บทที่3...

14
บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อก ระบบสื่อสารแอนะล็อกที่ใชกันอยางแพรหลาย ไดแก ระบบเอเอ็ม และระบบเอฟเอ็ม ซึ่งวิทยุเอเอ็ม และวิทยุเอฟเอ็มเปนตัวอยางของระบบเหลานี้ ในระบบทั้งสองประเภท ขอมูลอยูในรูปสัญญาณ ที่แถบความถี่ฐาน แตชองสัญญาณอยูที่แถบความถี่ผาน จึงตองทำการเลื่อนความถี่ของสัญญาณ ขอมูลดวยการทำ upconversion ที่ตัวสง และการทำ downconversion ที่ตัวรับ ดังที่ไดกลาวไป แลวในบทที่2 ในหัวขอถัด ๆ ไป จะเห็นไดวาระบบเอเอ็มทำ upconversion โดยการเปลี่ยน แอมพลิจูด ของ คลื่นพาหดวยคาสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน สวนระบบเอฟเอ็มทำ upconversion โดยการ เปลี่ยน ความถีของคลื่นพาหดวยคาสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน โดยทั่วไป เราเรียกการแปลง ขอมูลใหอยูในรูปสัญญาณที่สามารถนำสงผานสื่อไดวา การมอดูเลต (modulation) ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบระบบวิทยุเอเอ็มและวิทยุเอฟเอ็ม ในภาพรวม คุณภาพของสัญญาณ ที่ตัวรับในระบบเอฟเอ็มจะดีกวา แตสิ่งที่ตองพิจารณาในสวนของคาใชจาย คืออุปกรณของตัวรับทีซับซอนกวา และชองสัญญาณที่มีแบนดวิดทกวางกวาในระบบเอฟเอ็ม ตารางที่ 3.1: การเปรียบเทียบระหวางวิทยุระบบเอเอ็มและเอฟเอ็ม คุณสมบัติ ระบบเอเอ็ม ระบบเอฟเอ็ม การเปลี่ยนคลื่นพาหเพื่อสงขอมูล เปลี่ยนแอมพลิจูด เปลี่ยนความถีคุณภาพเสียงที่ตัวรับ ต่ำกวา สูงกวา แบนดวิดทของสัญญาณ ต่ำกวา สูงกวา ความซับซอนของฮารดแวรตัวรับ ต่ำกวา สูงกวา ชวงความถี่ที่ใชงาน (หลายชอง) 5301600 kHz 88108 MHz แบนดวิดทของชองสัญญาณ 10 kHz 200 kHz 35

Transcript of บทที่3...

Page 1: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3

ระบบสื่อสารแอนะล็อกระบบสื่อสารแอนะล็อกที่ใชกันอยางแพรหลาย ไดแก ระบบเอเอ็ม และระบบเอฟเอ็ม ซึ่งวิทยุเอเอ็มและวิทยุเอฟเอ็มเปนตัวอยางของระบบเหลานี้ ในระบบทั้งสองประเภท ขอมูลอยูในรูปสัญญาณที่แถบความถี่ฐาน แตชองสัญญาณอยูที่แถบความถี่ผาน จึงตองทำการเลื่อนความถี่ของสัญญาณขอมูลดวยการทำ upconversion ที่ตัวสง และการทำ downconversion ที่ตัวรับ ดังที่ไดกลาวไปแลวในบทที่ 2

ในหัวขอถัด ๆ ไป จะเห็นไดวาระบบเอเอ็มทำ upconversion โดยการเปลี่ยน แอมพลิจูด ของคลื่นพาหดวยคาสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน สวนระบบเอฟเอ็มทำ upconversion โดยการเปลี่ยน ความถี่ ของคลื่นพาหดวยคาสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน โดยทั่วไป เราเรียกการแปลงขอมูลใหอยูในรูปสัญญาณที่สามารถนำสงผานสื่อไดวา การมอดูเลต (modulation)

ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบระบบวิทยุเอเอ็มและวิทยุเอฟเอ็ม ในภาพรวม คุณภาพของสัญญาณที่ตัวรับในระบบเอฟเอ็มจะดีกวา แตสิ่งที่ตองพิจารณาในสวนของคาใชจาย คืออุปกรณของตัวรับที่ซับซอนกวา และชองสัญญาณที่มีแบนดวิดทกวางกวาในระบบเอฟเอ็ม

