตอไปได- สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกันในรูปแบบตาง ๆ เชน ภาวะพ่ึงพากัน ภาวะอิงอาศัย ภาวะเหยื่อกับผูลา ภาวะปรสิต- สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีอาศัยอยูรวมกันในแหลงท่ีอยูเดียวกัน ในชวงเวลาเดียวกันเรียกวาประชากร

๕ ๘

๒ การถายทอดพลังงาน

ว๑.๑ ม.๓/๓ว๑.๑ ม.๓/๔ว๑.๑ ม.๓/๕ว๑.๑ ม.๓/๖

- กลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงตามหนาท่ีไดเปน ๓ กลุม ไดแก ผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรีย สิ่งมีชีวิตท้ัง ๓ กลุมนี้ มีความสัมพันธกัน ผูผลิตเปนสิ่งมีชีวิตท่ีสรางอาหารไดเอง โดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ผูบริโภค เปนสิ่งมีชีวิตท่ีไมสามารถสรางอาหารไดเอง และตองกินผูผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอ่ืนเปนอาหาร เม่ือผูผลิตและผูผลิตและผูบริโภคตายลง จะถูกยอยโดยผูยอยสลายสารอินทรียซึ่งจะเปลี่ยนสารอินทรียเปนสารอนินทรียกลับคืนสูสิ่งแวดลอม ทําใหเกิดการหมุนเวียนสารเปนวัฏจักร

๙ ๑๖

Page 112: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๐๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ การถายทอดพลังงาน

จํานวนผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียจะตองมีความเหมาะสม จึงทําใหกลุมสิ่งมีชีวิตอยูไดอยางสมดุล- พลังงานถูกถายทอดจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ รวมท้ังผูยอยสลายอินทรียในรูปแบบสายใยอาหาร ท่ีประกอบดวย โซอาหารหลายโซท่ีสัมพันธกัน ในการถายทอดพลังงานในโซอาหาร พลังงานท่ีถูกถายทอดไปจะลดลงเรื่อย ๆ ตามลําดับของการบริโภค- การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ อาจทําใหมีสารพิษสะสมอยูในสิ่งมีชีวิตได จนอาจกอใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิต และทําลายสมดุลในระบบนิเวศใหเกิดความสมดุล และคงอยูตลอดไปจึงเปนสิ่งสําคัญ

๙ ๑๖

๓ โครโมโซมยีน ดีเอ็นเอ

ว ๑.๓ ม.๓/๑ - ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตสามารถถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งได โดยมียีนเปนหนวยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม- โครโมโซมประกอบดวย ดีเอ็นเอ และโปรตีนขดอยูในนิวเคลียส ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซมมีความสัมพันธกัน โดยบางสวนของดีเอ็นเอ ทําหนาท่ีเปนยีนท่ีกําหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิต- สิ่งมีชีวิตท่ีมีโครโมโซม ๒ ชดุ โครโมโซมท่ีเปนคูกัน มีการเรียงลําดับของยีนบนโครโมโซมเหมือนกัน เรียกวา ฮอมอโลกัสโครโมโซม ยีนหนึ่งท่ีอยูบนคูฮอมอโลกัสโครโมโซม อาจมีรูปแบบแตกตางกัน เรียกแตละรูปแบบแตกตางกัน เรียกแตละรูปแบบของยีนท่ีตางกันนี้วาแอลลีล ซึ่งการเขาคูกันของแอลลีล ตาง ๆ อาจสงผลทําใหสิ่งมีชีวิตมีลักษณะท่ีแตกตางกันได- สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีจํานวนโครโมโซมคงท่ีมนุษยมีจํานวนโครโมโซม ๒๓ คู เปนออโตโซม๒๒ คู และโครโมโซมเพศ ๑ คู เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน XX เพศชายมีโครโมโซมเพศเปน XY

๓ ๔

Page 113: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๔ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ว ๑.๓ ม.๓/๒ว ๑.๓ ม.๓/๓

- เมนเดลไดศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของตนถ่ัวชนิดหนึ่ง และนํามาสูหลักการพ้ืนฐานของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต- สิ่งมีชีวิตท่ีมีโครโมโซมเปน ๒ ชุด ยีนแตละตําแหนงบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี ๒ แอลลีล โดยแอลลีลหนึ่งมาจากพอ และอีกแอลลีลมาจากแมซึ่งอาจมีรูปแบบเดียวกัน หรือแตกตางกันแอลลีลท่ีแตกตางกันนี้ แอลลีลหนึ่งอาจมีการแสดงออกขมอีกแอลลีลนั้นวาเปนแอลลีลเดนสวนแอลลีลท่ีถูกขมอยางสมบูรณเรียกวาเปนแอลลีลดอย- เม่ือมีการสรางเซลลสืบพันธุแอลลีลท่ีเปนคูกันในแตละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกันไปสูเซลลสืบพันธุแตละเซลล โดยแตละเซลลสืบพันธุจะไดรับเพียง๑ แอลลีล และจะมาเขาคูกับแอลลีลท่ีตําแหนงเดียวกันของอีกเซลลสืบพันธุหนึ่งเม่ือเกิดการปฏิสนธิ จนเกิดเปนจีโนไทปและแสดงฟโนไทปในรุนลูก

๕ ๘

๕ การแบงเซลล

ว ๑.๓ ม.๓/๔ - กระบวนการแบงเซลลของสิ่งมีชีวิตมี ๒แบบ คือ ไมโทซิส และไมโอซิส- ไมโอซิส เปนการแบงเซลลเพ่ือเพ่ิมจํานวนเซลลรางกาย ผลจากการแบงจะไดเซลลใหม๒ เซลลท่ีมีลักษณะและจํานวนโครโมโซมเหมือนเซลลตั้งตน- ไมโอซิส เปนการแบงเซลลเพ่ือสรางเซลลสืบพันธุ ผลจากการแบงจะไดเซลลใหม ๔เซลล ท่ีมีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลลตั้งตน เม่ือเกิดการปฏิสนธิของเซลลสืบพันธุ ลูกจะไดรับการถายทอดโครโมโซมชุดหนึ่งจากพอและอีกชุดหนึ่งจากแม จึงเปนผลใหรุนลูกมีจํานวนโครโมโซมเทากับรุนพอแมและจะคงท่ีในทุก ๆ รุน

๒ ๔

Page 114: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๖ โรคทางพันธุกรรม

ว ๑.๓ ม.๓/๕ว ๑.๓ ม.๓/๖

- การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เชน โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของยีน กลุมอาการดาวนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจํานวนโครโมโซม- โรคทางพันธุกรรมสามารถถายทอดจากพอแมไปสูลูกได ดังนั้นกอนแตงงานและมีบุตรจึงควรปองกัน โดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงจากการถายทอดโรคทางพันธุกรรม

๕ ๘

๗ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

ว ๑.๓ ม.๓/๗ว ๑.๓ ม.๓/๘

- มนุษยเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ เพ่ือใหไดสิ่งมีชีวิตท่ีมีลักษณะตามตองการ เรียกสิ่งมีชีวิตนี้วา สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม- ในปจจุบันมนุษยมีการใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเปนจํานวนมากเชน การผลิตอาหาร การผลิตยารักษาโรคการเกษตร อยางไรก็ดี สังคมยังมีความกังวลเก่ียวกับผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ซึ่งยังทําการติดตามศึกษาผลกระทบดังกลาว

๕ ๘

๘ ความหลากหลายทางชีวภาพ

ว ๑.๓ ม.๓/๙ว ๑.๓ ม.๓/๑๐ว ๑.๓ ม.๓/๑๑

- ความหลากหลายทางชีวภาพ มี ๓ ระดับไดแก ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลายหลายทางชีวภาพนี้มีความสําคัญตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ระบบนิเวศท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพต่ํากวานอกจากนี้ความหลากหลายทางชีวภาพยังมีความสําคัญตอมนุษยในดานตาง ๆ เชน ใชเปนอาหาร ยากรักษาโรค วัตถุดิบในอุตสาหกรรมตาง ๆ ดังนั้น จึงเปนหนาท่ีของทุกคนในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพใหคงอยู

๖ ๑๒

Page 115: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๙ สมบัติทางกายภาพของสสาร

ว ๒.๑ ม.๓/๑ว ๒.๑ ม.๓/๒

- พอลิเมอร เซรามิกส และวัสดุผสม เปนวัสดุท่ีใชมากในชีวิตประจําวัน- พอลิเมอรเปนสารประกอบโมเลกุลใหญ ท่ีเกิดจากโมเลกุลจํานวนมากรวมตัวกันทางเคมี เชน พลาสติก ยาง เสนใย ซึ่งเปนพอลิเมอรท่ีข้ึนรูปเปนรูปทรงตาง ๆ ได ยางยืดหยุนได สวนเสนใยเปนพอลิเมอรท่ีสามารถดึงเปนเสนยาวได พอลิเมอรจึงใชประโยชนไดแตกตางกัน- เซรามิกสเปนวัสดุท่ีผลิตจาก ดิน หินทราย และแรธาตุตาง ๆ จากธรรมชาติ และสวนมากจะผานการเผาท่ีอุณหภูมิสูง เพ่ือใหไดเนื้อสารท่ีแข็งแรง เซรามิกสสามารถทําเปนรูปทรงตางๆ ได สมบัติท่ัวไปของเซรามิกสจะแข็ง ทนตอการสึกกรอนและเปราะสามารถนําไปใชประโยชนได เชน ภาชนะท่ีเปนเครื่องปนดินเผา ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส- วัสดุผสมเปนวัสดุท่ีเกิดจากวัสดุตั้งแต ๒ประเภท ท่ีมีสมบัติแตกตางกันมารวมกันเพ่ือนําไปใชประโยชนไดมากข้ึน เชน เสื้อกันฝนบางชนิด เปนวันดุผสมระหวางผากับยาง คอนกรีตเสริมเหล็กเปนวัสดุผสมระหวางคอนกรีตกับเหล็ก- วัสดุบางชนิดสลายตัวยาก เชน พลาสติกการใชวันดุอยางฟุมเฟอยและไมระมัดระวังอาจกอปญหาตอสิ่งแวดลอม

๕ ๘

๑๐ การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ว ๒.๑ ม.๓/๓ว ๒.๑ ม.๓/๔ว ๒.๑ ม.๓/๕

- การเกิดปฏิกิริยาเคมีปรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร เปนการเปลี่ยนแปลงท่ีทําใหเกิดสารใหม โดยสารท่ีเขาทําปฏิกิริยาเรียกวา ผลิตภัณฑ การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนไดดวยสมการขอความ

๘ ๑๒

Page 116: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะตอมของสารตั้งตนจะมีการจัดเรียงตัวใหม ไดเปนผลิตภัณฑซึ่งมีสมบัติแตกตางจากสารตั้งตน โดยอะตอมแตละชนิดกอนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจํานวนเทากัน- เม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมี มวลรวมของสารตั้งตนเทากับมวลรวมของผลิตภัณฑ ซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล- เม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการถายโอนความรอน ควบคูไปกับการจัดเรียงตัวใหมของอะตอมของสารปฏิกิริยาท่ีมีการถายโอนความรอนจากสิ่งแวดลอมเขาสูระบบเปนปฏิกิริยาดูดความรอน ปฏิกิริยาท่ีมีแรถายโอนความรอนจากระบบออกสูสิ่งแวดลอมเปนปฏิกิริยาคายความรอน โดยใชเครื่องมือท่ีเหมาะสมในการวัดอุณหภูมิ

๑๑ ปฏิกิริยาท่ีพบใชีวิตประจําวัน

ว ๒.๑ ม.๓/๖ว ๒.๑ ม.๓/๗ว ๒.๑ ม.๓/๘

- ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวันมีหลายชนิด เชน ปฏิกิริยาการเผาไหม การเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกระกับโลหะปฏิกิริยาของกรดกับเบส ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ การเกิดฝนกรด การสังเคราะหดวยแสง ปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนไดดวยสมการขอความ ซึ่งแสดงชื่อของสารตั้งตนและผลิตภัณฑ เชนเชื้อเพลิง + ออกซิเจนคารบอนไดออกไซด + น้ํา ปฏิกิริยาการเผาไหมเปนปฏิกิริยาระหวางสารกับออกซิเจนสารท่ีเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม สวนใหญเปนสารประกอบท่ีมีคารบอนและไฮโดรเจนเปนองคประกอบ ซึ่งถาเกิดการเผาไหมอยางสมบูรณ จะไดผลิตภัณฑเปนคารบอนไดออกไซดและน้ํา

๗ ๑๒

Page 117: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- การเกิดสนิมของเหล็ก เกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางเหล็ก น้ําและออกซิเจน ไดผลิตภัณฑเปนสนิมของเหล็ก- ปฏิกิริยาการเผาไหมและการเกิดสนิมของเหล็กเปนปฏิกิริยาระหวางสารตาง ๆ กับออกซิเจน- ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ กรอทําปฏิกิริยากับโลหะไดหลายชนิด ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและแกสไฮโดรเจน- ปฏิกิริยาของกกรดกับสารประกอบคารบอเนตไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซด เกลือของโลหะ และน้ํา- ปฏิกิริยาของกรดและเบส ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและน้ํา หรืออาจไดเพียงเกลือของโลหะ- ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิด ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของเบสและแกสไฮโดรเจน- การเกิดฝนกรด เปนผลจากปฏิกิริยาระหวางน้ําฝนกับออกไซดของไนโตรเจนหรือออกไซดของซัลเฟอร ทําใหน้ําฝนมีสมบัติเปนกรด

๑๑ ปฏิกิริยาท่ีพบในชีวิตประจําวัน

ว ๒.๑ ม.๓/๖ว ๒.๑ ม.๓/๗ว ๒.๑ ม.๓/๘

- การสังเคราะหดวยแสงของพืช เปนปฏิกิริยาระหวางแกสคารบอนไดออกไซดกับน้ํา โดยมีแสงชวยในการเกิดปฏิกิริยา ไดผลิตภัณฑเปนน้ําตาลกลูโคสและออกซิเจน- ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวันมีท้ังประโยชนและโทษตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม จึงตองระมัดระวังผลจากปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนรูจักวิธีปองกันและแกปญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจําวัน

๗ ๑๒

Page 118: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- ความรูเก่ียวกับปฏิกิริยาเคมี สามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน และสามารถบูรณาการกับคณิตศาสตรเทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร เพ่ือใชปรับปรุงผลิตภัณฑใหมีคุณภาพตามตองการหรืออาจสรางนวัตกรรมเพ่ือปองกันและแกปญหาท่ีเกิดข้ึนจากปฏิกิริยาเคมี เชน การเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาเคมี การเพ่ิมปริมาณผลผลิต

รวม ๑๑หนวยการเรียนรู

จํานวน ๒๕ตัวช้ีวัด

๖๐ ๑๐๐

Page 119: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๖

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร ๖ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมบัติทางกายภาพและการใชประโยชนวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกส และวัสดุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีรวมถึงการจัดเรียงตัวใหมของอะตอมเม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมีกฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความรอน และปฏิกิริยาคายความรอน ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ และอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม การเกิดฝนกรด การสังเคราะหดวยแสง วิธีแกปญหาในชีวิตประจําวัน โดยใชความรูเก่ียวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตรเทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร ความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงานปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน ปรากฏการณท่ีเก่ียวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟาการเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงานปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน ปรากฏการณท่ีเก่ียวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟา ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา และความตานทานการทํางานของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสอยางงายในวงจรพลังงานไฟฟาคํานวณคาไฟฟาการเลือกใชเครื่องใชไฟฟาการเกิดคลื่น สวนประกอบของคลื่นคลื่นแมเหล็กไฟฟาและสเปกตรัมแมเหล็กไฟฟาในชีวิตประจําวันกฎการสะทอนของแสงการเคลื่อนท่ีของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงาการหักเหของแสงเม่ือผานตัวกลางโปรงใส การกระจายแสงของแสงขาวเม่ือผานปริซึมการเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนสบางปรากฏการณท่ีเก่ียวกับแสง และการทํางานของทัศนอุปกรณความสวางของแสงกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลกซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ีสงผลตอสิ่งมีชีวิต การโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยแรงโนมถวงการเกิดฤดู และการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตยการเกิดขางข้ึน ขางแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการข้ึนและตกของดวงจันทร และการเกิดน้ําข้ึนน้ําลงการใชประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอยางความกาวหนาของ โครงการสํารวจอวกาศ

โดยใชทักษะกระบวนการ อธิบาย ใช สรางแบบจําลอง คิดอยางมีวิจารณญาณ เสนอแนะแนวทาง วัด สืบคน เขียนแผนภาพ ออกแบบการทดลอง ทดลอง บรรยาย คํานวณ เขียน ระบุ เขียนสมการขอความ เปรียบเทียบ บอก

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีเจตคติท่ีดีวิทยาศาสตรตัวช้ีวัด

ว ๒.๓ม.๓/๑– ม.๓/๒๑ว ๓.๑ม.๓/๑– ม.๓/๕รวม ๒๕ ตัวช้ีวัด

Page 120: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๗

โครงสรางรายวิชาว๒๓๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ๖ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ กระแสไฟฟาความตางศักยไฟฟาความตานทานไฟฟา

ว ๒.๓ ม.๓/๑ว ๒.๓ ม.๓/๒ว ๒.๓ ม.๓/๓ว ๒.๓ ม.๓/๔ว ๒.๓ ม.๓/๕

- เม่ือตอวงจรไฟฟาครบวงจรจะมีกระแสไฟฟาออกจากข้ัวบวกผานวงจรไฟฟาไปยังข้ัวลบของแกลงกําเนิดไฟฟา ซึ่งวัดคาไดจากแอมมิเตอร- คาท่ีบอกความแตกตางของพลังงานไฟฟาตอหนวยประจุระหวางจุด ๒ จุด เรียกวาความตางศักยซึ่งวัดคาไดจากโวลตมิเตอร- ขนาดของกระแสไฟฟามีคาแปรผันตรงกับความตางศักยระหวางปลายท้ังสองของตัวนําโดยอัตราสวนระหวางความตางศักยและกระแสไฟฟามีคาคงท่ี เรียกคาคงท่ีนี้วา ความตานทาน- ในวงจรไฟฟาประกอบดวยแหลงกําเนิดไฟฟา สายไฟฟา และอุปกรณไฟฟา แตละชิ้นมีความตานทาน ในการตอตัวตานทานหลายตัว มีท้ังตอแบบอนุกรมและแบบขนาน- การตอตัวตานทานหลายตัวแบบอนุกรมในวงจรไฟฟา ความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากับผลรวมของความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัว โดยกระแสไฟฟาท่ีผานตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากัน- การตอตัวตานทานหลายตัวแบบขนานในวงจรไฟฟา กระแสไฟฟาท่ีผานวงจรมีคาเทากับผลรวมของกระแสไฟฟาท่ีผานตัวตานทานแตละตัว โดยความตางศักยท่ีครอมตัวตานทานแตละตัวมีคาเทากัน

๑๒ ๒๐

Page 121: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ อิเล็กทรอนิกส

ว ๒.๓ ม.๓/๖ว ๒.๓ ม.๓/๗

- ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสมีหลายชนิด เชน ตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร ตัวเก็บประจุโดยชิ้นสวนแตละชนิดทําหนาท่ีแตกตางกันเพ่ือใหวงจรทํางานไดตามตองการ- ตัวตานทานทําหนาท่ีควบคุมปริมาณกระแสไฟฟาในงงจรไฟฟาผานทางงเดียว ตัวเก็บประจุทําหนาท่ีเก็บและคายประจุไฟฟา

๔ ๘

๒ อิเล็กทรอนิกส

ว ๒.๓ ม.๓/๖ว ๒.๓ ม.๓/๗

- เครื่องใชไฟฟาอยางงายประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสหลายชนิดท่ีทํางานรวมกัน การตอวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยเลือกใชชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสท่ีเหมาะสมตามหนาท่ีของชิ้นสวนนั้น ๆ จะสามารถทําใหวงจรฟาทํางานไดตามตองการ

๔ ๗

๓ เครื่องใชไฟฟา ว ๒.๓ ม.๓/๘ว ๒.๓ ม.๓/๙

- เครื่องใชไฟฟาจะมีคากําลังไฟฟาและความตางศักย กํากับไว กําลังไฟฟามีหนวยเปนวัตตความตางศักย มีหนวยเปนโวลต คาไฟฟาสวนใหญคิดจากพลังงาน ไฟฟาท่ีใชท้ังหมด ซึ่งหาไดจากผลคูณของกําลังไฟฟา ในหนวยกิโลวัตต กับเวลาในหนวยชั่วโมง พลังงานไฟฟามีหนวยเปน กิโลวัตต ชั่วโมง หรือหนวย- วงจรไฟฟาในบานมีการตอเครื่องใชไฟฟาแบบขนาน เพ่ือใหความตางศักยเทากัน การใชเครื่องใชไฟฟา ในชีวิตประจําวันตองเลือกใชเครื่องใชไฟฟาท่ีมี ความตางศักยและกําลังไฟฟาใหเหมาะกับการใชงาน และการใชเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟาตองใช อยางถูกตอง ปลอดภัยและประหยัด

๕ ๘

๔ คลื่น ว ๒.๓ ม.๓/๑๐ว ๒.๓ ม.๓/๑๑ว ๒.๓ ม.๓/๑๒

- คลื่นเกิดจากการสงผานพลังงานโดยอาศัยตัวกลาง และไมอาศัยตัวกลาง ในคลื่นกลพลังงานจะถูกถายโอนผานตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางไมเคลื่อนท่ี ไปกับคลื่นคลื่นท่ีแผออกมาจากแหลงกําเนิดคลื่น อยางตอเนื่อง และมีรูปแบบท่ีซ้ํากัน บรรยายไดดวย ความยาวคลื่น ความถ่ี แอมพลิจูด

๗ ๑๒

Page 122: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๑๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นท่ีไมอาศัยตัวกลาง ในการเคลื่อนท่ี มีความถ่ีตอเนื่องเปนชวงกวางมาก เคลื่อนท่ีในสุญญากาศดวยอัตราเร็วเทากัน แตจะ เคลื่อนท่ีดวยอัตราเร็วตางกันในตัวกลางอ่ืน คลื่นแมเหล็กไฟฟาแบง ออกเปนชวงความถ่ีตาง ๆ เรียกวาสเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา แตละชวงความถ่ีมีชื่อเรียกตางกัน ไดแก คลื่นวิทยุไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงท่ีมองเห็นอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ และรังสีแกมมาซึง่สามารถนําไปใชประโยชนได

๔ คลื่น ว ๒.๓ ม.๓/๑๐ว ๒.๓ ม.๓/๑๑ว ๒.๓ ม.๓/๑๒

- เลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีมีความยาวคลื่น เดียวเปนลําแสงขนานและมีความเขมสูงนําไปใช ประโยชนในดานตาง ๆ เชน ดานการสื่อสารมีการใช เลเซอรสําหรับสงสารสนเทศผานเสนใยนําแสง โดยอาศัยหลักการการสะทอนกลับหมดของแสง ดานการแพทยใชในการผาตัด- คลื่นแมเหล็กไฟฟานอกจากจะสามารถนําไปใช ประโยชนแลว ยังมีโทษตอมนุษยดวย เชน ถํ้ามนุษย ไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตมากเกินไป อาจจะทําใหเกิด มะเร็งผิวหนังหรือถํ้าไดรังสีแกมมาซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีมีพลังงานสูงและสามารถทะลุผาน เซลลและอวัยวะได อาจทําลายเนื้อเยื่อหรืออาจ ทําใหเสียชีวิตไดเม่ือไดรับรังสีแกมมาในปริมาณสูง

๗ ๑๒

๕ แสง ว ๒.๓ ม.๓/๑๓ว ๒.๓ ม.๓/๑๔ว ๒.๓ ม.๓/๑๕ว ๒.๓ ม.๓/๑๖ว ๒.๓ ม.๓/๑๗ว ๒.๓ ม.๓/๑๘ว ๒.๓ ม.๓/๑๙ว ๒.๓ ม.๓/๒๐

- เม่ือแสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะทอนซึ่งเปนไป ตามกฎการสะทอนของแสง โดยรังสีตกกระทบ เสนแนวฉาก รังสีสะทอนอยูในระนาบเดียวกัน และ มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน ภาพจํากกระจกเงา เกิดจํากรังสี

๒๒ ๓๖

Page 123: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

ว ๒.๓ ม.๓/๒๑ สะทอนตัดกัน หรือตอแนวรังสีสะทอนใหตัดกัน โดยถํ้ารังสีสะทอนตัดกันจริง จะเกิดภาพจริง แตถํ้าตอแนวรังสีสะทอนใหไปตัดกัน จะเกิด ภาพเสมือน- เม่ือแสงเดินทางผานตัวกลางโปรงใสท่ีแตกตางกัน เชน อากาศและน้ํา อากาศและแกว จะเกิดการหักเห หรืออาจเกิดการสะทอนกลับหมดในตัวกลางท่ีแสงตกกระทบ การหักเหของแสงผานเลนสทําใหเกิดภาพท่ีมีชนิดและขนาดตาง ๆ- แสงขาวประกอบดวยแสงสีตาง ๆ เม่ือแสงขาวผาน ปริซึมจะเกิดการกระจายแสงเปนแสงสีตาง ๆ เรียกวา สเปกตรัมของแสงขาว เม่ือเคลื่อนท่ีในตัวกลางใด ๆท่ีไมใชอากาศ จะมีอัตราเร็วตางกัน จึงมีการหักเหตางกัน- การสะทอนและการหักเหของแสงนําไปใชอธิบาย ปรากฏการณท่ีเก่ียวกับแสง เชน รุง มิราจ

๕ แสง ว ๒.๓ ม.๓/๑๓ว ๒.๓ ม.๓/๑๔ว ๒.๓ ม.๓/๑๕ว ๒.๓ ม.๓/๑๖ว ๒.๓ ม.๓/๑๗ว ๒.๓ ม.๓/๑๘ว ๒.๓ ม.๓/๑๙ว ๒.๓ ม.๓/๒๐ว ๒.๓ ม.๓/๒๑

- ในการมองวัตถุ เลนสตาจะถูกปรับโฟกัสเพ่ือให เกิดภาพชัดท่ีจอตา ความบกพรองทางสายตา เชน สายตาสั้นและสายตายาวเปนเพราะตําแหนงท่ีเกิด ภาพไมไดอยูท่ีจอตําพอดี จึงตองใชเลนสในการแกไขเพ่ือชวยใหมองเห็นเหมือนคนสายตาปกติโดยคน สายตาสั้นใชเลนสเวา สวนคนสายตายาวใชเลนสนูน

๒๒ ๓๖

Page 124: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- ความสวางของแสงมีผลตอดวงตามนุษยการใช สายตาในสภาพแวดลอมท่ีมีความสวางไมเหมาะสม จะเปนอันตรายตอดวงตา เชน การดูวัตถุในท่ีมี ความสวางมากหรือนอยเกินไป การจองดูหนาจอภาพ เปนเวลานาน ความสวางบนพ้ืนท่ีรับแสงมีหนวยเปน ลักซ ความรูเก่ียวกับความสวางสามารถนํามาใชจัดความสวางใหเหมาะสมกับการทํากิจกรรมตาง ๆ

๖ ระบบสุริยะ ว ๓.๑ ม.๓/๑ว ๓.๑ ม.๓/๒ว ๓.๑ ม.๓/๓

- ในระบบสุริยะมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลางโดยมี ดาวเคราะหและบริวารดาวเคราะหแคระ ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และอ่ืน ๆ เชน วัตถุคอยเปอร โคจรอยูโดยรอบ ซึ่งดาวเคราะห และวัตถุเหลานี้โคจรรอบดวงอาทิตยดวยแรงโนมถวง แรงโนมถวงเปนแรงดึงดูดระหวางวัตถุสองวัตถุ โดยเปนสัดสวนกับผลคูณของมวลท้ังสอง และเปน สัดสวนผกผันกับกําลังสองของระยะทางระหวางวัตถุท้ังสอง แสดงไดโดยสมการ F= (Gm๑ m๒) / r๒ เม่ือ F แทนความโนมถวงระหวางมวลท้ังสอง G แทนคํ่านิจ โนมถวงสํากลm๑ แทนมวลของวัตถุแรก m๒ แทน มวลของวัตถุท่ีสอง และ r แทนระยะหางระหวางวัตถุท้ังสอง

๗ ๑๒

Page 125: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

- การท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตยในลักษณะท่ีแกนโลก เอียงกับแนวตั้งฉากของระนาบทางโคจร ทําใหสวนตาง ๆ บนโลกไดรับปริมาณแสงจากดวงอาทิตย แตกตางกันในรอบป เกิดเปนฤดู กลางวันกลางคืนยาว ไมเทากัน และตําแหนงการข้ึนและตกของดวงอาทิตย ท่ีขอบฟาและเสนทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตย เปลี่ยนไปในรอบป ซึ่งสงผลตอการดํารงชีวิต

๖ ระบบสุริยะ ว ๓.๑ ม.๓/๑ว ๓.๑ ม.๓/๒ว ๓.๑ ม.๓/๓

- ดวงจันทรโคจรรอบโลก โลกและดวงจันทรโคจร รอบดวงอาทิตย ดวงจันทรรับแสงจํากดวงอาทิตย ครึ่งดวงตลอดเวลา เม่ือดวงจันทรโคจรรอบโลกไดหัน สวนสวางมายังโลกแตกตางกัน จึงทําใหคนบนโลกสังเกตสวนสวางของดวงจันทรแตกตางไปในแตละวัน เกิดเปนขางข้ึนขางแรม- ดวงจันทรโคจรรอบโลกในทิศทางเดียวกันกับท่ีโลก หมุนรอบตัวเอง จึงทําใหเห็นดวงจันทรข้ึนช้ําไป ประมาณวันละ ๕๐ นาที- แรงโนมถวงท่ีดวงจันทร ดวงอาทิตยกระทําตอโลก ทําใหเกิดปรากฏการณน้ําข้ึนน้ําลง ซึ่งสงผลตอ สิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก วันท่ีน้ํามีระดับ การข้ึนสูงสุดและลงต่ําสุดเรียกวันน้ําเกิด สวนวันท่ีระดับน้ํามีการข้ึนและลงนอยเรียก วันน้ําตาย โดย วันน้ําเกิดน้ําตายมีความสัมพันธกับขางข้ึนขางแรม

๗ ๑๒

Page 126: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช.ม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๗ เทคโนโลยีอวกาศ

ว ๓.๑ ม.๓/๔ - เทคโนโลยีอวกาศไดมีบทบาทตอการดํารงชีวิตของ มนุษยในปจจุบันมากมายมนุษยไดใชประโยชนจาก เทคโนโลยีอวกาศเชนระบบนําทางดวยดาวเทียม (GNSS) การติดตามพายุ สถานการณไฟปา ดาวเทียม ชวยภัยแลง การตรวจคราบน้ํามันในทะเล

๓ ๕

- โครงการสํารวจอวกาศตาง ๆ ไดพัฒนาเพ่ิมพูน ความรูความเขาใจตอโลก ระบบสุริยะและเอกภพ มากข้ึนเปนลําดับ ตัวอยางโครงการสํารวจอวกาศ เชน การสํารวจสิ่งมีชีวิตนอกโลก การสํารวจดาว เคราะหนอกระบบสุริยะ การสํารวจดาวอังคาร และบริวารอ่ืนของดวงอาทิตย

รวม ๗หนวยการเรียนรู

จํานวน๒๕ ตัวช้ีวัด

๖๐ ๑๐๐

Page 127: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๔

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๓๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษา แนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคม ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหา วิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธกับศาสตรอ่ืน ๆ การทํางานของระบบทางเทคโนโลยีประยุกตใชความรู ทักษะและทรัพยากร เพ่ือพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน โดยวิเคราะหเปรียบเทียบและเลือกขอมูลท่ีจําเปนเพ่ือออกแบบวิธีการแกปญหาในชีวิตประจําวัน และสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไกไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหา

โดยอาศัยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบุปญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา ออกแบบวิธีการแกปญหา วางแผนและดําเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงานอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิต สังคมและสิ่งแวดลอม

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรมและจริยธรรม คํานึงถึงสิทธิทางปญญาตัวช้ีวัด

ว ๔.๑ ม.๓/๑-๕รวม ๕ ตัวช้ีวัด

Page 128: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๕

โครงสรางรายวิชา

ว๒๓๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการ

เรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/

ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู

ว๔.๑ ม.๑/๑ วิเคราะหสาเหตุ หรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธของเทคโนโลยีกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตร เพ่ือเปนแนวทางการแกปญหาหรือพัฒนางาน

๒ ๑๐

๒ GoogleApplication

ว๔.๑ ม.๑/๕ ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือ กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสใหถูกตองกับลักษณะของงาน และปลอดภัยเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางาน

๓ ๑๕

๓ วิเคราะหและออกแบบระบบ

ว๔.๑ ม.๑/๒ ระบุปญหาหรือความตองการของชุมชนหรือทองถ่ิน เพ่ือพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของปญหา รวบรวมวิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา โดยคํานึงถึงความถูกตองดานทรัพยสินทางปญญา

ว๔.๑ ม.๑/๓ ออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจดวยเทคนิคหรือวิธีการท่ีหลากหลาย วางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน

ว๔.๑ ม.๑/๔ ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะหและใหเหตุผลของปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบเงื่อนไข พรอมท้ัง

Page 129: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการ

เรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/

ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

หาแนวทางการปรับปรุงแกไข และนําเสนอผลการแกปญหา

๔ เปดบานค.ป.ส.