ตารางที่ 3.1: การเปรียบเทียบระหวางวิทยุระบบเอเอ็มและเอฟเอ็ม

คุณสมบัติ ระบบเอเอ็ม ระบบเอฟเอ็มการเปลี่ยนคลื่นพาหเพื่อสงขอมูล เปลี่ยนแอมพลิจูด เปลี่ยนความถี่คุณภาพเสียงที่ตัวรับ ต่ำกวา สูงกวาแบนดวิดทของสัญญาณ ต่ำกวา สูงกวาความซับซอนของฮารดแวรตัวรับ ต่ำกวา สูงกวาชวงความถี่ที่ใชงาน (หลายชอง) 530−1600 kHz 88−108 MHzแบนดวิดทของชองสัญญาณ 10 kHz 200 kHz

35

Page 2: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.1. ระบบสือสารเอเอ็ม บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

3.1 ระบบสือสารเอเอ็มในระบบสื่อสาร เอเอ็ม (amplitude modulation: AM) สัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐานจะถูกสงผานคลื่นพาหในชองสัญญาณที่แถบความถี่ผาน โดยคาสัญญาณขอมูลจะกำหนดคาแอมพลิจูดของคลื่นพาห ให sb(t) แทนสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน และให c(t) = Ac cos(2πfct) แทนคลื่นพาหที่มีความถี่ fc และแอมพลิจูด Ac > 0

ในระบบเอเอ็มประเภท double-sided band (DSB) การทำ upconversion อาศัยการคูณสัญญาณขอมูล sb(t) กับคลื่นพาห c(t) โดยตรง

sDSB-AM(t) = sb(t)× Ac cos(2πfct)

= Acsb(t) cos(2πfct) (3.1)

ผลลัพธคือการเลื่อนความถี่จากต่ำไปสูง ดังแสดงในรูปที่ 2.16 (ในบทที่ 2)อยางไรก็ตาม ระบบเอเอ็มที่ใชกันอยางแพรหลายมักจะสรางสัญญาณที่แถบความถี่ผานโดย

การคูณผลบวก sb(t) + Ab กับคลื่นพาห โดย Ab > 0 เปนคาคงที่ที่ทำให sb(t) + Ab > 0 ในทุกๆ เวลา t นั่นคือ

sAM(t) = [sb(t) + Ab]× Ac cos(2πfct)

= Ac [sb(t) + Ab] cos(2πfct) (3.2)= sDSB-AM(t) + AcAb cos(2πfct) (3.3)

เหตุผลในการใช (3.2) แทน (3.1) คือตัวรับสัญญาณในรูปแบบ (3.2) นั้นสรางไดงายกวาและมีราคาถูก เนื่องจากตัวรับของระบบเอเอ็มประเภท DSB ตองอาศัยอุปกรณสรางคลื่นพาห ไดแกออสซิลเลเตอร (oscillator) ที่ตัวรับเพื่อนำคลื่นพาหไปคูณกับสัญญาณในแถบความถี่ผานเพื่อทำdownconversion ตามขั้นตอนในรูปที่ 2.17 แตตัวรับในระบบเอเอ็มที่ใช (3.2) ไมตองใชอุปกรณสรางคลื่นพาหที่ตัวรับ โดยปกติ เมื่อกลาวถึงระบบเอเอ็ม เราจะถือวาสัญญาณที่แถบความถี่ผานเปนไปตาม (3.2) เพื่อไมใหสับสน เราจะเรียกระบบเอเอ็มประเภท DSB วาระบบ DSB

รูปที่ 3.1 แสดงสัญญาณเอเอ็มที่สรางขึ้นจากสัญญาณ sb(t) ที่แถบความถี่ฐาน สังเกตไดวารูปของสัญญาณ sb(t) ถูกใชในการกำหนดคาแอมพลิจูดของ sAM(t) โดยขอบนอกของแอมพลิจูดซึ่งเปนคาบวกนั้นเรียกกันวา envelope สังเกตไดวารูปรางของ envelope นั้นจะเหมือนกับรูปรางของสัญญาณ sb(t) + Ab