ว๔.๑ ม.๑/๒-๕

๓ ๑๕

รวม ๕ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 130: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๗

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๒๓๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาแนวคิดเชิงคํานวณ การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจําเปนตอการแกปญหาท่ีพบเห็นในชีวิตจริง ข้ันตอนการแกปญหาอยางเปนข้ันตอนและเปนระบบ การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา การพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่ือแกปญหา การรวบรวมขอมูลปฐมภูมิการประมวลผลขอมูล การสรางทางเลือกและประเมินผลเพ่ือตัดสินใจ ซอฟตแวรและบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีใชในการจัดการขอมูล การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล วิเคราะหสื่อ วิเคราะหผลกระทบของขาวสารท่ีผิด วิเคราะหแนวทางการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศใหปลอดภัย

โดยนํากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบุปญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหา ออกแบบวิธีการแกปญหา วางแผนและดําเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงานไปประยุกตใชในการเขียนโปรแกรมหรือแกปญหาในชีวิตจริง รวบรวมขอมูลและสรางทางเลือก

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ใชเทคโนโลยีการสื่อสารในการเรียนรูการทํางาน และการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทันและมีจริยธรรม ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีความรับผิดชอบตอสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย

ตัวช้ีวัดว ๔.๒ ม.๓/๑-๔

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

Page 131: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๘

โครงสรางรายวิชา

ว๒๓๑๐๔ วิทยาการคํานวณ ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ เทคโนโลยีปลอดภัย

ว๔.๒ ม.๑/๔ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีความรับผิดชอบตอสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอรใชลิขสิทธิ์ของผูอ่ืนโดยชอบธรรม

๓ ๑๕

๒ รูเทาทันเทคโนโลยี

ว๔.๒ ม.๑/๓ ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลวิเคราะหสื่อและผลกระทบจากการใหขาวสารท่ีผิด เพ่ือการใชงานอยางรูเทาทัน

๓ ๑๕

๓ การเขียนโปรแกรม

ว๔.๒ ม.๑/๒ ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหารวบรวมขอมูล ประมวลผลประเมินผล นําเสนอขอมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ีหลากหลาย

๘ ๔๐

๔ STEM ว๔.๒ ม.๑/๑ พัฒนาแอปพลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรค

๖ ๓๐

รวม ๔ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 132: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๒๙

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๐๑ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกส ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา คนควา ออกแบบ ทดลองและทํากิจกรรมการประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสาร สามารถวางแผนการตัดสินใจดําเนินการตามโครงงานและเสนอผลงานและนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. คนควา การประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส๒. ออกแบบ การประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส๓. ทดลองและทํากิจกรรมการประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

รวม ๓ ตัวช้ีวัด

Page 133: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๐

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๐๒ สนุกกับไอทีและอิเล็กทรอนิกส ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา คนควา ออกแบบ ทดลองและทํากิจกรรมการประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสาร สามารถวางแผนการตัดสินใจดําเนินการตามโครงงานและเสนอผลงานและนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. คนควา การประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส๒. ออกแบบ การประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส๓. ทดลองและทํากิจกรรมการประดิษฐโดยใชความรูไอทีและชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

รวม ๓ ตัวช้ีวัด

Page 134: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๑

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๐๑ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห กระบวนการทางวิทยาศาสตร การสังเกต การวัด การใชเลขจํานวนหรือการคํานวณ การจําแนกประเภท ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส การลงความเห็นจากขอมูลการจัดกระทําและการสื่อความหมายขอมูล การพยากรณ การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุปเพ่ือจะไดมีพ้ืนฐานในการเรียนรูวิธีการสําหรับดําเนินการสืบคนทางวิทยาศาสตร นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. อธิบายและยกตัวอยางทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐานไดแก การสังเกต การวัด

การใช เลขจํานวนหรือการคํานวณ การจําแนกประเภท ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส การลงความเห็นจากขอมูล การจัดกระทําและการสื่อความหมายขอมูลการพยากรณ

๒. อธิบายทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรชั้นสูงหรือข้ันบูรณาการ ไดแก การกําหนด และควบคุมตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความ ขอมูลและลงขอสรุปผลรวม ๒ ตัวช้ีวัด

Page 135: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๒

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๐๒ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห ฝกกระบวนการแกปญหา โดยเริ่มกิจกรรมท่ีฝกทักษะพ้ืนฐาน ไดแก ทักษะการสังเกต การวัด ทักษะระดับสูง ไดแก การตั้งปญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลองมีการกําหนดและความคุมตัวแปร ตรวจสอบสมมติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลองการบันทึกขอมูล การจัดกระทําและนําเสนอขอมูล การตีความหมายขอมูล การสรุปผล โดยใชวิธีทางวิทยาศาสตร นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. ตั้งสมมติฐานจากปญหาหรือเหตุการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม๒. ออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐานโดยมีการกําหนดและควบคุมตัวแปรตาง ๆ

และกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการไดอยางเหมาะสม๓. ออกแบบวิธีการทดลองเลือกใชอุปกรณและลงมือทําการทดลองไดอยางมีระบบ๔. บันทึกขอมูลท่ีสามารถอานงาย และสรุปผลของขอมูลจากการทดลองได

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

Page 136: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๓

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๐๑ โครงงานทางวิทยาศาสตร ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห การตั้งสมมติฐานจากปญหาหรือเหตุการณ ตาง ๆ ฝกกระบวนการแกปญหากําหนดและควบคุมตัวแปร กําหนดคํานิยามเชิงปฏิบัติการ ออกแบบการทดลองและปฏิบัติการทดลองอยางมีระบบ บันทึกขอมูลและสรุปผลการทดลอง วิเคราะหโครงงาน จัดทํา เคาโครงของโครงงานโครงงานสํารวจ โครงงานทดลอง โครงงานสิ่งประดิษฐ และโครงงานทฤษฏี

โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู สืบคนขอมูล การทดลองและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. ตั้งสมมติฐานจากปญหาหรือเหตุการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๒. ออกแบบการทดลอง เพ่ือตรวจสอบแบบสมมติฐาน โดยมีการกําหนดและควบคุมตัวแปร

ตาง ๆ และกําหนดคํานิยามเชิงปฏิบัติการไดอยางเหมาะสม๓. ออกแบบวิธีการทดลอง เลือกใชอุปกรณและลงมือทําการทดลองไดอยางมีระบบ๔. บันทึกขอมูลท่ีสามารถอานเขาใจงาย และสรุปผลของขอมูลจากการศึกษาทดลองได๕. วิเคราะหโครงงานวิทยาศาสตร และมีแนวคิดในการวางแผนการทดลอง รวมถึงจัดทําเคา

โครงของวิทยาศาสตรได๖. มีความคิดสรางสรรคในการแสดงความคิดออกแบบหรือดัดแปลงการทดลอง ตลอดจนวัสดุ

อุปกรณตางๆ ในการทํากิจกรรมแกปญหา๗. มีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร

รวม ๗ ตัวช้ีวัด

Page 137: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๔

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๐๒ โครงงานทางวิทยาศาสตร ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห การตั้งสมมติฐานจากปญหาหรือเหตุการณ ตาง ๆ ฝกกระบวนการแกปญหากําหนดและควบคุมตัวแปร กําหนดคํานิยามเชิงปฏิบัติการ ออกแบบการทดลองและปฏิบัติการทดลองอยางมีระบบ บันทึกขอมูลและสรุปผลการทดลอง วิเคราะหโครงงาน จัดทําเคาโครงของโครงงานโครงงานสํารวจ โครงงานทดลอง โครงงานสิ่งประดิษฐ และโครงงานทฤษฏี

โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู สืบคนขอมูล การทดลองและการอภิปราย

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

๑. ตั้งสมมติฐานจากปญหาหรือเหตุการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๒. ออกแบบการทดลอง เพ่ือตรวจสอบแบบสมมติฐาน โดยมีการกําหนดและควบคุมตัวแปร

ตางๆและกําหนดคํานิยามเชิงปฏิบัติการไดอยางเหมาะสม๓. ออกแบบวิธีการทดลอง เลือกใชอุปกรณและลงมือทําการทดลองไดอยางมีระบบ๔. บันทึกขอมูลท่ีสามารถอานเขาใจงาย และสรุปผลของขอมูลจากการศึกษาทดลองได๕. วิเคราะหโครงงานวิทยาศาสตร และมีแนวคิดในการวางแผนการทดลอง รวมถึงจัดทําเคา

โครงของวิทยาศาสตรได๖. มีความคิดสรางสรรคในการแสดงความคิดออกแบบหรือดัดแปลงการทดลอง ตลอดจนวัสดุ

อุปกรณตางๆ ในการทํากิจกรรมแกปญหา๗. มีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร

รวม ๗ ตัวช้ีวัด

Page 138: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๕

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๘๑ เทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับความเปนมา ความหมาย ประเภท ขอดี และขอเสียของการออกแบบสื่อสิ่งพิมพหลักการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพโดยการใชงานโปรแกรมประยุกตดานการผลิตสื่อสิ่งพิมพ การออกแบบและจัดหนาสื่อสิ่งพิมพ ภาพในสื่อสิ่งพิมพ การใชสีในสื่อสิ่งพิมพ การสรุปเนื้อหากระบวนการจัดทําขอมูล สารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตรอและอุปกรณสํานักงานตางๆ ในการปฏิบัติงานเพ่ือใหไดสารสนเทศหรือความรู ท่ีนํามาใชในการตัดสินใจหรือเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต

โดยจัดประสบการณจัดกิจกรรมหรือโจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะดานการผลิตสื่อสิ่งพิมพโดยใชหลักกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใชเทคโนโลยีการติดตอสื่อสาร คนหาขอมูลวางแผนและผลิตงานท่ีเปนประโยชน

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เห็นคุณคาและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนและมีคุณธรรมจริยธรรมในการใชสารสนเทศ

ผลการเรียนรู๑. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับสื่อสิ่งพิมพ๒ สามารถอธิบายหลักการออกแบบสื่อสิ่งพิมพได๓ สามารถออกแบบและจัดหนาสื่อสิ่งพิมพได๔ การเลือกใชสีในสื่อสิ่งพิมพไดอยางเหมาะสม๕ การเลือกใชภาพใหสื่อสิ่งพิมพนาสนใจ และสมดุล๖ ใชซอฟตแวรประยุกตออกแบบสื่อสิ่งพิมพไดอยางนอย ๕ ชิน้งาน

รวม ๖ ตัวช้ีวัด

Page 139: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๖

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๑๒๘๒ เทคโนโลยี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับหลักการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสดวยโปรแกรมสําเร็จรูป DesktopAuthor ,Flip Album การกําหนดคุณสมบัติเบื้องตนของหนังสือ การแบงหนากระดาษ การสรางปกหนา ปกหลังของหนังสือ การพิมพขอความการแทรกรูปภาพ การแทรกไฟลมัลติมีเดีย การสรางปุมสําหรับเชื่อมโยงเนื้อหาในแตละหนา การเผยแพรหนังสืออิเล็กทรอนิกสท่ีไดสรางข้ึนไดอยางสรางสรรค

ปฏิบัติและประยุกตใชคอมพิวเตอร เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจในการสรางสรรคผลงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และเกิดเจตคติท่ีดีในการใชคอมพิวเตอรในทางสรางสรรค

ผลการเรียนรู๑. อธิบายความรูเบื้องตนเก่ียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book)๒ อธิบายสวนประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร๓ อธิบายข้ันตอนการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส๔ อธิบายข้ันตอนการแทรกขอความและมัลติมีเดียลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกส๕ อธิบายข้ันตอนการแทรกปุมและการเชื่อมโยงลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกส๖ เผยแพรผลงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสอยางสรางสรรค

รวม ๖ ตัวช้ีวัด

Page 140: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๘๑ เทคโนโลยี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาเครื่องมือท่ีใชในงานเขียนแบบ สามารถบอกชื่อรูปรางลักษณะ วิธีการใชงานและการดูแลบํารุงรักษาได มีความรูความเขาใจในการใชตัวอักษร ตัวเลขแบบตางๆ ได เขียนภาพ ๒ มิติรูปแบบตางๆ พรอมท้ังบอกขนาดของภาพไดอยางเหมาะสม ศึกษาและฝกการใชมาตราสวนชนิดตาง ๆท่ีใชในงานเขียนแบบ เรียนรูการเขียนภาพ ๒ มิติ แบบตางๆ และการเขียนภาพ ๓ มิติ แบบISOMETRIC ไดอยางถูกตองตองตั้งแตแบบงาย ๆ จนถึงแบบท่ีมีความซับซอน ใชคําสั่งพ้ืนฐานจากโปรแกรมออกแบบ สราง วาด รางแบบภาพรูปทรงสามมิติ การฝกออกแบบวัตถุ การเปลี่ยนมุมมองการลบเหลี่ยม การเจาะ การใชเทคนิคการหมุนรอบ การลงสีผิววัตถุ การฝกปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ จัดเก็บภาพแบบ เรียกภาพแบบมาแกไข ขยายและลดขนาดภาพ รูปแบบตัวอักษร สําเนาภาพแบบ ความสําคัญและคุณคาของการตกแตงออกแบบรูปทรงแบบมีมิติ วิธีการนําภาพแบบผลิตภัณฑเขาสูระบบดิจิตอลดวยเครื่องมือประกอบตางๆ การนําความรู เรื่องทฤษฎีสี การจัดองคประกอบภาพมาประยุกตใชในการสรางภาพแบบรูปทรงใหม

ปฏิบัติการใชเครื่องมือเขียนแบบไดอยางถูกวิธี เขียนตัวอักษรไทย อังกฤษและตัวเลขไทยและอังกฤษท่ีใชในงานเขียนแบบปฏิบัติการสรางภาพ ปฏิบัติการใชโปรแกรมท่ีใชในการสรางภาพแบบรูปทรงสามมิติ แกไขและตกแตงภาพแบบ นําภาพท่ีตกแตงแลวไปใชเปนสื่อในการศึกษา สื่อในการผลิตชิ้นงานจริงหรือประชาสัมพันธ ผลิตภัณฑโดยการประยุกตใชโปรแกรมนําเสนองานในรูปแบบตางๆอยางสรางสรรค

ผูเรียนมีความรูความเขาใจ เกิดทักษะจากการฝกปฏิบัติ ทํางานดวยความละเอียดประณีต มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีพึงประสงคคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอรในงานการเขียนแบบ การวาดรูปดวยโปรแกรมออกแบบและการออกแบบผลิตภัณฑผลการเรียนรู

๑. อธิบายความหมาย ประเภทงานเขียนแบบได๒. เขียนแบบตามประเภทของงานเขียน ๒ มิติ และ ๓ มิติ แบบ Isometric ได๓. เขียนแบบภาพคลี่ได๔. ประดิษฐบรรจุภัณฑได๕. ใชงานโปรแกรมการออกแบบผลิตภัณฑได๖. ออกแบบ และเขียนแบบภาพ ๓ มิติ ดวยดวยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร๗. ประยุกตใชงานนําเสนอผลงานไดอยางสรางสรรค

รวม ๗ ตัวช้ีวัด

Page 141: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๘

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๒๒๘๒ เทคโนโลยี ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับประวัติความเปนมาของกราฟก คุณสมบัติของงานกราฟก บทบาทและความสําคัญของงานกราฟฟก ความหมายและความเปนมาของคอมพิวเตอรกราฟก ระบบคอมพิวเตอรสําหรับงานกราฟกประยุกตใชงานคอมพิวเตอรกราฟก สีกับการออกแบบงานกราฟก โปรแกรมสําหรับงานกราฟก เทคนิคการสรางภาพกราฟก การจัดเก็บแฟมภาพกราฟก ความเปนมาและความหมายของสื่อประสม ความสําคัญของเทคโนโลยีสื่อประสม บทบาทและผลกระทบของสื่อประสม เท็คโนโลยีเว็บ การออกแบบเว็บเพจ โครงสรางและคําสั่งภาษา HTML สรางและออกแบบเว็บเพจดวยภาษาHTML

ปฏิบัติการสรางและแกไขเว็บเพจโดยใชคําสั่งพ้ืนฐาน การจัดการขอความ การสรางรายการแบบตางๆ การจัดการรูปแบบและฉากหลัง การสรางไฮเปอรลิงค การสรางและแกไขตาราง การสรางฟอรมรับขอมูลการสรางเฟรม

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจและเกิดทักษะในการเขียนเว็บไซตดวยภาษา HTML อยางมีคุณธรรม จริยธรรมและรับผิดชอบตอสังคม

ผลการเรียนรู๑. อธิบายประวัติ คุณสมบัติ บทบาทและความสําคัญของงานกราฟก๒ อธิบายความหมายของคอมพิวเตอรกราฟก และสรุปเก่ียวกับระบบคอมพิวเตอรสําหรับงาน

กราฟก๓ อธิบายความหมายความสําคัญ บทบาทและผลกระทบของสื่อประสม๔ อธิบายและเขียนโครงสรางภาษา HTML พ้ืนฐานได๕ ออกแบบและสรางเว็บเพจดวยภาษา HTMLรวม ๕ ตัวช้ีวัด

Page 142: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๓๙

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๘๑ เทคโนโลยี ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความรูเก่ียวกับโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีมีความสามารถดานการคํานวณตัวเลข การสรางตาราง การกําหนดสูตรคํานวณ การจัดการขอมูลประเภทขอความ ตัวเลข วันท่ี เวลาหรือสูตรคํานวณ การกําหนดรูปแบบขอมูล การคัดลอก ยายขอมูล การปรับแตงขอมูลใหมีระเบียบและงายตอการอาน นาสนใจ สรางแผนภูมิสรุปขอมูลเปนภาพรวม ใชกระบวนการจัดทําขอมูลสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณสํานักงานตางๆ ในการปฏิบัติงานเพ่ือใหไดสารสนเทศหรือความรูท่ีนํามาใชในการตัดสินใจหรือเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต

โดยจัดประสบการณจัดกิจกรรมหรือโจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะดานการคํานวณการใชโปรแกรมตารางการทํางานโดยหลักกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใชเทคโนโลยีการติดตอสื่อสาร คนหาขอมูลวางแผนและผลิตงานท่ีเปนประโยชน

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เห็นคุณคาและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนและมีคุณธรรมจริธรรมในการใชการใชสารสนเทศผลการเรียนรู

๑. สามารถอธิบายหลักการทํางานคํานวณ การสรางสูตรคํานวณได๒. สามารถใชงานโปรแกรมท่ีใชในการคํานวณตัวเลขไดอยางนอย ๒ โปรแกรม๓. สามารถเชื่อมโยงแนวคิด หลักการ และทักษะวิธีการท่ีเรียนรูไปใชผลิตชิ้นงานตามคําสั่งได

อยางนอย ๑๐ ชิ้นงาน๔. วางแผนเลือกและใชเทคโนโลยีในการทํางานและอาชีพไดเหมาะสม๕. สามารถผลิตผลงาน นําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีกําหนดไดอยางนอย ๒ รูปแบบ๖. สามารถจัดทําโครงงานการประยุกตใชจากโปรแกรมตารางการทํางานได

รวม ๖ ตัวช้ีวัด

Page 143: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๐

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๒๓๒๘๒ เทคโนโลยี ๖ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความรูเบื้องตนเก่ียวกับภาษาซี หลักการเขียนโปรแกรม องคประกอบภาษาซีคําสั่งในการรับและแสดงผลขอมูล คําสั่งควบคุมในการทํางาน ตัวแปร Array ฟงกชัน Function พอยนเตอรPointer การจัดแฟมขอมูล ขอมูลชนิดโครงสรางและประยุกตการเขียนโปรแกรม

จัดประสบการณ จัดกิจกรรม โจทยปญหาสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางคุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักการเขียนโปรแกรมองคประกอบของภาษาซี คําสั่งในการรับและแสดงผลขอมูล คําสั่งควบคุมการทํางาน ตัวแปร Arrayฟงกชัน Function พอยนเตอร Pointer การจัดแฟมขอมูล ขอมูลชนิดโครงสรางและประยุกตการเขียนโปรแกรม

เพ่ือใหมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการพัฒนาโปรแกรมภาษาดวยใดภาษาหนึ่ง ในงานตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรมจริยธรรมในการใชสารสนเทศ นําสูการประยุกตใชกระบวนการทางเทคโนโลยี สราง/แกปญหากระบวนการทํางาน โดยการเขียนโปรแกรม

ผลการเรียนรู1. เขาใจและบอกลําดับข้ันตอนท่ีใชในการพัฒนาโปรแกรมได2. เขียนข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรมมานําเสนอได3. ใชโฟลวชารตนําเสนอข้ันตอนในการพัฒนาโปรแกรมได4. สรางแฟมขอมูลท่ีเหมาะสมกับโปรแกรมได5. อธิบายความหมาย ชนิดของตัวแปร และระบุชื่อตัวแปรไดอยางถูกตองตามหลักการตั้งชื่อตัว

แปรได6. ประกาศตัวแปร และกําหนดขอบเขตใหกับตัวแปรได7. เขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานในรูปแบบท่ีกําหนดได8. เลือกใชฟงกชันมาใชงานไดอยางเหมาะสม9. เขียนรูปแบบของโปรแกรมยอยได10. เขียนโปรแกรมตามรูปแบบท่ีกําหนดได

รวม ๑๐ ตัวช้ีวัด

Page 144: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๑

โครงสรางหลักสูตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพุทธศักราช ๒๕๖๑ โรงเรียนคูซอดประชาสรรค

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

ระดับช้ัน ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒รายวิชา นก./ชม. รายวิชา นก./ชม.

ม.๔ วิชาพื้นฐานว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตรชีวภาพ

(ชีววิทยา)วิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๑ ฟสิกส ๑ว๓๐๒๒๑ เคมี ๑ว๓๐๒๘๑ เทคโนโลยี ๑

๑.๕ (๖๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๓๑๑๐๒ การออกแบบและ

เทคโนโลยีวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๒ ฟสิกส ๒ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา ๑ว๓๐๒๖๑ โลก ดาราศาสตรและอวกาศว๓๐๒๘๒ เทคโนโลยี ๒

๐.๕ (๒๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)๑.๐ (๔๐)

ม.๕ วิชาพื้นฐานว๓๒๑๐๑ วิทยาศาสตรกายภาพ

(เคมี)วิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๓ ฟสิกส ๓ว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ว๓๐๒๘๓ เทคโนโลยี ๓

๑.๕ (๖๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๓๒๑๐๒ วิทยาศาสตรกายภาพ

(ฟสิกส)ว๓๒๑๐๓ วิทยาการคํานวณ ๑วิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา ๓ว๓๐๒๘๔ เทคโนโลยี ๔

๑.๕ (๖๐)

๐.๕ (๒๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)

ม.๖ วิชาพื้นฐานว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร(โลก ดารา

ศาสตรและอวกาศ)วิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๔ ฟสิกส ๔ว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา ๔ว๓๐๒๘๕ เทคโนโลยี ๕

๑.๕ (๖๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)

วิชาพื้นฐานว๓๓๑๐๒ วิทยาการคํานวณ ๒

วิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๕ ฟสิกส ๕ว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา ๕ว๓๐๒๘๖ เทคโนโลยี ๖

๐.๕ (๒๐)

๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๕ (๖๐)๑.๐ (๔๐)

Page 145: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๒

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตรชีวภาพ(ชีววิทยา) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห สํารวจ ทดลอง อธิบาย อภิปราย และสรุปใจความสําคัญของความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม สมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเขา และออกจากเซลลความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ี ของอวัยวะตางๆ ของพืชท่ีทํางานสัมพันธกัน กระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล อภิปรายเปรียบเทียบ การทํานาย และการทดลอง

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร มีชีวจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

ตัวช้ีวัดว ๑.๑ ม. ๔/๑, ม. ๔/๒, ม. ๔/๓, ม. ๔/๔ว ๑.๒ ม. ๔/๑, ม. ๔/๒, ม. ๔/๓, ม. ๔/๔, ม. ๔/๕, ม. ๔/๖, ม. ๔/๗, ม. ๔/๘, ม. ๔/๙,

ม. ๔/๑๐, ม. ๔/๑๑, ม. ๔/๑๒ว ๑.๓ ม. ๔/๑, ม. ๔/๒, ม.๔/๓, ม. ๔/๔, ม. ๔/๕, ม. ๔/๖รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้ีวัด

Page 146: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๓

โครงสรางรายวิชาว ๓๑๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ(ชีววิทยา) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ ระบบนิเวศ ว๑.๑ม. ๔/๑-๔/๔

-ระบบนิเวศ- การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี- มนุษยกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต

๘ ๑๕

๒ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

ว๑.๒ม. ๔/๑ - ม. ๔/๓

- โครงสรางและหนาท่ีสวนประกอบตางๆของเซลลพืชละเซลลสัตว- การลําเลียงผานเยื่อหุมเซลล- การลําเลียงแบบไมผานเยื่อหุมเซลล- กลไกการรักษาดุลภาพของสิ่งมีชีวิต

๑๒ ๑๕

๓ ระบบภูมิคุมกัน ว๑.๒ม. ๔/๔ - ๔/๗

- กลไกการสรางภูมิคุมกันของรางกาย- หมูเลือดและการใหเลือด- ความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันโรค

๘ ๑๕

๔ กระบวนการเจริญเติบโตของ

พืช

ว๑.๒ม. ๔/๘ – ๔/๑๒

- กระบวนการสังเคราะหแสงของพืช- ปจจัยท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช- สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช- การตอบสนองตอสิ่งเราของพืช

๑๐ ๑๕

๕ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ว ๑.๓ม. ๔/๑-๔/๕

- ลักษณะทางพันธุกรรม- การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม- สิ่งท่ีกําหนดเพศในมนุษย- โครงสรางพ้ืนฐานของ DNA-ความผิดปกติของโครโมโซมในมนุษย- บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร- การถายทอดลักฯระทางพันธุกรรมหนึ่งลักษณะ- การกลายพันธุ- ปจจัยท่ีทําใหเกิดวิวัฒนาการ- การเกิดสปชีสใหมและความหลากหลายของสปชีส

๑๒ ๒๕

Page 147: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๖ ความหลากหลายของ

สิ่งมีชีวิต

ว ๑.๓ม ๔/๖

- ความหลากหลายของพืชและสัตวในทองถ่ิน- ความหลากหลายทางชีวภาพ

๑๐ ๑๕

รวม ๖ หนวย จํานวน ๒๒ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 148: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๕

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๑๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิต วิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ประยุกตใชความรู ทักษะดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอ่ืน ๆในการบริหารการใชทรัพยากร โดยวิเคราะห เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีเพ่ือออกแบบวิธีการแกปญหาในชีวิตประจําวัน ใชแนวคิดเชิงคํานวณในกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมแกปญหา สรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการ สงเสริมการใชเทคโนโลยีสะอาด นําเสนอแนวทางการแกปญหาโดยใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบ มีความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไกไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหา มีความรูดานกฎหมายลิขสิทธิ์ ทรัพยสินทางปญญา

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เพ่ือเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะกระบวนการคิด การแกปญหาอยางมีข้ันตอน วางแผนการเรียนรูและนําแนวคิดเชิงคํานวณมาประยุกตใชในการแกปญหาในชีวิตประจําวัน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ทักษะและกระบวนการดานวิทยาการคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถประยุกตใชแนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรม ในการแกปญหาเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนไดอยางสรางสรรค ตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย มีความเขาใจและปฏิบัติตนภายใตกฎหมายอยางรูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทํางาน

ตัวช้ีวัดว ๔.๑ ม.๔/๑-๕ว ๔.๒ ม.๔/๑

รวม ๖ ตัวช้ีวัด

Page 149: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๖

โครงสรางรายวิชา

ว๓๑๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ รูเทาทันเทคโนโลยี

ว๔.๑ ม.๔/๑ วิเคราะหแนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรรวมท้ังประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนตอมนุษยสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี

๒ ๑๐

๒ ความรูและทักษะศตวรรษ ๒๑

ว๔.๑ ม.๔/๕ ใชความรูและทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณเครื่องมือ กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยีท่ีซับซอนในการแกปญหาหรือพัฒนางาน ไดอยางถูกตอง เหมาะสมและปลอดภัย

๒ ๑๐

๓ เคาะ คิด แยกสวน

ว๔.๑ ม.๔/๒ ระบุปญหาหรือความตองการท่ีมีผลกระทบตอสังคม รวบรวม วิเคราะหขอมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวของกับปญหาท่ีมีความซับซอนเพ่ือสังเคราะหวิธีการเทคนิคในการแกปญหาโดยคํานึงถึงความถูกตองดานทรัพยสินทางปญญา

๓ ๑๕

๔ ทุกปญหามีหนทางแก

ว๔.๑ ม.๔/๓ ออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจดวยเทคนิคหรือวิธีการท่ีหลากหลาย โดยใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบ วางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแกปญหา

๔ ๒๐

๕ นวัตกรรมคือชีวิต

ว๔.๑ ม.๔/๔ ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะหและใหเหตุผลของปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบเงื่อนไข หา

๓ ๑๕

Page 150: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

แนวทางการปรับปรุงแกไขและนําเสนอผลการแกปญหา พรอมท้ังเสนอแนวทางการพัฒนาตอยอด

๖ STEM ศึกษา ว๔.๒ ม.๔/๑ ประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรคและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

๖ ๓๐

รวม ๖ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 151: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๘

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๒๑๐๑ วิทยาศาสตรกายภาพ(เคมี) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา สูตรเคมีเพ่ือระบุวาเปนธาตุหรือสารประกอบ วิวัฒนาการของแบบจําลองอะตอมของธาตุ อนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวลและไอโซโทป สัญลักษณนิวเคลียร การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ แนวโนมสมบัติบางประการของธาตุตามตารางธาตุ ศึกษาและทดลองเก่ียวกับชนิดของพันธะเคมีจากการนําไฟฟาของสารบางชนิดศึกษาการเกิดพันธะและสมบัติบางประการของสารโคเวเลนตสารประกอบไอออนิก และโลหะ ศึกษาความหมาย โครงสราง การเกิดพันธะของสารประกอบอินทรีย และศึกษาความหมาย ปฏิกิริยาการสังเคราะห พอลิเมอร โครงสราง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร รวมท้ังการใชประโยชนและผลกระทบจากการผลิตภัณฑของพอลิเมอรสารประกอบอินทรียท่ีมีหมูฟงกชันแสดงสมบัติเฉพาะ และทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาความสัมพันธของพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและคํานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปจจัยท่ีมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา ศึกษาปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน การใชประโยชนและผลของปฏิกิริยาเคมีตอสิ่งมีชีวิตและศึกษาปฏิกิริยารีดอกซ การแผรังสีของสารกัมมันตรังสี ครึ่งชีวิต การประโยชนและผลกระทบจากการนําสารกัมมันตรังสีมาใช

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงคตัวช้ีวัดว.๒.๑ ม.๕/๑- ม.๕/๒๕

รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวช้ีวัด

Page 152: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๔๙

โครงสรางรายวิชาว๓๒๑๐๑ รายวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ(เคมี) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ อะตอมและตารางธาตุ

ว ๒.๑ม.๕/๑ม.๕/๒ม.๕/๓ม.๕/๔ม.๕/๕ม.๕/๖ม.๕/๗

-สารเคมีทุกชนิดสามารถระบุไดวาเปนธาตุหรือสารประกอบ และอยูในรูปของอะตอมโมเลกุล หรือไอออนได โดยพิจารณาจากสูตรเคมี

- แบบจําลองอะตอมใชอธิบายตําแหนงของโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดยโปรตอนและนิวตรอนอยูรวมกันในนิวเคลียส สวนอิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียส ซึ่งในแบบจําลองอะตอมของโบร อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีเปนวงโดยแตละวงมีระยะหางจากนิวเคลียสและมีพลังงานตางกัน และอิเล็กตรอนวงนอกสุดเรียกวาเวเลนซอิเล็กตรอน

- แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอกแสดงโอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสในลักษณะกลุมหมอก เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและเคลื่อนท่ีอยางรวดเร็วตลอดเวลา จึงไมสามารถระบุตําแหนงท่ีแนนอนได

- อะตอมของธาตุเปนกลางทางไฟฟา มีจํานวนโปรตอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอนการระบุชนิดของธาตุพิจารณาจากจํานวนโปรตอน

- เม่ืออะตอมของธาตุมีการใหหรือรับอิเล็กตรอน ทําใหจํานวนโปรตอนและอิเล็กตรอนไมเทากันเกิดเปนไอออน โดยไอออนท่ีมีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา

๑๖ ๒๘

Page 153: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ อะตอมและตารางธาตุ

(ตอ)

จํานวนโปรตอน เรียกวา ไอออนบวก สวนไอออนท่ีมีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวาโปรตอน เรียกวา ไอออนลบ

- สัญลักษณนิวเคลียร ประกอบดวยสัญลักษณธาตุ เลขอะตอมและเลขมวลโดยเลขอะตอมเปนตัวเลขท่ีแสดงจํานวนโปรตอนในอะตอม เลขมวลเปนตัวเลขท่ีแสดงผลรวมของจํานวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอม ธาตุชนิดเดียวกันแตมีเลขมวลตางกัน เรียกวาไอโซโทป

- ธาตุจัดเปนหมวดหมูไดอยางเปนระบบ โดยอาศัยตารางธาตุ ซึ่งในปจจุบันจัดเรียงตามเลขอะตอมและความคลายคลึงของสมบัติ แบงออกเปนหมูซึ่งเปนแถวในแนวตั้ง และคาบซึ่งเปนแถวในแนวนอน ทําใหธาตุท่ีมีสมบัติเปนโลหะอโลหะและก่ึงโลหะ อยูเปนกลุมบริเวณใกล ๆ กัน และแบงธาตุออกเปนกลุมธาตุเรพรีเซนเททีฟและกลุมธาตุแทรนซิชัน

- ธาตุในกลุมโลหะ จะนําไฟฟาไดดี และมีแนวโนมใหอิเล็กตรอน สวนธาตุในกลุมอโลหะ จะไมนําไฟฟา และมีแนวโนมรับอิเล็กตรอน โดยธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมูIA - IIA และธาตุแทรนซิชันทุกธาตุจัดเปนธาตุในกลุมโลหะ สวนธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู IIIA - VIIA มีท้ังธาตุในกลุมโลหะและอโลหะสวนธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู VIIIA จัดเปนธาตุอโลหะท้ังหมด

- ธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันนํามาใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดหลากหลาย

Page 154: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒ พันธะเคมี ว.๒.๑ม.๕/๘ม.๕/๙ม.๕/๑๐ม.๕/๑๑ม.๕/๑๒ม.๕/๑๓

-พันธะโคเวเลนต เปนการยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมดวยการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน เกิดเปนโมเลกุล โดยการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน ๑ คูเรียกวา พันธะเดี่ยว เขียนแทนดวยเสนพันธะ ๑ เสน ในโครงสรางโมเลกุล สวนการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน ๒ คูและ ๓ คู เรียกวา พันธะคู และพันธะสามเขียนแทนดวยเสนพันธะ ๒ เสน และ ๓เสน ตามลําดับ

- สารท่ีมีพันธะภายในโมเลกุลเปนพันธะโคเวเลนตท้ังหมดเรียกวา สารโคเวเลนต โดยสารโคเวเลนต ท่ีประกอบดวย๒ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน เปนสารไมมีข้ัว สวนสารโคเวเลนต ท่ีประกอบดวย๒ อะตอมของธาตุตางชนิดกัน เปนสารมีข้ัว สําหรับสารโคเวเลนตท่ีประกอบดวยอะตอมมากกวา ๒ อะตอม อาจเปนสารมีข้ัวหรือไมมีข้ัว ข้ึนอยูกับรูปรางของโมเลกุล ซึ่งสภาพข้ัวของสารโคเวเลนตสงผลตอแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลท่ีทําใหจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนตแตกตางกัน นอกจากนี้สารบางชนิดมีจุดเดือดสูงกวาปกติ เนื่องจากมีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลสูงท่ีเรียกวา พันธะไฮโดรเจนซึ่งสารเหลานี้มีพันธะ N–H O–H หรือ F–H ภายในโครงสรางโมเลกุล- สารประกอบไอออนิกสวนใหญเกิดจากการรวมตัวกันของไอออนบวกของธาตุโลหะและไอออนลบของธาตุอโลหะ ในบางกรณีไอออนอาจประกอบดวยกลุมของ

๑๖ ๒๔

Page 155: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒ พันธะเคมี อะตอม โดยเม่ือไอออนรวมตัวกันเกิดเปนสารประกอบไอออนิกจะมีสัดสวนการรวมตัว เพ่ือทําใหประจุของสารประกอบเปนกลางทางไฟฟาโดยไอออนบวกและไอออนลบจะจัดเรียงตัวสลับตอเนื่องกันไปใน ๓ มิติ เกิดเปนผลึกของสารซึ่งสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก ประกอบดวยสัญลักษณธาตุท่ีเปนไอออนบวกตามดวยสัญลักษณธาตุท่ีเปนไอออนลบ โดยมีตัวเลขท่ีแสดงจํานวนไอออนแตละชนิดเปนอัตราสวนอยางต่ํา

- สารจะละลายน้ําไดเม่ือองคประกอบของสารสามารถเกิดแรงดึงดูดกับโมเลกุลของน้ําได โดยการละลายของสารในน้ําเกิดได ๒ ลักษณะ คือ การละลายแบบแตกตัว และการละลายแบบไมแตกตัว การละลายแบบแตกตัวเกิดข้ึนกับสารประกอบไอออนิก และสารโคเวเลนตบางชนิดท่ีมีสมบัติเปนกรดหรือเบส โดยเม่ือสารเกิดการละลายแบบแตกตัวจะไดไอออนท่ีสามารถเคลื่อนท่ีได ทําใหไดสารละลายท่ีนําไฟฟาซึ่งเรียกวาสารละลายอิเล็กโทรไลต การละลายแบบไมแตกตัวเกิดข้ึนกับสารโคเวเลนตท่ีมีข้ัวสูงสามารถดึงดูดกับโมเลกุลของน้ําไดดีโดยเม่ือเกิดการละลายโมเลกุลของสารจะไมแตกตัวเปนไอออน และสารละลายท่ีไดจะไมนําไฟฟาซึ่งเรียกวา สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต

Page 156: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๓ สารประกอบอินทรีย

ว.๒.๑ม.๕/๑๔ม.๕/๑๕ม.๕/๑๖ม.๕/๑๗ม.๕/๑๘ม.๕/๑๙

- สารประกอบอินทรียเปนสารประกอบของคารบอนสวนใหญพบในสิ่งมีชีวิต มีโครงสรางหลากหลายและแบงไดหลายประเภท เนื่องจากธาตุคารบอนสามารถเกิดพันธะกับคารบอนดวยกันเองและธาตุอ่ืน ๆ นอกจากนี้พันธะระหวางคารบอนยังมีหลายรูปแบบ ไดแก พันธะเดี่ยว พันธะคู พันธะสาม

- สารประกอบอินทรียท่ีมีเฉพาะธาตุคารบอนและไฮโดรเจนเปนองคประกอบเรียกวา สารประกอบไฮโดรคารบอน โดยสารประกอบไฮโดรคารบอนอ่ิมตัวมีพันธะระหวางคารบอนเปนพันธะเดี่ยวทุกพันธะในโครงสราง สวนสารประกอบไฮโดรคารบอนไมอ่ิมตัวมีพันธะระหวางคารบอนเปนพันธะคูหรือพันธะสามอยางนอย ๑ พันธะในโครงสราง

-สารท่ีพบในชีวิตประจําวันมีท้ังโมเลกุลขนาดเล็กและขนาดใหญ พอลิเมอรเปนสารท่ีมีโมเลกุล ขนาดใหญท่ีเกิดจากมอนอเมอรหลายโมเลกุลเชื่อมตอกันดวยพันธะเคมี ทําใหสมบัติทางกายภาพของพอลิเมอรแตกตางจากมอนอเมอรท่ีเปนสารตั้งตน เชน สถานะ จุดหลอมเหลวการละลาย

- สารประกอบอินทรียท่ีมีหมู -COOHสามารถแสดงสมบัติความเปนกรด สวนสารประกอบอินทรียท่ีมีหมู -NH๒ สามารถแสดงสมบัติความเปนเบส

- การละลายของสารพิจารณาไดจากความมีข้ัวของตัวละลายและตัวทําละลาย

๑๖ ๒๔

Page 157: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

โดยสารสามารถละลายไดในตัวทําละลายท่ีมีข้ัวใกลเคียงกัน โดยสารมีข้ัวละลายในตัวทําละลายท่ีมีข้ัวสวนสารไมมีข้ัวละลายในตัวทําละลายท่ีไมมีข้ัว และสารมีข้ัวไมละลายในตัวทําละลายท่ีไมมีข้ัว

-โครงสรางของพอลิเมอรอาจเปนแบบเสน แบบก่ิง หรือแบบรางแห โดยพอลิเมอรแบบเสนและแบบก่ิง มีสมบัติเทอรมอพลาสติก สวนพอลิเมอรแบบรางแหมีสมบัติเทอรมอเซต จึงมีการใชประโยชนไดแตกตางกัน

- การใชผลิตภัณฑพอลิเมอรในปริมาณมากกอใหเกิดปญหาท่ีสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ดังนั้นจึงควรตระหนักถึงการลดปริมาณการใช การใชซ้ํา และการนํากลับมาใชใหม

๔ ปฏิกิริยาเคมี ว.๒.๑ม.๕/๒๐ม.๕/๒๑ม.๕/๒๒ม.๕/๒๓ม.๕/๒๔ม.๕/๒๕

- ปฏิกิริยาเคมีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสาร โดยปฏิกิริยาเคมีอาจใหพลังงานความรอน พลังงานแสง หรือพลังงานไฟฟา ท่ีสามารถนําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ ได

- ปฏิกิริยาเคมีแสดงไดดวยสมการเคมีซึ่งมีสูตรเคมีของสารตั้งตนอยูทางดานซายของลูกศร และสูตรเคมีของผลิตภัณฑอยูทางดานขวา โดยจํานวน อะตอมรวมของแตละธาตุทางดานซายและขวาเทากันนอกจากนี้สมการเคมียังอาจแสดงปจจัยอ่ืน เชน สถานะ พลังงานท่ีเก่ียวของตัวเรงปฏิกิริยาเคมีท่ีใช

๑๒ ๒๔

Page 158: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๔ ปฏิกิริยาเคมี(ตอ)

- อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีข้ึนอยูกับความเขมขน อุณหภูมิ พ้ืนท่ีผิว หรือตัวเรงปฏิกิริยา

- ความรูเก่ียวกับปจจัยท่ีมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันและในอุตสาหกรรม

- ปฏิกิริยาเคมีบางประเภทเกิดจากการถายโอนอิเล็กตรอนของสารในปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเรียกวา ปฏิกิริยารีดอกซ

- สารท่ีสามารถแผรังสีไดเรียกวา สารกัมมันตรังสี ซึ่งมีนิวเคลียสท่ีสลายตัวอยางตอเนื่อง ระยะเวลาท่ีสารกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมเรียกวา ครึ่งชีวิตโดยสารกัมมันตรังสีแตละชนิดมีคาครึ่งชีวิตแตกตางกัน

- รังสีท่ีแผจากสารกัมมันตรังสีมีหลายชนิด เชน แอลฟา บีตา แกมมา ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชน ไดแตกตางกันการนําสารกัมมันตรังสีแตละชนิดมาใชตองคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม รวมท้ังมีการจัดการอยางเหมาะสม

รวม ๔ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๒๕ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 159: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๖

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๒๑๐๒ วิทยาศาสตรกายภาพ(ฟสิกส) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาปริมาณท่ีวัดไดเม่ือวัตถุเคลื่อนท่ีแนวตรง และการคํานวณหาปริมาณท่ีเก่ียวของ การเคลื่อนท่ีแบบฮารโมนิกอยางงาย รวมท้ังการนําไปใชประโยชน การเคลื่อนท่ีแนววงกลมและการนําไปใชประโยชน การเคลื่อนท่ีแบบโปรเจกไทลรวมท้ังการนําไปใชประโยชน ความสัมพันธระหวางแรงและการเคลื่อนท่ีของวัตถุในสนามโนมถวง แรงท่ีกระทําตออนุภาควัตถุในสนามแมเหล็ก แรงท่ีกระทําตออนุภาคท่ีเคลื่อนท่ีในสนามไฟฟา การนําความรูเก่ียวกับสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาไปประยุกตใช แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส และแรงระหวางอนุภาค สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟาประโยชนและผลกระทบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ปฏิกิริยานิวเคลียร ปฏิสัมพันธระหวางสารกับพลังงานการนําพลังงานนิวเคลียรมาใชประโยชนการเคลื่อนท่ีแบบคลื่นตามยาว และตามขวาง ความสัมพันธระหวางความถ่ี ความยาวคลื่น อัตราเร็ว การเกิดคลื่นเสียง และ การวัดความเขมเสียง การไดยินเสียง คุณภาพของเสียงและมลภาวะของเสียง รวมท้ังการนําความรูไปใชประโยชน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือฝกทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย การสรุปผล และนําความรูไปใชประโยชน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิดความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีเจตคติท่ีดีตอวิชาวิทยาศาสตรตัวช้ีวัด

ว๒.๒ ม.๕/๑ – ม.๕/๑๐ว๒.๓ ม.๕/๑ – ม.๕/๒

รวม ๒๒ ตัวช้ีวัด

Page 160: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๗

โครงสรางรายวิชาว ๓๒๑๐๒ รายวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ(ฟสิกส) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ การเคลื่อนท่ี ว ๒.๒ม.๕/๑ – ม.๕/๕

การเคลื่อนท่ีของวัตถุท่ีมีการเปลี่ยนความเร็ว เปนการเคลื่อนท่ีดวยความเรง ความเรงเปนอัตราสวนของความเร็วท่ีเปลี่ยนไปตอเวลาและเปนปริมาณเวกเตอร ในกรณีท่ีวัตถุท่ีอยูนิ่งหรือเคลื่อนท่ีในแนวตรงดวยความเร็วคงตัววัตถุนั้นมีความเรงเปนศูนย วัตถุท่ีเคลื่อนท่ีดวยความเรงคงตัวหรือความเรงไมคงตัว อาจเปนการเคลื่อนท่ีแนวตรง การเคลื่อนท่ีแนวโคง หรือการเคลื่อนท่ีแบบสั่น การเคลื่อนท่ีแนวตรงดวยความเรงคงตัว นําไปใชอธิบายการตกแบบเสรี การเคลื่อนท่ีแนวโคงดวยความเรงคงตัว นําไปใชอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล การเคลื่อนท่ีแนวโคงดวยความเรงมีทิศทางตั้งฉากกับความเร็วตลอดเวลา นําไปใชอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบวงกลม การเคลื่อนท่ีกลับไปกลับมาดวยความเรงมีทิศทางเขาสูจุดท่ีแรงลัพธเปนศูนยเรียกจุดนี้วาตําแหนงสมดุล ซึ่งนําไปใชอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบสั่น

๑๘ ๓๐

Page 161: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ สนามของแรง

ว ๒.๒ม.๕/๖ – ม.๕/๑๐ว ๒.๓

ม.๕/๑ – ม.๕/๒

บริเวณท่ีมีสนามโนมถวง เม่ือมีวัตถุท่ีมีมวล จะมีแรงโนมถวงซึ่งเปนแรงดึงดูดของโลกกระทําตอวัตถุ แรงนี้นําไปใชอธิบายการเคลื่อนท่ีของวัตถุตาง ๆเชน ดาวเทียม และดวงจันทรรอบโลกกระแสไฟฟาทําใหเกิดสนามแมเหล็กในบริเวณรอบแนวการเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟาในบริเวณท่ีมีสนามแมเหล็ก เม่ือมีอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีโดยไมอยูในแนวเดียวกับสนามแมเหล็ก หรือมีกระแสไฟฟาผานลวดตัวนําโดยกระแสไฟฟาไมอยูในแนวเดียวกับสนามแมเหล็ก และภายในนิวเคลียสมีแรงเขมท่ีเปนแรงยึดเหนี่ยวของอนุภาคในนิวเคลียส และเปนแรงหลักท่ีใชอธิบายเสถียรภาพของนิวเคลียสนอกจากนี้ยังมีแรงออน ซึ่งเปนแรงท่ีใชอธิบายการสลายใหอนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี

๑๘ ๓๐

Page 162: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๕๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๓ คลื่น ว ๒.๓ม.๕/๓ – ๕/๑๒

คลื่นเคลื่อนท่ีไปพบสิ่งกีดขวาง จะเกิดการสะทอน เม่ือคลื่นเคลื่อนท่ีผานรอยตอระหวางตัวกลางท่ีตางกัน จะเกิดการหักเห เม่ือคลื่นเคลื่อนท่ีไปพบขอบสิ่งกีดขวางจะเกิดการเลี้ยวเบนเม่ือคลื่นสองขบวนมาพบกันจะเกิดการรวมคลื่นเกิดรูปรางของคลื่นรวม เสียงมีการสะทอน การหักเหการเลี้ยวเบนและการรวมคลื่นเชนเดียวกับคลื่นอ่ืน ๆความรูเก่ียวกับเสียงนําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน คลื่นเหนือเสียงหรืออัลตราซาวนดใชในทางการแพทยบีตของเสียงในการปรับเทียบเสียงของเครื่องดนตรี การสั่นพองของเสียงใชในการออกแบบเครื่องดนตรีและอธิบายการเปลงเสียงของมนุษย

๒๔ ๔๐

รวม ๓ หนวย จํานวน ๒๒ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 163: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๐

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๒๑๐๓ วิทยาการคํานวณ ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคํานวณการแยกสวนประกอบและการยอยปญหาการหารูปแบบการคิดเชิงนามธรรมตัวอยางและประโยชนของแนวคิดเชิงคํานวณเพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวันประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการออกแบบข้ันตอนวิธีสําหรับแกปญหาการแกปญหาดวยคอมพิวเตอรการระบุขอมูลเขาขอมูลออกและเงื่อนไขของปญหาการออกแบบข้ันตอนวิธีการทําซ้ําการจัดเรียงและคนหาขอมูลตัวอยางการออกแบบข้ันตอนวิธีเพ่ือแกปญหาดวยคอมพิวเตอร รวบรวมวิเคราะหขอมูล และใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแกปญหาหรือเพ่ิมมูลคาใหกับบริการหรือผลิตภัณฑท่ีใชในชีวิตจริงอยางสรางสรรค

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เพ่ือเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะกระบวนการคิด การแกปญหาอยางมีข้ันตอน วางแผนการเรียนรู และนําแนวคิดเชิงคํานวณมาประยุกตใชในการแกปญหาได บริหารการใชทรัพยากรใชเทคโนโลยีสะอาด นําเสนอแนวทางการแกปญหาโดยใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบ

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจทักษะกระบวนการทางดานวิทยาการคอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรคและเชื่อมโยงกับชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย มีความเขาใจและปฏิบัติตนภายใตกฎหมายอยางรูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทํางานตัวช้ีวัด

ว ๔.๑ ม.๕/๑ว ๔.๒ ม.๕/๑

รวม ๒ ตัวช้ีวัด

Page 164: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๑

โครงสรางรายวิชา

ว๓๒๑๐๓ วิทยาการคํานวณ ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ ThailDigitalNatives

ว๔.๑ ม.๕/๑ว๔.๒ ม.๕/๑

รวบรวม วิเคราะหขอมูล และใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแกปญหาหรือเพ่ิมมูลคาใหกับบริการหรือผลิตภัณฑท่ีใชในชีวิตจริงอยางสรางสรรค

๘ ๔๐

๒ STEMNatives

ว๔.๑ ม.๕/๑ว๔.๒ ม.๕/๑

ประยุกตใชความรูและทักษะจากศาสตรตาง ๆ รวมท้ังทรัพยากรในการทําโครงงานเพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางาน

๑๒ ๖๐

รวม ๒ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 165: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๒

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตรพื้นฐาน(โลก ดาราศาสตรและอวกาศ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาวิเคราะหการแบงชั้นและสมบัติของโครงสรางโลก ทฤษฎีการเคลื่อนท่ีของแผนธรณีภาคหลักฐานและขอมูลท่ีทําใหนักวิทยาศาสตรเชื่อเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของแผนธรณีภาค กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด กระบวนการเกิดแผนดินไหวขนาดความรุนแรงและผลจากแผนดินไหวกระบวนการเกิดและผลจากสึนามิปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอการไดรับพลังงานจากดวงอาทิตยการหมุนเวียนของอากาศทิศทางการเคลื่อนท่ีของอากาศปจจัยท่ีทําใหเกิดการหมุนเวียนของน้ําผิวหนาในมหาสมุทรปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกสัญลักษณลมฟาอากาศ

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรูสํารวจตรวจสอบการสืบคนขอมูลและอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรูความคิดความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

มีความสามารถในการคิดวิเคราะหความสามารถในการแกปญหาการใชเทคโนโลยีมีจิตวิทยาศาสตรหรือเจตคติท่ีดีตอวิทยาศาสตรจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสมตัวช้ีวัด

ว.๓.๑ม.๖/๑ - ม.๖/๑๔รวมตัวช้ีวัด ๑๔ ตัวช้ีวัด

Page 166: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๓

โครงสรางรายวิชาว ๓๑๑๐๑ โลก ดาราศาสตรและอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรชันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ โครงสรางโลก ว ๓.๒ม๖/๑

-การศึกษาโครงสรางโลกใชขอมูลหลายดาน เชน องคประกอบทางเคมีของหินและแร องคประกอบทางเคมีของอุกกาบาต ขอมูลคลื่นไหวสะเทือนท่ีเคลื่อนท่ีผานโลก จึงสามารถแบงชั้นโครงสรางโลก ได ๒ แบบ คือ โครงสรางโลกตามองคประกอบ ทางเคมี แบงไดเปน๓ ชั้น ไดแก เปลือกโลก เนื้อโลก และแกนโลก และโครงสรางโลกตามสมบัติเชิงกลแบงไดเปน ๕ ชั้น ไดแก ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แกนโลกชั้นนอกและแกนโลกชั้นใน

๔ ๑๒

๒ ธรณีแปรสัญฐาน

ว ๓.๒ม๖/๒ม๖/๓

-แผนธรณีตาง ๆ เปนสวนประกอบของธรณีภาค การเปลี่ยนแปลงขนาดและตําแหนงตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การเคลื่อนท่ีของแผนธรณีดังกลาวอธิบายไดตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งมีรากฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผขยายพ้ืนสมุทร โดยมีหลักฐานท่ีสนับสนุนไดแก รูปรางของขอบทวีปท่ีสามารถเชื่อมตอกันได ความคลายคลึงกันของกลุมหินและแนวเทือกเขา ซากดึกดําบรรพรองรอยการเคลื่อนท่ีของตะกอนธารน้ําแข็ง ภาวะแมเหล็กโลกบรรพกาล อายุหินของพ้ืนมหาสมุทร รวมท้ัง การคนพบสันเขากลางสมุทร และรองลึกกนสมุทร

๖ ๑๔

Page 167: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

- การพาความรอนของแมกมาภายในโลกทําใหเกิดการเคลื่อนท่ีของแผนธรณี ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งนักวิทยาศาสตรไดสํารวจพบหลักฐานทางธรณีวิทยา ไดแก ธรณีสัณฐานและธรณีโครงสราง ท่ีบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณี เชน รองลึกกนสมุทร หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง แนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุดและสันเขากลางสมุทร รอยเลื่อนนอกจากนี้ยังพบการเกิดธรณีพิบัติภัยท่ีบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณี เชนแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ซึ่งหลักฐานดังกลาวสัมพันธกับรูปแบบการเคลื่อนท่ีของแผนธรณีนักวิทยาศาสตรจึงสรุปไดวาแนวรอยตอของแผนธรณีมี ๓รูปแบบ ไดแก แนวแผนธรณีแยกตัว แนวแผนธรณีเคลื่อนท่ีเขาหากัน แนวแผนธรณีเคลื่อนท่ีผานกันในแนวราบ

๓ ธรณีพิบัติภัย ว ๓.๒ม.๖/๔ม.๖/๕ม.๖/๖

- ภูเขาไฟระเบิด เกิดจากการแทรกดันของแมกมาข้ึนมาตามสวนเปราะบาง หรือรอยแตกบนเปลือกโลก มักพบหนาแนนบริเวณรอยตอระหวางแผนธรณีทําใหบริเวณดังกลาวเปนพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย ผลจากการระเบิดของภูเขาไฟมีท้ังประโยชนและโทษจึงตองศึกษาแนวทางในการเฝาระวัง และการปฏิบัติตนใหปลอดภัย- แผนดินไหวเกิดจากการปลดปลอยพลังงานท่ีสะสมไวของเปลือกโลกในรูปของคลื่นไหวสะเทือน แผนดินไหวมีขนาดและความรุนแรงแตกตางกัน มักเกิดข้ึนบริเวณรอยตอของแผนธรณี และพ้ืนท่ีภายใตอิทธิพลของการเคลื่อนของแผนธรณี ทําใหบริเวณดังกลาวเปนพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยแผนดินไหว ซึง่สงผลใหสิ่งกอสราง

๖ ๑๔

Page 168: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

เสียหาย เกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน จึงตองศึกษาแนวทางในการเฝาระวัง และการปฏิบัติตนใหปลอดภัย- สึนามิ คือ คลื่นน้ําท่ีเกิดจากการแทนท่ีมวลน้ํา ในปริมาณมหาศาล สวนมากจะเกิดในทะเลหรือมหาสมุทร โดยคลื่นมีลักษณะเฉพาะ คือความยาวคลื่นมากและเคลื่อนท่ีดวยความเร็วสูง เม่ืออยูกลางมหาสมุทรจะมีความสูงคลื่นนอย และอาจเพ่ิม ความสูงข้ึนอยางรวดเร็ว เม่ือคลื่นเคลื่อนท่ีผานบริเวณน้ําตื้น จึงทําใหพ้ืนท่ีบริเวณชายฝงบางบริเวณเปนพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยสึนามิ กอใหเกิดอันตรายแกมนุษยและสิ่งกอสราง

๔ การหมุนเวียนของระบบลมของโลก

ว ๓.๒ม.๖/๗ม.๖/๘ม.๖/๙ม.๖/๑๐

-พ้ืนผิวโลกแตละบริเวณไดรับพลังงานจากดวงอาทิตยในปริมาณท่ีแตกตางกันเนื่องจากปจจัยสําคัญหลายประการ เชนสัณฐานและการเอียงของแกนโลกลักษณะของพ้ืนผิว ละอองลอย และเมฆทําใหแตละบริเวณบนโลกมีอุณหภูมิไมเทากัน สงผลใหมีความกดอากาศแตกตางกัน และเกิดการถายโอนพลังงานระหวางกัน- การหมุนเวียนของอากาศเกิดข้ึนจากความกดอากาศท่ีแตกตางกันระหวางสองบริเวณ โดยอากาศเคลื่อนท่ีจากบริเวณท่ีมีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณท่ีมีความกดอากาศต่ําซึ่งจะเห็นไดชัดเจน ในการเคลื่อนท่ีของอากาศในแนวราบ และเม่ือพิจารณาการเคลื่อนท่ีของอากาศในแนวดิ่งจะพบวาอากาศเหนือบริเวณความกดอากาศต่ําจะมีการยกตัวข้ึนขณะท่ี

๖ ๑๒

Page 169: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

อากาศเหนือบริเวณความกดอากาศสูง จะจมตัวลง โดยการเคลื่อนท่ีของอากาศท้ังในแนวราบและแนวดิ่งนี้ ทําใหเกิดเปนการหมุนเวียนของอากาศ- การหมุนรอบตัวเองของโลกทําใหเกิดแรงคอริออลิส สงผลใหทิศทางการเคลื่อนท่ีของอากาศเบนไป โดยอากาศท่ีเคลื่อนท่ีในบริเวณซีกโลกเหนือจะเบนไปทางขวาจากทิศทางเดิม สวนบริเวณซีกโลกใตจะเบนไปทางซายจากทิศทางเดิม-โลกมีความกดอากาศแตกตางกันในแตละบริเวณรวมท้ังอิทธิพลจากการหมุนรอบตัวเองของโลกทําใหอากาศในแตละซีกโลกเกิดการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด แบงออกเปน ๓ แถบ โดยแตละแถบมีภูมิอากาศแตกตางกัน ไดแก การหมุนเวียน แถบข้ัวโลกมีภูมิอากาศแบบหนาวเย็น การหมุนเวียนแถบละติจูดกลางมีภูมิอากาศแบบอบอุน และ การหมุนเวียนแถบเขตรอนมีภูมิอากาศแบบรอนชื้น

๕ การหมุนเวียนของน้ําในมหาสมุทร

ว ๓.๒ม.๖/๑๑ม.๖/๑๒

- น้ําฟาเฉลี่ยสูงกวาบริเวณอ่ืน บริเวณละติจูด ๓๐ องศา มีอากาศแหงแลง สวนบริเวณละติจูด ๖๐ องศา อากาศมีความแปรปรวนสูง-นอกจากนี้บริเวณรอยตอของการหมุนเวียนอากาศแตละแถบละติจูดจะมีลักษณะลมฟาอากาศ ท่ีแตกตางกัน เชน บริเวณใกลศูนยสูตรมีปริมาณ หยาด

๖ ๑๒

Page 170: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

- นอกจากนี้บริเวณรอยตอของการหมุนเวียนอากาศแตละแถบละติจูด จะมีลักษณะลมฟาอากาศ ท่ีแตกตางกัน เชนบริเวณใกลศูนยสูตรมีปริมาณ หยาดน้ําฟาเฉลี่ยสูงกวาบริเวณอ่ืน บริเวณละติจูด๓๐ องศา มีอากาศแหงแลง สวนบริเวณละติจูด ๖๐ องศา อากาศมีความแปรปรวนสูงการหมุนเวียนของกระแสน้ําผิวหนาในมหาสมุทร ไดรับอิทธิพลจากการหมุนเวียนของอากาศในแตละแถบละติจูดเปนปจจัยหลักทําใหบริเวณซีกโลกเหนือมีการหมุนเวียนของกระแสน้ําผิวหนาในทิศทางตามเข็มนาฬิกา และทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต ซึ่งกระแสน้ําผิวหนาในมหาสมุทรมีท้ังกระแสน้ําอุน และกระแสน้ําเย็น

๖ ความแปรปรวนของอากาศ

ม๖/๑๓ -การหมุนเวียนอากาศและน้ําในมหาสมุทรสงผลตอภูมิอากาศ ลมฟาอากาศ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน กระแสน้ําอุนกัลฟสตรีมท่ีทําใหบางประเทศในทวีปยุโรปไมหนาวเย็นเกินไป และเม่ือการหมุนเวียนอากาศและน้ําในมหาสมุทรแปรปรวน ทําใหเกิดผลกระทบตอสภาพลมฟาอากาศเชน ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา ซึ่งเกิดจากความแปรปรวนของลมคาและสงผลตอประเทศท่ีอยูบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก-โลกไดรับพลังงานจากดวงอาทิตย โดย

ปริมาณพลังงานเฉลี่ยท่ีโลกไดรับเทากับพลังงานเฉลี่ยท่ีโลกปลดปลอยกลับสูอวกาศ ทําใหเกิดสมดุลพลังงานของโลกสงผลใหอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในแตละปคอนขาง

๔ ๑๒

Page 171: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

คงท่ีและมีลักษณะภูมิอากาศท่ีไมเปลี่ยนแปลง หากสมดุลพลังงานของโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกและภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงไดเนื่องจากปจจัยหลายประการท้ังปจจัยท่ีเกิดข้ึน ตามธรรมชาติและการกระทําของมนุษย เชน แกสเรือนกระจก ลักษณะผิวโลก และละอองลอย

- มนุษยมีสวนชวยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกไดโดยการลดกิจกรรมท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสมดุลพลังงาน เชน ลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจกและละอองลอย

๗ การพยากรณอากาศ

ม๖/๑๔ -แผนท่ีอากาศผิวพ้ืนแสดงขอมูลการตรวจอากาศ ในรูปแบบสัญลักษณหรือตัวเลขเชน บริเวณความกดอากาศสูง หยอมความกดอากาศต่ํา พายุหมุนเขตรอน รองความกดอากาศต่ํา การแปลความหมายสัญลักษณลมฟาอากาศทําใหทราบลักษณะลมฟาอากาศ ณ บริเวณหนึ่ง-การแปลความหมายสัญลักษณท่ีปรากฏบนแผนท่ีอากาศ รวมกับขอมูลสารสนเทศตาง ๆ เชน โปรแกรมประยุกตเก่ียวกับการพยากรณอากาศ เรดารตรวจอากาศภาพถายดาวเทียม สามารถ-นํามาวางแผนการดําเนินชีวิตใหสอดคลองกับสภาพลมฟาอากาศ เชน การเลือกชวงเวลาในการเพาะปลูกใหสอดคลองกับฤดูกาล การเตรียมพรอมรับมือสภาพอากาศแปรปรวน

๖ ๑๒

รวม ๗ หนวยการเรียนรู จํานวน ๑๔ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 172: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๖๙

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐานว๓๓๑๐๒ วิทยาการคํานวณ ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคํานวณ ในการประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการออกแบบข้ันตอนวิธีสําหรับแกปญหาการแกปญหาดวยคอมพิวเตอรการศึกษาตัวอยางโครงงานแกปญหา ศึกษาตอยอดการแกปญหา วิเคราะหผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีตอการดําเนินชีวิต อาชีพสังคมและวัฒนธรรม การกําหนดปญหาศึกษาวางแผนดําเนินงานสรุปผลและเผยแพรประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรค และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน และกระบวนการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน เพ่ือเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะกระบวนการคิด เผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู และนําเสนอผานการทํากิจกรรมโครงงาน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจทักษะกระบวนการทางดานวิทยาการคอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถประยุกตใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาและพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรางสรรคและเชื่อมโยงกับชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย มีความเขาใจและปฏิบัติตนภายใตกฎหมายอยางรูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทํางานตัวช้ีวัด

ว ๔.๒ ม.๖/๑รวม ๑ ตัวช้ีวัด

Page 173: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๐

โครงสรางรายวิชา

ว๓๓๑๐๒ วิทยาการคํานวณ ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ เวลา(ช่ัวโมง)

น้ําหนัก

คะแนน

๑ InnovationDesign

ว๔.๒ ม.๖/๑ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและแบงปนขอมูลอยางปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิต อาชีพ สังคมและวัฒนธรรม

๖ ๓๐

๒ Project forlife

ว๔.๒ ม.๖/๑ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและแบงปนขอมูลอยางปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิต อาชีพ สังคมและวัฒนธรรม

๑๔ ๗๐

รวม ๑ ตัวชี้วัด ๒๐ ๑๐๐

Page 174: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๑

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๑ ฟสิกส ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาธรรมชาติของวิชาฟสิกสปริมาณกายภาพและหนวยการวัดความคลาดเคลื่อนในการวัดและการทดลองในวิชาฟสิกสการบอกตําแหนงของวัตถุความสัมพันธระหวางปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีแนวตรงดวยความเรงคงตัวแรงและผลของแรงท่ีมีตอสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันกฎแรงดึงดูดระหวางมวลและคํานวณแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆในกรณีท่ีวัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนท่ี รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆ สมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตท่ีมีตอการหมุน แรงคูควบและผลของแรงคูควบท่ีมีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุอิสระเม่ือวัตถุอยูในสมดุลกลและคํานวณปริมาณตาง ๆท่ีเก่ียวของ รวมท้ังทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรงนําความรูไปใชประโยชน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือฝกทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย การสรุปผล และนําความรูไปใชประโยชน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิดความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีถูกตอง

ผลการเรียนรู๑. สืบคนและอธิบายการคนหาความรูทางฟสิกสประวัติความเปนมารวมท้ังพัฒนาการของ

หลักการและแนวคิดทางฟสิกสท่ีมีผลตอการแสวงหาความรูใหมและการพัฒนาเทคโนโลยี๒. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิกสไดถูกตองเหมาะสมโดยนําความคลาดเคลื่อนใน

การวัดมาพิจารณาในการนําเสนอผลรวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟวิเคราะหและแปลความหมายจากกราฟเสนตรง

๓. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางตําแหนงการกระจัดความเร็วและความเรงของการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงท่ีมีความเรงคงตัวจากกราฟและสมการรวมท้ังทดลองหาคาความเรงโนมถวงของโลกและคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๔. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงท่ีทํามุมตอกัน๕. เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุอิสระทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน

และการใชกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๖. อธิบายกฎความโนมถวงสากลและผลของสนามโนมถวงท่ีทําใหวัตถุมีน้ําหนักรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๗. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนท่ีขอวัตถุเม่ือแรงท่ีกระทําตอวัตถุผานศูนยกลางมวลของวัตถุและผลของศูนยถวงท่ีมีตอเสถียรภาพของวัตถุ

๘. วิเคราะห อธิบาย และคํานวณแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆ ในกรณีท่ีวัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนท่ี รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆและนําความรูเรื่องแรงเสียดทานไปใชในชีวิตประจําวัน