36 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 3: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.1. ระบบสือสารเอเอ็ม

0 2 4 6 80

0.5

1

1.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

envelope

(ms)

(ms)

(ms)

รูปที่ 3.1: สัญญาณเอเอ็มในแกนเวลา (Ab = 0.6) และ envelope ภายใตสถานการณเดียวกันกับรูปที่ 2.15

รูปที่ 3.2 แสดงสเปกตรัมของสัญญาณในแกนความถี่ที่เกี่ยวของกับการสงขอมูลในระบบเอเอ็มถาเปรียบเทียบกับระบบ DSB ในรูปที่ 2.16 จะเห็นไดวาสัญญาณเอเอ็มมีองคประกอบสวนหนึ่งที่ความถี่ของคลื่นพาห โดยมาจากพจน AcAb cos(2πfct) ใน (3.3) ซึ่งมีคูการแปลงฟูเรียรดังตอไปนี้

AcAb cos(2πfct) ↔ AcAb2 δ(f − fc) +

AcAb2 δ(f + fc)

กลาวคือระบบเอเอ็มจะตองสูญเสียพลังงานสวนหนึ่งในการสงคลื่นพาหควบคูไปกับสัญญาณขอมูลซึ่งจัดเปนขอเสียเปรียบ (ในเชิงประสิทธิภาพการใชพลังงาน) เมื่อเทียบกับระบบ DSB

ตัวรับในระบบเอเอ็มตัวรับในระบบเอเอ็มสามารถตรวจจับ envelope เพื่อรับสัญญาณ sb(t) + Ab ไดไมยากดวยการผานสัญญาณ sAM(t) เขาสูอุปกรณไดโอด (diode) แลวตามดวยตัวกรอง lowpass อุปกรณไดโอดจะทำหนาที่คัดเฉพาะสวนของรูปสัญญาณที่เปนคาบวก จากนั้น สัญญาณขาออกจากอุปกรณไดโอดจะผานเขาสูตัวกรอง lowpass เพื่อสราง envelope (โดยประมาณ) ดังแสดงในรูปที่ 3.3เมื่อตัวรับไดรับสัญญาณ sb(t) + Ab จาก envelope แลว ก็สามารถลบออกดวย Ab (ซึ่งเปนคาพารามิเตอรของระบบซึ่งตัวรับทราบอยูกอนแลว) เพื่อใหไดสัญญาณขอมูล sb(t) กลับคืนมา

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 37

Page 4: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.1. ระบบสือสารเอเอ็ม บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 80

0.2

0.4

0.6

0.8

-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 80

0.2

0.4

0.6

0.8

(kHz)

(kHz)

รูปที่ 3.2: สัญญาณเอเอ็มในแกนความถี่

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

envelopeที่รับได

สัญญาณออก

จากไดโอด

สัญญาณออกจาก

ตัวกรอง

low

pass

(ms)

(ms)

(ms)

รูปที่ 3.3: การตรวจจับ envelope ที่ตัวรับในระบบเอเอ็ม

38 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 5: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.1. ระบบสือสารเอเอ็ม

สัญญาณที่ออกจากตัวกรอง lowpass ในรูปที่ 3.3 ดูไมเหมือนกับ envelope เทาใดนัก อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ คลื่นพาหที่ใชมักจะมีความถี่สูงมากเมื่อเทียบกับความถี่ของสัญญาณขอมูล รูปที่ 3.4 แสดงขอมูลเดียวกับรูปที่ 3.3 แตดวยความถี่ของคลื่นพาหที่เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา จะเห็นไดวาในกรณีนี้สัญญาณที่ออกจากตัวกรอง lowpass นั้นดูเหมือนกับ envelope มากขึ้น

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

(ms)

envelopeที่รับได

สัญญาณออก

จากไดโอด

สัญญาณออกจาก

ตัวกรอง

low

pass

(ms)

(ms)

รูปที่ 3.4: การตรวจจับ envelope ที่ตัวรับในระบบเอเอ็ม โดยความถี่ของคลื่นพาหเพิ่มขึ้นเปน 2เทาเมื่อเทียบกับรูปที่ 3.3

แบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ฐานและที่แถบความถี่ผานแบนดวิดท (bandwidth) ของสัญญาณขอมูล sb(t) ↔ Sb(f) ที่แถบความถี่ฐาน คือคา B > 0 ที่นอยที่สุดที่ทำให

Sb(f) = 0 เมื่อ |f | > B (3.4)

ในบทที่ 2 รูปที่ 2.14 คำวา “แบนดวิดท” ถูกใชสำหรับชองสัญญาณ (เพื่อกำหนดชวงความถี่ของชองสัญญาณ) ใน (3.4) คำวา “แบนดวิดท” ถูกใชสำหรับสัญญาณขอมูล (เพื่อกำหนดชวงความถี่ของสเปกตรัมของสัญญาณ) นิยามทั้งสองนั้นมีหนวยเปน Hz และมีความสัมพันธกันโดย ชองสัญญาณจะนำสงสัญญาณขอมูลไดก็ตอเมื่อแบนดวิดทของชองสัญญาณนั้นมีคาไมนอยกวาแบนด

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 39

Page 6: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.1. ระบบสือสารเอเอ็ม บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

วิดทของสัญญาณขอมูล1

แบนดวิดท

0

แบนดวิดท

0

(ก) (ข)

มี (เอเอ็ม)ไมมี (DSB)

ม ี(เอเอ็ม)ไมมี (DSB)

รูปที่ 3.5: แบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ฐานและที่แถบความถี่ผาน

สัญญาณในทางปฏิบัติจะมีคาเปนจำนวนจริง ซึ่งมีคุณสมบัติความสมมาตรแบบคอนจูเกต (ดูไดจากตารางที่ 2.1) ทำใหเราทราบวา Sb(−f) ̸= 0 ก็ตอเมื่อ Sb(f) ̸= 0 ดังนั้น ถาพิจารณาสเปกตรัม Sb(f) ดังเชนในรูปที่ 3.5(ก) เราสามารถคิดคาของแบนดวิดทโดยดูแตเพียงความถี่ฝงบวกเทานั้น

สำหรับสัญญาณขอมูล s(t) ↔ S(f) ที่แถบความถี่ผาน เชน สัญญาณเอเอ็ม คาของแบนดวิดทจะคิดจากชวงความถี่ฝงบวกที่สั้นที่สุดที่ทำให S(f) = 0 นอกชวงความถี่นี้ ถาพิจารณาสเปกตรัมS(f) ในรูปที่ 3.5(ข) จะไดแบนดวิดทของสัญญาณ s(t) เปน 2 เทาของแบนดวิดทของ sb(t) ในรูปที่ 3.5(ก)

เนื่องจากตัวอยางสัญญาณ s(t) ที่แถบความถี่ผานในรูปที่ 3.5 มาจากสัญญาณเอเอ็ม (และDSB) ทำใหเราสรุปไดวาในระบบเอเอ็ม (และ DSB) แบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็มจะมีคาเปน 2เทาของแบนดวิดทของสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน นั่นคือ

BWAM = 2B (3.5)

โดย BWAM แทนแบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็มที่แถบความถี่ผาน และ B แทนแบนดวิดทของสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน

1บอยครั้ง เราจะไดยินพนักงานขายกลาวถึง “แบนดวิดท” โดยใชหนวยเปน บิตตอวินาที (bit/s หรือ bps) ซึ่งไมถูกตองในทางวิชาการเนื่องจากคาของแบนดวิดทควรมีหนวยเปน Hz อยางไรก็ตาม การใชคำวาแบนดวิดทเพื่อสื่อถึงอัตราการสงขอมูล (หนวยเปน bps) เปนที่นิยม จึงควรตระหนักถึงความหมายนี้ในทางปฏิบัติ

40 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 7: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.2. ระบบสื่อสารเอฟเอ็ม

ตัวอยาง 3.1 (สัญญาณและแบนดวิดทในระบบเอเอ็ม): พิจารณาการสงสัญญาณขอมูลขางลางนี้ผานระบบสื่อสารเอเอ็ม

sb(t) = 2 cos(100πt) + cos(200πt)

สัญญาณเอเอ็มที่ใชคือsAM(t) = [sb(t) + 3] cos(1000πt)

รูปที่ 3.6 แสดงสเปกตรัม Sb(f) และ SAM(f) จากสเปกตรัม จะเห็นไดวาแบนดวิดทของสัญญาณขอมูล sb(t) ที่แถบความถี่ฐานเทากับ 100 Hz สวนแบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็ม sAM(t) ที่แถบความถี่ผานเทากับ 200 Hz ■

550500

1/41/2

450400600

5500

3/2

1/41/2

3/2

500450

400 600

0

11/2

50100100

50

รูปที่ 3.6: สเปกตรัมของสัญญาณที่แถบความถี่ฐานและที่แถบความถี่ผานในตัวอยาง 3.1

3.2 ระบบสื่อสารเอฟเอ็มในระบบสื่อสาร เอฟเอ็ม (frequency modulation: FM) สัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐานจะถูกสงผานคลื่นพาหในชองสัญญาณที่แถบความถี่ผาน โดยคาสัญญาณขอมูลจะกำหนดคาความถี่ของคลื่นพาห ให sb(t) แทนสัญญาณขอมูลที่แถบความถี่ฐาน และให c(t) = Ac cos(2πfct) แทนคลื่นพาหที่มีความถี่ fc และแอมพลิจูด Ac > 0 สัญญาณขอมูลในระบบเอฟเอ็มแสดงไดโดย

sFM(t) = Ac cos(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)(3.6)

โดย fd แทน คาคงที่การเบี่ยงเบนความถี่ (frequency deviation constant)

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 41

Page 8: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.2. ระบบสื่อสารเอฟเอ็ม บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

สูตรคณิตศาสตรใน (3.6) สามารถทำความเขาใจไดดังตอไปนี้ ความถี่ของ cos(2πfct) คำนวณไดโดยการดิฟเฟอเรนชิเอต (differentiate) คาเฟส แลวคูณดวย 1

2π12π × d

dt(2πfct)︸ ︷︷ ︸เฟส

= fc

ในทำนองเดียวกัน ความถี่ของ sFM(t) หาไดจาก12π × d

dt

(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)︸ ︷︷ ︸

เฟส

= fc + fdsb(t)

ดังนั้น จะเห็นไดวาสัญญาณขอมูล sb(t) มีผลโดยตรงตอความถี่ของคลื่นพาหในสัญญาณเอฟเอ็มในระบบเอเอ็ม แบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็มจะเปน 2 เทาเมื่อเทียบกับแบนดวิดทของสัญญาณ

ขอมูลที่แถบความถี่ฐาน อยางไรก็ตาม แบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มนั้นจะเทากับอนันตในทางทฤษฎี แตในทางปฏิบัติจะมีคาแบนดวิดทที่จำกัดเมื่อพิจารณาถึงการครอบคลุมกำลังสัญญาณสวนใหญ โดยคาแบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มสามารถประมาณไดจาก กฎของคารลสัน (Carlson'srule) ดังตอไปนี้

BWFM ≈ 2(D + 1)B (3.7)โดย BWFM แทนแบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มที่แถบความถี่ผาน B แทนแบนดวิดทของ sb(t)

และ D แทน อัตราสวนการเบี่ยงเบนความถี่ โดย

D =fd (maxt |sb(t)|)

B(3.8)

รูปที่ 3.7 แสดงสัญญาณเอฟเอ็มจากสัญญาณขอมูล 2 แบบ สวนรูปที่ 3.8 แสดงสเปกตรัมของสัญญาณเอฟเอ็มในแกนความถี่โดยแสดงสถานการณที่มี fc = 5 kHz fd = 2 kHz และsb(t) = cos(1000πt) ซึ่งมี B = 0.5 kHz จะเห็นไดวาแบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มในรูปจะสอดคลองกับกฎของคารลสันซึ่งใหคาแบนดวิดทดังตอไปนี้

D =2000× 1

500 = 4BWFM ≈ 2(4+ 1)× 500 = 5 kHz

42 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 9: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.2. ระบบสื่อสารเอฟเอ็ม

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

(ms)

(ms)

(ms)

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

(ms)

(ms)

(ms)

รูปที่ 3.7: สัญญาณเอฟเอ็มในแกนเวลา (fd = 2 kHz) จากสัญญาณขอมูลรูปสี่เหลี่ยม (ครึ่งบน)และสัญญาณขอมูลรูปโคไซน (ครึ่งลาง)

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 43

Page 10: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.2. ระบบสื่อสารเอฟเอ็ม บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

-4 -2 0 2 4

-1

0

1

-4 -2 0 2 4

-1

0

1

-20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20

(kHz)

(ms)

(ms)

รูปที่ 3.8: สเปกตรัมของสัญญาณเอฟเอ็มในแกนความถี่ (ไมแสดงลูกศรของฟงกชันอิมพัลสเพื่อความชัดเจนในการเห็นอิมพัลสทั้งหมด)

ตัวอยาง 3.2 (สัญญาณและแบนดวิดทในระบบเอฟเอ็ม): พิจารณาการสงสัญญาณขอมูลขางลางนี้ผานระบบสื่อสารเอฟเอ็ม

sb(t) = 2 cos(100πt) + cos(200πt)

โดยสัญญาณ sb(t) ที่ใหมามีคา max t |sb(t)| = 3 สมมุติใหความถี่คลื่นพาหเทากับ 4 kHz และคาคงที่การเบี่ยงเบนความถี่เทากับ 50 Hz แบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มหาไดโดยใชกฎของคารลสันดังตอไปนี้

D =50× 3100 = 1.5

BWFM ≈ 2(1.5+ 1)× 100 = 500 Hz ■

44 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 11: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.2. ระบบสื่อสารเอฟเอ็ม

ตัวรับในระบบเอฟเอ็มตัวรับแบบพื้นฐานในระบบเอฟเอ็ม2 มีโครงสรางดังแสดงในรูปที่ 3.9 โดยการรับสัญญาณประกอบไปดวย 2 ขั้นตอนหลัก ในขั้นตอนแรก ตัวรับจะทำการดิฟเฟอเรนชิเอตสัญญาณเอฟเอ็มใน (3.6)ซึ่งไดแก (เขียนซ้ำอีกครั้งเพื่อใหอานไดสะดวก)

sFM(t) = Ac cos(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)สัญญาณที่ไดจากการดิฟเฟอเรนทิเอตคือ

d

dt(sFM(t)) = − (fc + fdsb(t))︸ ︷︷ ︸

envelopesin(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)

differentiator envelopedetector

ดิฟเฟอเรนชิเอตสัญญาณ

ตรวจจับenvelope

รูปที่ 3.9: โครงสรางของตัวรับแบบพื้นฐานในระบบเอฟเอ็ม

โดยทั่วไป fc + fdsb(t) > 0 เสมอ (เนื่องจาก fc มักจะมีคาสูงมากเมื่อเทียบกับอีกพจนในผลบวก) จึงสามารถใชการตรวจจับ envelope เปนขั้นตอนที่ 2 ได ซึ่งจะใหผลลัพธเทากับ

fc + fdsb(t)

เนื่องจากตัวรับทราบคาของ fc และ fd (เปนพารามิเตอรของระบบ) จึงสามารถรับ sb(t) กลับคืนมาได อุปกรณสำหรับตรวจจับ envelope นั้นใชหลักการเดียวกันกับตัวรับในระบบเอเอ็ม (ประกอบไปดวยไดโอดและตัวกรอง lowpass)

2ตัวรับของระบบเอฟเอ็มมีโครงสรางหลายแบบ แตจะกลาวเฉพาะแบบพื้นฐานเทานั้น

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 45

Page 12: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.3. แบบฝกหัดทายบท บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

3.3 แบบฝกหัดทายบทแบบฝกหัด 3.1 (แบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ฐานและที่แถบความถี่ผาน): สมมุติใหสัญญาณที่แถบความถี่ฐาน sb(t) มีสเปกตรัมดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ในบทที่ 2)

(ก) จงบอกแบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ฐาน

(ข) ถาหากทำ upconversion ดวยคลื่นพาหที่มีความถี่ 20 kHz จงบอกแบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ผาน

(ค) ถาเปลี่ยนความถี่ของคลื่นพาหในขอ (ข) เปน 15 kHz แบนดวิดทของสัญญาณที่แถบความถี่ผานจะเปลี่ยนแปลงหรือไม

แบบฝกหัด 3.2 (สัญญาณเอเอ็ม): กำหนดใหสัญญาณขอมูล sb(t) เปนสัญญาณโคไซนที่ถูกสงในระบบเอเอ็มดวยสัญญาณขางลางนี้

sAM(t) = [sb(t) + 2] cos(2πfct)

รูปขางลางแสดงสัญญาณเอเอ็มดังกลาว โดยกราฟเสนหนาแสดง envelope ของสัญญาณเอเอ็ม

0 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06-3

-2

-1

0

1

2

3

envelope

(s)

(ก) จากรูปสัญญาณเอเอ็ม จงหาความถี่ของสัญญาณโคไซน sb(t) ที่แถบความถี่ฐาน

(ข) คา modulation index ของระบบเอเอ็ม นิยามโดย

modulation index =maxt |sb(t)|

Ab

เนื่องจากเราตองการให sb + Ab > 0 คา modulation index จึงนอยกวา 1 เสมอ จากสถานการณที่ใหมา จงคำนวณคา modulation index ของระบบเอเอ็ม

(ค) จากรูปสัญญาณเอเอ็ม จงหาความถี่ของคลื่นพาห

(ง) จงวาดสเปกตรัมของสัญญาณเอเอ็มที่ใหมาในแกนความถี่

46 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS

Page 13: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก 3.3. แบบฝกหัดทายบท

แบบฝกหัด 3.3 (แบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็มและเอฟเอ็ม): กำหนดใหสัญญาณขอมูล sb(t)

เปนsb(t) = 2 cos(2000πt)

(ก) จงบอกคาแบนดวิดทของสัญญาณเอเอ็มที่ใชความถี่คลื่นพาหเทากับ 12 kHz และใช mod-ulation index เทากับ 0.5 (ดูนิยามของ modulation index จากขอที่แลว)

(ข) จงใชกฎของคารสันประมาณคาแบนดวิดทของสัญญาณเอฟเอ็มที่ใชความถี่คลื่นพาหเทากับ12 kHz และใชคาคงที่การเบี่ยงเบนความถี่ (fd) เทากับ 1 kHz

แบบฝกหัด 3.4 (สัญญาณเอฟเอ็ม): พิจารณาสัญญาณเอฟเอ็มจากระบบที่ใชคาคงที่ความเบี่ยงเบนความถี่ fd = 0.5 kHz สัญญาณรูปบนแสดงคลื่นพาห สวนสัญญาณรูปลางแสดงสัญญาณเอฟเอ็ม

0 1 2 3 4

-1

0

1

0 1 2 3 4

-1

0

1

(ms)

(ms)

(ก) จากรูปบนจงบอกความถี่ของคลื่นพาหที่ใช

(ข) จากรูปลางจงวาดรูปสัญญาณขอมูล sb(t) ที่แถบความถี่ฐานในชวงเวลา 0 ถึง 4 ms

แบบฝกหัด 3.5 (สถานีวิทยุเอเอ็มและเอฟเอ็ม):

(ก) จงบอกวาสถานีใดแพรสัญญาณในระบบเอเอ็ม และสถานีใดในระบบเอฟเอ็ม และบอกหนวยของตัวเลขทั้งสอง

95.0 ลูกทุงมหานคร วิทยุยานเกราะ 540

(ข) จงบอกวาสถานีวิทยุออนไลนเปนระบบเอเอ็ม ระบบเอฟเอ็ม หรือไมใชทั้งคู

Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS 47

Page 14: บทที่3 ระบบสื่อสารแอนะล็อกbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/textbook3.pdfตารางท 3.1: การเปร ยบเท

3.3. แบบฝกหัดทายบท บทที่ 3. ระบบสื่อสารแอนะล็อก

48 Copyright © 2017 P. Saengudomlert, BU-CROCCS