Page 175: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๒

๙. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตท่ีมีตอการหมุน แรงคูควบและผลของแรงคูควบท่ีมีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุอิสระเม่ือวัตถุอยูในสมดุลกลและคํานวณปริมาณตาง ๆท่ีเก่ียวของ รวมท้ังทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง

รวม ๙ ผลการเรียนรู

Page 176: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๓

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๐๑ รายวิชาฟสิกส ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรชันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ การศึกษาวิชาฟสิกส

๑.สืบคนและอธิบายการคนหาความรูทางฟสิกสประวัติความเปนมารวมท้ังพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟสิกสท่ีมีผลตอ การแสวงหาความรูใหมและการพัฒนาเทคโนโลยี

๒.วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิกสไดถูกตองเหมาะสม โดยนําความคลาดเคลื่อนในการวัดมาพิจารณาในการนําเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะหและแปลความหมายจากกราฟเสนตรง

การคนควาหาความรูทางฟสิกสไดมาจากการสังเกต การทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลมาวิเคราะหหรือจากการสรางแบบจําลองทางความคิด เพ่ือสรุปเปนทฤษฎีหลักการหรือกฎ ความรูเหลานี้สามารถนําไปใชอธิบายปรากฏการณธรรมชาติหรือทํานายสิ่งท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคตประวัติความเปนมาและพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟสิกสเปนพ้ืนฐานในการแสวงหาความรูใหมเพ่ิมเติม รวมถึงการพัฒนาและความกาวหนาทางเทคโนโลยีก็มีสวนในการคนหาความรูใหมทางวิทยาศาสตรดวย

ความรูทางฟสิกสสวนหนึ่งไดจากการทดลอง ซึ่งเก่ียวของกับกระบวนการวัดปริมาณทางฟสิกสซึ่งประกอบดวยตัวเลขและหนวยวัด ปริมาณทางฟสิกสสามารถวัดไดดวยเครื่องมือตาง ๆ โดยตรงหรือทางออม หนวยท่ีใชในการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตรคือ ระบบหนวยระหวางชาติ เรียกยอวาระบบเอสไอ

๑๔ ๒๔

Page 177: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ การเคลื่อนท่ีในแนวตรง

๓.ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางตําแหนง การกระจัดความเร็ว และความเรงของการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงท่ีมีความเรงคงตัวจากกราฟและสมการรวมท้ังทดลองหาคาความเรงโนมถวงของโลกและคํานวณปริมาณตางๆ ท่ีเก่ียวของ

ปริมาณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีไดแก ตําแหนง การกระจัดความเร็ว และความเรงสามารถอธิบายไดโดยใชสมการจลนศาสตร๔ สมการการตกแบบเสรีเปนตัวอยางหนึ่ง

ของการเคลื่อนท่ีในหนึ่งมิติท่ีมีความเรงเทากับความเรงโนมถวงของโลก

๑๘ ๓๐

๓ แรงและกฏการเคลื่อนท่ี

๔. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงท่ีทํามุมตอกัน๕.เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุอิสระทดลอง และอธิบายกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันและการใชกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุ รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ๖. อธิบายกฎความโนมถวงสากลและผลของสนามโนมถวงท่ีทําใหวัตถุมีน้ําหนัก รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ๗.สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ขอวัตถุเมื่อแรงที่กระทําตอวัตถุผานศูนยกลางมวลของวัตถุและผลของศูนยถวงที่มีตอเสถียรภาพของวัตถุ

แรงเปนปริมาณเวกเตอรจึงมีท้ังขนาดและทิศทาง กรณีท่ีมีแรงหลาย ๆ แรง กระทําตอวัตถุสามารถหาแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุ โดยใชวิธีเขียน

เวกเตอรของแรงแบบหางตอหัว วิธีสรางรูปสี่เหลี่ยมดานขนานของแรงและวิธีคํานวณแรงท่ีเกิดข้ึนท่ีผิวสัมผัสระหวางวัตถุสองกอนในทิศทางตรงขามกับทิศทางการเคลื่อนท่ีหรือแนวโนมท่ีจะเคลื่อนท่ีของวัตถุ เรียกวาแรงเสียดทาน แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสคูหนึ่ง ๆ ข้ึนกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทานและ

๒๘ ๔๖

Page 178: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๘. วิเคราะห อธิบาย และคํานวณแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆ ในกรณีท่ีวัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนท่ีรวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหนึ่ง ๆ และนําความรูเรื่องแรงเสียดทานไปใชในชีวิตประจําวัน๙. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตท่ีมีตอการหมุน แรงคูควบและผลของแรงคูควบท่ีมีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุอิสระเม่ือวัตถุอยูในสมดุลกล และคํานวณปริมาณตาง ๆท่ีเก่ียวของ รวมท้ังทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง

แรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหวางผิวสัมผัสคูนั้น ๆขณะออกแรงพยายามแตวัตถุยังคงอยูนิ่งแรงเสียดทานมีขนาดเทากับแรงพยายามท่ีกระทําตอวัตถุนั้น และแรงเสียดทานมีคามากท่ีสุดเม่ือวัตถุเริ่มเคลื่อนท่ี เรียกแรงเสียดทานนี้วาแรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานท่ีกระทําตอวัตถุขณะกําลังเคลื่อนท่ีเรียกวาแรงเสียดทานจลน โดยแรงเสียดทานท่ีเกิดระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ

รวม ๓หนวยการเรียนรู จํานวน ๙ผลการการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 179: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๖

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๒ ฟสิกส ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษางานพลังงานความสัมพันธระหวางงานและพลังงานจลนพลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักยยืดหยุน กฎการอนุรักษพลังงานกําลังเครื่องกลอยางงายและประสิทธิภาพของเครื่องกลโมเมนตัมการชนกันของวัตถุและกฎการอนุรักษโมเมนตัมนําความรูไปใชประโยชน การเคลื่อนท่ีแนวโคงพาราโบลาภายใตสนามโนมถวง โดยไมคิดแรงตานของอากาศเปนการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล วัตถุมีการเปลี่ยนตําแหนงในแนวดิ่งและแนวระดับพรอมกัน และเปนอิสระตอกัน สําหรับการเคลื่อนท่ีในแนวดิ่งเปนการเคลื่อนท่ีท่ีมีแรงโนมถวงกระทําจึงมีความเร็วไมคงตัว

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือฝกทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย การสรุปผล และนําความรูไปใชประโยชน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิดความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีถูกตอง

ผลการเรียนรู๑.วิเคราะหและคํานวณงานของแรงคงตัวจากสมการและพ้ืนท่ีใตกราฟ ความสัมพันธระหวาง

แรงกับตําแหนง รวมท้ังอธิบาย และคํานวณกําลังเฉลี่ย๒. อธิบาย และคํานวณพลังงานจลน พลังงานศักย พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธระหวาง

งานกับ พลังงานจลน ความสัมพันธระหวางงานกับพลังงานศักยโนมถวง ความสัมพันธระหวางขนาดของแรงท่ีใชดึงสปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออกและความสัมพันธระหวางงานกับพลังงานศักยยืดหยุน รวมท้ังอธิบายความสัมพันธระหวางงานของแรงลัพธและพลังงานจลน และคํานวณงานท่ีเกิดข้ึนจากแรงลัพธ

๓. อธิบายกฎการอนุรักษพลังงานกล รวมท้ังวิเคราะห และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีของวัตถุในสถานการณตาง ๆ โดยใชกฎการอนุรักษพลังงานกล

๔. อธิบายการทํางาน ประสิทธิภาพและการไดเปรียบเชิงกลของเครื่องกลอยางงายบางชนิดโดยใชความรูเรื่องงานและสมดุลกล รวมท้ังคํานวณประสิทธิภาพและการไดเปรียบเชิงกล

๕.อธิบาย และคํานวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพ้ืนท่ีใตกราฟความสัมพันธระหวางแรงลัพธกับเวลา รวมท้ังอธิบายความสัมพันธระหวางแรงดลกับโมเมนตัม

๖. ทดลอง อธิบาย และคํานวณปริมาณตาง ๆท่ีเก่ียวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ท้ังแบบยืดหยุน ไมยืดหยุนและการดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติซึ่งเปนไปตามกฎการอนุรักษโมเมนตัม

๗. อธิบาย วิเคราะห และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทลและทดลองการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล

๘. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางแรงสูศูนยกลาง รัศมีของการเคลื่อนท่ี อัตราเร็วเชิงเสน อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดับ รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และประยุกตใชความรูการเคลื่อนท่ีแบบวงกลม ในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมรวม ๘ ผลการเรียนรู

Page 180: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๓ ฟสิกส ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา การเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุมอยางงายความถ่ีธรรมชาติของวัตถุการเกิดการสั่นพองปรากฏการณคลื่นชนิดของคลื่นสวนประกอบของคลื่นการแผของหนาคลื่นดวยหลักการของฮอยเกนสการรวมกันของคลื่นตามหลักการซอนทับ สมบัติพ้ืนฐานของคลื่นการเกิดเสียงการเคลื่อนท่ีของเสียง อัตราเร็วเสียงในตัวกลาง สมบัติของคลื่นเสียงความเขมเสียงระดับเสียงองคประกอบของการไดยินเสียง คุณภาพเสียง มลพิษทางเสียงการสั่นพองบีตสของเสียง คลื่นนิ่งปรากฏการณดอปเพลอรคลื่นกระแทกการแทรกสอดของแสงผานสลิตคูและเกรตติงการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผานสลิตเดี่ยวการสะทอนของแสง การหักเหแสง ความลึกจริงและความลึกปรากฏมุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของแสง การเกิดภาพจากเลนสบาง ปรากฏการณบางอยางทางแสง การมองเห็นแสงสีสีของวัตถุการผสมสารสีและการผสมแสงสีการบอดสี การเหนี่ยวนําไฟฟาสถิต ประจุไฟฟา กฎของคูลอมบสนามไฟฟาแรงไฟฟาพลังงานศักยไฟฟาศักยไฟฟาความตางศักยตัวเก็บประจุความจุของตัวเก็บประจุไฟฟาสถิตกับหลักการทํางานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิดและปรากฏการณในชีวิตประจําวันการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟาในลวดตัวนํากฎของโอหมความตานทานสภาพตานทาน การตอตัวตานทานแบบอนุกรมและแบบขนาน อีเอ็มเอฟของแหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงพลังงานไฟฟา กําลังไฟฟา การตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนานวงจรไฟฟากระแสตรงการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟา การใชเทคโนโลยีท่ีนํามาแกปญหาหรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานไฟฟาโดยเนนดานประสิทธิภาพและความคุมคาใชจาย

โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการสืบเสาะหาความรู สํารวจตรวจสอบ สืบคนขอมูล สังเกต อธิบาย ทดลอง อภิปราย และคํานวณ

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เจตคติตอวิทยาศาสตร มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีความสามารถในการคิดวิเคราะหแกปญหาใชทักษะชีวิตและเทคโนโลยี เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชน ในการดําเนินชีวิต

ผลการเรียนรู๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุมอยาง

งายรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ๒. อธิบายความถ่ีธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพอง๓. อธิบายปรากฏการณคลื่นชนิดของคลื่นสวนประกอบของคลื่นการแผของหนาคลื่นดวยหลักการ

ของฮอยเกนสและการรวมกันของคลื่นตามหลักการซอนทับพรอมท้ังคํานวณอัตราเร็วความถ่ีและความยาวคลื่น

๔. สังเกตและอธิบายการสะทอนการหักเหการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ํารวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

Page 181: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๘

๕. อธิบายการเกิดเสียงการเคลื่อนท่ีของเสียงความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับคลื่นความดันความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียสสมบัติของคลื่นเสียงไดแกการสะทอนการหักเหการแทรกสอดการเลี้ยวเบนรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๖. อธิบายความเขมเสียงระดับเสียงองคประกอบของการไดยินคุณภาพเสียงและมลพิษทางเสียงรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๗. ทดลองและอธิบายการเกิดการสั่นพองของอากาศในทอปลายเปดหนึ่งดานรวมท้ังสังเกตและอธิบายการเกิดบีตสคลื่นนิ่งปรากฏการณดอปเพลอรคลื่นกระแทกของเสียงคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของและนําความรูเรื่องเสียงไปใชในชีวิตประจําวัน

๘. ทดลองและอธิบายการแทรกสอดของแสงผานสลิตคูและเกรตติงการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผานสลิตเดี่ยวรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๙. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสงท่ีผิววัตถุตามกฎการสะทอนเขียนรังสีของแสงและคํานวณตําแหนงและขนาดภาพของวัตถุเม่ือแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมท้ังอธิบายการนําความรูเรื่องการสะทอนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

๑๐. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางดรรชนีหักเหมุมตกกระทบและมุมหักเหรวมท้ังอธิบายความสัมพันธระหวางความลึกจริงและความลึกปรากฏมุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของแสงและคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๑๑. ทดลองและเขียนรังสีของแสงเพ่ือแสดงภาพท่ีเกิดจากเลนสบางหาตําแหนงขนาดชนิดของภาพและความสัมพันธระหวางระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัสรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของและอธิบายการนําความรูเรื่องการหักเหของแสงผานเลนสบางไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

๑๒. อธิบายปรากฏการณธรรมชาติท่ีเก่ียวกับแสงเชนรุงการทรงกลดมิราจและการเห็นทองฟาเปนสีตางๆในชวงเวลาตางกัน

๑๓. สังเกตและอธิบายการมองเห็นแสงสีสีของวัตถุการผสมสารสีและการผสมแสงสีรวมท้ังอธิบายสาเหตุของการบอดสี

๑๔. ทดลองและอธิบายการทําวัตถุท่ีเปนกลางทางไฟฟาใหมีประจุไฟฟาโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนําไฟฟาสถิต

๑๕. อธิบายและคํานวณแรงไฟฟาตามกฎของคูลอมบ๑๖. อธิบายและคํานวณสนามไฟฟาและแรงไฟฟาท่ีกระทํากับอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาท่ีอยูใน

สนามไฟฟารวมท้ังหาสนามไฟฟาลัพธเนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร๑๗. อธิบายและคํานวณพลังงานศักยไฟฟาศักยไฟฟาและความตางศักยระหวางสองตําแหนงใดๆ๑๘. อธิบายสวนประกอบของตัวเก็บประจุความสัมพันธระหวางประจุไฟฟาความตางศักยและ

ความจุของตัวเก็บประจุและอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุและความจุสมมูลรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๑๙. นําความรูเรื่องไฟฟาสถิตไปอธิบายหลักการทํางานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิดและปรากฏการณในชีวิตประจําวัน

Page 182: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๗๙

๒๐. อธิบายการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟาในลวดตัวนําความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาในลวดตัวนํากับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระความหนาแนนของอิเล็กตรอนในลวดตัวนําและพ้ืนท่ีหนาตัดของลวดตัวนําและคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

๒๑. ทดลองและอธิบายกฎของโอหมอธิบายความสัมพันธระหวางความตานทานกับความยาวพ้ืนท่ีหนาตัดและสภาพตานทานของตัวนําโลหะท่ีอุณหภูมิคงตัวและคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของรวมท้ังอธิบายและคํานวณความตานทานสมมูลเม่ือนําตัวตานทานมาตอกันแบบอนุกรมและแบบขนาน

๒๒. ทดลองอธิบายและคํานวณอีเอ็มเอฟของแหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงรวมท้ังอธิบายและคํานวณพลังงานไฟฟา และกําลังไฟฟา

๒๓. ทดลองและคํานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนานรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของในวงจรไฟฟากระแสตรงซึ่งประกอบดวยแบตเตอรี่และตัวตานทาน

๒๔. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟารวมท้ังสืบคนและอภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีนํามาแกปญหาหรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานไฟฟาโดยเนนดานประสิทธิภาพและความคุมคาใชจาย

รวม ๒๔ ผลการเรียนรู

Page 183: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๐

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๐๓ ฟสิกส ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยที่ ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๑ การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย

๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุมอยางงายรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- การเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย- การส่ันของวัตถุติดปลายสปริง- การแกวงของลูกตุมอยางงาย

๒ ๒

๒. อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุ และการเกิดการสั่นพอง

- ความถี่ธรรมชาติ- การส่ันพอง

๑ ๒

๒ คลื่น และปรากฏการณคลื่น

๓. อธิบายปรากฏการณคลื่นชนิดของคลื่นสวนประกอบของคลื่น การแผของหนาคลื่นดวยหลักการของ ฮอยเกนสและการรวมกันของคลื่นตามหลักการซอนทับ พรอมท้ังคํานวณอัตราเร็วความถ่ีและความยาวคลื่น

- ปรากฏการณคล่ืน- ชนิดของคล่ืน- สวนประกอบของคล่ืน- การแผของหนาคล่ืน- การซอนทับของคล่ืน- ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วความถี่ และความยาวคล่ืน

๒ ๒

๔. สังเกตและอธิบายการสะทอน การหักเหการแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ํารวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- สมบัติของคล่ืน ไดแกการสะทอนการหักเหการแทรกสอดการเล้ียวเบน

๒ ๓

Page 184: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๑

หนวยที่ ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๓ เสียงและการไดยิน ๕. อธิบายการเกิดเสียงการเคลื่อนท่ีของเสียงความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับคลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียสสมบัติของคลื่นเสียง ไดแกการสะทอน การหักเหการแทรกสอด การเลี้ยวเบนรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- การเกิดเสียง- การเคลื่อนท่ีของเสียง- อัตราเร็วเสียงในตัวกลาง- คลื่นการกระจัด และคลื่นความดัน- สมบัติของคลื่นเสียงไดแก การสะทอนการหักเห การแทรกสอดและ การเลี้ยวเบน

๒ ๔

๖. อธิบายความเขมเสียงระดับเสียง องคประกอบของการไดยิน คุณภาพเสียงและมลพิษทางเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- ความเขมเสียง- ระดับเสียง- องคประกอบของการไดยิน- คุณภาพเสียง- มลพิษทางเสียง

๓ ๕

๗. ทดลองและอธิบายการเกิดการสั่นพองของอากาศในทอปลายเปดหนึ่งดาน รวมท้ังสังเกตและอธิบาย การเกิดบีตส คลื่นนิ่ง ปรากฏการณดอปเพลอร คลื่นกระแทกของเสียง คํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของและนําความรูเรื่องเสียงไปใชในชีวิตประจําวัน

- การสั่นพองของเสียง- การเกิดบีตส- คลื่นนิ่ง- ปรากฏการณดอปเปลอร- คลื่นกระแทก

๓ ๕

Page 185: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๒

หนวยที่ ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๔ แสงเชิงฟสิกส ๘. ทดลองและอธิบายการแทรกสอดของแสงผานสลิตคูและเกรตติงการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผานสลิตเดี่ยวรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- การแทรกสอดของแสงผานสลิตคูและเกรตติง- การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผานสลิตเดี่ยว

๓ ๕

๕ แสงเชิงเรขาคณิต ๙. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสงท่ีผิววัตถุตามกฎการสะทอน เขียนรังสีของแสงและคํานวณตําแหนงและขนาดภาพของวัตถุเม่ือแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมท้ังอธิบายการนําความรูเรื่องการสะทอนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

- การสะทอนของแสงจากกระจกเงาราบ- การสะทอนของแสงจากกระจกเงาโคงผิวทรงกลม

๓ ๕

๑๐. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางดรรชนีหักเห มุมตกกระทบและมุมหักเห รวมท้ังอธิบายความสัมพันธระหวางความลึกจริงและความลึกปรากฏมุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของแสง และคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- ดรรชนีหักเห- ลึกจริง และลึกปรากฏ- มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของแสง

๓ ๕

Page 186: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๓

หนวยที่ ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๕(ตอ)

แสงเชงิเรขาคณิต(ตอ)

๑๑. ทดลองและเขียนรังสีของแสงเพ่ือแสดงภาพท่ีเกิดจากเลนสบางหาตําแหนงขนาดชนิดของภาพและความสัมพันธระหวางระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัสรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของและอธิบายการนําความรูเรื่องการหักเหของแสงผานเลนสบางไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

- การเกิดภาพจากเลนสบาง ๓ ๕

๖ ปรากฏการณทางแสง และการมองเห็นแสงสี

๑๒. อธิบายปรากฏการณธรรมชาติท่ีเก่ียวกับแสง เชนรุง การทรงกลด มิราจและการเห็นทองฟาเปนสีตางๆในชวงเวลาตางกัน

- รุง- การทรงกลด- มิราจ- การเหนทองฟาเปนสีตางๆในชวงเวลาตางกัน

๒ ๓

๑๓. สังเกตและอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุการผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมท้ังอธิบายสาเหตุของการบอดสี

- การมองเห็นแสงสี- สีของวัตถุ- การผสมสารสี- การผสมแสงสี- การบอดสี

๒ ๓

Page 187: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๗ ไฟฟาสถิต ๑๔. ทดลองและอธิบายการทําวัตถุท่ีเปนกลางทางไฟฟาใหมีประจุไฟฟาโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนําไฟฟาสถิต

- ประจุไฟฟา- การเหนี่ยวนําไฟฟาสถิต

๒ ๔

๑๕. อธิบายและคํานวณแรงไฟฟาตามกฎของคูลอมบ

- แรงไฟฟา- กฎของคูลอมบ

๒ ๔

๑๖. อธิบายและคํานวณสนามไฟฟาและแรงไฟฟาท่ีกระทํากับอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาท่ีอยูในสนามไฟฟารวมท้ังหาสนามไฟฟาลัพธเนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร

- สนามไฟฟา- สนามไฟฟาลัพธ

๓ ๕

๑๗. อธิบายและคํานวณพลังงานศักยไฟฟา ศักยไฟฟา และความตางศักยระหวางสองตําแหนงใดๆ

- พลังงานศักยไฟฟา- ศักยไฟฟา- ความตางศักย

๑ ๕

๑๘. อธิบายสวนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา ความตางศักยและความจุของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุและความจุสมมูล รวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- ตัวเก็บประจุ- ความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา ความตางศักยและความจุของตัวเก็บประจุ- พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ- ความจุสมมูล

๓ ๕

๗(ตอ)

ไฟฟาสถิต(ตอ)

๑๙. นําความรูเรื่องไฟฟาสถิตไปอธิบายหลักการทํางานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิดและปรากฏการณในชีวิตประจําวัน

- การนําความรูเรื่องไฟฟาสถิตไปอธิบายหลักการทํางานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิด- การนําความรูเรื่องไฟฟาสถิตไปอธิบายปรากฏการณในชีวิตประจําวัน

๒ ๓

Page 188: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๕

หนวยที่

ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๘ ไฟฟากระแสตรง ๒๐. อธิบายการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระ และกระแสไฟฟาในลวดตัวนําความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาในลวดตัวนํากับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแนนของอิเล็กตรอน ในลวดตัวนํา และพ้ืนท่ีหนาตัดของลวดตัวนํา และคํานวณปริมาณตางๆท่ีเก่ียวของ

- การเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระ และกระแสไฟฟาในลวดตัวนํา- ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาในลวดตัวนํากับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ- ความหนาแนนของอิเล็กตรอน ในลวดตัวนําและพ้ืนท่ีหนาตัดของลวดตัวนํา

๓ ๕

๒๑. ทดลองและอธิบายกฎของโอหม อธิบายความสัมพันธระหวางความตานทานกับความยาวพ้ืนท่ีหนาตัดและสภาพตานทานของตัวนําโลหะท่ีอุณหภูมิคงตัว และคํานวณปริมาณตางๆ ท่ีเก่ียวของรวมท้ังอธิบายและคํานวณความตานทานสมมูลเม่ือนําตัวตานทานมาตอกันแบบอนุกรมและแบบขนาน

- กฎของโอหม- ความสัมพันธระหวางความตานทานกับความยาวพ้ืนท่ีหนาตัดและสภาพตานทานของตัวนําโลหะท่ีอุณหภูมิคงตัว- ความตานทานสมมูลเม่ือนําตัวตานทานมาตอกันแบบอนุกรมและแบบขนาน

๕ ๕

Page 189: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๖

หนวยที่

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม เวลา(ช.ม.)

น้ําหนักคะแนน

๘(ตอ)

ไฟฟากระแสตรง(ตอ)

๒๒. ทดลอง อธิบายและคํานวณอีเอ็มเอฟของแหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงรวมท้ังอธิบายและคํานวณพลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา

- อีเอ็มเอฟของแหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรง- การคํานวณพลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา

๓ ๕

๒๓. ทดลอง และคํานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในวงจรไฟฟากระแสตรงซึ่งประกอบดวยแบตเตอรี่และตัวตานทาน

- อีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน- วงจรไฟฟากระแสตรง

๓ ๕

๒๔. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟา รวมท้ังสืบคน และอภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีนํามาแกปญหา หรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานไฟฟา โดยเนนดานประสิทธิภาพและความคุมคาใชจาย

- พลังงานทดแทน- การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟา- เทคโนโลยีท่ีนํามาแกปญหา หรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานไฟฟาโดยเนนดานประสิทธิภาพและความคุมคาใชจาย

๒ ๕

รวม ๘ หนวยการเรียนรู จํานวน ๒๔ ผลการเรียนรู ๖๐ ๑๐๐

Page 190: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๔ ฟสิกส ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห ทดลอง และอธิบาย เก่ียวกับ เสนสนามแมเหล็ก คํานวณฟลักซแมเหล็กในบริเวณท่ีกําหนด สนามแมเหล็กท่ีเกิดจากกระแสไฟฟาในลวดตัวนําเสนตรงและโซเลนอยด คํานวณแรงแมเหล็กท่ีกระทําตออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีในสนามแมเหล็กแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอเสนลวดท่ีมีกระแสไฟฟาผานและวางในสนามแมเหล็ก รัศมีความโคงของการเคลื่อนท่ีเม่ือประจุเคลื่อนท่ีตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก แรงระหวางเสนลวดตัวนําคูขนานท่ีมีกระแสไฟฟาผานหลักการทํางานของแกลแวนอมิเตอรและมอเตอรไฟฟากระแสตรง การเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนํากฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย การทํางานของเครื่องใชไฟฟา คํานวณความตางศักยอารเอ็มเอส และกระแสไฟฟาอารเอ็มเอส หลักการทํางานและประโยชนของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ๓เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของหมอแปลง และคํานวณการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแมเหล็กไฟฟาแสงไมโพลาไรส แสงโพลาไรสเชิงเสน และแผนโพลารอยด การนําคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความถ่ีตาง ๆ ไปประยุกตใชและหลักการทํางานของอุปกรณท่ีเก่ียวของการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาในกาสงผานสารสนเทศแลเปรียบเทียบการสื่อสารดวยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัลสมมติฐานของพลังค ทฤษฎีอะตอมของโบรการเกิดเสนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ปรากฏการณ โฟโตอิเล็กทริก พลังงานโฟตอน พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอนและฟงกชันงานของโลหะทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค ความยาวคลื่นเดอบรอยล

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือฝกทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย การสรุปผล และนําความรูไปใชประโยชน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิดความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีถูกตองผลการเรียนรู

๑. สังเกต และอธิบายเสนสนามแมเหล็ก อธิบาย และคํานวณฟลักซแมเหล็กในบริเวณท่ีกําหนดรวมท้ังสังเกต และอธิบายสนามแมเหล็กท่ีเกิดจากกระแสไฟฟาในลวดตัวนําเสนตรงและโซเลนอยด

๒.อธิบาย และคํานวณแรงแมเหล็กท่ีกระทําตออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีในสนามแมเหล็กแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอเสนลวดท่ีมีกระแสไฟฟาผานและวางในสนามแมเหล็ก รัศมีความโคงของการเคลื่อนท่ีเม่ือประจุเคลื่อนท่ีตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก รวมท้ังอธิบายแรงระหวางเสนลวดตัวนําคูขนานท่ีมีกระแสไฟฟาผาน

๓.อธิบายหลักการทํางานของแกลแวนอมิเตอรและมอเตอรไฟฟากระแสตรง รวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆ ท่ีเก่ียวของ

๔.สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนํากฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ รวมท้ังนําความรูเรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนําไปอธิบายการทํางานของเครื่องใชไฟฟา

๕. อธิบาย และคํานวณความตางศักยอารเอ็มเอสและกระแสไฟฟาอารเอ็มเอส๖. อธิบายหลักการทํางานและประโยชนของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ๓เฟสการแปลงอีเอ็ม

เอฟของหมอแปลง และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

Page 191: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๘

๗.อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแมเหล็กไฟฟา แสงไมโพลาไรส แสงโพลาไรสเชิงเสน และแผนโพลารอยดรวมท้ังอธิบายการนําคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความถ่ีตาง ๆ ไประยุกตใชและหลักการทํางานของอุปกรณท่ีเก่ียวของ

๘.สืบคน และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาในกาสงผานสารสนเทศแลเปรียบเทียบการสื่อสารดวยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล

๙.อธิบายสมมติฐานของพลังค ทฤษฎีอะตอมของโบร และการเกิดเสนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๑๐.อธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและคํานวพลังงานโฟตอน พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอนและฟงกชันงานของโลหะ

๑๑.อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค รวมท้ังอธิบาย และคํานวณความยาวคลื่นเดอบรอยล

รวม ๑๑ ผลการเรียนรู

Page 192: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๘๙

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๐๔ ฟสิกส ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ แมเหล็ก ๑. สังเกต และอธิบายเสนสนามแมเหล็ก อธิบายและคํานวณฟลักซแมเหล็กในบริเวณท่ีกําหนดรวมท้ังสังเกต และอธิบายสนามแมเหล็กท่ีเกิดจากกระแสไฟฟาในลวดตัวนําเสนตรงและโซเลนอยด

๑.เสนสนามแมเหล็กเปนเสนสมมติท่ีใชแสดงบริเวณท่ีมีสนามแมเหล็กโดยบริเวณท่ีมีเสนสนามแมเหล็กหนาแนนมากแสดงวาเปนบริเวณท่ีสนามแมเหล็กมีความเขมมาก๒. ฟลักซแมเหล็ก คือ จํานวนเสนสนามแมเหล็กท่ีผานพ้ืนท่ีท่ีพิจารณาและอัตราสวนระหวางฟลักซแมเหล็กตอพ้ืนท่ีตั้งฉากกับสนามแมเหล็กคือขนาดของสนามแมเหล็ก เขียนแทนไดดวยสมการ = ∅๓.เม่ือมีกระแสไฟฟาผานลวดตัวนําเสนตรงหรือโซเลนอยดจะเกิดสนามแมเหล็กข้ึน

๓ ๘

๒.อธิบาย และคํานวณแรงแมเหล็กท่ีกระทําตออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีในสนามแมเหล็กแรงแมเหล็กท่ีกระทําตอเสนลวดท่ีมีกระแสไฟฟาผานและวางในสนามแมเหล็ก รัศมีความโคงของการเคลื่อนท่ีเม่ือประจุเคลื่อนท่ีตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก รวมท้ังอธิบายแรงระหวาง

๑.อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีเขาไปในสนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตออนุภาคนั้นคํานวณไดจากสมการ =๒.กรณีท่ีประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีตั้งฉากเขาไปในสนามแมเหล็ก จะทําใหประจุเคลื่อนท่ีเปลี่ยนไปโดยรัศมีความโคงของการเคลื่อนท่ีคํานวณไดจากสมการ =๓.ลวดตัวนําท่ีมีกระแสไฟฟาผานและอยูในสนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตอลวดตัวนํานั้นโดยทิศทาง

๓ ๘

Page 193: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

เสนลวดตัวนําคูขนานท่ีมีกระแสไฟฟาผาน

ของแรงหาไดจากกฎมือขวา และคํานวณขนาดของแรงไดจากสมการ

F=ILB sin θ๔.เม่ือวางเสนลวดสองเสนขนานกันและมีกระแสไฟฟาผานท้ังสองเสนจะเกิดแรงกระทําระหวางลวดตัวนําท้ังสอง

๓.อธิบายหลักการทํางานของแกลแวนอมิเตอรและมอเตอรไฟฟากระแสตรง รวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆ ท่ีเก่ียวของ

เม่ือมีกระแสไฟฟาผานขดลวดตัวนําท่ีอยูในสนามแมเหล็กจะมีโมเมนตของแรงคูควบกระทําตอขดลวดทําใหขดลวดหมุน ซึ่งนําไปใชอธิบายการทํางานของแกลแวนอมิเตอรและมอเตอรไฟฟากระแสตรง โดยโมเมนตของแรงคูควบคํานวณไดจากสมการ =

๒ ๘

๔.สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนํากฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของรวมท้ังนําความรูเรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนําไปอธิบายการทํางานของเครื่องใชไฟฟา

๑.เม่ือมีฟลักซแมเหล็กเปลี่ยนแปลงตัดขดลวดตัวนําจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนําในขดลวดตัวนํานั้นอธิบายไดโดยใชกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดยเขียนแทนไดดวยสมการ= − ∆∅∆๒.ทิศทางของกระแสไฟฟาเหนี่ยวนําหาไดโดยใชกฎของเลนซ๓.ความรูเก่ียวกับอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนําไปใชอธิบายการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา และการทํางานของเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ เชน แบลลัสตแบบขดลวดของหลอดฟลูออเรสเซนต

๒ ๑๐

Page 194: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ ไฟฟากระแสสลับ

๕. อธิบาย และคํานวณความตางศักยอารเอ็มเอสและกระแสไฟฟาอารเอ็มเอส

๑.ไฟฟากระแสสลับท่ีสงไปตามบานเรือน มีความตางศักยและกระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาในรูปของฟงกชันแบบไซน๒.การวัดความตางศักยและกระแสไฟฟาสลับใชคายังผลหรือคามิเตอร ซึ่งเปนคาเฉลี่ยแบบรากท่ีสองของกําลังสองเฉลี่ย คํานวณไดจากสมการ = V๐

√๒= ๐√๒

๖ ๘

๖. อธิบายหลักการทํางานและประโยชนของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ๓ เฟสการแปลงอีเอ็มเอฟของหมอแปลง และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๑. เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ๓เฟส มีขดลวดตัวนํา ๓ ชุด แตละชุดวางทํามุม ๑๒๐ องศา ซึ่งกันและกันไฟฟากระแสสลับจากขดลวดแตละชุดจะมีเฟสตางกัน ๑๒๐ องศา ซึ่งชวยใหมีประสิทธิภาพในการผลิตและการสงพลังงานไฟฟา๒.ไฟฟากระแสสลับท่ีสงไปตามบานเรือนเปนไฟฟากระแสสลับท่ีตองเพ่ิมอีเอ็มเอฟจากโรงไฟฟาแลวลดอีเอ็มเอฟใหมีคาท่ีตองการโดยใชหมอแปลงซึ่งประกอบดวยขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิ๓.ไฟฟากระแสสลับท่ีผานขดลวดปฐมภูมิของหมอแปลงจะทําใหเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนําในขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลง โดยอีเอ็มเอฟในขดลวดทุติยภูมิข้ึนกับอีเอ็มเอฟในขดลวดปฐมภูมิและจํานวนรอบของขดลวดท้ังสอง ตามสมการ

๘ ๘

Page 195: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑= ๒

๓ คลื่นแมเหล็กไฟฟา

๗.อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแมเหล็กไฟฟา แสงไมโพลาไรส แสงโพลาไรสเชิงเสน และแผนโพลารอยดรวมท้ังอธิบายการนําคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความถ่ีตาง ๆ ไประยุกตใชและหลักการทํางานของอุปกรณท่ีเก่ียวของ

๑.การเหนี่ยวนําตอเนื่องระหวางสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา ทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาแผออกจากแหลงกําเนิด๒.คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาโดยสนามท้ังสองมีทิศตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนท่ีของคลื่น๓.แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง โดยแสงในชีวิตประจําวันเปนแสงไมโพลาไรส เม่ือแสงนั้นผานแผนโพลารอยด สนามไฟฟาจะมีทิศทางอยูในระนาบเดียวเรียกวา แสงโพลาไรสเชิงเสนสมบัติของแสงลักษณะนี้เรียกวาโพลาไรเซชัน๔.คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความถ่ีตาง ๆมากมาย โดยความถ่ีนี้มีคาตอเนื่องกันเปนชวงกวาง เรียกวาสเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา๕.ตัวอยางอุปกรณท่ีทํางานโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา เชน เครื่องฉายรังสีเอกซเครื่องควบคุมระยะไกลเครื่องระบุตําแหนงบนพ้ืนโลก เครื่องถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอรและเครื่องถายภาพการสั่นพองแมเหล็ก

๘ ๑๐

Page 196: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๘.สืบคน และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาในกาสงผานสารสนเทศแลเปรียบเทียบการสื่อสารดวยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล

๑.การสื่อสารเพ่ือสงผานสารสนเทศจากท่ีหนึ่งไปอีกท่ีหนึ่ง ทําไดโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาสารสนเทศจะถูกแปลงใหอยูในรูปสัญญาณสําหรับสงไปยังปลายทางซึ่งจะมีการแปลงสัญญาณกลับมาเปนสารสนเทศท่ีเหมือนเดิม๒. สัญญาณมีสองชนิดคือแอนะล็อกและดิจิทัลโดยการสงผานสารสนเทศดวยสัญญาณดิจิทัลมีความผิดพลาดนอยกวาสัญญาณแอนะล็อก

๘ ๑๐

๔ ฟสิกสอะตอม

๙.อธิบายสมมติฐานของพลังค ทฤษฎีอะตอมของโบร และการเกิดเสนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

พลังคเสนอสมมติฐานเพ่ืออธิบายการแผรังสีของวัตถุดํา ซึ่งสรุปไดวาพลังงานท่ีวัตถุดําดูดกลืนหรือแผออกมามีคาไดเฉพาะบางคาเทานั้น และคานี้จะเปนจํานวนเทาของ ℎ เรียกวา ควอนตัมพลังงาน โดยแสงความถ่ี จะมีพลังงานตามสมการ = ℎ๒.ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนท่ีเสนอโดยโบรอธิบายวา อิเล็กตรอนจะเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงไดโดยไมแผคลื่แมเหล็กไฟฟาถาอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนวงโคจรจะมีการรับหรือปลอยพลังงานในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามสมมติฐานของพลังค ซึ่งสามารถนําไปคํานวณ

๘ ๑๒

Page 197: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๔

ลําดับท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอน และพลังงานอะตอมของไฮโดรเจนไดตามสมการ = ℏ๒

๒๒

และ = − ๑๒

๒ ๔ℏ๒๑๒

ตามลําดับ๓.ทฤษฎีอะตอมของโบวสามารถนําไปคํานวณความยาวคลื่นของแสงในสเปกตรัมเสนสวางของอะตอมไฮโดรเจนตามสมาการ

๑ = ๑๒ − ๑

๑๐.อธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและคํานวพลังงานโฟตอน พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอนและฟงกชันงานของโลหะ

๑.ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกเปนปรากฏการณท่ีอิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะเม่ือมีแสงท่ีมีความถ่ีเหมาะสมมาตกกระทบ โดยจํานวนโฟโตอิเล็กตรอนท่ีหลุดจะเพ่ิมข้ึนตามความเขมแสงและพลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน จะข้ึนกับความถ่ีของแสงนั้นโดยพลังงานของแสงหรือโฟตอนตามสมมติฐานของพลังค

๖ ๑๐

๒. ไอนสไตนอาศัยกฎการอนุรักษพลังงานและสมมติฐานของพลังคอธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกตามสมการℎ = +

Page 198: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๕

ลําดับท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๓.การทดลองพลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนและฟงกชันงานของโลหะคํานวณไดจากสมการ=และ = ℎ ๐ ตามลําดับ

๑๑.อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค รวมท้ังอธิบาย และคํานวณความยาวคลื่นเดอบรอยล

๑.การคนพบการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของอิเล็กตรอนสนับสนุนความคิดของเดอบรอยลท่ีเสนอวา อนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นไดโดยเม่ืออนุภาคประพฤติตัวเปนคลื่นจะมีความยาวคลื่น เรียกวาความยาวคลื่นเดอบรอยล ซึ่งมีคาข้ึนกับโมเมนตัมของอนุภาค ตามสมการ λ = ℎ๒.จากความคิดของไอนสไตนและเดอบรอยล ทําใหสรุปไดวา คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคไดและอนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นได สมบัติดังกลาวรียกวา ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

๖ ๘

รวม ๔หนวยการเรียนรู

จํานวน ๑๑ ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 199: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๖

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๐๕ ฟสิกส ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห ทดลอง และอธิบาย เก่ียวกับความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะ และความรอนท่ีเกิดจากการถายโอนตามกฎการอนุรักษพลังงานสภาพยืดหยุนและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุท่ีเปนแทง ความเคนตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยังการนําความรูเรื่องสภาพยืดหยุนไปใชในชีวิตประจําวันความดันเกจ ความดันสัมบูรณและความดันบรรยากาศ หลักการทํางานของแมนอมิเตอรบารอมิเตอร และเครื่องอัดไฮดรอลิกขนาดแรงพยุงจากของไหลความตึงผิวของของเหลว แรงหนืดของของเหลวสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความตอเนื่อง และสมการแบรนูลลีกฎของแกสอุดมคติแบบจําลองของแกสอุดมคติ ทฤษฎีจลนของแกสและอัตราเร็วอารเอ็มเอสของโมเลกุลของแกสงานท่ีทําโดยแกสในภาชนะปดโดยความดันคงตัวความสัมพันธระหวางความรอนพลังงานภายในระบบ กัมมันตภาพรังสีและความแตกตางของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมาคํานวณกัมมันตภาพของนิว เคลียสกัมมันตรังสีจํ านวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีท่ีเหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิตแรงนิวเคลียร เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยวปฏิกิริยานิวเคลียร ฟชชันและฟวชัน พลังงานนิวเคลียรประโยชนของพลังงานนิวเคลียร และรังสี อันตรายและการปองกันรังสีในดานตาง ๆการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคแบบจําลองมาตรฐานและการใชประโยชนจากการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคในดานตาง ๆ

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือฝกทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย การสรุปผล และนําความรูไปใชประโยชน

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีถูกตอง

ผลการเรียนรู๑. อธิบาย และคํานวณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยน

สถานะ และความรอนท่ีเกิดจากการถายโอนตามกฎการอนุรักษพลังงาน๒. อธิบายสภาพยืดหยุนและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุท่ีเปนแทง เม่ือถูกกระทําดวยแรง

คาตาง ๆ รวมท้ังทดลอง อธิบายและคํานวณความเคนตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยังและนําความรูเรื่องสภาพยืดหยุนไปใชในชีวิตประจําวัน

๓. อธิบาย และคํานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ และความดันบรรยากาศ รวมท้ังอธิบายหลักการทํางานของแมนอมิเตอรบารอมิเตอร และเครื่องอัดไฮดรอลิก

๔. ทดลอง อธิบาย และคํานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล๕. ทดลอง อธิบาย และคํานวณความตึงผิวของของเหลว รวมท้ังสังเกตและอธิบายแรงหนืดของ

ของเหลว๖. อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความตอเนื่อง และสมการแบรนูลลี รวมท้ังคํานวณ

ปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และนําความรูเก่ียวกับสมการความตอเนื่องและสมการแบรนูลลีไปอธิบายหลักการทํางานของอุปกรณตาง ๆ

๗. อธิบายกฎของแกสอุดมคติและคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

Page 200: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๗

๘. อธิบายแบบจําลองของแกสอุดมคติ ทฤษฎีจลนของแกส และอัตราเร็วอารเอ็มเอสของโมเลกุลของแกส รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๙. อธิบาย และคํานวณงานท่ีทําโดยแกสในภาชนะปดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธระหวางความรอนพลังงานภายในระบบ และงานรวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของและนําความรูเรื่องพลังงานภายในระบบไปอธิบายหลักการทํางานของเครื่องใชในชีวิตประจําวัน

๑๐. อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกตางของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา๑๑. อธิบาย และคํานวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมท้ังทดลอง อธิบายและ

คํานวณจํานวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีท่ีเหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต๑๒. อธิบายแรงนิวเคลียร เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมท้ังคํานวณ

ปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ๑๓. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร ฟชชันและฟวชันรวมท้ังคํานวณพลังงานนิวเคลียร๑๔.อธิบายประโยชนของพลังงานนิวเคลียร และรังสี รวมท้ังอันตรายและการปองกันรังสีในดาน

ตาง ๆ๑๕. อธิบายการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคแบบจําลองมาตรฐาน และการใชประโยชนจาก

การคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคในดานตาง ๆ

รวม ๑๕ ผลการเรียนรู

Page 201: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๘

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๐๕ ฟสิกส ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑ ฟสิกสของวัสดุ

๑.อธิบาย และคํานวณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะ และความรอนท่ีเกิดจากการถายโอนตามกฎการอนุรักษพลังงาน

-เม่ือสสารไดรับหรือคายความรอน สสารอาจมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป และสสารอาจเปลี่ยนสถานะโดยไมเปลี่ยนอุณหภูมิ ซึ่งปริมาณความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนอุณหภูมิคํานวณไดจากสมการ = ∆สวนปริมาณของพลังงานความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะคํานวณไดจากสมการ =-วัตถุท่ีมีอุณหภูมิสูงกวาจะถายโอนความรอนไปสูวัตถุท่ีมีอุณหภูมิต่ํากวา เปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงาน โดยปริมาณความรอนท่ีวัตถุหนึ่งใหจะเทากับปริมาณความรอนท่ีวัตถุหนึ่งรับเขียนแทนไดดวยสมการ

ลด = เพิ่มเม่ือวัตถุมีอุณหภูมิเทากันจะไมมีการถายโอนความรอน เรียกวาวัตถุอยูในสมดุลความรอน

๓ ๖

Page 202: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๑๙๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒. อธิบายสภาพยืดหยุนและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุท่ีเปนแทง เม่ือถูกกระทําดวยแรงคาตาง ๆ รวมท้ังทดลองอธิบายและคํานวณความเคนตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยัง และนําความรูเรื่องสภาพยืดหยุนไปใชในชีวิตประจําวัน

-สมบัติท่ีวัสดุเปลี่ยนรูปและกลับสูรูปเดิมเม่ือหยุดออกแรงกระทําเรียกวา สภาพยืดหยุน ถายังออกแรงตอไป วัสดุจะขาดหรือเสียรูปอยางถาวรในกรณีท่ีวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงความยาวถาออกแรงกระทําตอเสนลวดไมเกินขีดจํากัดการแปรผันตรง ความยาวท่ีเพ่ิมข้ึนของเสนลวด

๕ ๗

แปรผันตรงกับขนาดของแรงดึงทําใหความเครียดตามยาวท่ีเกิดข้ึนแปรผันตรงกับความเคนตามยาว โดยความเคนตามยาวคํานวณไดจากสมการσ =สวนความเครียดตามยาวคํานวณไดจากสมการ= ∆

๐อัตราสวนความเคนตามยาวตอความเครียดตามยาว เรียกวา มอดุลัสของยัง ซึ่งมีคาข้ึนกับชนิดของวัสดุ คํานวณไดจากสมการ=หรือ = /∆ / ๐ถาวัสดุมีมอดุลัสของยังสูงแสดงวาวัสดุนั้นเปลี่ยนแปลงความยาวไดนอย ถาออกแรงเพ่ิมข้ึนเกินขีดจํากัดสภาพยืดหยุน วัสดุไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดสมบัตินี้นําไปใชพิจารณาในการเลือกวัสดุท่ีเหมาะสมกับการใชงาน

๕ ๗

Page 203: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๒ กลศาสตรของไหล

๓.อธิบาย และคํานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ และความดันบรรยากาศ รวมท้ังอธิบายหลักการทํางานของแมนอมิเตอรบารอมิเตอร และเครื่องอัดไฮดรอลิก

๑.ภาชนะท่ีมีของเหลวบรรจุอยูจะมีแรงเนื่องจากของเหลวกระทําตอพ้ืนผิวภาชนะ โดยขนาดของแรงท่ีของเหลวกระทําตั้งฉากตอพ้ืนท่ีหนึ่งหนวยเปนความดันในของเหลว๒.วามดันท่ีเครื่องมือวัดไดเรียกวา ความดันเกจคํานวณไดจากสมการ= ℎ สวนผลรวมของ

๕ ๗

๔.ทดลอง อธิบาย และคํานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล

วัตถุท่ีอยูในของไหลท้ังหมดหรือเพียงบางสวนจะถูกแรงพยุงจากของไหลกระทํา โดยขนาดแรงพยุงเทากับขนาดน้ําหนักของของไหลท่ีถูกวัตถุแทนท่ีตามหลักของอารคิมีดีสซึ่งใชอธิบายการลอยการจมของวัตถุตาง ๆในของไหล ขนาดแรงพยุงจากของไหลคํานวณไดจากสมการ=

๕ ๗

๕.ทดลอง อธิบาย และคํานวณความตึงผิวของของเหลว รวมท้ังสังเกตและอธิบายแรงหนืดของของเหลว

๑ความตึงผิวเปนสมบัติของของเหลวท่ียึดผิวของเหลวไวดวยแรงดึงผิว ปรากฏการณท่ีเปนผลจากความตึงผิว เชน การเดินบนผิวน้ําของแมลงบางชนิด การซึมตามรูเล็ก หรือการโคงของผิวของเหลว โดยความตึงผิวของของเหลวคํานวณไดจากสมการ =๒.ความหนืดเปนสมบัติของของไหล วัตถุท่ีเคลื่อนท่ีในของไหลจะมีแรง

๓ ๖

Page 204: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

เนื่องจากความหนืดตานการเคลื่อนท่ีของวัตถุ เรียกวา แรงหนืด

๖.อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความตอเนื่อง และสมการแบรนูลลี รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และนําความรูเก่ียวกับสมการความตอเนื่องและสมการแบรนูลลีไปอธิบายหลักการทํางานของอุปกรณตาง ๆ

๑.ของไหลอุดมคติเปนของไหลท่ีมีการไหลอยางสมํ่าเสมอ ไมมีความหนืด บีบอัดไมได และไหลโดยไมหมุน มีอัตราการไหลตามสมการความตอเนื่อง= คาคงตัว๒.ตําแหนงสองตําแหนงบนสายกระแสเดียวกันของของไหลอุดมคติท่ีไหลอยางสมํ่าเสมอ จะมีผลรวมของความดันสัมบูรณพลังงานจลนตอหนึ่งหนวยปริมาตร และพลังงานศักยตอหนึ่งหนวยปริมาตร เปนคาคงตัวตามสมการแบรนูลลี+ ๑

๒๒ + ℎ

=คาคงตัว

๗ ๘

๗. อธิบายกฎของแกสอุดมคติและคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๑.แกสอุดมคติเปนแกสท่ีโมเลกุลมีขนาดเล็กมากไมมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล มีการเคลื่อนท่ีแบบสุม และมีการชนแบบยืดหยุน• ความสัมพันธระหวางความดันปริมาตร และอุณหภูมิของแกสอุดมคติเปนไปตามกฎของแกสอุดมคติ เขียนแทนไดดวยสมการ= =

๗ ๘

Page 205: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๒

ลําดับท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๘.อธิบายแบบจําลองของแกสอุดมคติ ทฤษฎีจลนของแกส และอัตราเร็วอารเอ็มเอสของโมเลกุลของแกส รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๑.จากแบบจําลองของแกสอุดมคติ กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันและจากกฎของแกสอุดมคติ ทําใหสามารถศึกษาสมบัติทางกายภาพบางประการของแกสได ไดแก ความดันพลังงานจลนเฉลี่ยและอัตราเร็วอารเอ็มเอส ของโมเลกุลของแกสได๒.จากทฤษฎีจลนของแกส ความดันและพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลของแกสมีความสัมพันธตามสมการ= ๒

๓สวนอัตราเร็ว

อารเอ็มเอสของโมเลกุลของแกสคํานวณไดจากสมการ= ๓

๕ ๘

๙.อธิบาย และคํานวณงานท่ีทําโดยแกสในภาชนะปดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธระหวางความรอนพลังงานภายในระบบ และงานรวมท้ังคํานวณปริมาณตางๆ ท่ีเก่ียวของและนําความรูเรื่องพลังงานภายในระบบไปอธิบายหลักการทํางานของเครื่องใชในชีวิตประจําวัน

๑.ในภาชนะปดเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแกสโดยความดันคงตัว งานท่ีเกิดข้ึนคํานวณไดจากสมการ= ∆๒.มเลกุลของแกสอุดมคติในภาชนะปดจะมีพลังงานจลน โดยพลังงานจลนรวมของโมเลกุลเรียกวา พลังงานภายในของแกสหรือพลังงานภายในระบบ ซึ่งแปรผันตรงกับจํานวนโมเลกุลและอุณหภูมิสัมบูรณของแกส๓. พลังงานภายในระบบมีความสัมพันธกับความรอนและงาน

๒ ๖

Page 206: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

เชน เม่ือมีการถายโอนความรอนในระบบปด ผลของการถายโอนความรอนนี้จะเทากับผลรวมของพลังงานภายในระบบท่ีเปลี่ยนแปลงกับงาน เปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงานเรียกกฎขอท่ีหนึ่งของอุณหพลศาสตรแสดงไดดวยสมการ= ∆ +๔. ความรูเรื่องพลังงานภายในระบบสามารถนําไปประยุกตในดานตาง ๆ เชน การทํางานของเครื่องยนตความรอน ตูเย็นเครื่องปรับอากาศ

๓ ฟสิกสนิวเคลียร

๑๐.อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกตางของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา

๑.กัมมันตภาพรังสีเปนปรากฏการณท่ีธาตุกัมมันตรังสีแผรังสีไดเองอยางตอเนื่อง รังสีท่ีออกมามี ๓ ชนิด คือ แอลฟาบีตา และแกมมา๒.การแผรังสีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งเขียนแทนไดดวยสมการการสลายใหแอลฟา→ + ๒

๔๒๔

การสลายใหบีตาลบ→ ๑ + ๑๐+ ̅

๒ ๖

Page 207: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

การสลายตัวใหบีตาบวก→ ๑ + ๑๐+

การสลายใหแกมมา→ ∗ +๑๑.อธิบาย และคํานวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมท้ังทดลองอธิบายและคํานวณจํานวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีท่ีเหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต

๑.ในการสลายของธาตุกัมมันตรังสี อัตราการแผรังสีออกมาในขณะหนึ่ง เรียกวากัมมันตภาพ ปริมาณนี้บอกถึงอัตราการลดลงของจํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีคํานวณไดจากสมการ =๒.ชวงเวลาท่ีจํานวนนิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจํานวนเริ่มตน เรียกวา ครึ่งชีวิต โดยจํานวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีท่ีเหลือจากการสลายและครึ่งชีวิตคํานวณไดจากสมการ =

และ ๑๒= ๒ ตามลําดับ

๓ ๗

๑๒. อธิบายแรงนิวเคลียรเสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยวรวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๑.ภายในนิวเคลียสมีแรงนิวเคลียรท่ีใชอธิบายเสถียรภาพของนิวเคลียส๒.การทําใหนิวคลีออนในนิวเคลียสแยกออกจากกันตองใชพลังงานเทากับพลังงานยึดเหนี่ยวซึ่งคํานวณไดจากความสัมพันธระหวางมวลและพลังงาน ตามสมการ = (∆ ) ๒

๒ ๖

Page 208: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๓.นิวเคลียสท่ีมีพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนสูงจะมีเสถียรภาพดีกวานิวเคลียสท่ีมีพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนต่ํา โดยพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนคํานวณไดจากสมการ = (∆ ) ๒

๑๓. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร ฟชชันและฟวชันรวมท้ังคํานวณพลังงานนิวเคลียร

๑.ปฏิกิริยาท่ีทําใหนิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบหรือระดับพลังงาน เรียกวาปฏิกิริยานิวเคลียร๒. ฟชชันเปนปฏิกิริยาท่ีนิวเคลียสท่ีมีมวลมากแตกออกเปนนิวเคลียสท่ีมีมวลนอยกวาสวนฟวชันเปนปฏิกิริยาท่ีนิวเคลียสท่ีมีมวลนอยรวมตัวกันเกิดเปนนิวเคลียสท่ีมีมวลมากข้ึน๓.พลังงานท่ีปลดปลอยออกมาจากฟชชันหรือฟวชันเรียกวาพลังงานนิวเคลียร ซึ่งมีคาเปนไปตามความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงานตามสมการ= (∆ ) ๒

๒ ๖

๑๔.อธิบายประโยชนของพลังงานนิวเคลียร และรังสี รวมท้ังอันตรายและการปองกันรังสีในดานตาง ๆ

พลังงานนิวเคลียรและรังสีจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสีสามารถนําไปใชประโยชนในดานตาง ๆขณะเดียวกันตองมีการปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนได

๒ ๖

Page 209: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา(ซม.)

น้ําหนัก(คะแนน)

๑๕.อธิบายการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคแบบจําลองมาตรฐาน และการใชประโยชนจากการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคในดาน

ตาง ๆ

๑.การศึกษาโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสดวยเครื่องเรงอนุภาคพลังงานสูงพบวาโปรตอนและนิวตรอนประกอบดวยอนุภาคอ่ืนท่ีมีขนาดเล็กกวา เรียกวา ควารก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันไวดวยแรงเขม๒.นักฟสิกสยังไดคนพบอนุภาคท่ีเปนสื่อของแรงเขมซึ่งไดแก กลูออน และอนุภาคท่ีเปนสื่อของแรงออน ซึง่ไดแก – โบซอนและ – โบซอน

๓.อนุภาคท่ีไมสามารถแยกเปนองคประกอบไดรวมท้ังอนุภาคท่ีเปนสื่อของแรง จัดเปนอนุภาคมูลฐานในแบบจําลองมาตรฐาน๔.แบบจําลองมาตรฐานเปนทฤษฎีท่ีใชอธิบายพฤติกรรมและอันตรกิริยาระหวางอนุภาคมูลฐาน๕. การคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีนํามาใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน ดานการแพทย มีการใชเครื่องเรงอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง การใชเครื่องถายภาพรังสีระนาบดวยการปลอยโพซิตรอนในการวินิจฉัยโรคมะเร็ง ดานการรักษาความปลอดภัยมีการใชเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรในการตรวจวัตถุอันตรายในสนามบิน

๒ ๖

รวม๓ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๑๕ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 210: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว๓๐๒๒๑ เคมี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาขอปฏิบัติเบื้องตนในการทําปฏิบัติการเคมี การเลือกใชอุปกรณและเครื่องมือในการทําปฏิบัติการ การระบุหนวยวัดปริมาณตางๆ ของสาร การเปลี่ยนหนวยในระบบเอสไอดวยการใชแฟกเตอรเปลี่ยนหนวย ศึกษาแบบจําลองอะตอม สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ อนุภาคมูลฐานของอะตอมการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ แนวโนมสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมูและตามคาบ สมบัติของธาตุโลหะแทรนซิชัน การเปรียบเทียมสมบัติกับธาตุโลหะในกลุมธาตุเรพรีเซนเททีฟ ศึกษาและอธิบายสมบัติและคํานวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสียกตัวอยางการนําธาตุไปใชประโยชน รวมท้ังผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ศึกษาการเกิดพันธะไอออนิก สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ศึกษาการเกิดพันธะและชนิดของพันธะโคเวเลนต การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต พลังงานท่ีเก่ียวของกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต รูปรางโมเลกุลโคเวเลนต สภาพข้ัวของโมเลกุลโคเวเลนต แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลโคเวเลนต สมบัติของสารโคเวเลนตโครงรางตาขาย

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงค

รหัสผลการเรียนรูสาระเคมี ๑ ม.๔/๑-๒๑สาระเคมี ๓ ม.๔/๑-๕

รวมท้ังหมด ๒๖ ผลการเรียนรู

Page 211: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๘

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๒๑ เคมี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๑ ปฏิบัติการเคมีเบื้องตน

สาระเคมี ๓ม.๔/๑ม.๔/๒ม.๔/๓ม.๔/๔ม.๔/๕

การทําปฏิบัติการเคมีตองคํานึงถึงความปลอดภัย ความถูกตอง และและความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

การทําปฏิบัติการเคมีตองมีการเลือกและใชอุปกรณในการทําปฏิบัติการอยางเหมาะสม

มีการวางแผนการทดลอง การทําการทดลอง การบันทึกขอมูล สรุปและวิเคราะห นําเสนอขอมูล และการเขียนรายงานการทดลองท่ีถูกตอง และเพ่ือใหมีมาตรฐานเดียวกัน จึงมีการกําหนดหนวยในระบบเอสไอใหเปนหนวยสากล

๑๐ ๑๐

๒ อะตอมและตารางธาตุ

สาระเคมี ๑ม.๔/๑ม.๔/๒ม.๔/๓ม.๔/๔ม.๔/๕ม.๔/๖ม.๔/๗ม.๔/๘

นักวิทยาศาสตรศึกษาโครงสรางของอะตอมและเสนอแบบจําลองอะตอมแบบตางๆจากการศึกษาขอมูล การสังเกต การตั้งสมมติฐาน และ ผลการทดลอง

สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุประกอบดวยสัญลักษณธาตุ เลขอะตอม และเลขมวล

อิเล็กตรอนจัดเรียงอยูรอบ ๆนิวเคลียสในระดับพลังงานหลักตาง ๆและแตละระดับพลังงานหลักยังแบงเปนระดับพลังงานยอย

๒๐ ๔๐

Page 212: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๐๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๒ อะตอมและตารางธาตุ(ตอ)

ตารางธาตุในปจจุบันจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติท่ีคลายคลึงกันเปนหมูและคาบ

ธาตุเรพรีเซนเททีฟมีสมบัติทางเคมีคลายคลึงกันตามหมูธาตุแทรนซิชันเปนโลหะท่ีสวนใหญมีขนาดอะตอมใกลเคียงกัน มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวและความหนาแนนสูง เม่ือเกิดเปนสารประกอบสวนใหญจะมีสีธาตุกัมมันตรังสีเปนธาตุท่ีทุกไอโซโทปสามารถแผรังสีได โดยครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสีเปนระยะเวลาท่ีไอโซโทปกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม

สมบัติบางประการของธาตุแตละชนิด ทําใหสามารถนําธาตุไปใชประโยชนในดานตาง ๆไดอยางหลากหลาย

๓ พันธะเคมี สาระเคมี ๑ม.๔/๙ม.๔/๑๐ม.๔/๑๑ม.๔/๑๒ม.๔/๑๓ม.๔/๑๔ม.๔/๑๕ม.๔/๑๖ม.๔/๑๗ม.๔/๑๘ม.๔/๑๙

การเกิดพันธะเคมี สวนใหญเปนไปตามกฎออกเตต

พันธะไอออนิกเกิดจากการยึดเหนี่ยวระหวางประจุไฟฟาของไอออนบวกของโลหะกับไอออนลบของอโลหะ

สารประกอบไอออนิกเขียนแสดงสูตรเคมีโดยใหสัญลักษณธาตุท่ีเปนไอออนบวกไวขางหนาตามดวยสัญลักษณธาตุท่ีเปนไอออนลบ โดยมีตัวเลขแสดงอัตราสวนอยางต่ําของจํานวนไอออน

๓๐ ๕๐

Page 213: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๓ พันธะเคมี (ตอ) ม.๔/๒๐ม.๔/๒๑

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกทําไดโดยเรียกชื่อไอออนบวกแลวตามดวยชื่อไอออนลบ

ปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกแสดงไดดวยวัฏจักรบอรน-ฮาเบอร

สารประกอบไอออนิกสวนใหญมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เม่ือเปนของแข็งไมนําไฟฟา แตถาทําใหหลอมเหลวหรือละลายในน้ําจะนําไฟฟา สารประกอบไอออนิกแสดงสมบัติความเปนกรด–เบส ตางกัน

พันธะโคเวเลนตจากการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกันของธาตุอโลหะโดยท่ัวไปสูตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต เขียนแสดงดวยสัญลักษณของธาตุและมีตัวเลขแสดงจํานวนอะตอมของธาตุท่ีมีมากกวา ๑ อะตอม

การเรียกชื่อสารโคเวเลนตทําไดโดยเรียกชื่อธาตุท่ีอยูหนากอน แลวตามดวยชื่อธาตุท่ีอยูถัดมา และมีคํานําหนาระบุจํานวนอะตอมของธาตุ

ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนตข้ึนกับชนิดของอะตอมคูรวมพันธะและชนิดของพันธะ

รูปรางของโมเลกุลโคเวเลนต ข้ึนอยูกับจํานวนพันธะและจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางและสภาพข้ัวของโมเลกุลโคเวเลนตเปนผลรวมปริมาณเวกเตอรสภาพข้ัวของแตละพันธะตาม

Page 214: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

รูปรางโมเลกุลแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล

มีผลตอจุดหลอมเหลว จุดเดือดและการละลายน้ํา โดยสารโคเวเลนตมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ํา และไมละลายน้ํา

สารโคเวเลนตบางชนิดท่ีมีโครงสรางโมเลกุล ขนาดใหญและมีพันธะโคเวเลนตตอเนื่องเปนโครงรางตาขาย จะมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง

พันธะโลหะเกิดจากเวเลนซอิเล็กตรอนของทุกอะตอมของโลหะเคลื่อนท่ีอยางอิสระไปท่ัวท้ัง

โลหะ และเกิดแรงยึดเหนี่ยวกับโปรตอนในนิวเคลียสทุกทิศทาง

โลหะสวนใหญเปนของแข็ง ผิวมันวาว มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นําไฟฟาและความรอนไดดี

สารประกอบไอออนิกสารโคเวเลนต และโลหะมีสมบัติเฉพาะตัวบางประการท่ีแตกตาง จึงสามารถนํามาใชประโยชนในดานตาง ๆ ไดตามความเหมาะสม

รวม ๓ หนวยการเรียนรู จํานวน ๒๖ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 215: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๒

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาการเกิดโลหะและสมบัติของโลหะ มวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ ๑ อะตอม มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ มวลโมเลกุลของสาร ความสัมพันธระหวางจํานวนโมล อนุภาค มวลและปริมาตรของแกสท่ี STP ศึกษาหนวยและการคํานวณความเขมขนของสารละลาย การทดลองการเตรียมสารละลาย การเปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย ศึกษาความหมายและเขียนสูตรโมเลกุล สูตรเอมพิริคัล หรือสูตรอยางงาย และสูตรโครงสราง การคํานวณหามวลเปนรอยละจากสูตร การคํานวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุลของสารศึกษาการเขียนและดุลสมการเคมี ทดลองและคํานวณหาอัตราสวนจํานวนโมลของสารตั้งตนท่ีทําปฏิกิริยาพอดีกัน ศึกษาสมบัติของระบบปด และระบบเปด ศึกษาและฝกคํานวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีท่ีเปนไปตามกฎทรงมวล กฎสัดสวนคงท่ี ศึกษาทดลองและคํานวณปริมาตรของแกสในปฏิกิริยาเคมีตามกฎของเกย-ลูสแซก และกฎของอาโวกาโดรศึกษาและฝกคํานวณหาความสัมพันธระหวางปริมาณของสารในสมการเคมีนั้นๆ และสมการเคมีท่ีเก่ียวของมากกวาหนึ่งสมการ สารกําหนดปริมาณ ผลไดรอยละ

ศึกษา คํานวณหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อธิบายปจจัยท่ีมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาวิเคราะห เก่ียวกับสมดุลเคมี ปฏิกิริยาผันกลับได การคํานวณเก่ียวกับคาคงท่ีสมดุล ผลของการเปลี่ยนแปลงความเขมขน ความดัน และอุณหภูมิท่ีมีตอภาวะสมดุล

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงค

รหัสผลการเรียนรู

สาระเคมี ๒ ม.๕/๑-๗สาระเคมี ๓ ม.๔/๖-๑๑

รวมท้ังหมด ๑๓ ผลการเรียนรู

Page 216: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๓

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๒๒ รายวิชา เคมี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๑ ปริมาณสัมพันธ สาระเคมี ๓ม.๔/๖ม.๔/๗ม.๔/๘

- มวลอะตอมของธาตุเปนมวลของธาตุ ๑อะตอม และมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุเปนคาเฉลี่ยจากคามวลอะตอมของแตละไอโซโทปของธาตุชนิดนั้นตามปริมาณท่ีมีในธรรมชาติ

-มวลโมเลกุลเปนผลรวมของมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุท่ีเปนองคประกอบของสาร

- สาร ๑ โมล มี ๖.๐๒ × ๑๐๒๓ อนุภาคมีมวลเทากับมวลอะตอม หรือมวลโมเลกุลของสารนั้น และสารท่ีมีสถานะเปนแกส ๑ โมล จะมีปริมาตรเทากับ ๒๒.๔ลูกบาศกเดซิเมตรท่ีSTP

- สารประกอบเกิดจากธาตุตั้งแต ๒ ชนิดข้ึนไปมารวมตัวกันโดยมีอัตราสวนโดยมวลตามกฎสัดสวนคงท่ีสูตรเคมีสามารถแสดงไดดวยสูตรอยางงาย และสูตรโมเลกุล

๑๕ ๒๕

๒ สารละลาย สาระเคมี ๓ม.๔/๙ม.๔/๑๐ม.๔/๑๑

- การบอกปริมาณของสารในสารละลายสามารถบอกเปนความเขมขน

- การเตรียมสารละลายสามารถทําไดโดยการเตรียมจากสารบริสุทธิ์และเตรียมจากสารละลายเขมขน

- สารละลายมีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งแตกตางจากสารบริสุทธิ์ท่ีเปนตัวทําละลาย

๑๕ ๒๕

๓ ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี

สาระเคมี ๒ม.๔/๑ม.๔/๒

-ปฏิกิริยาเคมีเปนการเปลี่ยนแปลงท่ีมีสารใหมเกิดข้ึน เขียนแสดงไดดวยสมการเคมี

๓๐ ๕๐

Page 217: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๓ ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี(ตอ)

ม.๔/๓ม.๔/๔ม.๔/๕ม.๔/๖ม.๔/๗

- เลขสัมประสิทธิ์ในสมการเคมีสามารถนํามาใชในการคํานวณปริมาณของสารท่ีเก่ียวของกับมวล ความเขมขนของสารละลาย และปริมาตรของแกสได

- ความสัมพันธของโมลสารตั้งตนและผลิตภัณฑในปฏิกิริยาเคมีหลายข้ันตอนพิจารณาไดจากเลขสัมประสิทธิ์ของสมการเคมีรวม

- ปฏิกิริยาเคมีท่ีสารตั้งตนทําปฏิกิริยาไมพอดีกัน สารตั้งตนท่ีทําปฏิกิริยาหมดกอน เรียกวา สารกําหนด

- ปริมาณคาเปรียบเทียบผลไดจริงกับผลไดตามทฤษฎีเปนรอยละเรียกวา ผลไดรอยละ

รวม ๓ หนวยการเรียนรู จํานวน ๑๓ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 218: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๕

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาพฤติกรรมของแกสอธิบายความสัมพันธและคํานวณปริมาตร ความดันหรืออุณหภูมิของแกสท่ีภาวะตางๆตามกฎของบอยลกฎของชารล กฎของเกย–ลูสแซกคํานวณปริมาตรความดันหรืออุณหภูมิจํานวนโมลหรือมวลของแกสของแกสท่ีภาวะตางๆตามกฎรวมแกส จากความสัมพันธตามกฎของอาโวกาโดรและกฎแกสอุดมคติคํานวณความดันยอยหรือจํานวนโมลของแกสในแกสผสมโดยใชกฎความดันยอยของดอลตันอธิบายการแพรของแกสโดยใชทฤษฎีจลนของแกส คํานวณและเปรียบเทียบอัตราการแพรของแกสโดยใชกฎการแพรผานของเกรแฮมอธิบายการประยุกตใชความรูเก่ียวกับสมบัติและกฎตางๆของแกสในการอธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจําวันและในอุตสาหกรรมวิเคราะหสารละลายอิเล็กโทรไลต ทฤษฎีกรด–เบส คูกรด–เบส การแตกตัวของกรดและเบส การแตกตัวของน้ําบริสุทธิ์pH ของสารละลาย ปฏิกิริยาของกรด–เบส การไทเทรตกรด–เบส อินดิเคเตอรสารละลายบัฟเฟอรศึกษาวิเคราะห เก่ียวกับปฏิกิริยารีดอกซ ประโยชนของปฏิกิริยารีดอกซ การดุลสมการรีดอกซโดยใชเลขออกซิเดชันและโดยใชครึ่งปฏิกิริยา เซลลไฟฟาเคมี เซลลกัลวานิก ศักยไฟฟาของเซลล ศักยไฟฟามาตรฐานของครึ่งเซลล แผนภาพของเซลลไฟฟา เซลลอิเล็กโทรไลตการผุกรอนของโลหะและการปองกัน ความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับเซลลไฟฟาเคมี

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงค

รหัสผลการเรียนรู

สาระเคมี ๑ ม.๕/๑-๖สาระเคมี ๒ ม.๕/๑-๓๒

รวมท้ังหมด ๓๘ ผลการเรียนรู

Page 219: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๖

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิตหนวย

ท่ีช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๑ พฤติกรรมและความสัมพันธของแกส

สาระเคมี ๑ม.๕/๑ม.๕/๒ม.๕/๓ม.๕/๔ม.๕/๕ม.๕/๖

-พฤติกรรมของแกสและความสัมพันธระหวางปริมาตรความดันและอุณหภูมิของแกสอธิบายไดดวยกฎของบอยลกฎของชารล กฎของเกย–ลูสแซกและกฎรวมแกส ซึ่งสามารถนํามาใชในการคํานวณปริมาตรความดันหรือ อุณหภูมิของแกสท่ีภาวะตาง ๆ ได- การคํานวณปริมาตร ความดันหรืออุณหภูมิ ของแกสท่ีภาวะตางๆไดโดยใชกฎของบอยล กฎของชารล กฎของเกย–ลูสแซกและกฎรวมแกส ได- ความสัมพันธระหวางปริมาตร

และจํานวนโมล หรือมวลของแกสอธิบายความสัมพันธไดดวย กฎของอาโวกาโดร สําหรับความสัมพันธระหวางปริมาตรความดันอุณหภูมิและจํานวนโมลของแกสอธิบายไดดวยกฎแกสอุดมคติ ซึ่งสามารถนํามาใชในการคํานวณและการอธิบายการเปลี่ยนแปลงท่ีเก่ียวของกับจํานวนโมลของแกสท่ีภาวะตางๆ ได

-ในธรรมชาติแกสสวนใหญอยูรวมกันเปนแกสผสมในกรณีท่ีแกสในแกสผสมไมทําปฏิกิริยากันความดันของแกสแตละชนิดแปรผันตามเศษสวนโมลของแกส ท่ีมีอยูในแกสผสมตามกฎความดันยอยของดอลตัน

๑๐ ๒๕

Page 220: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

พฤติกรรมและความสัมพันธของแกส (ตอ)

- แกสสามารถแพรไดการแพรของแกสอธิบาย ไดดวยทฤษฎีจลนของแกสท่ีอุณหภูมิเดียวกันแกสจะแพรไดชาหรือเร็วข้ึนอยูกับมวลโมเลกุลของแกสอัตราการแพรของแกสเปนสัดสวน ผกผันกับรากท่ีสองของมวลโมเลกุลของแกสสัมพันธกับกฎการแพรผานของเกรแฮม- สมบัติและกฎตาง ๆ ของแกส

สามารถนําไปใชอธิบายปรากฏการณ หรือประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และในอุตสาหกรรม

๒ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สาระเคมี ๒ม.๕/๑ม.๕/๒ม.๕/๓ม.๕/๔ม.๕/๕ม.๕/๖

-ปฏิกิริยาเคมีแตละปฏิกิริยามีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีตางกัน โดยอาจวัดจากการลดลงของสารตั้งตนหรือการเพ่ิมข้ึนของผลิตภัณฑ ตอหนึ่งหนวยเวลา และหารดวยเลขสัมประสิทธิ์ของสารนั้นๆ ในสมการเคมีเพ่ือใหไดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีท่ีเทากันไมวาจะเปนการวัดจากสารตั้งตนหรือผลิตภัณฑ- การคํานวณหาอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมีหาไดจากการลดลงของสารตั้งตนหรือการเพ่ิมข้ึนของผลิตภัณฑ ตอหนึ่งหนวยเวลาและหารดวยเลขสัมประสิทธิ์ของสารนั้นๆ ในสมการเคมีท่ีดุลแลว- ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดข้ึนไดก็

ตอเม่ืออนุภาคของสารตั้งตนชนกันในทิศทางท่ีเหมาะสมและมีพลังงานอยางนอยเทากับพลังงานกอกัมมันต

๑๐ ๒๕

Page 221: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี(ตอ)

- อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารหนึ่งๆ ข้ึนอยูกับความเขมขนพ้ืนท่ีผิวอุณหภูมิ ตัวเรงและตัวหนวงปฏิกิริยานอกจากนี้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมียังข้ึนอยูกับชนิดของสารท่ีทําปฏิกิริยาดวย- อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ

สารหนึ่งๆ ข้ึนอยูกับความเขมขนพ้ืนท่ีผิวอุณหภูมิ ตัวเรงและตัวหนวงปฏิกิริยานอกจากนี้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมียังข้ึนอยูกับชนิดของสารท่ีทําปฏิกิริยาดวย

- ความรูเก่ียวกับปจจัยท่ีมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถนํามาใชอธิบายกระบวนการท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันหรืออุตสาหกรรม

๓ สมดุลเคมี สาระเคมี ๒ม.๕/๗ม.๕/๘ม.๕/๙ม.๕/๑๐ม.๕/๑๑ม.๕/๑๒ม.๕/๑๓

- ปฏิกิริยาเคมีท่ีสามารถดําเนินไปขางหนาและยอนกลับไดเรียกวา ปฏิกิริยาผันกลับได เม่ือปฏิกิริยาดําเนินไปความเขมขนของสารตั้งตน และอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาจะลดลงเม่ือปฏิกิริยาดําเนินไปความเขมขนของสารตั้งตน และอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาจะลดลงสวนความเขมขนของผลิตภัณฑและอัตราการเกิดปฏิกิริยายอนกลับจะเพ่ิมข้ึน เม่ืออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยายอนกลับระบบจะอยูในภาวะสมดุล ท่ีมีความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑคงท่ีเรียกวา สมดุลพลวัต

๒๐ ๔๐

Page 222: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๑๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

สมดุลเคมี(ตอ) - ณ ภาวะสมดุล ความสัมพันธระหวางความเขมขนของผลิตภัณฑกับสารตั้งตน ยกกําลังดวยสัมประสิทธิ์แสดงจํานวนโมลในสมการท่ีดุลแลว แสดงไดดวยคาคงท่ีสมดุลซึ่งเปนคาคงท่ี ณอุณหภูมิหนึ่ง

- ณ ภาวะสมดุล ความสัมพันธระหวางความเขมขนของผลิตภัณฑกับสารตั้งตน แสดงไดดวยคาคงท่ีสมดุลซึ่งเปนคาคงท่ี ณ อุณหภูมิหนึ่ง

- คาคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาหลายข้ันตอน หาไดจากผลคูณของคาคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยายอยท่ีนําสมการเคมีมารวมกัน โดยถามีการคูณสมการยอยใหยกกําลังคาคงท่ีสมดุลดวยตัวเลขท่ีคูณและหากมีการกลับขางสมการใหกลับคาคงท่ีสมดุลเปนตัวหาร- เม่ือระบบท่ีอยูในภาวะสมดุลถูก

รบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสาร ความดันหรืออุณหภูมิ ระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพ่ือเขาสูภาวะสมดุลอีกครั้งตามหลักของเลอชาเตอลิเอท้ังนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมีผลทําใหคาคงท่ีสมดุลเปลี่ยนแปลง

- ความรูเก่ียวกับสมดุลเคมีสามารถนํามาใชอธิบายกระบวนการท่ีเกิดข้ึนในสิ่งมีชีวิตปรากฏการณในธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม

Page 223: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๔ กรด – เบส สาระเคมี ๒ม.๕/๑๔ม.๕/๑๕ม.๕/๑๖ม.๕/๑๗ม.๕/๑๘ม.๕/๑๙ม.๕/๒๐ม.๕/๒๑ม.๕/๒๒ม.๕/๒๓

- สารในชีวิตประจําวันหลายชนิดมีสมบัติเปนกรดหรือเบสซึ่งพิจารณาไดโดยใชทฤษฎีกรด-เบส ของอารเรเนียสเบรินสเตด–ลาวรี หรือลิวอิส

- ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด–ลาวรีเม่ือกรดหรือเบสละลายน้ําหรือทําปฏิกิริยากับสารอ่ืนจะมีการถายโอนโปรตอนระหวางสารตั้งตนท่ีเปนกรดและเบส เกิดเปนผลิตภัณฑซึ่งเปนโมเลกุลหรือไอออนท่ีเปนคูกรด-เบสของสารตั้งตนนั้น โดยสารท่ีเปนคูกรด-เบสกัน จะมีโปรตอนตางกัน ๑ โปรตอน

- กรดและเบสแตละชนิดสามารถแตกตัวในน้ําไดแตกตางกัน กรดแกหรือเบสแกสามารถแตกตัวเปนไอออนในน้ําไดเกือบสมบูรณ สวนกรดออนหรือเบสออนแตกตัวเปนไอออนไดนอยโดยความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดหรือเบสอาจพิจารณาไดจากคาคงท่ีการแตกตัวของกรดหรือเบส หรือปริมาณการแตกตัวเปนรอยละของกรดหรือเบส

Page 224: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๔ กรด – เบส(ตอ) -น้ําบริสุทธิ์ท่ีอุณหภูมิ ๒๕

องศาเซลเซียสแตกตัวใหไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซดไอออนท่ีมีความเขมขนเทากันคือ๑.๐ x ๑๐-๗ โมลตอลิตรโดยมีคาคงท่ีการแตกตัวของน้ําเทากับ๑.๐x ๑๐-๑๔

- เม่ือกรดหรือเบสแตกตัวในน้ําคาความเปนกรดเบสของสารละลายแสดงไดดวยคาpHซึ่งสัมพันธกับความเขมขนของไฮโดรเนียมไอออนโดยสารละลายกรดมีความเขมขนของไฮโดรเนียมไอออนมากกวา๑.๐ x ๑๐-๗ โมลตอลิตร หรือมีคาpH นอยกวา๗สวนสารละลายเบสมีความเขมขนของไฮโดรเนียมไอออนนอยกวา ๑.๐ x ๑๐-๗

โมลตอลิตร หรือมีคา pHมากกวา ๗

- ปฏิกิริยาสะเทินระหวางกรดแกและเบสแกใหสารละลายท่ีเปนกลางปฏิกิริยาสะเทินระหวางกรดแกและเบสออนใหสารละลายท่ีเปนกรด สวนปฏิกิริยาสะเทินระหวางกรดออนและเบสแก ใหสารละลายท่ีเปนเบส

Page 225: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๔ กรด – เบส(ตอ)

- เกลือท่ีไดจากการสะเทินของกรดแกดวยเบสออน เม่ือละลายในน้ําจะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไดสารละลายท่ีมีสมบัติเปนกรดสวนเกลือท่ีไดจากการสะเทินของกรดออนดวยเบสแก เม่ือละลายในน้ําจะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไดสารละลายท่ีมีสมบัติเปนเบส- การไทเทรตเปนเทคนิคใน

การวิเคราะหหาปริมาณหรือความเขมขนของสารท่ีทําปฏิกิริยาพอดีกัน

- จุดท่ีสารทําปฏิกิริยาพอดีกันเรียกวาจุดสมมูล ในทางปฏิบัติจุดสมมูลของปฏิกิริยาอาจไมสามารถสังเกตเห็นไดจึงสังเกต- จากการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอรเพ่ือบอกจุดยุติของการไทเทรตดังนั้นอินดิเคเตอรท่ีเหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบสควรเปนอินดิเคเตอรท่ีเปลี่ยนสีในชวง pHตรงกับ หรือใกลเคียงกับ pHของสารละลาย ณ จุดสมมูล

- ปริมาณกรดและเบสท่ีทําปฏิกิริยาพอดีกันจากการไทเทรตกรด-เบส สามารถนําไปคํานวณความเขมขนของกรดหรือเบสท่ีตองการทราบความเขมขนได

Page 226: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๔ กรด – เบส(ตอ)

- สารละลายบัฟเฟอรเปนสารละลายของกรดออน กับเกลือของกรดออนนั้นหรือเบสออนกับเกลือของเบสออนนั้นเม่ือเติมกรด เบส หรือน้ําจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงคาpH นอยกวา สารละลายท่ัวไปสมบัติเฉพาะของสารละลายบัฟเฟอรเปนประโยชนตอการควบคุม pHของระบบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- ความรูเก่ียวกับกรด-เบสสามารถนํามาใชประโยชนและแกปญหาในชีวิตประจําวันเกษตรกรรมอุตสาหกรรม และการแพทย

๕ ไฟฟาเคมี สาระเคมี ๒ม.๕/๒๔ม.๕/๒๕ม.๕/๒๖ม.๕/๒๗ม.๕/๒๘ม.๕/๒๙ม.๕/๓๐ม.๕/๓๑ม.๕/๓๒

- เคมีไฟฟาเปนการศึกษาเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงระหวางพลังงานไฟฟาและการเกิดปฏิกิริยาเคมีท่ีมีการถายโอนอิเล็กตรอนแลวทําใหเกิดการปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ซึ่งเปนเลขท่ีแสดงประจุไฟฟาหรือประจุไฟฟาสมมติของอะตอมธาตุเรียกปฏิกิริยาชนิดนี้วาปฏิกิริยารีดอกซ

๑๐ ๑๐

Page 227: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

- ปฏิกิริยารีดอกซมีท้ังครึ่งปฏิกิริยาท่ีมีการใหอิเล็กตรอนเรียกวา ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยาท่ีมีการรับอิเล็กตรอน เรียกวาครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน โดยสารท่ีใหอิเล็กตรอน จะมีเลขออกซิเดชันเพ่ิมข้ึนเรียกวาตัวรีดิวซ สวนสารท่ีรับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันลดลง เรียกวาตัวออกซิไดส

๕ ไฟฟาเคมี(ตอ) - การเปรียบเทียบความสามารถในการเปนตัวรีดิวซหรือตัวออกซิไดส สามารถพิจารณาไดจากผลการทดลองของปฏิกิริยารีดอกซ

- ปฏิกิริยารีดอกซเขียนแทนไดดวยสมการรีดอกซ ซึ่งการดุลสมการรีดอกซ ทําไดโดยการใชเลขออกซิเดชันและวิธีครึ่งปฏิกิริยา

- เซลลเคมีไฟฟาประกอบดวยแอโนดแคโทดและสารละลายอิเล็กโทรไลตซึ่งอาจเชื่อมตอกันดวยสะพานเกลือโดยท่ีแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และแคโทดเกิดปฏิกิริยารีดักชันทําให- อิเล็กตรอน เคลื่อนท่ีจากแอโนดไปแคโทด เซลลเคมีไฟฟาสามารถเขียนแสดงไดดวยแผนภาพเซลล

๑๐

Page 228: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๕ ไฟฟาเคมี(ตอ) - คาศักยไฟฟามาตรฐานของเซลลคํานวณไดจาก คาศักยไฟฟามาตรฐานของครึ่งเซลลถาคาศักยไฟฟาของเซลลเปนบวกแสดงวาปฏิกิริยารีดอกซเกิดข้ึนไดเองซึ่งทําใหเกิดกระแสไฟฟาเรียกเซลลชนิดนี้วาเซลลกัลวานิกแตถาคาศักยไฟฟาของเซลลเปนลบแสดงวาปฏิกิริยารีดอกซไมสามารถเกิดไดเองตองมีการใหกระแสไฟฟาจึงจะเกิดปฏิกิริยาได เซลลชนิดนี้เรียกวาเซลลอิเล็กโทรลิติเซลลเคมีไฟฟาสามารถนําไปใชประโยชนไดในชีวิตประจําวัน เชนแบตเตอรี่ซึ่งมีท้ังเซลลปฐมภูมิและเซลลทุติยภูมิโดยปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดข้ึนภายในเซลลปฐมภูมิ ไมสามารถทําใหเกิดปฏิกิริยายอนกลับไดโดยการประจุไฟ จึงไมสามารถนํากลับมาใชไดอีกปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดข้ึนภายในเซลลทุติยภูมิสามารถทําใหเกิดปฏิกิริยายอนกลับไดโดยการประจุไฟจึงนํากลับมาใชไดอีก

Page 229: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

- เซลลอิเล็กโทรลิติกสามารถนําไปใชประโยชนไดท้ังในชีวิตประจําวัน และในอุตสาหกรรม หลายประเภทเชน การชุบโลหะการแยกสารเคมีดวยกระแสไฟฟาการทําโลหะใหบริสุทธิ์การปองกันการกัดกรอนของโลหะ

- ปฏิกิริยาเคมีหลายปฏิกิริยาท่ีพบในชีวิตประจําวันเปนปฏิกิริยารีดอกซ เชนปฏิกิริยาการเผาไหม ปฏิกิริยาในเซลลเคมีไฟฟา ซึ่งความรูเรื่องเซลลเคมีไฟฟาและความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับเซลลเคมีไฟฟานําไปสูนวัตกรรมดานพลังงานท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

รวม ๕ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๓๘ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 230: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาความหมาย โครงสราง การเกิดพันธะของสารประกอบอินทรีย การเขียนสูตรโครงสรางลิวอิส สูตรโครงสรางแบบยอหรือสูตรโครงสรางแบบเสน การแบงประเภทของสารประกอบอินทรียโดยใชหมูฟงกชันเปนเกณฑไดเปนแอลเคน แอลคีนแอลไคนอะโรมาติกไฮโดรคารบอน แอลกอฮอล อีเทอรเอมีนแอลดีไฮดคีโตน กรดคารบอกซิลิกเอสเทอร เอไมดการเรียกชื่อสารประกอบอินทรียการเกิดปรากฎการณไอโซเมอริซึม แนวโนมของจุดหลอมเหลวและจุดเดือด การละลายน้ําของสารประกอบอินทรีย การเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม ปฏิกิริยากับโบรมีนและปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนตปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคชัน และประโยชนของสารอินทรียในชีวิตประจําวัน ศึกษาความหมาย ปฏิกิริยาการสังเคราะห พอลิเมอร โครงสราง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร รวมท้ังการใชประโยชนและผลกระทบจากการผลิตภัณฑของพอลเิมอร

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงคผลการเรียนรู

สาระเคมี ๑ ม.๖/๑-๑๕รวมท้ังหมด ๑๕ ผลการเรียนรู

Page 231: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๘

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๑ สารประกอบอินทรีย

สาระเคมี ๑ม.๖/๑ม.๖/๒ม.๖/๓ม.๖/๔ม.๖/๕ม.๖/๖ม.๖/๗ม.๖/๘ม.๖/๙

ม.๖/๑๐

- สารประกอบอินทรียเปน สารประกอบของคารบอนสวนใหญพบในสิ่งมีชีวิต มีโครงสรางหลากหลายและแบงไดหลายประเภท เนื่องจากธาตุคารบอนสามารถเกิดพันธะกับคารบอนดวยกันเองและธาตุอ่ืน ๆ นอกจากนี้พันธะระหวางคารบอนยังมีหลายรูปแบบ ไดแก พันธะเดี่ยว พันธะคู พันธะสาม

-โครงสรางของสารประกอบอินทรียแสดงไดดวย สูตรโครงสรางลิวอิส สูตรโครงสรางแบบยอหรือสูตรโครงสรางแบบเสน

- สารประกอบอินทรียมีหลายประเภทประเภทของสารประกอบอินทรียอาจใชหมูฟงกชันเปนเกณฑไดเปนแอลเคนแอลคีน แอลไคน อะโรมาติกไฮโดรคารบอนแอลกอฮอล อีเทอร เอมีน แอลดีไฮด คีโตนกรดคารบอกซิลิก เอสเทอร เอไมด

- การเรียกชื่อสารประกอบอินทรียจะเรียกตามระบบ IUPAC หรือ

อาจเรียกโดยใชชื่อสามัญ- ปรากฏการณท่ีสารมีสูตรโมเลกุล

เหมือนกันแตมีสมบัติแตกตางกัน เรียกวาไอโซเมอริซึม และเรียกสารแตละชนิดวาไอโซเมอร

- สารประกอบอินทรียท่ีมีหมูฟงกชันขนาดโมเลกุล หรือโครงสรางของสารตางกันจะมีจุดเดือดและ การละลายในน้ําตางกัน

๓๖ ๖๕

Page 232: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๒๙

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

- สารประกอบอินทรียประเภทแอลเคนแอลคีน แอลไคน อะโรมาติกไฮโดรคารบอน เม่ือเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม ปฏิกิริยากับโบรมีนและปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต จะใหผลของปฏิกิริยาตางกัน

- กรดคารบอกซิลิกทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอลไดเปนเอสเทอร เรียกวาปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคชัน

- สารประกอบอินทรียสามารถนําไปใชประโยชน ไดมากมายในชีวติประจําวนัรวมทั้งนําไปใชเปน สารตั้งตนและตัวทาํละลายในอุตสาหกรรมดานตาง ๆ เชนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงและพลังงานอุตสาหกรรมอาหารและยา อุตสาหกรรมเกษตร

๒ พอลิเมอร สาระเคมี ๑ม.๖/๑๑ม.๖/๑๒ม.๖/๑๓ม.๖/๑๔ม.๖/๑๕

- พอลิเมอรเปนสารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญซึ่งประกอบดวยหนวยยอยท่ีเรียกวามอนอเมอร เชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต โดยมีท้ังพอลิเมอรธรรมชาติและพอลิเมอรสังเคราะห ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร อาจเปนปฏิกิริยาแบบควบแนนหรือปฏิกิริยาแบบเติม

- พอลิเมอรมีโครงสรางตางกันอาจเปนโครงสราง แบบเสน แบบก่ิง หรือแบบรางแห ข้ึนอยูกับชนิดของมอนอเมอรและภาวะของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร

- พอลิเมอรท่ีใหความรอนแลวสามารถนํากลับมา ข้ึนรูปใหมได เรียกวา พอลิเมอรเทอรมอพลาสติก สวนใหญมีโครงสรางแบบเสนและแบบก่ิงสวนพอลิเมอรท่ีใหความรอนแลวไมออนตัวจึงไมสามารถนํากลับมาข้ึนรูปใหมไดเรียกวาพอลิเมอรเทอรมอเซต มีโครงสรางแบบรางแห

๒๔ ๓๕

Page 233: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๐

หนวยท่ี ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

- พลาสติกมีท้ังท่ีเปนพอลิเมอรเทอรมอพลาสติกและพอลิเมอรเทอรมอเซตผลิตภัณฑยางเปนพอลิเมอรเทอรมอเซตซึ่งทําใหมีสมบัติและการนําไปใชประโยชนตางกัน

รวม ๒หนวยการเรียนรู

๑๕ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 234: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๑

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

นําความรูทางเคมีไปใชประโยชนหรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม การศึกษาและการแกปญหาในสถานการณ หรือประเด็นท่ีสนใจทําไดโดยการบูรณาการความรู ทางเคมีรวมกับวิทยาศาสตรแขนงอ่ืน รวมท้ังคณิตศาสตร เทคโนโลยี การนําเสนองานหรือแสดงผลงาน การเปดโอกาสใหผูมีสวนรวมไดแลกเปลี่ยนแนวคิดผลงานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือประกอบการนําเสนอการสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการรวมแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐในงานนิทรรศการ

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมโดยเนนการคิดวิเคราะห แกปญหาและความคิดสรางสรรค ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ นําความรูและหลักการไปใชประโยชน เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีจิตวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินแกปญหา เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีพ่ึงประสงค

ผลการเรียนรู

สาระเคมี ๓ ม.๖/๑-๔

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู

Page 235: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๒

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู

สาระสําคัญ ช่ัวโมง คะแนน

๑ เคมีในชีวิตประจําวัน

สาระเคมี ๓ม.๖/๑ม.๖/๒

- นําความรูทางเคมีไปใชประโยชนหรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม

- การศึกษาและการแกปญหาในสถานการณ หรือประเด็นท่ีสนใจทําไดโดยการบูรณาการความรู ทางเคมีรวมกับวิทยาศาสตรแขนงอ่ืน รวมท้ังคณิตศาสตรเทคโนโลยี และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรหรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนนการคิดวิเคราะหแกปญหาและความคิดสรางสรรค

๓๐ ๕๐

๒ สัมมนาทางเคมี

สาระเคมี ๓ม.๖/๓ม.๖/๔

- การนําเสนองานหรือแสดงผลงาน การเปดโอกาสใหผูมีสวนรวมไดแลกเปลี่ยนแนวคิดผลงาน รวมท้ังเพ่ิมโอกาสในการพัฒนางานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือประกอบการนําเสนอ ซึ่งจะทําใหการสื่อสารมีประสิทธิภาพมากข้ึน

- การสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการรวมแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐในงานนิทรรศการ เปนการเปดโอกาสใหผูมีสวนรวมไดแลกเปลี่ยนความคิด แสดงทัศนคติตอกรณีศึกษา สถานการณ หรือประเด็นสําคัญทางเคมี ซึ่งชวยสงเสริมใหพัฒนากระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการใชเทคโนโลยี เพ่ือการคนควาและการสื่อสาร ซึ่งสามารถทําไดหลายระดับ โดยอาจเปนระดับชั้นเรียน โรงเรียน กลุมโรงเรียน ชุมชน ระดับชาติ หรือนานาชาติ

๓๐ ๕๐

รวม ๒ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๔ ผลการเรียนรู

๖๐ ๑๐๐

Page 236: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๓

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิต การใชความรูและกระบวนการทางชีววิทยาท่ีเปนประโยชนตอมนุษยและสิ่งแวดลอม การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร และการนําความรูเก่ียวกับชีววิทยามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ศึกษาโครงสรางและหนาท่ีของสวนประกอบของเซลลดวยกลองจุลทรรศน การแพร การออสโมซิส การแพรแบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอรต การลําเลียงสารผานเซลล การสื่อสารระหวางเซลล การแบงเซลล การเปลี่ยนสภาพของเซลลการชราภาพของเซลล และการหายใจระดับเซลล การถายทอดทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล กฎแหงการแยกและกฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเปนสวนขยายของพันธุสาสตรเมนเดล ศึกษาเก่ียวกับยีนและโครโมโซม การคนพบสารพันธุกรรม โครโมโซมองคประกอบทางเคมีของ DNA โครงสรางของ DNA สมบัติของสารพันธุกรรม มิวเทชัน ศึกษาเก่ียวกับพันธุศาสตรและเทคโนโลยีทาง DNA พันธุวิศวกรรม การประยุกตใชเทคโนโลยีทาง DNA ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทาง DNA และมุมมองทางสังคมและจริยธรรม ศึกษาเก่ียวกับวิวัฒนาการหลักฐานท่ีบงบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตรประชากร กําเนิดของสปชีส

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาสาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพ่ือใหเกิดความรู ความคิดความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหเกิดจิตวิทยาศาสตร ชีวจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

๑. อธิบายและสรุปสมบัติท่ีสําคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตท่ีทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยูได

๒. อภิปรายและบอกความสําคัญของการระบุ ปญหา ความสัมพันธระหวางปญหา สมมติฐานและวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้ัง ออกแบบกํารทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน

๓. สืบคนขอมูล อธิบายเก่ียวกับสมบัติของน้ํา และบอกความสําคัญของน้ําท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต และยกตัวอยางธาตุชนิดตาง ๆ ท่ีมีความสําคัญ ตอรางกายสิ่งมีชีวิต

๔. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของ คารโบไฮเดรต ระบุกลุมของคารโบไฮเดรต รวมท้ังความสําคัญของคารโบไฮเดรตท่ีมีตอ สิ่งมีชีวิต

๕. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของโปรตีน และความสําคัญของโปรตีนท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๖. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของลิพิด และความสําคัญของลิพิดท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๗. อธิบายโครงสรางของกรดนิวคลิอิก และ ระบุชนิดของกรดนิวคลิอิกและความสําคัญของ

กรดนิวคลิอิกท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๘. สืบคนขอมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมี ท่ีเกิดข้ึนในสิ่งมีชีวิต๙. อธิบายการทํางานของเอนไซมในการเรง ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตและระบุปจจัยท่ีมีผล ตอ

การทํางานของเอนไซม

Page 237: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๔

๑๐. บอกวิธีการและเตรียมตัวอยางสิ่งมีชีวิต เพ่ือศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนใชแสง วัด ขนาดโดยประมาณและวาดภาพท่ีปรากฏ ภายใตกลอง บอกวิธีการใช และการดูแลรักษา กลองจุลทรรศนใชแสงท่ีถูกตอง

๑๑. อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของสวน ท่ีหอหุมเซลลของเซลลพืชและเซลลสัตว๑๒. สืบคนขอมูล อธิบาย และระบุชนิดและ หนาท่ีของออรแกเนลล๑๓. อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของนิวเคลียส๑๔. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร ออสโมซิส การแพรแบบฟาซิลิเทต และ แอกทีฟทราน

สปอรต๑๕. สืบคนขอมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพ การลําเลียงสารโมเลกุลใหญออกจากเซลลดวย

กระบวนการเอกโซไซโทซิสและการลําเลียงสาร โมเลกุลใหญเขาสูเซลลดวยกระบวนการ เอนโดไซโทซิส๑๖. สังเกตการแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสและ แบบไมโอซิสจากตัวอยางภายใตกลอง

จุลทรรศน พรอมท้ังอธิบายและเปรียบเทียบ การแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบ ไมโอซิส๑๗. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปข้ันตอน การหายใจระดับเซลลในภาวะท่ีมีออกซิเจน

เพียงพอและภาวะท่ีมีออกซิเจนไมเพียงพอ๑๘. สืบคนขอมูล อธิบายและสรุปผลกํารทดลองของเมนเดล๑๙. อธิบายและสรุปกฎแหงการแยกและกฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ และนํากฎของเมน

เดลนี้ไปอธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและใชในการคํานวณโอกาสในการเกิดฟโนไทปและจีโนไทปแบบตาง ๆ ของรุน F๑และ F๒

๒๐. สืบคนขอมูล วิเคราะห อธิบาย และสรุปเก่ียวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเปนสวนขยายของ พันธุศาสตรเมนเดล

๒๑. สืบคนขอมูล วิเคราะห และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไมตอเนื่องและลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันตอเนื่อง

๒๒. อธิบายการถายทอดยีนบนโครโมโซมและยกตัวอยางลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมดวยยีนบนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ

๒๓. สืบคนขอมูล อธิบายสมบัติและหนาท่ีของสารพันธุกรรม โครงสรางและองคประกอบทางเคมีของ DNA และสรุปการจําลอง DNA

๒๔. อธิบายและระบุข้ันตอนในกระบวนการสังเคราะหโปรตีนและหนาท่ีของ DNA และ RNAแตละชนิดในกระบวนการสังเคราะหโปรตีน

๒๕. สรุปความสัมพันธระหวางสารพันธุกรรมแอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และเชื่อมโยงกับความรูเรื่องพันธุศาสตรเมนเดล

๒๖. สืบคนขอมูล และอธิบายการเกิดมิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน รวมท้ังยกตัวอยางโรคและกลุมอาการท่ีเปนผลของการเกิดมิวเทชัน

๒๗. อธิบายหลักการสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมโดยใชดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท๒๘. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง และอภิปรายการนําเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกตท้ังในดาน

สิ่งแวดลอม นิติวิทยาศาสตรการแพทย การเกษตร และอุตสาหกรรม และขอควรคํานึงถึงดานชีวจริยธรรม

๒๙. สืบคนขอมูลและอธิบายเก่ียวกับหลักฐานท่ีสนับสนุนและขอมูลท่ีใชอธิบายการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

Page 238: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๕

๓๐. อธิบายและเปรียบเทียบแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามารกและทฤษฎีเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของชาลสดารวิน

๓๑. ระบุสาระสําคัญและอธิบายเงื่อนไขของภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรก ปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความถ่ีของแอลลีลในประชากร พรอมท้ังคํานวณหาความถ่ีของแอลลีลและจีโนไทปของประชํากรโดยใชหลักของฮารดี-ไวนเบิรก

๓๒. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเกิดสปชีสใหมของสิ่งมีชีวิต

รวมท้ังหมด ๓๒ ผลการเรียนรู

Page 239: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๖

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๔๑ ชีววิทยา ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

๑.อธิบายและสรุปสมบัติท่ีสําคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิต ท่ีทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยูได๒.อภิปรายและบอกความสําคัญของการระบุปญหา ความสัมพันธระหวางปญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้ังออกแบบกํารทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน

- ลักษณะของสิ่งมีชีวิต-ความสัมพันธของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิต- ชีววิทยาคืออะไร- ชีววิทยากับการดํารงชีวิต- ชีววิทยาจริยธรรม- การศึกษาชีววิทยา

๕ ๑๐

๒ เคมีท่ีเปนพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต

๓. สืบคนขอมูล อธิบายเก่ียวกับสมบัติของน้ํา และบอกความสําคัญของน้ําท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต และยกตัวอยางธาตุชนิดตาง ๆ ท่ีมีความสําคัญ ตอรางกายสิ่งมีชีวิต๔. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของ คารโบไฮเดรตระบุกลุมของคารโบไฮเดรตรวมท้ังความสําคัญของคารโบไฮเดรตท่ีมีตอ สิ่งมีชีวติ

- สารอนินทรีย- สมบัติของน้ํา- ธาตุชนิดตาง ๆ ท่ีมีความสําคัญ ตอรางกายสิ่งมีชีวิต- สารอินทรีย- ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต

๑๐ ๑๘

Page 240: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๕. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของโปรตีน และความสําคัญของโปรตีนท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๖. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางของลิพิด และความสําคัญของลิพิดท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๗. อธิบายโครงสรางของกรดนิวคลิอิก และ ระบุชนิดของกรดนิวคลิอิกและความสําคัญของ กรดนิวคลิอิกท่ีมีตอสิ่งมีชีวิต๘. สืบคนขอมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมี ท่ีเกิดข้ึนในสิ่งมีชีวิต๙. อธิบายการทํางานของเอนไซมในการเรง ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตและระบุปจจัยท่ีมีผล ตอการทํางานของเอนไซม

๓ เซลลของสิ่งมีชีวิต

๑๐. บอกวิธีการและเตรียมตัวอยางสิ่งมีชีวิต เพ่ือศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนใชแสงวัด ขนาดโดยประมาณและวาดภาพท่ีปรากฏ ภายใตกลอง บอกวิธีการใช และการดูแลรักษา กลองจุลทรรศนใชแสงท่ีถูกตอง๑๑. อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของสวน ท่ีหอหุมเซลลของเซลลพืชและเซลลสัตว

- เซลลและทฤษฎีเซลล- ชนิดของเซลล- โครงสรางของเซลลท่ีศึกษาดวยกลองจุลทรรศน- การสื่อสารระหวางเซลล- การเปลี่ยนสภาพของเซลลและการชราภาพของเซลล- การแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอซิส- การหายใจระดับเซลล

๑๕ ๒๕

Page 241: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๓ เซลลของสิ่งมีชีวิต

๑๒. สืบคนขอมูล อธิบายและระบุชนิดและ หนาท่ีของออรแกเนลล๑๓. อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของนิวเคลียส๑๔. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร ออสโมซิส การแพรแบบฟาซิลิเทต และ แอกทีฟทรานสปอรต๑๕. สืบคนขอมูล อธิบายและเขียนแผนภาพ การลําเลียงสารโมเลกุลใหญออกจากเซลลดวย กระบวนการเอกโซไซโทซิสและการลําเลียงสาร โมเลกุลใหญเขาสูเซลลดวยกระบวนการ เอนโดไซโทซิส๑๖. สังเกตการแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสและ แบบไมโอซิสจากตัวอยางภายใตกลองจุลทรรศน พรอมท้ังอธิบายและเปรียบเทียบ การแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบ ไมโอซิส๑๗. อธิบาย เปรียบเทียบและสรุปข้ันตอน การหายใจระดับเซลลในภาวะท่ีมีออกซิเจน เพียงพอและภาวะท่ีมีออกซิเจนไมเพียงพอ

Page 242: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๓๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๔ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

๑๘. สืบคนขอมูล อธิบายและสรุปผลกํารทดลอง ของเมนเดล๑๙. อธิบายและสรุปกฎแหงการแยกและกฎแหง การรวมกลุมอยางอิสระ และนํากฎของเมนเดล นี้ไปอธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และใชในการคํานวณโอกาสในการเกิด ฟโนไทปและจีโนไทปแบบตาง ๆของรุน F๑ และ F๒๒๐. สืบคนขอมูล วิเคราะหอธิบาย และสรุป เก่ียวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ท่ีเปนสวนขยายของ พันธุศาสตรเมนเดล

- การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล- กฎแหงการแยกและการรวมกลุมอยางอิสระ- ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเปนสวนขยายของพันธุศาสตรเมนเดล

๑๐ ๑๒

๕ ยีนและโครโมโซม

๒๑. สืบคนขอมูล อธิบายสมบัติและหนาท่ีของ สารพันธุกรรม โครงสรางและองคประกอบ ทางเคมีของDNA และสรุปการจําลองDNA๒๒. อธิบายและระบุข้ันตอนในกระบวนการ สังเคราะหโปรตีนและหนาท่ีของ DNAและ RNA แตละชนิดในกระบวนการสังเคราะหโปรตีน๒๓. สรุปความสัมพันธระหวางสารพันธุกรรม แอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และ เชื่อมโยงกับความรูเรื่องพันธุศาสตรเมนเดล

- การคนพบสารพันธุกรรม- โครโมโซม- ดีเอ็นเอ- สมบัติของสารพันธุกรรม- มิวเทชัน

๑๐ ๑๕

Page 243: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๐

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒๔. สืบคนขอมูล และอธิบายการเกิดมิวเทชัน ระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิด มิวเทชัน รวมท้ังยกตัวอยางโรคและกลุมอาการ ท่ีเปนผลของการเกิดมิวเทชัน

๖ พันธุศาสตรและเทคโนโลยี

๒๕. อธิบายหลักการสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรมโดยใชดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท๒๖. สืบคนขอมูล ยกตัวอยางและอภิปราย การนําเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต ท้ังในดานสิ่งแวดลอม นิติวิทยาศาสตรการแพทย การเกษตร และอุตสาหกรรม และ ขอควรคํานึงถึงดานชีวจริยธรรม

- เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ- การประยุกตใชเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

๔ ๑๐

๗ วิวัฒนาการ ๒๗. สืบคนขอมูลและอธิบายเก่ียวกับหลักฐาน ท่ีสนับสนุนและขอมูลท่ีใชอธิบายการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต๒๘. อธิบายและเปรียบเทียบแนวคิดเก่ียวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามารก และทฤษฎีเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ของชาลส ดารวิน

- หลักฐานท่ีบงบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต- แนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต- พันธุศาสตรประชากร- กําเนิดของสปชีส

๕ ๑๐

Page 244: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๑

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒๙. ระบุสาระสําคัญและอธิบายเงื่อนไขของ ภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรกปจจัยท่ีทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงความถ่ีของแอลลีล ในประชากร พรอมท้ังคํานวณหาความถ่ีของ แอลลีลและจีโนไทปของประชํากรโดยใชหลัก ของฮารดี-ไวนเบิรก๓๐. สืบคนขอมูล อภิปรายและอธิบาย กระบวนการเกิดสปชีสใหมของสิ่งมีชีวิต

รวม ๗ หนวยการเรียนรู จํานวน ๓๒ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 245: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๒

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาสวนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแกสการคายน้ําของพืชการลําเลียง การสังเคราะหดวยแสง การสืบพันธุของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพืช รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชนการสํารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบคนขอมูล และการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรูความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอ่ืน เฝาระวังและพัฒนาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรม และ คานิยมท่ีเหมาะสม กระบวนการสังเคราะหแสงของพืชปจจัยท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การทดลอง อภิปราย และสรุป เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชในชีวิตของตนเอง

เพ่ือใหมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรมคุณธรรม และคานิยมผลการเรียนรู

๑. อธิบายเก่ียวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผังเพ่ือสรุปชนิดของเนื้อเยื่อพืช

๒. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคูจากการตัดตามขวาง

๓. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางภายในของลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลําตนพืชใบเลี้ยงคูจากการตัดตามขวาง

๔. สังเกต และอธิบายโครงสรางภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง๕. สืบคนขอมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปลี่ยนแกสและการคายน้ําของพืช๖. สืบคนขอมูลและอธิบายกลไกการลําเลียงน้ําและธาตุอาหารของพืช๗. สืบคนขอมูล อธิบายความสําคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอยางธาตุอาหารท่ีสําคัญท่ีมีผลตอ

การเจริญเติบโตของพืช๘. อธิบายกลไกการลําเลียงอาหารในพืช๙. สืบคนขอมูลและสรุปการศึกษาท่ีไดจากการทดลองของนักวิทยาศาสตรในอดีตเก่ียวกับ

กระบวนการสังเคราะหดวยแสง๑๐. อธิบายข้ันตอนท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช C๓๑๑. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคารบอนไดออกไซดในพืช C๓พืช C๔และพืช CAM๑๒. สืบคนขอมูล อภิปรายและสรุปปจจัยความเขมของแสง ความเขมขนของ

คารบอนไดออกไซด และอุณหภูมิ ท่ีมีผลตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช๑๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก๑๔. อธิบายและเปรียบเทียบกระบวนการสรางเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียของพืชดอกและ

อธิบายการปฏิสนธิของพืชดอก

Page 246: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๓

๑๕. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสรางของเมล็ดและผล และยกตัวอยางการใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ ของเมล็ดและผล

๑๖. ทดลอง และอธิบายเก่ียวกับปจจัยตาง ๆท่ีมีผลตอกํารงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ดและบอกแนวทางในการแกสภาพพักตัวของเมล็ด

๑๗. สืบคนขอมูล อธิบายบทบาทและหนาท่ีของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลินเอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปรายเก่ียวกับการนําไปใชประโยชนทางการเกษตร

๑๘. สืบคนขอมูล ทดลอง และอภิปรายเก่ียวกับสิ่งเราภายนอกท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช

รวมท้ังหมด ๑๘ ผลการเรียนรู

Page 247: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๔

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ โครงสรางหนาท่ีของพืชดอก

๑. อธิบายเก่ียวกับชนิดและลักษณะของ เนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผังเพ่ือสรุปชนิดของ เนื้อเยื่อพืช๒. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสราง ภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืช ใบเลี้ยงคูจากการตัดตามขวาง๓. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสราง ภายในของลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลําตนพืช ใบเลี้ยงคูจากการตัดตามขวาง๔. สังเกต และอธิบายโครงสรางภายในของใบ พืชจากการตัดตามขวาง๕. สืบคนขอมูล สังเกต และอธิบายการ แลกเปลี่ยนแกสและการคายน้ําของพืช๖. สืบคนขอมูลและอธิบายกลไกการลําเลียงน้ํา และธาตุอาหารของพืช๗. สืบคนขอมูล อธิบายความสําคัญของธาตุ อาหาร และยกตัวอยางธาตุอาหารท่ีสําคัญท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช๘. อธิบายกลไกการลําเลียงอาหารในพืช

- โครงสรางและหนาท่ีของราก- โครงสรางภายในของลํา ตนพืช- โครงสรางและหนาท่ีของใบ- การคายน้ําของพืช- การลําเลียงน้ําของพืช- การลําเลียงธาตุอาหารของพืช

๒๐ ๔๐

Page 248: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒ การสังเคราะหดวยแสงของพืช

๙. สืบคนขอมูลและสรุปการศึกษาท่ีไดจาก การทดลองของนักวิทยาศาสตรในอดีตเก่ียวกับกระบวนการสังเคราะหดวยแสง๑๐. อธิบายข้ันตอนท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการ สังเคราะหดวยแสงของพืช C๓๑๑. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคารบอนไดออกไซดในพืช C๓ พืชC๔ และ พืช CAM๑๒. สืบคนขอมูล อภิปรายและสรุปปจจัย ความเขมของแสงความเขมขนของคารบอนไดออกไซด และอุณหภูมิท่ีมีผลตอ การสังเคราะหดวยแสงของพืช

- การคนควาท่ีเก่ียวของกับกระบวนการสังเคราะหดวยแสง- กระบวนการสังเคราะหดวยแสง- โฟโตเรสไพเรชัน- กลไกการเพ่ิมความเขนขนของ CO๒ ในพืช C๔- กลไกการเพ่ิมความเขมขนของคารบอนไดออกไซดของพืชซีเอเอ็ม (CAM)- ปจจัยบางประการท่ีมีผลตออัตราการสังเคราะหดวยแสง- การปรับตัวของพืชเพ่ือรับแสง

๑๕ ๒๐

๓ การสืบพันธุของพืชดอก

๑๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก๑๔. อธิบายและเปรียบเทียบกระบวนการสราง เซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียของพืชดอก และอธิบายการปฏิสนธิของพืชดอก๑๕. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของ พืชดอก โครงสรางของเมล็ดและผล และ ยกตัวอยางการใชประโยชนจากโครงสราง ตาง ๆของเมล็ดและผล๑๖. ทดลอง และอธิบายเก่ียวกับปจจัยตาง ๆ ท่ีมีผลตอกํารงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของ เมล็ด และบอกแนวทางในการแกสภาพพักตัวของเมล็ด

- การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก- การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุพืช- การวัดการเจริญเติบโตของพืช

๑๕ ๒๕

Page 249: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๔ การตอบสนองของพืช

๑๗. สืบคนขอมูล อธิบายบทบาทและหนาท่ี ของออกซิน ไซโทไคนินจิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปราย เก่ียวกับการนําไปใชประโยชนทางการเกษตร๑๘. สืบคนขอมูล ทดลอง และอภิปราย เก่ียวกับสิ่งเราภายนอกท่ีมีผลตอการ เจริญเติบโตของพืช

- สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช- การตอบสนองของพืชตอสิ่งแวดลอม

๑๐ ๒๕

รวม ๓ หนวยการเรียนรู จํานวน ๑๘ ตัวช้ีวัด ๖๐ ๑๐๐

Page 250: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๗

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห สํารวจ ทดลอง อธิบาย อภิปราย และสรุปเก่ียวกับการยอยอาหารของสัตวและมนุษยการหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส การลําเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุมกันของรางกายการขับถาย การรับรู และการตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การสืบพันธุและการเจริญเติบโต ฮอรโมนกับ การรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล อภิปรายเปรียบเทียบ การทํานาย และการทดลอง เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

เพ่ือใหมีจิตวิทยาศาสตร มีชีวจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

๑. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางและกระบวนการยอยอําหารของสัตวท่ีไมมีทางเดินอาหาร สัตวท่ีมีทางเดินอาหารแบบไมสมบูรณ และสัตวท่ีมีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ

๒. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดราและพลนาเรีย๓. อธิบายเก่ียวกับโครงสราง หนาท่ี และกระบวนการยอยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร

ภายในระบบยอยอาหารของมนุษย๔. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางท่ีทําหนาท่ีแลกเปลี่ยนแกสของฟองน้ํา

ไฮดราพลานาเรีย ไสเดือนดิน แมลงปลา กบ และนก๕. สังเกต และอธิบายโครงสรางของปอดในสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม๖. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางท่ีใชในการแลกเปลี่ยนแกสและกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส

ของมนุษย๗. อธิบายการทํางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย๘. สืบคนขอมูล อธิบายและเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปดและระบบหมุนเวียน

เลือดแบบปด๙. สังเกตและอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนท่ีของเซลลเม็ดเลือดในหางปลา

และสรุปความสัมพันธระหวางขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด๑๐. อธิบายโครงสรางและการทํางานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย๑๑. สังเกตและอธิบายโครงสรางหัวใจของสัตวเลี้ยงลูก ดวยน้ํานม ทิศทางการไหลของเลือด

ผานหัวใจของมนุษย และเขียนแผนผังสรุปการหมุนเวียนเลือดของมนุษย๑๒. สืบคนขอมูล ระบุความแตกตางของเซลลเม็ดเลือดแดง เซลลเม็ดเลือดขาว เพลตเลตและ

พลาสมา๑๓. อธิบายหมูเลือดและหลักการใหและรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh๑๔. อธิบาย และสรุปเก่ียวกับสวนประกอบและหนาท่ีของน้ําเหลือง รวมท้ังโครงสรางและ

หนาท่ีของหลอดน้ําเหลือง และ ตอมน้ําเหลือง๑๕. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม

จําเพาะและแบบจําเพาะ

Page 251: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๘

๑๖. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบการสรางภูมิคุมกันกอเองและภูมิคุมกันรับมา๑๗. สืบคนขอมูลและอธิบายเก่ียวกับความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันท่ีทําใหเกิดเอดสภูมิแพ

การสรางภูมิตานทานตอเนื้อเยื่อตนเอง๑๘. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางและหนาท่ีในการกําจัดของเสียออกจาก

รางกายของฟองน้ํา ไฮดราพลานาเรียไสเดือนดิน แมลง และสัตวมีกระดูกสันหลัง๑๙. อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของไต และโครงสรางท่ีใชลําเลียงปสสาวะออกจากรางกาย๒๐. อธิบายกลไกการทํางานของหนวยไตในการกําจัดของเสียออกจากรางกาย และเขียน

แผนผังสรุปข้ันตอนการกําจัดของเสียออกจากรางกายโดยหนวยไต๒๑. สืบคนขอมูล อธิบายและยกตัวอยางเก่ียวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคตาง ๆ

รวมท้ังหมด ๒๑ ผลการเรียนรู

Page 252: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๔๙

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหนาท่ีของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐาน ขอมูลและแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลฮารดี – ไวนเบริ์ก การเกิดสปชีสใหมความหลากหลายชีวภาพกําเนิดของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธานการยอยอาหารของสัตวและมนุษยการหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส การลําเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุมกันของรางกาย การขับถายการรับรู และการตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การสืบพันธุและการเจริญเติบโต ฮอรโมนกับ การรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล อภิปรายเปรียบเทียบ การทํานาย และการทดลอง เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

เพ่ือใหมีจิตวิทยาศาสตร มีชีวจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู๑. อภิปรายความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเชื่อมโยงระหวางความ

หลากหลายทางพันธุกรรมความหลากหลายของสปชีส และความหลากหลายของระบบนิเวศ๒. อธิบายการเกิดเซลลเริ่มแรกของสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว๓. อธิบายลักษณะสําคัญและยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตกลุมแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุมโพรทิสตสิ่งมีชีวิต

กลุมพืช สิ่งมีชีวิตกลุมฟงไจ และสิ่งมีชีวิตกลุมสัตว๔. อธิบายและยกตัวอยางการจําแนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมูใหญจนถึงหมวดหมูยอย และ

วิธีการเขียนชื่อวิทยาศาสตรในลําดับข้ันสปชีส๕. สรางไดโคโทมัสคียในการระบุสิ่งมีชีวิต หรือตัวอยางท่ีกําหนดออกเปนหมวดหมู๖. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางและหนาท่ีของระบบประสาทของไฮดรา

พลานาเรีย ไสเดือนดิน กุง หอย แมลงและสัตวมีกระดูกสันหลัง๗. อธิบายเก่ียวกับโครงสรางและหนาท่ีของเซลลประสาท๘. อธิบายเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของศักยไฟฟาท่ีเยื่อหุมเซลลของเซลลประสาทและกลไก

การถายทอดกระแสประสาท๙. อธิบายและสรุปเก่ียวกับโครงสรางของระบบประสาทสวนกลางและระบบประสาทรอบนอก๑๐. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของสวนตาง ๆ ในสมองสวนหนา สมอง

สวนกลาง สมองสวนหลัง และไขสันหลัง๑๑ สืบคนขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอยางการท ำงานของระบบประสาทโซมาติก

และระบบประสาทอัตโนวัต๑๒. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของ ตํา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย

ยกตัวอยางโรคตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และบอกแนวทางในการดูแลปองกัน และรักษา

Page 253: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๐

๑๓. สังเกตและอธิบายการหาตําแหนงของจุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง

๑๔. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไสเดือนดิน แมลง ปลา และนก

๑๕. สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางและหนาท่ีของกระดูกและกลามเนื้อท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนท่ีของมนุษย

๑๖. สังเกตและอธิบายการท ำงานของขอตอชนิดตาง ๆ และการท ำงานของกลามเนื้อโครงรางท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนท่ีของมนุษย

๑๗. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศและการสืบพันธุแบบอาศัยเพศในสัตว

๑๘. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศชายและระบบสืบพันธุเพศหญิง

๑๙. อธิบายกระบวนการสรางสเปรมกระบวนการสรางเซลลไข และการปฏิสนธิในมนุษย๒๐. อธิบายการเจริญ เติบโตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก และมนุษย๒๑. สืบคนขอมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหนาท่ีของฮอรโมนจากตอมไรทอและเนื้อเยื่อ

ท่ีสรางฮอรโมน

รวมท้ังหมด ๒๑ ผลการเรียนรู

Page 254: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๑

โครงสรางรายวิชาว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ ความหลากหลายทางชีวภาพ

๑. อภิปรายความสําคัญของความหลากหลาย ทางชีวภาพและความเชื่อมโยงระหวางความหลากหลายทางพันธุกรรมความหลากหลายของสปชีสและ ความหลากหลายของระบบนิเวศ๒. อธิบายการเกิดเซลลเริ่มแรกของสิ่งมีชีวิต และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว๓. อธิบายลักษณะสําคัญและยกตัวอยาง สิ่งมีชีวิตกลุมแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุมโพรทิสตสิ่งมีชีวิตกลุมพืช สิ่งมีชีวิตกลุมฟงไจ และ สิ่งมีชีวิตกลุมสัตว๔. อธิบายและยกตัวอยางการจําแนกสิ่งมีชีวิต จากหมวดหมูใหญจนถึงหมวดหมูยอย และวิธีการเขียนชื่อวิทยาศาสตรในลําดับข้ันสปชีส๕. สรางไดโคโทมัสคียในการ

ระบุสิ่งมีชีวิต หรือ ตัวอยางท่ีกําหนดออกเปนหมวดหมู

- ความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ- จุดเริ่มตนของวิวัฒนาการและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว- ลักษณะสําคัญและตัวอยางสิ่งมีชีวิต- การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมูยอยและวิธีการเขียนชื่อชื่อวิทยาสตรในลําดับชั้นสปชีส- การสรางไดโคโทมัสคียในการระบุสิ่งมีชีวิต

๒๖ ๒๐

Page 255: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒ ระบบประสาท

๖. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสรางและหนาท่ีของระบบประสาทของ ไฮดรา พลานาเรีย ไสเดือนดิน กุง หอย แมลงและสัตวมีกระดูกสันหลัง๗. อธิบายเก่ียวกับโครงสรางและหนาท่ีของ เซลลประสาท๘. อธิบายเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของ ศักยไฟฟาท่ีเยื่อหุมเซลลของเซลลประสาท และกลไกการถายทอดกระแสประสาท๙. อธิบายและสรุปเก่ียวกับโครงสรางของ ระบบประสาทสวนกลางและระบบประสาท รอบนอก๑๐. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ี ของสวนตาง ๆ ในสมองสวนหนา สมอง สวนกลาง สมองสวนหลัง และไขสันหลัง๑๑ สืบคนขอมูล อธิบายเปรียบเทียบ และ ยกตัวอยางการทำงานของระบบประสาท โซมาติกและระบบประสาทอัตโนวัต๑๒. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ี ของ ตํา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย ยกตัวอยางโรคตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และบอกแนวทางในการดูแลปองกัน และรักษา๑๓. สังเกตและอธิบายการหาตําแหนงของ จุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสัมผัส ของผิวหนัง

- โครงสรางและหนาท่ีของระบบประสาทของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง- โครงสรางและหนาท่ีของระบบประสาทของสัตวมีกระดูกสันหลัง- โครงสรางและหนาท่ีของเซลลประสาท- การเปลี่ยนแปลงศักยไฟฟาท่ีเยื่อหุมเซลลประสาทและกลไกการถายทอดกระแสประสาท- ระบบประสาทสวนกลางและระบบประสาทรอบนอก- โครงสรางและหนาท่ีสวนตางๆในสมองสวนหนาสมองสวนกลาง สมองสวนหลังและไขสันหลัง- อวัยวะรับสัมผัส- การเคลื่อนท่ีของสิ่งมีชีวิต- โครงสรางและหนาท่ีของกระดูกและกลามเนื้อ- การทํางานของขอตอชนิดตางๆ

๒๐ ๔๐

Page 256: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑๔. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะท่ีเก่ียวของกับ การเคลื่อนท่ีของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไสเดือนดิน แมลง ปลา และนก๑๕. สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางและ หนาท่ีของกระดูกและกลามเนื้อท่ีเก่ียวของกับ การเคลื่อนไหวและการเคลื่อนท่ีของมนุษย๑๖. สังเกตและอธิบายการท ำงานของขอตอ ชนิดตาง ๆ และการท ำงานของกลามเนื้อโครง รางท่ีเก่ียวของกับการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนท่ีของมนุษย

๓ ระบบสืบพันธุและการ

เจริญเติบโต

๑๗. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยาง การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศและการสืบพันธุ แบบอาศัยเพศในสัตว๑๘. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาท่ี ของอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศชายและระบบ สืบพันธุเพศหญิง๑๙. อธิบายกระบวนการสรางสเปรมกระบวนการสรางเซลลไข และการปฏิสนธิ ในมนุษย๒๐. อธิบายการเจริญ เติบโตระยะเอ็มบริโอ และระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก และมนุษย

- การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของสัตว- การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของสัตว- โครงสรางและหนาทีของอวัยวะสืบพันธุเพศชายและระบบสืบพันธุเพศหญิง- กระบวนการสรางเซลลสืบพันธุเพศชาย- กระบวนการสรางเซลลสืบพันธุเพศหญิง- การปฏิสนธิของมนุษย- การเจริญเติบโตของสัตว

๑๕ ๒๕

๔ ระบบตอมไรทอ

๒๑. สืบคนขอมูล อธิบาย และเขียนแผนผัง สรุปหนาท่ีของฮอรโมนจากตอมไรทอและ เนื้อเยื่อ ท่ีสรางฮอรโมน

- หนาท่ีของฮอรโมนท่ีสรางจากตอมไรทอ- หนาท่ีของฮอรโมนท่ี

สรางเนื้อเยื่อท่ีสรางฮอรโมน

๙ ๑๕

รวม ๔ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๒๑ ผลการเรียนรู ๖๐ ๑๐๐

Page 257: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๔

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะห สํารวจ ทดลอง อธิบาย อภิปราย และสรุปเก่ียวกับการยอยอาหารของสัตวและมนุษยการหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส การลําเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุมกันของรางกาย การขับถาย การรับรู และการตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การสืบพันธุและการเจริญเติบโตฮอรโมนกับ การรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชนแนวคิดเก่ียวกับระบบนิเวศ กระบวนการถายทอดพลังงานและ การหมุนเวียนสารสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพ่ิมของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการใชประโยชนและแนวทางการแกไขปญหา

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล อภิปรายเปรียบเทียบ การทํานาย และการทดลอง เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

เพ่ือใหมีจิตวิทยาศาสตร มีชีวจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

๑. สืบคนขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอยางพฤติกรรมท่ีเปนมาแตกําเนิดและพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรูของสัตว

๒. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบประสาท

๓. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางการสื่อสารระหวางสัตวท่ีทําใหสัตวแสดงพฤติกรรม๔. วิเคราะห อธิบาย และยกตัวอยางกระบวนการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ๕. อธิบาย ยกตัวอยางการเกิดไบโอแมกนิฟเคชันและบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอแมก

นิฟเคชัน๖. สืบคนขอมูล และเขียนแผนภาพเพ่ืออธิบายวัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกํามะถันและวัฏจักร

ฟอสฟอรัส๗. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง และอธิบายลักษณะของไบโอมท่ีกระจายอยูตามเขตภูมิศาสตรตาง

ๆ บนโลก๘. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง อธิบาย และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภูมิและ

การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบทุติยภูมิ๙. สืบคนขอมูล อธิบาย ยกตัวอยางและสรุปเก่ียวกับลักษณะเฉพาะของประชํากรของสิ่งมีชีวิต

บางชนิด๑๐. สืบคนขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอยางการเพ่ิมของประชากรแบบเอ็กโพเนน

เชียลและการเพ่ิมของประชากรแบบลอจิสติก๑๑. อธิบายและยกตัวอยางปจจัยท่ีควบคุมการเติบโตของประชากร

Page 258: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๕

๑๒. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาการขาดแคลนน้ํา การเกิดมลพิษทางน้ํา และผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการวางแผนการจัดการน้ําและการแกไขปญหา

๑๓. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการแกไขปญหา

๑๔. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรดิน และผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการแกไขปญหา

๑๕. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาผลกระทบท่ีเกิดจากการท ำลายปาไม รวมท้ังเสนอแนวทางในการปองกันการทําลาย ปาไมและการอนุรักษปาไม

๑๖. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาผลกระทบท่ีทําใหสัตวปามีจํานวนลดลง และแนวทางในกํารอนุรักษสัตวปา

รวมท้ังหมด ๑๖ ผลการเรียนรู

Page 259: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๖

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๔๕ ชีววิทยา ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ พฤติกรรม ๑. สืบคนขอมูล อธิบายเปรียบเทียบ และ ยกตัวอยางพฤติกรรมท่ีเปนมาแตกําเนิดและ พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรูของสัตว๒. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยาง ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับวิวัฒนาการ ของระบบประสาท๓. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางการ สื่อสารระหวางสัตวท่ีทําใหสัตวแสดงพฤติกรรม

- พฤติกรรมท่ีมีมาแตกําเนิด- พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู- ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบประสาท- การสื่อสารระหวางสัตวท่ีทําใหสัตวแสดงพฤติกรรม

๒๕ ๓๐

๒ สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

๔. วิเคราะห อธิบาย และยกตัวอยาง กระบวนการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ๕. อธิบาย ยกตัวอยางการเกิดไบโอแมกนิฟเคชัน และบอกแนวทางในการลดการเกิด ไบโอแมกนิฟเคชัน๖. สืบคนขอมูล และเขียนแผนภาพเพ่ือ อธิบายวัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกํามะถันและวัฏจักรฟอสฟอรัส๗. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง และอธิบาย ลักษณะของไบโอมท่ีกระจายอยูตามเขต ภูมิศาสตรตาง ๆ บนโลก

- กระบวนการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ- การกําเนิดไบโอแมกนิฟเคชันและแนวทางการลดการเกิดไบโอแมกนิฟเคชัน- วัฏจักรของสาร- ลักษณะของไบโอมท่ีกระจายอยูตามเขตภูมิศาสตรตางๆบนโลก- การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภูมิและแบบทุติยภูมิ

๒๕ ๔๕

Page 260: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๘. สืบคนขอมูล ยกตัวอยางอธิบาย และ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐม ภูมิและการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบทุติยภูมิ

๓ ประชากร ๙. สืบคนขอมูล อธิบายยกตัวอยางและสรุป เก่ียวกับลักษณะเฉพาะของประชํากรของ สิ่งมีชีวิตบางชนิด๑๐. สืบคนขอมูล อธิบาย

เปรียบเทียบ และ ยกตัวอยางการเพ่ิมของประชากรแบบ เอ็กโพเนนเชียลและการเพ่ิมของประชากร แบบลอจิสติก๑๑. อธิบายและยกตัวอยางปจจัยท่ีควบคุม การเติบโตของประชากร๑๒. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหา การขาดแคลนน้ําการเกิดมลพิษทางน้ํา และผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ัง เสนอแนวทางการวางแผนการจัดการน้ําและ การแกไขปญหา๑๓. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหามลพิษ ทางอากาศและผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการแกไข ปญหา๑๔. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาท่ีเกิด กับทรัพยากรดิน และผลกระทบท่ีมีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการ แกไขปญหา

- ลักษณะเฉพาะของประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิด- การเพ่ิมประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลและการเพ่ิมประชากรแบบลอจิสติก- ปจจัยท่ีควบคุมการเติบโตของประชากร- ผลกระทบท่ีเกิดจากการทําลายปาไมและการอนุรักษปาไม- ผลกระทบท่ีทําใหสัตวปามีจํานวนลดลง และแนวทางในการอนุรักษสัตวปา

๑๐ ๒๕

Page 261: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สาระเรียนรูแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑๕. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหา ผลกระทบท่ีเกิดจากการท ำลายปาไม รวมท้ังเสนอแนวทางในการปองกันการทําลาย ปาไม และการอนุรักษปาไม๑๖. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหา ผลกระทบท่ีทําใหสัตวปามีจํานวนลดลง และแนวทางในกํารอนุรักษสัตวปา

รวม ๓ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๑๖ ผลการเรียนรู ๖๐ ๑๐๐

Page 262: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๕๙

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๖๑ โลก ดาราศาสตรและอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาวิเคราะหการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงานสสารขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงขอมูลการคนพบไมโครเวฟพ้ืนหลังจากอวกาศโครงสรางองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือกตําแหนงของระบบสุริยะการสังเกตเห็นทางชางเผือกของคนบนโลกกระบวนการเกิดดาวฤกษกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอนวัฏจักรคารบอนไนโตรเจนออกซิเจนปจจัยท่ีสงผลตอความสองสวางของดาวฤกษความสัมพันธระหวางความสองสวางกับโชติมาตรของดาวฤกษความสัมพันธระหวางสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษดวยหลักการแพรัลแลกซวิวัฒนาการของดาวฤกษกระบวนการเกิดระบบสุริยะการแบงเขตบริวารของดวงอาทิตยและลักษณะของดาวเคราะหท่ีเอ้ือตอการดํารงชีวิตการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยกฎเคพเลอรและกฎความโนมถวงของนิวตันโครงสรางของดวงอาทิตยการเกิดลมสุริยะพายุสุริยะแบบจําลองทรงกลมฟาเวลาสุริยะคติตําแหนงปรากฏของดาวเคราะหท่ีสังเกตไดจากโลกการสํารวจอวกาศ โดยใชกลองโทรทรรศนลักษณะของดวงดาวบนทองฟา

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรูสํารวจตรวจสอบการสืบคนขอมูลและอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรูความคิดความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

มีความสามารถในการคิดวิเคราะหความสามารถในการแกปญหาการใชเทคโนโลยีมีจิตวิทยาศาสตรหรือเจตคติท่ีดีตอวิทยาศาสตรจริยธรรมคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

๑. อธิบายการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงานสสารขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงในชวงเวลาตางๆตามวิวัฒนาการของเอกภพ

๒. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธระหวางความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซีรวมท้ังขอมูลการคนพบไมโครเวฟพ้ืนหลังจากอวกาศ

๓. อธิบายโครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือกและระบุตําแหนงของระบบสุริยะพรอมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางชางเผือกของคนบนโลก

๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษโดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดันอุณหภูมิขนาดจากดาวฤกษกอนเกิดจนเปนดาวฤกษ

๕. อธิบายกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษและผลท่ีเกิดข้ึน โดยวิเคราะหปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคารบอนไนโตรเจน ออกซิเจน

๖. ระบุปจจัยท่ีสงผลตอความสองสวางของดาวฤกษ และอธิบายความสัมพันธระหวางความสองสวางกับโชติมาตรของดาวฤกษ

๗. อธิบายความสัมพันธระหวางสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ๘. อธิบายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษดวยหลักการแพรัลแลกซ พรอมคํานวณหาระยะทาง

ของดาวฤกษ๙. อธิบายลําดับวิวัฒนาการท่ีสัมพันธกับมวลตั้งตนและวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสมบัติบาง

ประการของดาวฤกษในลําดับวิวัฒนาการจากแผนภาพเฮิรซปรุง-รัสเซล

Page 263: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๐

๑๐. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะการแบงเขตบริวารของดวงอาทิตยและลักษณะของดาวเคราะหท่ีเอ้ือตอการดํารงชีวิต

๑๑. อธิบายการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยกฎเคพเลอรและกฎความโนมถวงของนิวตันพรอมคํานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห

๑๒. อธิบายโครงสรางของดวงอาทิตยการเกิดลมสุริยะพายุสุริยะและวิเคราะหนําเสนอปรากฏการณหรือเหตุการณท่ีเก่ียวของกับผลของลมสุริยะและพายุสุริยะท่ีมีตอโลกรวมท้ังประเทศไทย

๑๔. สรางแบบจําลองทรงกลมฟาสังเกตและเชื่อมโยงจุดและเสนสําคัญของแบบจําลองทรงกลมฟากับทองฟาจริงและอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟาและระบบศูนยสูตร

๑๕. สังเกตทองฟา และอธิบายเสนทางการข้ึนการตกของดวงอาทิตยและดาวฤกษ๑๖. อธิบายเวลาสุริยคติปรากฏโดยรวบรวมขอมูลและเปรียบเทียบเวลาขณะท่ีดวงอาทิตยผาน

เมริเดียนของผูสังเกตในแตละวัน๑๗. อธิบายเวลาสุริยคติปานกลางและการเปรียบเทียบเวลาของแตละเขตเวลาบนโลก๑๘. อธิบายมุมหางท่ีสัมพันธกับตําแหนงในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตําแหนงปรากฏ

ของดาวเคราะหท่ีสังเกตไดจากโลก

รวม ๑๘ ตัวช้ีวัด

Page 264: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๑

โครงสรางรายวิชาว ๓๐๒๖๑ โลกและดาราศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรชันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๐ หนวยกิต

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๑ เอกภพวิทยา

สาระท่ี ๓ม.๔/๑อธิบายการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงในชวงเวลาตาง ๆตามวิวัฒนาการของเอกภพม.๔/๒ อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธระหวางความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี รวมท้ังขอมูลการคนพบไมโครเวฟพ้ืนหลังจากอวกาศ

-ทฤษฎีกําเนิดเอกภพท่ียอมรับในปจจุบัน คือ ทฤษฎีบิกแบง ระบุวาเอกภพเริ่มตนจากบิกแบง ท่ีเอกภพมีขนาดเล็กมาก และมีอุณหภูมิสูงมาก ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของเวลาและวิวัฒนาการของเอกภพ โดยหลังเกิดบิกแบง เอกภพเกิดการขยายตัวอยางรวดเร็ว มีอุณหภูมิลดลง มีสสารคงอยูในรูปอนุภาคและปฏิยานุภาคหลายชนิด และมีวิวัฒนาการตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีเนบิวลากาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะเปนสมาชิกบางสวนของเอกภพ- หลักฐานสําคัญท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง คือ การขยายตัวของเอกภพ ซึ่งอธิบายดวยกฎฮับเบิล โดยใชความสัมพันธระหวางความเร็วแนวรัศมีและระยะทางของกาแล็กซีท่ีเคลื่อนท่ีหางออกจากโลกและหลักฐานอีกประการ คือการคนพบไมโครเวฟพ้ืนหลังท่ีกระจายตัวอยางสมํ่าเสมอทุกทิศทาง และสอดคลองกับอุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศ มีคาประมาณ๒.๗๓ เคลวิน

๔ ๑๒

Page 265: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๒

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๒ ระบบดาวฤกษ

สาระท่ี ๓ม.๔/๓อธิบายโครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือก และระบุตําแหนงของระบบสุริยะพรอมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางชางเผือกของคนบนโลกม๔/๔อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดันอุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษกอนเกิดจนเปนดาวฤกษม.๔/๕อธิบายกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษและผลท่ีเกิดข้ึน โดยวิเคราะหปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคารบอนไนโตรเจนออกซิเจน

-กาแล็กซี ประกอบดวย ดาวฤกษจํานวนหลายแสนลานดวง ซึ่งอยูกันเปนระบบของดาวฤกษนอกจากนี้ยังประกอบดวยเทหฟาอ่ืน เชน เนบิวลา และสสารระหวางดาว โดยองคประกอบตางๆ ภายในของกาแล็กซีอยูรวมกันดวยแรงโนมถวง

- - อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษโดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดันอุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษกอนเกิดจนเปนดาวฤกษ- อธิบายกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษและผลท่ีเกิดข้ึน โดยวิเคราะหปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคารบอนไนโตรเจน ออกซิเจน

- ดาวฤกษสวนใหญอยูรวมกันเปนระบบดาวฤกษ คือ ดาวฤกษท่ีอยูรวมกัน ตั้งแต ๒ ดวงข้ึนไป ดาวฤกษเปนกอนแกสรอนขนาดใหญเกิดจากการยุบตัวของกลุมสสารในเนบิวลาภายใตแรงโนมถวง ทําใหบางสวนของเนบิวลามีขนาดเล็กลงความดันและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเกิดเปนดาวฤกษกอนเกิด เม่ืออุณหภูมิท่ีแกนสูงข้ึนจนเกิดปฏิกิริยาเทอรมอนิวเคลียร ดาวฤกษกอนเกิดจะกลายเปนดาวฤกษ ดาวฤกษอยูในสภาพสมดุลระหวางแรงดันกับแรงโนมถวงซึ่งเรียกวาสมดุลอุทกสถิตจึงทําใหดาวฤกษมีขนาดคงท่ีเปนเวลานานตลอดชวงชีวิตของดาวฤกษ

๔ ๑๒

Page 266: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๓

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

-ปฏิกิริยาเทอรมอนิวเคลียร เปนปฏิกิริยาหลักของกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษ ทําใหเกิดการหลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเปนนิวเคลียสฮีเลียมท่ีแกนของดาวฤกษ ซึ่งมี ๒กระบวนการ คือ ปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคารบอน ไนโตรเจนออกซิเจน

๓ สมบัติของดาวฤกษ

สาระท่ี ๓ม.๔/๖ระบุปจจัยท่ีสงผลตอความสองสวางของดาวฤกษและอธิบายความสัมพันธระหวางความสองสวางกับโชติมาตรของดาวฤกษม.๔/๗อธิบายความสัมพันธระหวางสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษม.๔/๘อธิบายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษดวยหลักการแพรัลแลกซ พรอมคํานวณหาระยะทางของดาวฤกษ

- ความสองสวางของดาวฤกษเปนพลังงานจาก ดาวฤกษท่ีปลดปลอยออกมาในเวลา ๑ วินาทีตอหนวยพ้ืนท่ี ณ ตําแหนงของผูสังเกต แตเนื่องจากตาของมนุษยไมตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงความสองสวางท่ีมีคานอย ๆ จึงกําหนดคาการเปรียบเทียบความสองสวางของดาวฤกษดวยคาโชติมาตร ซึ่งเปนการแสดงระดับความสองสวางของดาวฤกษ (หรือเทหฟาอ่ืน) ณ ตําแหนงของผูสังเกต-สีของดาวฤกษสัมพันธกับอุณหภูมิผิวซึ่งนักดาราศาสตรใชดัชนีสีในการแบงชนิดสเปกตรัมของดาวฤกษ และใชสเปกตรัมในการจําแนกชนิดของดาวฤกษ-การหาระยะทางของดาวฤกษท่ีมีระยะทางหางจากโลกไมเกิน ๑๐๐พารเซก มีวิธีการท่ีสําคัญ คือ วิธีแพรัลแลกซ โดยวัดมุมแพรัลแลกซของดาวฤกษ เม่ือโลกเปลี่ยนตําแหนงไปในวงโคจร ทําใหตําแหนงปรากฏของดาวฤกษเปลี่ยนไปเม่ือเทียบกับดาวฤกษอางอิง

๖ ๑๔

Page 267: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๔

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๔ วิวัฒนาการของดาวฤกษ

สาระท่ี ๓ม.๔/๙อธิบายลําดับวิวัฒนาการท่ีสัมพันธกับมวลตั้งตน และวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษในลําดับวิวัฒนาการ จากแผนภาพเฮิรซปรุง-รัสเซลล

- มวลของดาวฤกษข้ึนอยูกับมวลของดาวฤกษกอนเกิดดาวฤกษท่ีมีมวลมากจะผลิตและใชพลังงานมาก จึงมีอายุสั้นกวาดาวฤกษท่ีมีมวลนอย

- ดาวฤกษมีการวิวัฒนาการท่ีแตกตางกัน การวิวัฒนาการและจุดจบของดาวฤกษข้ึนอยูกับมวลตั้งตนของดาวฤกษ สวนใหญเทียบกับจํานวนเทาของมวลดวงอาทิตย- ดาวฤกษจะมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการตามวิวัฒนาการโดยนักวิทยาศาสตรไดแสดงการเปลี่ยนแปลงดังกลาวดวยแผนภาพเฮิรซปรุง-รัสเซลล ซึ่งเปนแผนภาพท่ีแสดงความสัมพันธระหวางโชติมาตรสัมบูรณและดัชนีสีของดาวฤกษ โดยดาวฤกษสวนใหญจะอยูในแถบลําดับหลัก ซึ่งเปนแถบท่ีแสดงวาดาวฤกษจะมีชวงชีวิตสวนใหญอยูในสภาวะสมดุล

๔ ๑๒

Page 268: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๕

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๕ ระบบสุริยะ

สาระที ๓ม.๔/๑๐ อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะการแบงเขตบริวารของดวงอาทิตยและลักษณะของดาวเคราะหท่ีเอ้ือตอการดํารงชีวิตม.๔/๑๑ อธิบายการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยกฎเคพเลอรและกฎความโนมถวงของนิวตันพรอมคํานวณคาบการโคจรของดาวเคราะหม.๔/๑๓อธิบายโครงสรางของดวงอาทิตย การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และวิเคราะห นําเสนอปรากฏการณหรือเหตุการณท่ีเก่ียวของกับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะท่ีมีตอโลกรวมท้ังประเทศไทย

- ระบบสุริยะเกิดจากการรวมตัวกันของกลุมฝุนและแกสท่ีเรียกวาเนบิวลาสุริยะ โดยฝุนและแกสประมาณรอยละ ๙๙.๘ ของมวลไดรวมตัวเปนดวงอาทิตยซึ่งเปนกอนแกสรอน หรือ พลาสมา สสารสวนท่ีเหลือรวมตัวเปนดาวเคราะหและบริวารอ่ืน ๆ ของดวงอาทิตยดังนั้นจึงแบงเขตบริวารของดวงอาทิตยตามลักษณะการเกิดและองคประกอบ ไดแก ดาวเคราะหชั้นใน ดาวเคราะหนอย ดาวเคราะหชั้นนอก และดงดาวหาง- โลกเปนดาวเคราะหในระบบสุริยะท่ีมีสิ่งมีชีวิต เพราะโคจรรอบดวงอาทิตยในระยะทางท่ีเหมาะสมจึงเปนเขตท่ีเอ้ือตอการมีสิ่งมีชีวิตทําใหโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมและสามารถเกิดน้ําท่ียังคงสถานะเปนของเหลวได และปจจุบันมีการคนพบดาวเคราะหท่ีอยูนอกระบบสุริยะจํานวนมาก โดยมีดาวเคราะหบางดวงท่ีมีลักษณะคลายโลก และอยูในเขตท่ีเอ้ือตอการมีสิ่งมีชีวิต- บริวารของดวงอาทิตยอยูรวมกันเปนระบบภายใตแรงโนมถวงระหวางดาวเคราะหกับดวงอาทิตยตามกฎแรงโนมถวงของนิวตัน สวนการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยเปนไปตามกฎเคพเลอร

๖ ๑๔

Page 269: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๖

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

- ดวงอาทิตยมีโครงสรางภายในแบงเปน แกน เขตการแผรังสี และเขตการพาความรอน และมีชั้นบรรยากาศอยูเหนือเขตพาความรอน ซึ่งแบงเปน ๓ ชั้น คือ ชั้นโฟโตสเฟยร ชั้นโครโมสเฟยร และคอโรนา ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย มีปรากฏการณสําคัญ เชนจุดมืดดวงอาทิตย การลุกจา ท่ีทําใหเกิดลมสุริยะ และพายุสุริยะ ซึ่งสงผลตอโลก

๖ การบอกตําแหนงบนทรงกลมทองฟา

สาระท่ี ๓ม.๔/๑๔ สรางแบบจําลองทรงกลมฟา สังเกต และเชื่อมโยงจุดและเสนสําคัญของแบบจําลองทรงกลมฟากับทองฟาจริง และอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟา และระบบศูนยสูตรม.๔/๑๕สังเกตทองฟา และอธิบายเสนทางการข้ึนการตกของดวงอาทิตยและดาวฤกษ

ทรงกลมฟา เปนทรงกลมสมมติขนาดใหญท่ีมีรัศมีอนันต มีจุดศูนยกลางของโลกเปนจุดศูนยกลางของทรงกลมฟา มีดวงดาวและเทหฟาตาง ๆปรากฏอยูบนผิวของทรงกลมฟานี้ การระบุพิกัดของดวงดาวและเทหฟาตาง ๆ บนทรงกลมฟาตามระบบท่ีสําคัญ ไดแก- ระบบขอบฟา เปนระบบท่ีอางอิงจากตําแหนงผูสังเกตบนโลก โดยระบุพิกัดเปนมุมทิศและมุมเงย อางอิงกับทิศเหนือและเสนขอบฟาของผูสังเกต- ระบบศูนยสูตร เปนระบบท่ีอางอิงกับเสนศูนยสูตรฟาและจุดวิษุวัต ระบุพิกัดเปนไรตแอสเซนชันและเดคลิเนชัน

๖ ๑๔

Page 270: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๗

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

- โลกหมุนรอบตัวเองจากทางทิศตะวันตกไปทาง ทิศตะวันออก ทําใหเกิดปรากฏการณการข้ึน การตกของดวงอาทิตยและดวงดาวในรอบวัน ซึ่งเสนทางปรากฏของการข้ึนการตกของดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลงตามวันเวลาและตําแหนงละติจูดของผูสังเกต สวนเสนทางปรากฏของการข้ึน การตกของดาวฤกษจะเปลี่ยนแปลงตามละติจูดของผูสังเกต

๗ การกําหนดเวลาบนโลก

สาระท่ี ๓ม.๔/๑๖อธิบายเวลาสุริยคติปรากฏ โดยรวบรวมขอมูลและเปรียบเทียบเวลาขณะท่ีดวงอาทิตยผานเมริเดียนของผูสังเกตในแตละวันม.๔/๑๗อธิบายเวลาสุริยคติปานกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแตละเขตเวลาบนโลก

- การกําหนดเวลาสุริยคติจะเทียบกับดวงอาทิตย โดยเวลาสุริยคติ มีท้ังเวลาสุริยคติปรากฏ และเวลาสุริยคติปานกลาง- เวลาสุริยคติปรากฏ เปนเวลาท่ีไดจากการสังเกต ดวงอาทิตยจริงท่ีเคลื่อนท่ีอยูบนทองฟาของผูสังเกตชวงเวลาระหวางการเห็นจุดศูนยกลางของดวงอาทิตยผานเมริเดียนครั้งแรกถึงครั้งถัดไปเรียกวา๑ วัน สุริยคติปรากฏ- เวลาสุริยคติปานกลางกําหนดโดยใหมีดวงอาทิตยสมมตเิคลื่อนท่ีบนเสนศูนยสูตรฟาดวยอัตราเร็วสมํ่าเสมอ ชวงเวลาระหวางการเห็นจุดศูนยกลาง ของดวงอาทิตยผานเมริเดียนครั้งแรกถึงครั้งถัดไปเรียกวา ๑ วัน สุริยคติปานกลางซึ่งยาว ๒๔ ชั่วโมง ๐นาที ๐ วินาทีเวลาสุริยคติปานกลางกรีนิซเวลาสุริยคติปานกลางท่ีใชเมริเดียนของหอดูดาวกรีนิซในประเทศอังกฤษเปนตัวกําหนด ซึ่งนํามาใชในการกําหนดเขตเวลามาตรฐานสากลของตําแหนงอ่ืน ๆ บนโลก

๖ ๑๒

Page 271: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๘

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

- โลกและดาวเคราะหทุกดวงหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตยจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก หรือในทิศทวนเข็มนาฬิกาจากมุมมองดานบน คนบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห มีตําแหนงปรากฏแตกตางกันในชวงวันเวลาตาง ๆ เพราะดาวเคราะหมีมุมหางท่ีแตกตางกัน- มุมหางของดาวเคราะห คือ มุมระหวางเสนตรง ท่ีเชื่อมระหวางโลกกับดาวเคราะหกับเสนตรงท่ีเชื่อมระหวางโลกกับดวงอาทิตยเม่ือวัดบนเสนสุริยวิถี โดยดาวเคราะหอาจอยูหางจากดวงอาทิตยไปทางทิศตะวันออก หรือทางทิศตะวันตก ซึ่งมีการเรียกชื่อตามตําแหนงของดาวเคราะหในวงโคจรขนาดของมุมหาง และทิศทางของมุมหาง

Page 272: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๖๙

หนวยท่ี

ช่ือหนวยการเรียนรู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรุแกนกลาง ช่ัวโมง คะแนน

๘ เทคโนโลยีอวกาศ

สาระท่ี ๓ม.๔/๑๘ อธิบายมุมหางท่ีสัมพันธกับตําแหนงในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตําแหนงปรากฏของดาวเคราะหท่ีสังเกตไดจากโลก

- มนุษยใชเทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา เพ่ือขยายขอบเขตความรูดานวิทยาศาสตร และในขณะเดียวกันมนุษยไดนําเทคโนโลยีอวกาศมาใชประโยชนในดานตางๆ เชน วัสดุศาสตร อาหารการแพทย- นักวิทยาศาสตรไดสรางกลองโทรทรรศน เพ่ือศึกษาแหลงกําเนิดของรังสีหรืออนุภาคในอวกาศในชวงความยาวคลื่นตาง ๆ ไดแกคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรดแสง อัลตราไวโอเลต และรังสีเอ็กซ- ยานอวกาศ คือ ยานพาหนะท่ีนํามนุษยหรืออุปกรณทางดาราศาสตรข้ึนไปสูอวกาศ เพ่ือสํารวจหรือเดินทางไปยังดาวดวงอ่ืน สวนสถานีอวกาศ คือ หองปฏิบัติการลอยฟาท่ีโคจรรอบโลก ใชในการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรในสาขาตาง ๆ ในสภาพไรน้ําหนัก- ดาวเทียม คืออุปกรณท่ีใชในการสํารวจวัตถุทองฟาและนํามาประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การสื่อสารโทรคมนาคม การระบุตําแหนงบนโลก การสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ อุตุนิยมวิทยาโดยดาวเทียมมีหลายประเภทสามารถแบงไดตามเกณฑวงโคจรและการใชงาน

๔ ๑๒

รวม ๘ หนวยการเรียนรู

จํานวน ๑๘ ตัวชี้วัด ๔๐ ๑๐๐

Page 273: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๐

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๑ เทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความรู เ ก่ียวกับการรวบรวม การตรวจสอบความถูกตอง การจัดเก็บ การจัดการการกระทําขอมูล ขาวสาร โดยใชอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณสํานักงานตาง ๆ ในการปฏิบัติงานเพ่ือใหไดสารสนเทศหรือความรูท่ีนํามาใชในการตัดสินใจหรือเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิตโดยใชคนหา วางแผนแกปญหาการทํางานดวยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยจัดประสบการณจัดกิจกรรมหรือโจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงานคุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถนําทักษะการเรียนรูไปประยุกตใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เห็นคุณคาและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรมจริยธรรมในการใชสารสนเทศ สามารถสรุปองคความรูดวยแผนผังความคิด สืบคน สรางสรรคผลงาน นําเสนอสารสนเทศดวยโปรแกรมนําเสนอผลงานท่ีเหมาะสมผลการเรียนรู

1. สามารถวิเคราะหองคประกอบของงานโดยใชข้ันตอนวิธีการดําเนินงาน บอกข้ันตอนวิเคราะหสาเหตุของปญหาได

2. สามารถอธิบายหลักและวิธีการในการแกปญหาโดยกระบวนทางเทคโนโลยีสารสนเทศได3. สามารถเชื่อมโยงแนวคิด หลักการ และทักษะวิธีการท่ีเรียนรูไปใชแกปญหาใน

ชีวิตประจําวันได4. วางแผนเลือกและใชเทคโนโลยีในการทํางานและอาชีพไดเหมาะสม5. สามารถประยุกตใชงานนําเสนอผลงานไดอยางสรางสรรค

รวม ๕ ตัวช้ีวัด

Page 274: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๑

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๒ เทคโนโลยี ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความหมาย บทบาท ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอมูลและสารสนเทศ การสืบคนขอมูล การประมวลผลขอมูล การจัดทํา การเก็บบํารุงรักษาสารสนเทศ หลักการและวิธีการแกปญหา การนําเสนอดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ องคประกอบของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรคุณลักษณะการเลือกใชฮารดแวรและซอฟตแวรและนําหลักการเบื้องตนของการสื่อสารขอมูล เครือขายคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต ไปใชในงานดานตางๆ เชน การสืบคนขอมูลในเครือขายคอมพิวเตอร การสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การโอนยายแฟมขอมูล การใชทรัพยากรรวมกัน ฯลฯ ในงานดานตางๆ ได

เพ่ือใหมีความรูความ เขาใจและสามารถแสวงหาขอมูลขาวสารโดยใชระบบสื่อสารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอรได สามารถนําเสนอขอมูลผานเว็บไซต และมีทักษะกระบวนการความคิดเชิงระบบในการวางแผนการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรคใน การทํางาน และสรางชิ้นงานหรือโครงงานโดยใชระบบสารสนเทศอยางสรางสรรคผลการเรียนรู

1. อธิบายความหมาย บทบาท และความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศได2. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศของคอมพิวเตอรและสามารถนําไปประยุกตใชใน

ชีวิตประจําวันได3. อธิบายความหมายของขอมูล และสามารถจําแนกประเภทของขอมูลได4. อธิบายกระบวนการในการเก็บรวบรวมขอมูล และการบํารุงรักษาสารสนเทศใหถูกตองและเปน

ปจจุบันได5. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอรได6. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง และสามารถเลือกใชฮารดแวรและ

ซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงานได7. อธิบายหลักการสื่อสารขอมูลและหลักการทํางานเบื้องตนของเครือขายคอมพิวเตอรได8. อธิบายหลักการทํางานของการติดตอสื่อสารผานคอมพิวเตอรหรือระบบเครือขายอินเทอรเน็ต

ไดรวมท้ังหมด ๘ ผลการเรียนรู

Page 275: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๒

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๓ เทคโนโลยี ๓ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความหมายบทบาทและความสําคัญของระบบเครือขายอินเทอรเน็ตการออกแบบเว็บเพจดวยภาษา HTML๕ และจัดรูปแบบดวยภาษา CSS ในการเผยแพรความรู ขอมูลการประชาสัมพันธขาวสารกิจกรรมตางๆออกสูสาธารณชนโดยการจัดทําเว็บไซตข้ึนเผยแพรสูระบบเครือขายอินเทอรเน็ต

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูเพ่ือเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะกระบวนการคิด การแกปญหาอยางมีข้ันตอน มาประยุกตใชในการสรางเว็บเพจได

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจทักษะกระบวนการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถสรางเว็บไซตนําเสนอผลงานอยางมีเหมาะสม มีคุณธรรมจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสรางสรรคและเชื่อมโยงกับชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพผลการเรียนรู

๑. อธิบายหลักการท่ัวไปและประโยชนของอินเทอรเน็ตได๒. เขาใจหลักการเขียนโครงสรางของภาษา html๕ และภาษา css๓. สามารถเขียนคําสั่ง html๕ และภาษา cssพ้ืนฐานดวยโปรแกรมประยุกตได๔. สามารถกําหนดรูปแบบตัวอักษรในหนาเว็บเพจไดอยางเหมาะสม๕. แทรกรูปภาพในเว็บเพจในตําแหนงท่ีเหมาะสมได๖. สามารถกําหนดรูปแบบหนาเว็บเพจไดอยางเหมาะสมได๗. สามารถสรางจุดเชื่อมโยงภายในเว็บเพจไปยังตําแหนงตางๆ ได๘. สามารถตกแตงเอกสารเว็บเพจในลักษณะเปนเฟรมในรูปแบบตางๆได๙. สามารถนําเสนอเว็บเพจบนเครือขายอินเตอรเน็ตได

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู

Page 276: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๓

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๔ เทคโนโลยี ๔ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาความรูเก่ียวกับการออกแบบ การเขียนแบบ การใชคําสั่งและเครื่องมือตาง ๆ เพ่ือการออกแบบงานและสรางสรรคผลงานเพ่ือเปนแนวทางในการสรางสรรคงานกราฟฟกเพ่ือนํามาประยุกตกับโปรแกรมการเขียนแบบ ๓ มิติ ดวยโปรแกรมการออกแบบ ๓ มิติ มีความเขาใจพ้ืนฐานโปรแกรมสามารถใชอุปกรณในการวาดภาพ การทํางานกับสี เครื่องมือตกแตงภาพ การจัดการวัตถุ การใชขอความ รูจักกับ Componant Group เพ่ือสรางงานออกแบบท่ีมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

ฝกปฏิบัติงานโปรแกรม Google Sketchup ทางดานกระบวนการทํางาน การแกปญหาการทํางานรวมกัน ตลอดจนแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ

เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะการคนควา วิเคราะหและอธิบายหลักการกระบวนการสรางสรรคงานและการออกแบบ การสรางผลงานทางดานคอมพิวเตอรอยางมีคุณธรรมและมีจริยธรรม ดวยกระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการทํางานเปนกลุมและกระบวนการแกปญหาผลการเรียนรู

๑. มีความรูความเขาใจในสวนประกอบสําคัญของการออกแบบและเขียนแบบ๒. สามารถเลือกใชเครื่องมือตาง ๆ ในการสรางงานออกแบบและเขียนแบบได๓. มีความรู ความเขาใจในสวนประกอบท่ีสําคัญของโปรแกรมการออกแบบ๔. สามารถเลือกใชเครื่องมือโปรแกรมการออกแบบได๕. มีทักษะกระบวนการทํางานเปนกลุมและมีทักษะการแกไขปญหาในการทํางาน๖. ปฏิบัติการสรางผลงานการออกแบบอยางมีความคิดสรางสรรค๗. วิเคราะหและอภิปรายถึงผลงานตนเองและผลงานของผูอ่ืนไดอยางสรางสรรค

รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู

Page 277: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๔

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๕ เทคโนโลยี ๕ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

มุงเนนใหผูเรียนศึกษาและทําความเขาใจระบบการทํางานของวีดีทัศน แบบดิจิตอล และอนาล็อกรูปแบบของไฟลวีดีทัศน มาตรฐานวีดีทัศนในแบบตางๆ ศึกษาองคประกอบของฮารดแวรและซอฟแวร เพ่ือใชสําหรับสรางสรรคงานผลิตสื่อมัลติมีเดีย เพ่ือการสื่อสารกับกลุมเปาหมาย เรียนรูข้ันตอนการทํางานและเทคนิคการผลิตงานมัลติมีเดีย

ศึกษาการใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับงานมัลติมีเดีย ท้ังภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนการผสมเสียงประกอบงานมัลติมีเดีย การตัดตอดวยคอมพิวเตอร การเก็บขอมูลในรูปแบบตางๆ โดยมุงเนนใหผูเรียนไดเขาใจหลักการทํางานการผลิตงานมัลติมีเดีย มีทักษะกระบวนการความคิดเชิงระบบในการวางแผนการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน และสรางชิ้นงานหรือโครงงานโดยใชระบบสารสนเทศอยางสรางสรรค เพ่ือนําไปใชนําเสนองานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ผลการเรียนรู๑. อธิบายระบบการทํางานของวีดีทัศน ฮารดแวรและซอฟตแวรเพ่ือใชสําหรับสรางสรรคงานผลิต

สื่อมัลติมีเดียได๒. อธิบายความสามารถของโปรแกรมประยุกตสําหรับผลิตงานมัลติมีเดียได๓. รูเขาใจและปฏิบัติตามข้ันตอนการใชงาน Movie Wizard ได๔. อธิบายข้ันตอนการใชงาน Video Studio Editor ได๕. อธิบายและปฏิบัติข้ันตอนการ Capture ได๖. อธิบายข้ันตอนการตัดตอและแกไขไฟลวีดีทัศนได๗. อธิบายข้ันตอนการเพ่ิมสีสันใหกับวีดีทัศน (Effect) ได๘. อธิบายข้ันตอนการเพ่ิมขอความลงในงานตัดตอ (Title) ได๙. อธิบายข้ันตอนการใสเสียงประกอบ (Audio) ได๑๐.อธิบายข้ันตอนการนําผลงานออกไปใชงานได

รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรียนรู

Page 278: คํานํา · ๒. นายสุรชัย การะเกด รองผู อํานวยการโรงเรียน ๓. นางยุพาวดีขาววิเศษ

๒๗๕

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมว๓๐๒๘๖ เทคโนโลยี ๖ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนวยกิต

ศึกษาหลักการทําโครงงาน การเขียนโปรแกรมภาษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาสรางชิ้นงานท่ีเหมาะสม

โดยอธิบายกระบวนการทําโครงงาน หลักการเขียนโปรแกรม และเลือกใชซอฟตแวรท่ีเหมาะสมกับลักษณะของงานมานําเสนองาน และใชคอมพิวเตอรชวยสรางงานตามหลักการทําโครงงาน

เพ่ือใหนักเรียนมีวินัย ใฝเรียนรู มีความมุงม่ันในการทํางานกระบวนการทํางานกลุมและกระบวนการแกปญหา เพ่ือใหเกิด ความรู ความเขาใจ ความคิด ใชทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีคุณธรรม และทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และมีจิตสาธารณะ ใชทรัพยากรอยางคุมคา และไมสรางความเสียหายตอผูอ่ืนผลการเรียนรู

๑. อธิบายหลักการทําโครงงานคอมพิวเตอรไดถูกตอง๒. อธิบายความหมายและองคประกอบของโครงงานคอมพิวเตอรได๓. บอกประเภทและข้ันตอนการทําโครงงานคอมพิวเตอรไดถูกตอง๔. อธิบายสวนประกอบของเอกสารรายงานโครงงานไดถูกตอง๕. ผลิตผลงานโครงงานคอมพิวเตอรไดอยางสรางสรรค๖. จัดทําคูมือและเอกสารประกอบรายงานโครงงานได

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู