บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... ·...

31
บทที4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

Transcript of บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... ·...

Page 1: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

บทที่ 4

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

บทที่ 4

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 2: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-1

บทที่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

4.1 ความสอดคลองของแผนผังโครงการทําเหมือง

จากแผนการทําเหมืองของโครงการคําขอประทานบัตรที่ 1/2545 จะรวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับประทานบัตรที่ 26159/ 15310 ของบริษัท เอเซียเหมืองแรอตุสาหกรรม จาํกัด และพื้นทีใ่บอนุญาตตั้งสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่ 1/2548 ซึ่งมีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 703.4 ไร แตจะใชพื้นที่ในการทําเหมืองและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องประมาณ 38.4 ไร หรอืรอยละ 5.5 ของพื้นที่ทั้งหมด (ตารางที่ 4.1-1) และบริเวณทางดานทิศตะวันตกของพื้นทีโ่ครงการเปนพืน้ที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้น 1A เพื่อเปนการปองกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น จึงเสนอใหกันพื้นที่เปนพืน้ที่กันชน (Buffer Zone) สําหรับพืน้ที่อืน่ๆ ที่ไมเกี่ยวของกับกิจกรรมการทําเหมืองแรจะรักษาสภาพปาไมไวโดยจะไมมีการใชประโยชนพืน้ที่แตอยางใด

ตารางที่ 4.1-1 รายละเอียดการใชพื้นที่ภายในโครงการ

การใชประโยชนพ้ืนท่ี จํานวน (ไร) รอยละของพื้นท่ีท้ังหมด

พื้นที่ทําเหมือง “ห1” และ “ห2” 23.5 3.3 พื้นที่เก็บกองเปลือกดิน “ด” 7.5 1.1 บอดักตะกอน “บ” 7.4 1.1 พื้นที่อื่นๆ ที่จะกันเปนพื้นที่กันชน (Buffer Zone) 664.5 94.5

รวม 703.4 100 ท่ีมา : แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549)

การวางแผนการทําเหมืองตามแผนผังโครงการทําเหมืองฉบับใหม จะกําหนดบอดักตะกอนไว 6 บอ ดังนี ้ บอดักตะกอนบริเวณ “บ1” กําหนดไวเพื่อรองรับน้ําไหลบาผิวดินจากบริเวณพื้นที่เก็บกองเปลือกดิน

และเศษหิน บริเวณ “ด” (รูปที่ 4.1-1) แตเนื่องจากพื้นที่ดังกลาวมีสภาพเปนขุมเหมืองเกาขนาดพื้นที่ 14.5 ไร มีความลึกประมาณ 20 ม. ดังนั้นการนําเปลือกดินและเศษหินถมกลับขุมเหมือง ที่ปรึกษาจึงกําหนดใหใชขุมเหมืองเปนบอดักตะกอน โดยมีตําแหนงของจุดรับน้ําจะอยูทางดานลาดเอียงที่ตํ่ากวา ดังรูปที่ 4.1-1 จึงไมมีความจําเปนจะตองขุดบอดักตะกอนขึ้นใหมแตอยางใด เนื่องจากจะยังคงเหลือขุมเหมืองอีกประมาณ 7 ไร

บอดักตะกอนบริเวณ “บ2” กําหนดไวเพื่อรองรับน้ําไหลบาจากบริเวณหนาเหมือง “ห1” มีสภาพเปนพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองในอดีต ปจจุบันมีวัชพืชจําพวกหญาขึ้นปกคลมุอยูทั่วไป โดยมีความลาดเอียงไปทางทิศตะวันตก การออกแบบบอดกัตะกอนบริเวณ “บ2” ตามแผนผังกําหนดจงึมีความเหมาะสมในทางปฏิบัติ นอกจากนี้ที่ปรึกษาสํารวจพื้นที่จริงพบวาบริเวณตอนลางของพื้นที่ทําเหมือง “ห1” มีสภาพเปนขุมเหมืองสามารถออกแบบเปนบอดักตะกอนขนาดความกวางประมาณ 20 ม. และยาวประมาณ 40 ม. ความลึกเฉลี่ยประมาณ 3 ม. ดังรูปที่ 4.1-1 จึงกําหนดใหใชประโยชนเพื่อเปนบอดักตะกอนรองรับน้ําฝนที่ไหลบาจากบริเวณหนาเหมืองกอน และออกแบบใหมีประตูระบายน้ําลนเขาสูบอดักตะกอนบรเิวณ “บ2” ตามลําดับ

บอดักตะกอนบริเวณ “บ3” กําหนดไวสําหรับรองรับน้ําไหลบาผิวดินจากบริเวณพื้นที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหิน “ด2” ซึ่งที่ปรึกษาเสนอใหยกเลิกการเก็บกองเปลือกดินและเศษหินบริเวณดังกลาว เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันสูงประมาณ 30 องศา ที่ปรึกษาจึงเสนอใหนําไปถมกลับในขุมเหมืองเกาบริเวณ “ด1” ตามรายละเอียดที่กลาวไวในขอที่ 3 ไดทั้งหมด ดังนั้นจึงไมมีความจําเปนจะตองขุดบอดักตะกอน “บ3” แตอยางใด

Page 3: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

ที่มา: แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช

และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549)

และการสํารวจภาคสนาม (2552)

รูปที่ 4.1-1 แสดงขอบเขตพื้นที่ทําเหมือง และพื้นที่กจิกรรมเกี่ยวเนื่องของโครงการหนา 4-2

330

320

310300

290280275

270265

2602506

255245

240235

230

2257

225

230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270

275280285

290295300305310

320

330

340

350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360

350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

60017

540

520

500480

46044042015

14410400

13390390400 420 1211

3404

340330320310300

290280

280

285290

295300

3305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

ห1

บ5บ4

บ6

ห2

ด2

บ3

บ3

บ2

หวยเปลอืกขนุน

21

17

6

78

6

13

1211

10

94

ด1

บ1

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

กหวยนบพิตํา

330

320

310300

290280275

270265

2602506

255245

240235

230

2257

225

230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270

275280285

290295300305310

320

330

340

350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360

350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

60017

540

520

500480

46044042015

14410400

13390390400 420 1211

3404

340330320310300

290280

280

285290

295300

3305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

ห1

ห2

บ2

หวยเปลอืกขนุน

3

21

17

6

78

6

13

1211

10

94

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

กหวยนบพิตํา

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

บ3

บ4

บ1

สัญลักษณ :

ถนนภายในโครงการ

ทอลอดขามทางน้ําสาธารณะ

ทิศทางการเดินหนาเหมือง

ห1,ห2 จุดเริ่มตนเดินหนาเหมือง

กงษี

บอดกัตะกอน

แนวกันเขตหามทาํเหมืองใกลทางน้าํสาธารณะในระยะ 50 เมตร

ขอบเขตพ้ืนที่ทําเหมือง

ด ที่เก็บกองเปลือกดนิ

ทางน้ํา

ม.

N

0 100 300 500200 400

ตําแหนงทีย่กเลิกการเก็บกองเปลือกดินเศษหินและบอดักตะกอน

รูป ก แสดงการใชพ้ืนที่ภายในพื้นที่โครงการตามแผนผังกําหนด

รูป ข แสดงการใชพ้ืนที่ภายในพื้นที่โครงการตามที่ปรึกษากาํหนด

Page 4: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-3

บอดักตะกอนบริเวณ “บ4” “บ5” “บ6” แผนผังโครงการทําเหมืองกําหนดใหสรางบอดักตะกอนเพื่อรองรับน้ําไหลบาผิวดินจากบริเวณหนาเหมือง “ห2” โดยตําแหนงของบอดักตะกอนทั้ง 3 บอ มีสภาพเปนพื้นที่ลาดเอียงตามไหลเขา โดยมีทิศทางความลาดเอียงลงสูแนวลําหวยนบพิตํา ที่ปรึกษาพิจารณาแลวเห็นวาตําแหนงบอดักตะกอนที่กําหนดไมมีความเหมาะสม เนื่องจากบริเวณพื้นที่เปดทําเหมืองปจจุบันมีสภาพเปนขุมเหมืองความลึกประมาณ 10 ม. โครงการจึงติดต้ังเครื่องสูบน้ําออกสูภายนอกลงสูหวยนบพิตําไดโดยตรง

การขุดบอดักตะกอนเพื่อปองกันการชะลางตะกอนมูลดิน ที่ปรึกษาจะพิจารณาถึงความเหมาะสมในทางปฏิบัติตามลักษณะของพื้นที่จริงที่ปรากฏอยูในปจจุบันตามตําแหนงดังแสดงในรูปที่ 4.1-1 ดังนี้

บอดักตะกอนบริเวณ “บ1” กําหนดใหใชขุมเหมืองเกาบริเวณพื้นที่เก็บกองเปลือกดินเศษหิน “ด1” ซึ่งมีเนื้อที่ 14.5 ไร ลึก 20 ม. จะใชเก็บกองเปลือกดินเศษหินประมาณ 7.5 ไร จึงเหลือขุมเหมืองอีกประมาณ 7 ไร สามารถออกแบบเปนบอรับน้ําหรือบอดักตะกอนไดอยางเหมาะสม

บอดักตะกอนบริเวณ “บ2” กําหนดไวเพื่อรองรับน้ําจากบริเวณหนาเหมือง “ห1” ซึ่งมีเนื้อที่ 0.4 ไร ขุดลึก 3 ม. ซึ่งจะสามารถกักเก็บน้ําฝนที่เกิดขึ้นรวมกับบอดักตะกอนบริเวณ “บ3” อยางเพียงพอ โดยที่ปรึกษาจะเสนอรายละเอียดการคํานวณในขอชี้แจงเพิ่มเติมที่ 5.3 ตอไป

บอดักตะกอนบริเวณ “บ3” กําหนดใหใชขุมเหมืองเกาบริเวณพื้นที่หนาเหมือง “ห1” โดยกําหนดใหออกแบบเปนบอรับน้ําฝนขนาด 20x40x3 ลบ.ม. กอนระบายน้ําลงสูบอดักตะกอนบริเวณ “บ2” ตอไป

บอดักตะกอนบริเวณ “บ4” กําหนดใหใชขุมเหมืองบริเวณพื้นที่หนาเหมือง “ห2” ซึ่งปจจุบันโครงการออกแบบเปนบอรับน้ําฝนไวภายในบริเวณจุดที่อยูตํ่าสุดของขุมเหมือง โดยมีพื้นที่เปดทําเหมือง ประมาณ 4 ไร และขุมเหมืองลึกประมาณ 10 ม.

พื้นที่คําขอประทานบัตรแปลงนี้เปนของผูประกอบการรายเดียวกันกับประทานบัตรของบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด ซึ่งมีประทานบัตรรวมจํานวน 3 แปลง พื้นที่ใบอนุญาตตั้งสถานที่เพื่อเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแร จํานวน 1 แปลง และประทานบัตรของผูประกอบการรายอื่นอีกจํานวน 2 แปลง ดังรูปที่ 2.1-1 อางไวในบทที่ 2 รายละเอียดดังตารางที่ 4.1-2

ตารางที่ 4.1-2 รายละเอียดประทานบัตรในกลุมเหมืองแรของโครงการ ขอมูลประทานบัตร อายุประทานบัตร สถานภาพปจจุบัน

1. ประทานบัตรที่ 17478/14382 บริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด ที่ตั้งตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

30 เม.ย.2534 ถึง 29 เม.ย.2547

อยูระหวางดําเนินการขอตออายุประทานบัตร

2. ประทานบัตรที่ 26065/14657 บริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด ที่ตั้งหมูที่ 2 ตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

24 เม.ย.2536 ถึง 23 มิ.ย.2561

เปดการทําเหมืองในปจจุบัน

3. ประทานบัตรที่ 26159/15310 บริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด ที่ตั้งหมูที่ 2 ตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

18 พ.ย.2542 ถึง 17 พ.ย.2551

เปดการทําเหมืองในปจจุบัน

4. ประทานบัตรที่ 14217/13653 นายกิตติ ดลรึเดช ที่ตั้งตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

9 ก.พ.2544 ถึง 26 ก.ค.2547

ใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่

1/2548 5. ประทานบัตรที่ 14218/12038 นายกิตติ ดลรึเดช ที่ตั้งตําบลกรุงชิง

และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช 9 ก.พ.2527

ถึง 8 ก.พ.2546 อยูระหวางดําเนินการขอประทานบัตรใหม

ตามคําขอประทานบัตรที่ 1/2545 6. ประทานบัตรที่ 19815/14577 หจก.สินแรเจริญผล ที่ตั้งตําบลกรุงชิง

และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช 2 มิ.ย.2535 ถึง 1 มิ.ย.2560

เปดการทําเหมืองในปจจุบัน

7. ประทานบัตรที่ 26201/15514 หจก.สินแรเจริญผล ที่ตั้งตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

6 มิ.ย.2545 ถึง 5 มิ.ย.2555

เปดการทําเหมืองในปจจุบัน

8. ประทานบัตรที่ 17595/13696 หจก.ศิริเฟลดสปาร ที่ตั้งตําบลกรุงชิง และตําบลนบพิตํา กิ่งอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช

- เปดดําเนินการ

ท่ีมา : สํานักงานอตุสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช (2550)

Page 5: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-4

4.2 ผลกระทบตอสภาพภูมิประเทศ

การทําเหมืองแรเฟลดสปารของทางโครงการนี้ เปนการทําเหมืองโดยวิธีเหมืองหาบ บนที่ลาดเขาซึ่งจะทําใหลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม บริเวณแหลงแรที่ผานการทําเหมืองไปแลวลดระดับกลายเปนรองหุบหรือขุมเหมือง โดยลักษณะภูมิประเทศจะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาของการทําเหมือง ดังตอไปนี้

1) ผลกระทบในระยะเตรียมการ ระยะเตรียมการทําเหมืองของโครงการ จะเกิดผลกระทบจากการปรับสภาพพื้นที่เพื่อรองรับ

กิจกรรมการทําเหมืองที่จะเกิดขึ้นในชวงการเปดดําเนินโครงการ กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในชวงนี้ไดแก การไถดันและการปรับสภาพพื้นที่เพื่อเตรียมการกอสรางอาคาร กงษี อาคารเก็บวัตถุระเบิด พื้นที่เก็บกองเปลือกดิน ลานกองแร การจัดสรางเสนทาง คันทํานบ คูระบายน้ํา และบอดักตะกอน รวมทั้งการปลูกไมยืนตนโตเร็วบริเวณโดยรอบพื้นที่ทําเหมืองและกองเปลือกดิน ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะทําใหลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิม แตจะทําใหเกิดผลกระทบตอลักษณะภูมิประเทศจํากัดเฉพาะภายในพื้นที่โครงการเทานั้น

2) ผลกระทบระยะดําเนินการและภายหลังส้ินสุดการทําเหมือง จะเปดการทําเหมืองโดยวิธีเหมืองหาบแบบขั้นบันได (Open Pit) เนื่องจากภูมิประเทศเปนที่เนิน

เขาบนภูเขา โดยใชเครื่องจักรกลหนักและระเบิดเขาชวย จะเริ่มเปดหนาเหมืองตอจากหนาเหมืองปจจุบันบริเวณหมายอักษร “ห1” ต้ังแตระดับความสูงประมาณ 330 ม.รทก. ลดหล่ันลงมาจนถึงที่ระดับประมาณ 300 ม.รทก. และบริเวณ “ห2” ต้ังแตระดับความสูงประมาณ 410 ม.รทก. ลดหลั่นลงมาจนถึงที่ระดับประมาณ 365 ม.รทก. ซึ่งจะดําเนินการทําเหมืองพรอม ๆ กันทั้ง 2 แหง โดยพื้นที่คําขอประทานบัตรที่ 1/2545 กําหนดขั้นบันไดแตละขั้นใหมีความสูงไมเกิน 10 ม. ความกวางไมนอยกวา 7 ม. และพื้นที่ประทานบัตรที่ 26159/15310 กําหนดขั้นบันไดแตละขั้นใหมีความสูงไมเกิน 5 ม. ความกวางไมนอยกวา 3.5 ม. หนา Bench เอียงประมาณ 75-80 องศา โดยควบคุมความลาดชันสุดทาย (Overall Slope) ไมเกิน 45 องศา ตามความเหมาะสมของภูมิประเทศ เพื่อปองกันมิใหเกิดการพังถลมหรือการรวงหลนของดินและเศษหินซึ่งทําใหบริเวณหนาเหมืองมีสภาพที่ปลอดภัยอยูเสมอ รวมทั้งใหสอดคลองกับเครื่องจักรที่ใชในการทําเหมืองดวย

โดยการทําเหมืองในแตละแหงมีการเปดเปลือกดินและเก็บกองเปลือกดินเศษหิน ดังนั้นจึงจําเปนตองมีแผนการทําเหมืองในแตละหนาเหมือง ดังนี ้

1. หนาเหมือง “ห1” สภาพปจจุบันบริเวณหนาเหมือง “ห1” มีรองรอยการเปดหนาเหมืองมีลักษณะเปนชองเขาใน

แนวทิศตะวันตก-ตะวันออก สําหรับแผนผังการทําเหมืองจะเริ่มเปดหนาเหมืองตอจากหนาเหมืองปจจุบัน ที่ระดับชั้นความสูง 330 ม.รทก. ลดหล่ันลงมาถึงระดับชั้นความสูง 300 ม.รทก. ครอบคลุมพื้นที่ 13.5 ไร โดยจะเดินหนาเหมืองไปทางทิศตะวันตก และจะพัฒนาพื้นที่บางสวนเปนบอดักตะกอน “บ2” เพื่อรองรับน้ําจากหนาเหมืองกอนระบายออกสูภายนอกตอไป ในสวนของเปลือกดินและเศษดินที่เกิดจากการทําเหมืองคาดวามีประมาณ 99,013 ลบ.ม. โดยจะนําไปเก็บกองยังพื้นที่เก็บกองเปลือกดิน “ด1” ซึ่งสามารถรองรับเปลือกดินและเศษดินไดเพียงพอตลอดอายุประทานบัตร

2. หนาเหมือง “ห2” พื้นที่หนาเหมือง “ห2” อยูในเขตพื้นที่ประทานบัตรที่ 26159/15310 ที่เปดทําเหมืองอยูใน

ปจจุบัน มีลักษณะเปนเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 10 ไร สําหรับแผนการทําเหมืองจะเริ่มเปดทําเหมืองที่ระดับ 410 ม.รทก. และลดหลั่นลงไปถึงระดับความสูง 365 ม.รทก. ในสวนของเปลือกดินและเศษหินที่เกิดจากการทําเหมือง คาดวาจะมีปริมาณ 94,508 ลบ.ม. โดยจะนําไปเก็บกองยังที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหิน ซึ่งสามารถรองรับเปลือกดินและเศษสวนไดเพียงพอตลอดอายุประทานบัตร

Page 6: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-5

จากพื้นที่ทั้งหมด 703.4 ไร จะถูกใชประโยชนสําหรับการเปดหนาเหมืองเพียง 23.5 ไร หรือรอยละ 3.3 ของพื้นที่ทั้งหมดขณะที่พื้นที่แนวกันชน (Buffer Zone) มีมากกวารอยละ 90 ของพื้นที่ทั้งหมด การเปดดําเนินการในระยะ 10 ป จึงทําใหสภาพภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย และมิไดเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน แตจะเปลี่ยนแปลงตามชวงระยะเวลาของการทําเหมือง

3) การประเมินประสิทธิภาพของทีเ่กบ็กองเปลือกดิน (1) การจัดการเปลือกดินเศษหนิในชวงทีผ่านมา

การทําเหมืองบริเวณพื้นที่คําขอประทานบัตรที่ 1/2545 ในอดีตที่ผานมาจะนําเปลือกดินและเศษหินไปเก็บกองบริเวณหมายอักษร “ด2” ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 7 ไร ลักษณะพื้นที่เปนไหลเขา การเก็บกองเปลือกดินและเศษหินในอดีต จะนําเปลือกดินเก็บกองแยกไวมิใหปะปนกับเศษหินและทําการปลูกพืชคลุมดิน เชน หญาแฝก และปลูกสนประดิพัทธ สวนเศษหินจะกองไวดานขางกองเปลือกดิน ซึ่งจากการสํารวจในภาคสนามพบวาบริเวณกองเปลือกดินมีวัชพืชจําพวกหญาขึ้นปกคลุมหนาแนน และตนสนประดิพัทธที่ปลูกไวก็มีความเจริญเติบโตอยูรอดไดเองในธรรมชาติ สวนบริเวณกองเศษหินพบวามีขนาดประมาณ 2 ไร ยังไมมีการปลูกพืชคลุมดินหรือตนไมแตอยางใดดังรูปที่ 4.2-1

สําหรับการจัดการเปลือกดินและเศษหินบริเวณพื้นที่ประทานบัตรที่ 26159/15310 โครงการนําไปถมกลับบริเวณขุมเหมืองในเขตพื้นที่ประทานบัตรที่ 14217/13653 (ปจจุบันหมดอายุและเปลี่ยนเปนการใชประโยชนตามใบอนุญาตจัดต้ังสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่ 1/2548) ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 14.5 ไร ปจจุบันมีการนําเปลือกดินและเศษหินถมกลบขุมเหมืองเกาไวแลวประมาณ 1.5 ไร

(2) การจัดการเปลือกดินเศษหนิในชวงตอไป การวางแผนการทําเหมืองรวมแผนผังโครงการเดียวกันกับประทานบัตรที่ 26159/15310

กําหนดพื้นที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหินไว 2 แหง ดังนี้ - บริเวณหมายอักษร “ด1” มีเนื้อที่ 14.5 ไร สภาพเปนขุมเหมืองเกาความลึกประมาณ

20 ม. สามารถเก็บกองเปลือกดินและเศษหินไดประมาณ 460,000 ลบ.ม. ซึ่งปจจุบันมีการนําเปลือกดินและเศษหินจากประทานบัตรขางเคียงถมกลับขุมเหมืองแลวประมาณ 1.5 ไร คิดเปนปริมาณรวมประมาณ 48,000 ลบ.ม. ดังนั้นขุมเหมืองเกาสามารถรองรับเปลือกดินเศษหินไดอีกประมาณ 412,000 ลบ.ม. ทั้งนี้การทําเหมืองของโครงการจะมีเปลือกดินและเศษหินเกิดขึ้นทั้งสิ้น 194,000 ลบ.ม. ซึ่งจะพบวาปริมาณเปลือกดินและเศษหิน มีปริมาณนอยกวาที่ระบุไวในประเด็นพิจารณาเนื่องจากมีการลดพื้นที่การทําเหมืองจาก 39.5 ไรเปน 13.5 ไร ประกอบกับพื้นที่หนาเหมือง “ห2” ที่อยูในเขตพื้นที่ประทานบัตรที่ 26159/15310 ไดเปดทําเหมืองอยูในปจจุบันทําใหมีหนาดินในปริมาณนอย พื้นที่ขุมเหมืองเกาบริเวณ “ด1” จึงสามารถรองรับเปลือกดินและเศษหินที่เกิดขึ้นทั้งหมดอยางเพียงพอ ซึ่งจะใชพื้นที่ขุมเหมืองเกากองเปลือกดินเศษหินเพียง 7.5 ไร โดยยังคงเหลือขุมเหมืองอีกประมาณ 7 ไร

- บริเวณหมายอักษร “ด2” มีเนื้อที่ประมาณ 7 ไร ปจจุบันมีการนําเปลือกดินและเศษหินเก็บกองและดําเนินการฟนฟูโดยการปลูกพืชคลุมดินและไมยืนตนไวแลว ดังนั้นที่ปรึกษาจึงเสนอใหยกเลิกการเก็บกองบริเวณนี้ เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดการชะลางพังทลายไดงาย และเสนอใหดําเนินการฟนฟูพื้นที่เก็บกองเปลือกดินเศษหินที่เหลืออีกประมาณ 2 ไรทันที โดยการปลูกพืชคลุมดิน และไมยืนตนทองถิ่น ไดแก สนประดิพัทธ สะเดาเทียม พังแหร และมะขามเทศ เปนตน เชนเดียวกับบริเวณที่ดําเนินการไวแลว

Page 7: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

สัญลักษณ :

ถนนภายในโครงการ

ทอลอดขามทางน้ําสาธารณะ

330

320

310300

290280

5

275270

265260

2506255

245240

235

230

2257

225

230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270

275280285

290295300305310

320

330

340

350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360

350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

60017

540

520

500480

46044042015

14410400

13390390400 420 1211

3404

340330320310300

290280

280

285290

295300

3305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

ห1

บ5บ4

บ6

ห2

ด2

บ3

บ3

ทิศทางการเดินหนาเหมือง

ห1,ห2 จุดเริ่มตนเดินหนาเหมืองกงษี

บอดกัตะกอน

แนวกันเขตหามทาํเหมืองใกลทางน้าํสาธารณะในระยะ 50 ม.

ขอบเขตพื้นที่ทําเหมือง

บ2

ม.

N

0 100 300 500200 400

หวยเปลอืกขนุน

3

21

17

6

78

6

13

1211

10

94

รูปที่ 4.2-1 การจัดการเปลือกดินและเศษหินในชวงที่ผานมา

หนา 4-6

ด1

ด ที่เก็บกองเปลือกดนิ

ทางน้ํา

บ1

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

กองเศษหินบริเวณ ด2

ที่ถมกลับเปลือกดนิและเศษหินบริเวณขุมเหมืองเกา พื้นที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหินปจจุบัน

หวยนบพิตํา

ที่มา: แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549) และการสํารวจภาคสนาม (2552)

Page 8: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-7

4.3 ผลกระทบตอลักษณะภูมิอากาศและคุณภาพอากาศ

1) ผลกระทบตอลักษณะภูมิอากาศ ผลกระทบตอลักษณะภูมิอากาศ อันเนื่องมาจากการดําเนินการของโครงการนั้น ถงึแมวาการเปด

ทําเหมืองจะตองมีการแผวถางตัดฟนตนไมพชืคลมุดิน และเปดเปลือกดินออกไป แตเนือ่งจากผลกระทบที่เกิดขึน้เปนเพียงการเปลี่ยนแปลงเฉพาะจดุเล็กๆในระยะเวลาหนึ่งเทานัน้ ดงันัน้ การดําเนินโครงการจึงไมกอใหเกดิผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศบริเวณใกลเคยีง และภูมิอากาศในระดับมหภาคของจงัหวัดนครศรีธรรมราช แตอยางใด

2) ผลกระทบตอคุณภาพอากาศ การดําเนินการทําเหมืองของโครงการ จะทําใหปริมาณฝุนแขวนลอยในบรรยากาศ ในบริเวณที่มี

กิจกรรมการทาํเหมือง และบริเวณที่มีความเกี่ยวของ ซึง่สาเหตุของการเกิดฝุนละอองจะเกิดขึ้นจากกิจกรรมหลักในแตละบริเวณดังนี ้

(1) ฝุนจากการทาํเหมือง ฝุนประเภทนี้มีแหลงกําเนิดอยูภายในบริเวณพื้นที่โครงการเกดิจากกิจกรรมตางๆเชนการเจาะรูระเบิด การระเบิดหิน และการขุดตักแรเปนตน

จากการศึกษาของ US.EPA.(2528) จะสามารถประเมินปริมาณฝุนละอองที่เกิดจากการระเบิดในการทําเหมืองแรที่ไมมีการควบคุมได การระเบิดหนาเหมืองแตละครั้งจะกอใหเกิดอนุภาคของฝุนที่มขีนาดเล็กกวา 30 ไมครอนลงไปฟุงกระจายอยูในปริมาณเพียง 12.66 กก. ฝุนละอองเหลานี้เปนฝุนละอองเหลานี้เปนฝุนหนักมีมวลในตัวเองจากการศึกษาของ กองการเหมืองแร กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรพบวา ลักษณะการเกิดฝุนจะแผรัศมีประมาณ 2-2.5 เทาของความยาวหนาระเบิด จะเคลื่อนทีไ่ปตามทิศทางลมในลกัษณะลํายาว และหายไปในเวลา 5 นาท ีหลังการระเบิด การทําเหมืองของโครงการในลกัษณะ Open Pit ลึกลงไปเปนบอขุมเหมือง เมื่อเปดทําเหมืองลึกลงไปจากผิวดิน 3 ม. ขึ้นไป จะทําใหฝุนที่เกิดจากการระเบิดฟุงกระจายเฉพาะในบอเหมืองเทานัน้ ฝุนละอองจากการะเบิดจึงไมเกิดขึน้หรอืเกิดขึน้ในระดับตํ่ามาก แตอยางใดกต็ามที่ปรึกษาไดเสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบไวในบทที่ 5 ตอไป

(2) ฝุนจากการขนสง กิจกรรมการขนสงแรของโครงการทั้ง 2 แปลง คือคําขอประทานบัตรที่ 1/2545 และประทาน

บัตรที่ 26159/15310 ซึ่งมอีตัราการผลิต 40,000 เมตรกิตัน/ป หรือ 133 เมตริกตัน/วัน คาดวาจะมีจํานวนเที่ยวขนสงวันละ 9 เที่ยว เพื่อนําแรไปแตงยังโรงแตงแรดานนอกโครงการ ซึ่งสภาพเสนทางขนสงแรมีสภาพเปนถนนบดอัดลูกรัง ซึ่งมีระยะทางจากหนาเหมืองถึงถนนลาดยางประมาณ 2 กม. (รูปที่ 4.3-1) มีบานเรือนราษฎรริมเสนทางดังกลาว 6 หลังคาเรือน จากการสอบถามพบวากอนหนานี้ไดมีปญหา เรื่องของการฟุงกระจายของฝุนละอองจากการขนสงแรของโครงการ แตปจจุบันโครงการไดจัดทําระบบสเปรยน้ําบริเวณริมเสนทาง เพื่อฉีดพรมปองกันฝุนละอองฟุงกระจาย ราษฎรมีความพอใจกับมาตรการดังกลาว แตอยางไรก็ตาม เพื่อใหการปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมมีประสิทธิภาพจะไดกําหนดมาตรการปองกันและปองกันผลกระทบตอไป

Page 9: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-8

รูปที่ 4.3-1 เสนทางขนสงแรของโครงการ และการติดต้ังระบบสเปรยน้ํา

ที่มา : กรมแผนที่ทหาร (2543) www.pointasia.com (2552)และการสํารวจภาคสนาม (2552)

N

0กม.

1.0 2.00.5

973

972

971

970 582578 579 580 581 583 584

สัญลักษณ :

ประทานบัตรที่ 26159/15310 ของบริษัท เอเชียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด

พื้นที่ใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่เพื่อการเก็บขังนํ้าขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่ 1/2548

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ประทานบัตรขางเคียง

คําขอประทานบัตรขางเคียง

สวนขยาย

4186

ทางหลวงหมายเลข4186

เสาสเปรยน้ําตามริมเสนทางบานเรือนราษฎรริมเสนทาง 4

32

1

1 เสนทางขนสงแรจุดที่ 1 2 เสนทางขนสงแรจุดที่ 2 3 เสนทางขนสงแรจุดที่ 3 4 เสนทางขนสงแรจุดที่ 4

เสนทางขนสงแรของนายกติติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแร

อุตสาหกรรม จํากัด

ทิศทางการขนสงแร

เสนทางขนสงแรของบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด

เสนทางขนสงแรของหางหุนสวนจํากัด สินแรเจริญผล

กลุมประทานบัตรของ หจก.สินแรเจริญผล

กลุมประทานบัตรของ บ.เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากดั

กลุมประทานบัตรของ บ.เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากดัและนายกิตติ ดลรึเดช

Page 10: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-9

4.4 ผลกระทบดานเสียง ความสั่นสะเทือน และการปลิวกระเดน็ของเศษหิน

1) ผลกระทบดานเสียง (1) เสียงจากเครือ่งจักรกล

เมื่อพิจารณาถึงเครื่องจักรกลที่ใชในการทําเหมืองของโครงการที่กอใหเกิดเสียงดัง ไดแก เครื่องเจาะหนิ ขนาดดอกเจาะ 3 นิ้ว เครื่องอัดลม รถขุดตีนตะขาบ รถตักลอยาง รถบรรทุกเททายและรถบรรทุกน้ํานั้น จากผลการศึกษาของ Royal School of Mines (C.G. Down J.Strock, 1979) พบวาในจํานวนเครือ่งมือตางๆ ดังกลาวนั้น เครื่องมือที่กอใหเกิดเสียงดังมากที่สุด คือ เครื่องเจาะรูระเบิด ซึ่งจะกอใหเกิดเสียงดังประมาณ 98 เดซิเบล(เอ) (วัดที่ระยะ 15 ม.) ซึ่งสามารถประเมินระดับเสียงของเครื่องเจาะรูระเบิด ที่กอใหเกิดเสียงดังแบบตอเนื่องตลอดเวลาการทํางาน 8 ชั่วโมง อันกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนใกลเคียงโดยรอบพื้นที่โครงการ ไดแก ชุมชนบานนบมีระยะหางจากบานราษฎรถึงบริเวณหนาเหมืองประมาณ 1 กม. และชุมชนบานเขาเหลก็มีระยะหางจากบานราษฎรถึงบริเวณหนาเหมืองประมาณ 2.3 กม. จากสมการดังตอไปนี ้

Lp2 = Lp1-20 log ( R2/R1) เมื่อ Lp2 = ระดับความเขมเสียงที่แหลงรับเสียงไดรับที่ระยะ R2 [เดซิเบล(เอ)] Lp1 = ระดับความเขมเสียงจากแหลงกําเนดิเสียงที่ระยะ R1 [เดซิเบล(เอ)] R2 = ระยะหางระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับแหลงรับเสียง (ม.) R1 = ระยะหางระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับจุดวัดเสียงอางอิง (ม.) ที่ระยะ 15 ม. จากการศึกษาจะเห็นวาระดับเสียงของเครื่องเจาะรูระเบิดตอชุมชนตางๆ มีคาอยูในชวง

61.5-56.4 เดซิเบล (เอ) ซึ่งมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานระดับเสียงจากการทําเหมืองหินเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยแีละสิ่งแวดลอม (2535) ที่กําหนดไวไมเกนิ 75 เดซิเบล(เอ) สวนเสียงดังจากเครือ่งมอืชนิดอืน่ๆ อันอาจเกิดผลกระทบตอพนกังานที่ทํางานใกลแหลงกําเนิดเสียงเปนเวลานานตอเนื่องกนั สามารถปองกนัไดดวยเครื่องปองกันเสียงสวนบุคคล ซึ่งจะเสนอรายละเอียดในหัวขออาชีวอนามัยในบทที่ 5 เชนกนั

(2) เสียงจากการใชวัตถุระเบิด การศึกษาของสํานักการเหมืองแร ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States Bureau of

Mine: USBM) โดยระดับเสียงหาไดจาก dBl = 165-25 log (d/w1/3) เมื่อ dBl = ระดับเสียง (เดซิเบล) d = ระยะทางจากจุดระเบิดถึงจุดแหลงรับ (ม.) w = น้ําหนักวัตถรุะเบิดตอจังหวะถวง (กก.)

การออกแบบการระเบิดของโครงการกําหนดปริมาณวัตถุระเบิดสูงสุดตอจังหวะถวงเทากับ 70 กก./จังหวะถวง ดังนัน้จะสามารถคํานวณระดับเสียงบริเวณบานเรอืนราษฎรที่ต้ังอยูใกลโครงการมากที่สุดระยะประมาณ 1 กม. จะไดระดับเสียงประมาณ 116 เดซิเบล

สํานักการเหมืองแรของประเทศสหรัฐอเมรกิา (USBM. TRP. 78 Maximum) และสํานักสุขภาพและความปลอดภัยจากการทํางานของประเทศสหรัฐอเมริกา (OSHA. Maximum of Impulsive Sound) ไดกําหนดคาระดับเสียงดังจากระเบิดสูงสุดที่ยอมรับไดไมเกิน 140 dB และสํานักการเหมืองแรของประเทศสหรัฐอเมริกา (USBM. TRP.78 Safe Level) ไดกําหนดคาระดับเสียงจากการระเบิดที่ปลอดภัยใหไมเกิน 130 dB แสดงดังรายละเอียดตารางที ่ 4.4-1 ดังนั้นบานเรือนราษฎรที่ต้ังอยูใกลเคยีงโครงการมากที่สุดระยะ 1 กม. จะไดรับเสียงจากการระเบิดที่มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

Page 11: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-10

ตารางที่ 4.4-1 แสดงระดับความดังของเสียงที่มีผลกระทบตอบุคคลและอาคาร dB psi ผลกระทบที่เกิดข้ึน

180 3.0 โครงสรางเสียหาย 170 0.95 กระจกสวนใหญแตก 160 0.30 150 0.095 กระจกแตกบางสวน 140 0.030 คาสูงสุดที่สํานักสุขภาพและความปลอดภัยจากการทํางานของประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupation Safety & Health

Administration : U.S. Department of Labor) ยอมรับได (OSHA. Maximum For Impulsive Sound) 140 0.030 คาสูงสุดที่สํานักการเหมืองแรของประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับได (USBM) TRP. 78 Maximum 130 0.0095 คาที่ปลอดภัยกําหนดโดยสํานักการเหมืองแรของประเทศสหรัฐอเมริกา (USBM) TRP. 78 Safe Level 120 0.003 คาที่เริ่มทําใหแกวหูเปนอันตรายมาก หากไดยินตอเนื่องเปนเวลานานๆ 120 0.003 คาที่มักไดรับการรองเรียนและคาสูงสุดที่สํานักสุขภาพและความปลอดภัยจากการทํางานของประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับไดใน

การทํางานตอเนื่องกัน 15 นาที (OSHA. Maximum For 15 Minutes) 110 0.00095 100 0.0003 90 0.000095 คาสูงสุดที่สํานักสุขภาพและความปลอดภัยจากการทํางานของประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับไดในการทํางานตอเนื่อง 8 ชั่วโมง

(OSHA. Maximum For 8 Hours) 80 0.00003

ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนา 2541 “มาตรการปองกันผลกระทบจากการใชวัตถุระเบิดในงานเหมืองแรและเหมืองหินในประเทศไทย” กองการเหมืองแร กรมทรัพยากรธรณ ี

2) ผลกระทบดานความสั่นสะเทือน การเสนอแนวทางการกําหนดเกณฑผลกระทบจากการใชวัตถุระเบิดในหลายประเทศ โดยทั่วไปจะ

ใชการหาคาความเร็วอนุภาคสูงสุด (Peak particle velocity) โดยคาความเร็วอนุภาคดังเสนอไวในตารางที่ 4.4-2 ถึงตารางที่ 4.4-5

ตารางที่ 4.4-2 เกณฑผลกระทบความเสียหายจากการใชวัตถุระเบิดจากงานของประเทศสวีเดน ความเร็วอนุภาค ความเสียหายที่เกิดข้ึน

2.8 นิ้ว/วินาที ไมเกิดผลกระทบความเสียหายตอโครงสรางใหเห็น 4.3 นิ้ว/วินาที เกิดรอยแตกเล็ก ๆ และผงปูนหลนลงมา 6.3 นิ้ว/วินาที เกิดรอยแตกชัดเจน และรอยราวในผนังตึก 9.1 นิ้ว/วินาที เกิดรอยราวเปนแนวยาว เห็นชัดเจน

ที่มา : Langefors et al.1958 อางตาม สงา ตั้งชวาล, (2541)

ตารางที่ 4.4-3 เกณฑผลกระทบความเสียหายจากการใชวัตถุระเบิดจากงานของประเทศอังกฤษ ความเร็วอนุภาค ความเสียหายที่เกิดข้ึน

นอยกวาหรือเทากับ 2 นิ้ว/วินาที ปลอดภัย ไมเกิดอันตรายใด ๆ 2-4 นิ้ว/วินาที ควรระวัง และตรวจสอบอาคารโครงสราง

มากกวา 4 นิ้ว/วินาที เกิดอันตรายตอสิ่งกอสราง

ที่มา : Edwards and Northwood,1960 อางตาม สงา ตั้งชวาล, ( 2541)

ตารางที่ 4.4-4 เกณฑผลกระทบความเสียหายจากการใชวัตถุระเบิดจากงานของประเทศสหรัฐอเมริกา ความเร็วอนุภาค ความเสียหายที่เกิดข้ึน

นอยกวา 2 นิ้ว/วินาที ไมมีผลเสียหาย 2-4 นิ้ว/วินาที เกิดรอยแตกในปูนพลาสเตอร 4-7 นิ้ว/วินาที มีความเสียหายเกิดขึ้นในอุโมงค แตอยูในระดับต่ํา

มากกวา 7 นิ้ว/วินาที มีความเสียหายในระดับสูงตอสิ่งกอสราง

ที่มา : USBM, 1971 อางตาม สงา ตั้งชวาล, (2541)

Page 12: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-11

ตารางที่ 4.4-5 เกณฑผลกระทบความเสียหายจากการใชวัตถุระเบิดจากงานของประเทศแคนาดา

ความเร็วอนุภาค ลักษณะวัตถุ/ส่ิงกอสราง ความเสียหายที่เกิดขึ้น

0.5 น้ิว/วินาที สวิตซไฟ เกิดการตัดวงจร (Trip out) 2 น้ิว/วินาที บานเรือนที่อยูอาศัย ปูนพลาสเตอรเกิดรอยแตก 8 น้ิว/วินาที บล็อกคอนกรีตของบานใหม เกิดรอยแตกเล็ก ๆ ในบล็อกคอนกรีต 15 น้ิว/วินาที หลุมเจาะที่ใส Casing เกิดการเลื่อนตัวในแนวราบ 40 น้ิว/วินาที เครื่องจักรกลขนาดใหญ เชน ปม เครื่องอัดลม แกนกลางของ Shaft เกิดการเบี่ยงเบน 60 น้ิว/วินาที โครงสรางที่หุมดวยโลหะ เกิดการแตกและบิดตัวของโครงสรางนั้น

ที่มา : Bauer and Calder, 1977 อางตาม สงา ตั้งชวาล, ( 2541)

การหาคาความเร็วอนุภาคสูงสุดโดยใชรากกําลงัสอง สมการเพื่อหาคาความเร็วอนุภาคมีดังนี้ Vr = Kv [r/(W1/2)] m ; V = Kv [r/(W1/2)] m เมื่อ Vr = ความเร็วอนุภาคสูงสุดในแนวรัศมี (Radial peak particle velocity) มีหนวยเปน

นิ้ว/วินาที หรอืมิลลิเมตร/วินาที V = คาเวกเตอรผลลัพธของความเร็วอนุภาคสูงสุดทั้งสามทิศทาง (Peak vector sum)

ปจจุบันนิยมใชคา V มากกวา Vr มีหนวยเปน นิ้ว/วินาที หรือมิลลิเมตร/วินาที r = ระยะทางจากจุดระเบิดไปยังจุดวัด มีหนวยเปนฟุตหรอืเมตร W = น้ําหนักวัตถรุะเบิดสูงสุดตอจงัหวะถวงทีห่างกันเกนิ 8 เศษหนึง่สวนพนัวินาท ีมหีนวย

เปนปอนดหรือกิโลกรัม Kv และ m = คาคงที่ขึ้นอยูกบัสภาพทางธรณีวิทยาและภูมิประเทศ จากจุดระเบิดไปยังจุดตรวจวัด สําหรับคา Kv และ m เปนคาคงที่ ตามเอกสารของ Dupont Blaster’s Handbook (E.I. Dupont

de Nemours & Co., 1980 อางตามสงา ต้ังชวาล, 2541) กําหนดคา Kv สูงสุดสําหรับชั้นดิน โดย Kv = 200 และ m = -1.6 และเพื่อเปลี่ยนคา V จากหนวยอังกฤษใหเปนหนวย S.I. โดย V มีหนวยเปนมิลลเิมตรตอวินาที ระยะทางเปนเมตร (r) และน้ําหนักวัตถุระเบิดเปนกิโลกรมั (W)

V = 200 [r /(W1/2)] -1.6 จากลักษณะสมการ เพื่อหาความเร็วอนุภาคเปรียบเทียบกับเกณฑผลกระทบความเสียหายจาก

การใชวัตถุระเบิดของโครงการ โดยมีขอมูลที่สําคัญของการประเมินผลกระทบดังนี้ น้ําหนักวัตถรุะเบิดใชสูงสุดตอจังหวะถวง(W) = 70 กก. กําหนดคา Kv = 200 ระยะทางจากจุดระเบิดไปยังจุดวัด (r) = 1,000 ม.

ผลการประเมินหาคาความเร็วอนุภาคสูงสุด (V) ที่ระยะ 1,000 ม. ทําใหคา V มีคาเทากับ 0.095 มิลลิเมตร/วินาที หรือ 0.0037 นิ้ว/วินาที ดังนั้นอาคารบานเรือนที่อยูหางจากหนาเหมืองระยะ 1,000 ม. จะไมไดรับผลกระทบดานความสั่นสะเทือนจากการระเบิด โดยเกณฑมาตรฐานความปลอดภัยกําหนดไวไมเกิน 2 นิ้ว/วินาท ี

3) ผลกระทบดานหินปลิว หินปลิว (Fly Rock) อาจเกิดผลเสียหายตอสิ่งปลูกสรางและกอใหเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บถึงเสียชีวิต

ขึ้นได การปลิวกระเด็นของหินจากการระเบิดมีโอกาสเกิดขึ้น 2 บริเวณ คือ บริเวณใกลปากรูเจาะของเหมือง

Page 13: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-12

ขั้นบันได (Bench top of cratering) และบริเวณหนาอิสระที่อยูในแนวดิง่หรอืเกือบดิ่ง (Vertical face or hight wall) โดยมีสาเหตุหลักมาจากระยะอัดวัตถุระเบิดที่ยาวเกินไปทําใหเกิดหลุมที่ผิวดิน และความหนาของ Burden ไมสม่ําเสมอทําใหการระเบิดมีลกัษณะเปนหลุมในตอนกลาง ซึ่งจะทําใหการระเบิดมีสภาพไมเปนระบบปดที่สมบูรณเกิดการหลุดรัว่ของแกสไดในชวงที่เกิดการขยายตัว พลงังานจงึตกไปสูเศษหินขนาดเล็กๆ และเกิดการปลิวของหนิขึ้น

สําหรับในกรณีที่ทําการระเบิดแบบขั้นบนัไดที่มีระบบปดแบบสมบูรณ Lundborh, 1981 (อางตามไพรัช จรูญพัฒนพงศ, 2547) ที่ทําการระเบิดแบบขัน้บันไดที่มีระบบปดสมบูรณนัน้ระยะปลิวสูงสุด (L) มีความสัมพันธกับขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะระเบิด (d) และคา Specific charge (q) จากความสัมพันธ พบวา เมื่อคา Specific charge มีคานอยกวา 0.2 กก./ลบ.ม. จะไมมีการปลิวของหินและคาสูงสุดของระยะที่ปลิวไดไกล (L) สามารถหาไดจาก L = 143 d (q-0.2)

โดย d = เสนผาศูนยกลางรูเจาะระเบิด (นิ้ว) q = Specific charge (กก./ลบ.ม.) L = Maximum throw (ม.) จากการออกแบบการเจาะรูระเบิดของโครงการกําหนดการใชปริมาณวัตถุระเบิดสูงสุด 70 กก./

จังหวะถวง มีคา Specific charge เทากับ 0.56 กก./ลบ.ม. เมื่อแทนคาตามสมการขางตน ดังนั้น L = 143 d (q-0.2) = 143 (3)(0.36) = 154.4 ม.

หรือ ≈ 155 ม. ดังนั้นจึงกลาวไดวาในกรณีที่ทําการเจาะระเบิด โดยออกแบบใหการระเบิดเปนระบบปดที่สมบูรณ

นั้น หากเกิดการปลิวกระเด็นของเศษหินขึน้ จะมีการปลิวกระเด็นไปไดไกลสุดในระยะ 155 ม. บานเรือนราษฎรที่อยูหางประมาณ 1 กม. จะไมไดรับผลกระทบ และจากการศึกษาในเอกสาร US.Bureau of Mines Open File Report อางตามสงา ต้ังชวาล (2543) พบวา การปลิวกระเด็นของหินบริเวณหนาเหมืองเปนแบบเสนโคงพาราโบลา (Parabolic trajectory) ซึ่งจะปลิวไปทางเดียวกับหนาระเบิด ดังนั้นโอกาสการปลิวกระเด็นของเศษหินออกสูภายนอกมีนอยมาก

4.5 ผลกระทบตออุทกวิทยาและคุณภาพน้ําผิวดิน

การออกแบบการทําเหมืองของโครงการ จะประกอบดวยพื้นที่ใชสอยตางๆ ภายในโครงการดังนี้ (รูปที่ 4.5-1)

- พื้นที่ทําเหมือง ประกอบดวย พื้นที่หนาเหมือง “ห1” และ “ห2” พื้นที่ประมาณ 23.5 ไร - พื้นที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหินโดยใชพืน้ที่ขุมเหมอืงเกาพื้นที่ประมาณ 14.5 ไร จะเก็บกอง

เปลือกดินและเศษหินประมาณ 7.5 ไร และใชเปนบอดักตะกอนประมาณ 7 ไร ลึกประมาณ 20 ม. - พื้นที่เก็บกองแรจะใชหนาเหมืองเปนที่พักแรกอนจะลําเลียงโดยรถบรรทุกสิบลอนําแรออกไปแตงยัง

โรงแตงแรภายนอกพื้นที่โครงการ - เสนทางขนสงแร จะใชเสนทางที่มีอยูเดิมแลวที่ตัดผานพื้นที่คําขอประทานบัตรที่ 1/2545 เพื่อไปยัง

หนาเหมืองประทานบัตรที่ 21659/15310 โดยมีสภาพเปนถนนบดอัดลูกรังความกวางผิวการจราจรประมาณ 4 ม. การวางแผนดานการจัดการควบคุมผลกระทบในภาพรวม โครงการไดมีการเปลีย่นแปลงแผนผังโครงการ

ทําเหมือง คือ รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับประทานบัตรที่ 21659/15310 ที่อยูติดกับพื้นที่โครงการ

Page 14: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-13

ทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และพืน้ที่ใบอนุญาตจัดต้ังสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที ่ 1/2548 เพือ่งายตอการจัดการและควบคุมผลกระทบสิง่แวดลอมที่อาจจะเกิดขึ้น โดยเฉพาะเรื่องผลกระทบทางดานคุณภาพน้ําผิวดิน ซึ่งโครงการไดจัดใหมีบอดักตะกอนที่รับน้ําจากพื้นที่หนาเหมืองและพื้นที่กิจกรรมเกี่ยวเนื่อง โดยทีป่รึกษาไดพิจารณาถึงลักษณะภูมิประเทศที่มีความลาดชันจึงมีการปรับเปล่ียนตําแหนงของที่เก็บกองเปลือกดิน และบอดักตะกอนเพื่อใหสามารถปองกันผลกระทบดานการชะลางพังทลายไดอยางมีประสิทธิภาพดังรูปที่ 4.5-1 โดยการประเมินปริมาณน้ําที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่รับน้ําของโครงการมีรายละเอียดดังนี้

1) การประเมินปริมาณน้ําผิวดิน ในการประเมนิปริมาณน้ําผวิดิน คํานวณโดยใชสูตร Rational Formula (นิพนธ ต้ังธรรม, เอกสารการ

สอน : การควบคุมการชะลางพังทลายของดิน หนา 135, 2526) มีสูตรการคํานวณดังนี้ Q = CIA / 2,250 เมื่อ Q = อัตราการไหลของน้ําผิวดิน (Peak Runoff),ลบ.ม./วินาที C = สัมประสิทธิ์การไหลของน้ําผิวดิน (Runoff Coefficient) I = อัตราความเขมของฝน (Rainfall Intensity Rate), มม./ชม. A = พื้นที่รองรับน้ําฝน (ไร)

2) ขอกําหนดในการวเิคราะห (1) กําหนดพื้นที่ในการประเมินการไหลบาของน้ําผิวดิน คิดเปนพื้นที่รับน้ําฝนทั้งหมดดังนี้ (รูปที่ 4.5-2)

พื้นที่ 1 : พื้นที่รับน้ําฝนที่เปนปาไมบนภูเขาพื้นที่ประมาณ 70 ไร พื้นที่ 2 : พื้นที่หนาเหมือง “ห1” เนือ้ทีป่ระมาณ 13.5 ไร พื้นที่ 3 : พื้นที่หนาเหมือง “ห2” เนือ้ทีป่ระมาณ 10 ไร พื้นที่ 4 : พื้นที่เก็บกองเปลือกดิน “ด1” พื้นที่ประมาณ 7.5 ไร

คาสัมประสิทธิก์ารไหลของน้ําผิวดินบริเวณพืน้ทีโ่ครงการ เมื่อพิจารณาสภาพภูมิประเทศบริเวณพื้นทีร่ับน้ําของโครงการมีสภาพเปนพืน้ที่ปาไมบนภูเขา การกําหนดคาสัมประสิทธิ์การไหลของน้ําผิวดินสูงสุดเทากับ 0.21 สวนพื้นที่หนาเหมืองและพื้นที่เก็บกองเปลือกดินของโครงการ เนือ่งจากมีการใชประโยชนเพื่อการทําเหมือง ซึ่งกําหนดคาสมัประสิทธิ์การไหลของน้ําผิวดินสูงสุดเทากับ 0.72 ดังตารางที่ 4.5-1 (นิพนธ ต้ังธรรม, เอกสารการสอน : การควบคุมการชะลางพังทลายของดิน, หนา 135, 2526) แตดวยสภาพที่เปนพื้นที่ที่ผานการทําเหมือง ที่ปรึกษากําหนดใหคา C เทากับ 0.8 เพื่อประเมินการไหลบาของน้ําผิวดินกรณีรายแรง

ตารางที่ 4.5-1 คาสัมประสิทธ์ิการไหลบาน้าํผิวดิน

ภูมิประเทศ-พืชคลุม สัมประสิทธิ์ ( C )

ปาไมบนที่เนินเขา 0.18 ปาไมบนที่ภูเขา 0.21 ทุงหญาบนที่เนินเขา 0.36 ทุงหญาบนภูเขา 0.42 ที่เกษตรบริเวณเนินเขา 0.60 ที่เกษตรบนภูเขา 0.72

ที่มา : Hudson (1971) (อางตาม นิพนธ ตั้งธรรม, 2526)

Page 15: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

รูปที่ 4.5-1 แสดงระบบระบายน้ําของโครงการ

330

320310

300

290280

5

275270

265260

2506255

245240235

230

2257

225230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270275

280285

290295300305310

320330

340350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

80017

540

520500

480460

440420 15

1441040013390390400420 1211

3404

340330320310300290280

280

2852902953003305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

ห1

ห2

บ2

บ1

บ3

บ4

3

12

หวยเปลอืกขนุน

ขุมเหมืองบริเวณหนาเหมือง “ห1”

พื้นที่บริเวณขุมเหมืองเกา

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

หวยนบพิตํา

บ2

บ3

บ4

บ1

ขุมเหมืองบริเวณหนาเหมือง “ห2”

บริเวณหนาเหมอืง ห1

บริเวณหนาเหมอืง ห2บริเวณที่เก็บกอง ด1

สัญลักษณ :

ทิศทางการไหลของน้ํา

บ บอดกัตะกอน

ที่มา: แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549) และการสํารวจภาคสนาม (2552)

หนา 4-14

ม.

N

0 100 300 500200 400

คูระบายน้ํา

Page 16: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

500

400

300

บ3

12

4

5

1011

บ2

330

320

310300

2902805

275270

265260

2506255

245240

235

230

2257

225

230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270

275280285

290295300305310

320

330

340

350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360

350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

60017

540

520

500480

46044042015

14410400

13390390400 420 1211

3404

340330320310300

290280

280

285290

295300

3305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

บ6

บ3

บ3

หวยเปลอืกขนุน

3

21

17

6

78

6

13

1211

10

94

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

หวยนบพิตํา

บ3

บ4

สัญลักษณ :

บ บอดกัตะกอน

พื้นที่ 1 รับน้ําฝนบนภูเขา

พื้นที่ 2 เปดทําเหมืองบริเวณ “ห1”

ทางน้ํา

ถนนภายในโครงการ

ตําแหนงทอลอดขามทางสาธารณะ

พื้นที่ 3 เปดทําเหมืองบริเวณ “ห2”

พื้นที่ 4 บริเวณที่เก็บกองเปลือกดิน “ด”ด

ห1

ห2

N

0 100 300 500200 400

ม.

หนา 4-15

รูปที่ 4.5-2 แสดงพื้นที่ประเมินการไหลบาของน้ําผิวดิน

บ1

ที่มา: แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549)

แนวกันเขตหามทาํเหมืองใกลทางน้ําสาธารณะในระยะ 50 เมตร

บ2

บ3

บ4

บ1

บ2

พื้นที่แนวกันชน (Buffer Zone)

Page 17: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-16

(2) อัตราความเขมของฝนโดยพิจารณาการเกิดฝนแบบ Thunder Storm และใชคาระยะเวลาที่ฝนตก (Duration Time) นาน 1 ชั่วโมง นําไปหาคาความเขมของน้ําฝนโดยใช Return Period ในรอบ 30 ป เนือ่งจากขอมูลของสถานีตรวจวัดอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวา มคีาความเขมของน้ําฝน เทากับ 76 มม./ชม. ดังรูปที่ 4.5-3 (Rainfall Intensity Duration Frequency Analysis,การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, 2531) สามารถประเมินหาอัตราการไหลของน้ําผิวดินบริเวณพื้นที่โครงการไดดังนี ้

พื้นที่ 1 : บริเวณพื้นที่รบัน้ําฝนบนภูเขาที่มีสภาพเปนพื้นที่ปาไม พืน้ที่ 70 ไร Q = (0.21 x 76 x 70)/2,250 = 0.50 ลบ.ม./วินาที = 1,800 ลบ.ม./ชม.

พื้นที่ 2 : บริเวณพื้นที่ทาํเหมือง “ห1” พืน้ที่ประมาณ 13.5 ไร Q = (0.8 x 76 x 13.5)/2,250 = 0.36 ลบ.ม./วินาที = 1,296 ลบ.ม./ชม.

พื้นที่ 3 : บริเวณพื้นที่ทาํเหมือง “ห2” พื้นที่ประมาณ 10 ไร Q = (0.8 x 76 x 10)/2,250 = 0.27 ลบ.ม./วินาที = 927 ลบ.ม./ชม.

พื้นที ่4 : บริเวณพื้นทีร่ับน้ําเปนพื้นทีเ่กบ็กองเปลอืกดนิและเศษดนิ “ด1”พื้นที่ประมาณ 7.5 ไร Q = (0.8 x 76 x 7.5)/2,250 = 0.2 ลบ.ม./วินาที = 720 ลบ.ม./ชม.

3) การประเมินประสิทธิภาพของบอดกัตะกอน ปริมาณน้ําไหลบาผิวดิน ผานพื้นทีห่นาเหมอืง “ห1” มีอตัราการไหลบาสูงสดุเทากับ 1,296 ลบ.ม./ชม.

และพื้นทีร่ับน้ําฝนที่เปนปาไมบนภูเขาที่ใชคา C เทากับ 0.21 เนื่องจากมีสภาพปาที่สมบูรณ มีอัตราการไหลบาเทากับ 1,800 ลบ.ม./ชม. ซึ่งทั้งสองพืน้ที่จะควบคมุน้ําไหลบาใหไหลลงสูบอดักตะกอน “บ3” ที่มคีวามจุ 2,400 ลบ.ม. และ “บ2” ที่มคีวามจุ 1,920 ลบ.ม. โดยน้ําจะไหลผาน “บ3” กอนไหลลนไปยัง “บ2” สามารถรับน้ําไหลบาไดทั้งหมด สวนพื้นที่เก็บกองเปลือกดิน “ด1” ที่มีอัตราการไหลบาเทากับ 720 ลบ.ม./ชม. ควบคุมใหไหลลงสู “บ1” ที่เปนขุมเหมืองเกาความจุ 224,000 ลบ.ม. และพื้นที่หนาเหมือง “ห2” ที่เปนขุมเหมืองเกาความจุ 64,000 ลบ.ม. บอดักตะกอนของโครงการสามารถรองรับน้ําไหลบาผิวดินที่เกิดขึ้นไดทั้งหมด (รูปที่ 4.5-4) และนอกจากนั้นบริเวณริมเสนทางขนสงแรชวงที่ผานพื้นทีห่นาเหมืองและพื้นที่เกี่ยวเนือ่ง จะเสนอใหจัดสรางเปนคูระบายน้ําเพื่อปองกันน้ําขุนขนจากพื้นที่หนาเหมืองและพืน้ที่เกี่ยวเนื่องมิใหไหลลงสูลาํหวยนบพิตําโดยตรง และจะเสนอใหมีการการจัดสรางฝายดักตะกอนเปนชวงๆ เพื่อกรองตะกอนของน้ําขุนขน

Page 18: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

รูปที่ 4.5-3 แสดงความสัมพันธระหวางความเขมขนของน้ําฝนชวงรอบปการเกิดซ้ําของสถานีตรวจวัดอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

หนา 4-17

500

400

300250

200

150

100

80706050

40

30

20

10

5

4

3

2

110 15 30 1 2 3 4 5 6 9 12 18 24

Return Period in Years

5002001005020105

Rainf

all In

tens

ity –

mm

./hr.

Period : 1964-83

Minutes

Fig. Rainfall Intensity

Duration

Duration Frequency Curves

Hours

1000

2

ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย(2531)

Page 19: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-18

รูปที่ 4.5.4 แสดงการออกแบบบอดักตะกอนและประตูระบายน้ําลนจากบริเวณขุมเหมือง

ที่มา : บริษัท เอ บ ีอี เอ็น เอ็นจิเนียริง คอนซัลแตนท จํากัด (2552)รูปขยาย

ประตูระบายน้ํา

บอดักตะกอน

บอดักตะกอน

ประตูระบายน้ํา

บ2

บ3

ทิศทางการระบายน้ํา

Page 20: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-19

จากผลการวิเคราะหตัวอยางดินในบริเวณพืน้ที่โครงการ จาํนวน 2 ตัวอยาง พบวา ดินมีลักษณะเนื้อดินเปนดนิทรายรวน (Loamy Sand) และดินรวนทราย (Sandy Loam) ซึ่งจัดอยูในกลุมดินเนื้อหยาบ (Coarse-textured soils) โดยมีอนุภาคทราย (Sand) 86.60% และ 63.34% อนุภาคทรายแปง (Silt) 10.36% และ 21.34% และอนุภาคดินเหนียว (Clay) 3.04% และ 15.32% จะพบวาอนุภาคดินบริเวณที่โครงการสวนใหญเปนอนุภาคทรายถึง 86.6% ซึ่งอนุภาคดังกลาวสามารถตกตะกอนไดเร็วและน้ําที่เกดิจากการไหลผานบริเวณหนาเหมือง ห1, ห2 และพื้นที่เก็บกอง “ด1” และควบคุมใหไหลสูบอดักตะกอนที่มีอยูในปจจุบันและสามารถรองรับไดทั้งหมด

ระยะเวลาตกตะกอนของอนุภาค Sand t =

4-10 x4.52

0.20

แตอยางไรก็ตามที่ปรึกษาไดกําหนดมาตรการปองกันแกไขผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น

4) ผลกระทบจากการตัดเสนทางผานลําหวยนบพิตํา การใชเสนทางขนสงแร ทางโครงการจะใชเสนทางเดิมที่กอสรางไวแลว และยังคงใชงานไดดีอยูใน

ปจจุบัน โดยแนวเสนทางที่ตัดผานบริเวณพื้นที่โครงการมขีนาดความกวางผิวจราจรประมาณ 4 ม. สภาพเสนทางเปนถนนดินลกูรังบดอัดแนน ซึง่แนวเสนทางดังกลาวจะตัดผานหวยนบพิตํา จํานวน 3 จุด และตัดผานหวยเปลือกขนุน 1 จุด บริเวณที่ตัดผานหวยนบพิตํา โครงการสรางทอระบายน้ําลอดขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1.2 ม. พรอมทั้งเทปดทับดวยคอนกรีตเสริมเหล็กความหนาประมาณ 0.20 ม. เพื่อใหมีความมั่นคงแข็งแรงสามารถรองรับรถบรรทุกหนักได สวนจุดตัดผานหวยเปลือกขนุนมีการวางทอระบายน้ําลอดขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1.2 ม. พรอมทั้งเทปดทับดวยดินลูกรังความหนาประมาณ 1.5 ม. ดังรูปที่ 4.5-5 ปจจุบันเสนทางขนสงแรของโครงการยังสามารถใชงานไดดีอยูเสมอ

4.6 ผลกระทบตออุทกวิทยาและคุณภาพน้ําใตดิน

การทําเหมืองแรเฟลดสปารของทางโครงการ ซึง่เปนลาดเขาจจะมีการขุดตักแรออกมาลึกลงไปเสมอแนวระดับ 300 ม.(รทก.) แตก็ยังสูงกวาระดับพื้นที่ราบดานลางซึ่งลักษณะของอุทกธรณีวิทยาบริเวณพื้นที่โครงการ พบวาพื้นที่โครงการอยูในแหลงน้ําใตดินในหินอุมน้ําหินแกรนิตซึง่มีอัตราการใหน้ําต่ํามาก ประกอบกับราษฎรในบริเวณใกลเคียงสวนใหญไมมกีารใชประโยชนจากน้ําใตดินเพื่อการบรโิภคแตอยางใด

4.7 ผลกระทบตอปฐพีวิทยา

การทําเหมืองของโครงการจะกอใหเกิดผลกระทบตอลักษณะทางปฐพีวิทยาภายในพื้นที่โครงการในดานตางๆ คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงในดานลักษณะโครงสรางทางกายภาพของดิน ในบริเวณที่มีการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของโครงการ ไดแก เปลือกดินชั้นบนที่ถูกไถดันเพื่อปรับระดับสภาพพื้นที่สรางอาคารตางๆ และพื้นที่ที่ใชในกิจกรรมประกอบการทําเหมือง รวมทั้งการขุดเปดเปลือกดินชั้นบนซึ่งมีความหนาหนาดินประมาณ 3 ม. ที่ปดทับชั้นแรอยูจากการทําเหมืองในชวงแรก โดยจะถูกไปสรางเปนคันทํานบดิน และเก็บกองรวมกันเอาไวเพื่อใชในการฟนฟูพื้นที่ตอไป สวนเปลือกดินที่ไดจากการเปดหนาเหมืองในชวงที่ 2 และ 3 จะนําไปถมกลับในบริเวณบอเหมืองที่เสร็จสิ้นการทําเหมืองแลว ดังนั้น จึงไมมีการสูญเสียเปลือกดินออกไปนอกพื้นที่โครงการ ผลกระทบในดานการเปลี่ยนแปลงองคประกอบทางเคมี คาดวาจะไมเกิดขึ้น เนื่องจากทําเหมืองมิไดมีการใชสารเคมีใดๆ อันจะเปนสาเหตุกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบทางเคมีของดิน

Page 21: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

330

320

310300

290280

5

275270

265260

2506255

245240

235

230

2257

225

230

หวยนบพิตํา

ถนนสวนบุคคลไปบานนบพิตํา

235

240

8

245

250

255

260265

270

275280285

290295300305310

320

330

340

350

360370380

3905400

410410

430440

450

460

470

480

480470

460

440

440460

460

43010

4207

410410

380370360

350

350 360370 380 390 400 410

420 440460

480 500 540 5 4

560

560580

580

80017

540

520

500480

46044042015

14410400

133903904004201211

3404

340330320310300

290280

280

285290

295300

3305310

320

320

9

310

310

320330

340

9

ห1

ห2

บ2

ม.

N

0 100 300 500200 400

บ1

บ3

บ4

3

12

หวยเปลอืกขนุน

ด1

ประทานบัตรที่ 26159/15310

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545

ใบอนุญาตตั้งสถานที่เก็บกองฯ ที่ 1/2548

หวยนบพิตํา

ชวงที่ตัดผานหวยเปลือกขนุน

ชวงที่ตัดผานหวยนบพิตํา

ชวงที่ตัดผานหวยนบพิตํา

สภาพเสนทางขนสงแร

สัญลักษณ :ถนนภายในเหมือง

ทอลอดขามทางน้ําสาธารณะทิศทางการเดินหนาเหมือง

ห1,ห2 จุดเริ่มตนเดินหนาเหมืองกงษี

บอดกัตะกอน

แนวกันเขตหามทาํเหมืองใกลทางน้ําสาธารณะในระยะ 50 เมตร

ขอบเขตพื้นที่ทําเหมือง

ด ที่เก็บกองเปลือกดนิ

ทางน้ํา

หนา 4-20

รูปที่ 4.5-5 สภาพจุดตัดทางน้ําของเสนทางขนสงแรของโครงการ

ที่มา: แผนผังโครงการทําเหมืองแรของนายกิตติ ดลรึเดช และบริษัท เอเซียเหมืองแรอุตสาหกรรม จํากัด (2549) และการสํารวจภาคสนาม (2550)

ชวงที่ตัดผานหวยนบพิตํา

Page 22: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-21

จะเหน็วาการเปลี่ยนแปลงสภาพพืน้ที่เพือ่ดําเนนิการทําเหมือง จะมผีลตอโครงสรางของดินเพยีงเลก็นอย และอยูในบริเวณจํากัด โดยไมมีสารประกอบทางเคมีอืน่ๆเขามาเปอนดังนัน้ ผลกระทบจากกิจกรรมดังกลางจะเกิดขึน้บางเฉพาะลักษณะโครงสรางทางกายภาพของดนิในบริเวณพืน้ที่ทําเหมืองเทานัน้ แตไมอาจสงผลตอคุณภาพของดินภายนอกบริเวณพื้นทีท่ําเหมือง

4.8 ผลกระทบตอลักษณะธรณีวิทยา

การทําเหมืองแรเฟลดสปารของโครงการ ยอมจะมีผลกระทบตอลักษณะทางธรณีวิทยาอยางหลีกเลี่ยงไมได ผลกระทบทางดานลบที่เกิดขึ้น คือการสูญเสียแหลงแร เนื่องจากมีการนําเอาแรออกไปจากพื้นที่แหลงกําเนิดเดิม โดยไมสามารถทําใหฟนคืนสูสภาพเดิมไดอีก สวนผลกระดานบวกที่ตามมาคือการนําเอาทรัพยากรธรรมชาติไปใชประโยชนในทางเศรษฐกจิเพือ่การพัฒนาทองถิ่นและพฒันาประเทศ ซึ่งเมือ่เปรียบเทียบการแลกเปลี่ยนทีเ่กิดขึน้นั้นจัดวามีความคุมคา และจะไมมีความเสียหายตอแหลงหรือหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ใชในการศึกษาคนควา เนื่องจากบรเิวณพื้นทีโ่ครงการไมไดเปนแหลงที่มีความสําคญัทางดานธรณวิีทยาที่สงวนไวเพื่อการศึกษาแตอยางใด

4.9 ผลกระทบตอทรัพยากรชีวภาพบนบก

1) ผลกระทบตอปาไม เนื่องจากพืน้ที่โครงการตั้งอยูบนเนนิเขาในเขตปาสงวนแหงชาติปากรุงชงิ ที่เคยผานการทําไมมาแลว

และในปจจุบันมีการเปดทําเหมืองในพืน้ที่โครงการนีแ้ลวในบางบริเวณ ซึ่งสภาพปาไมที่พบเปนปาที่ไมสมบูรณมีตนไมขนาดกลาง และขนาดเล็กขึ้นกระจายอยูทั่วไปเพียงไมชั้น 3 และชั้น 2 อีกเล็กนอย เมื่อสิ้นสดุการดําเนินโครงการจะสูญเสียพื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 ของพื้นทีท่ั้งหมด มีตนไมขนาดเล็กที่ตองถูกตัดฟนไป

ประกอบกับในการทําเหมืองนั้นการตัดตนไมจะเปนในลักษณะคอยเปนคอยไป บริเวณไหนที่ยังไมทําเหมืองสภาพปาก็ยังคงสภาพเดิม ระบบนิเวศจึงยังไมถกูทําลายไปในทันทีทันใด อกีทั้งการทําเหมืองก็จะทําในลักษณะ Back Filled กลางคือบริเวณใดที่ผานการทําเหมืองแลว ก็จะนําเศษดินหินที่เกดิจากการเปดหนาเหมืองมาถมกลับเปนการปรับปรุงสภาพพื้นที่ไปในตัว พรอมทั้งปลูกพชืคลุมดินและไมยนืตนทองถิน่โตเร็วเพื่อชวยปองกนัการกัดเซาะ และชะลางพังทลายของหนาดนิ แตอยางไรก็ดีเพื่อใหการดําเนินการของโครงการกอใหเกิดผลกระทบในดานนี้นอยลง และเปนการชวยดูแลรักษาระบบชีวภาพบนบก โดยเฉพาะอยางยิ่งปาไมที่มีอยูในบริเวณพื้นที่โครงการและใกลเคียง ดังนัน้ที่ปรึกษาจะไดเสนอมาตรการตางๆ ในการดูแลรักษาและลดผลกระทบในดานนี้ไวในบทที่ 5 ตอไป

2) ผลกระทบตอสัตวปา พื้นที่โครงการในปจจุบันไมเหมาะสมที่จะเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวปา เนื่องจากมีสภาพเปนหมู

เหมือง ปามีความอุดมสมบูรณตํ่า อีกทั้งเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรมของมนุษยโดยตลอด ประกอบกับมีสัตวปาอาศัยอยูนอยมากจะมีเพียงนกและสัตวเลื้อยคลานขนาดเล็กเทานั้น ดังนั้นผลกระทบตอสัตวปามีอยูในระดับตํ่า

Page 23: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-22

4.10 ผลกระทบตอชีวภาพทางน้ํา

ผลกระทบตอสภาพนิเวศวิทยา และชีวภาพในแหลงน้ําธรรมชาติที่ไหลผานในบริเวณพื้นที่โครงการที่คาดวาจะเกิดขึ้นจะเปนผลกระทบในดานการชะลางตะกอนมูลดินทราย จากบริเวณที่มีกิจกรรมเปดหนาเหมือง และที่เก็บกองมูลดินทรายลงสูทางน้ําเหลานี ้ ทาํใหทางน้ําตื้นเขิน และทําใหน้ําในลําหวยขุนขนจนเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําได และจะสงผลตอสภาพนิเวศวิทยาและสิ่งมีชีวิตตางๆ ที่อาศัยอยูในทงน้ําเหลานี้ ซึง่ถาหากมีมาตรการลดผลกระทบในดานอุทกวิทยาที่ดีประสิทธิภาพเพียงพอ และโครงการไดถือปฏิบัติอยางเครงครัดแลว ผลกระทบตอสภาพนิเวศวิทยา และชีวภาพทางน้ําก็จะไดรับการปองกันและแกไขไปพรอม ๆ กนัดวย

4.11 ผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดิน

การดําเนินโครงการจะเปลี่ยนแปลงการใชทีด่ินเฉพาะภายในเขตพื้นทีโ่ครงการเทานั้น และเมื่อสิ้นสุดโครงการแลวพืน้ที่หนาเหมืองจะมีความลาดชันเปลี่ยนแปลงไปเทานั้น การทําเหมืองของโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดิน เนื่องจากบริเวณใกลเคียงโดยรอบเปนพื้นทีห่มูเหมืองและพืน้ทีป่าไม นั่นคือกิจกรรมการทาํเหมืองของโครงการไมมีกิจกรรมใดไปรบกวนหรอืเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินบริเวณอืน่รอบโครงการ

4.12 ผลกระทบตอระบบสาธารณูปโภค

จากลักษณะการดําเนนิกิจกรรมของโครงการ สามารถพิจารณาประเดน็ผลกระทบตอระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ไดดังนี ้ ไฟฟา เนื่องจากทางโครงการจะตองใชกระแสไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาคเพื่อดําเนินกิจกรรมของโครงการ แตการไฟฟาสวนภูมิภาคตองมีการสํารองปริมาณไฟฟาไวอยูแลว ดังนั้น การดําเนินการของโครงการจะไมมีผลกระทบตอระบบไฟฟาในชุมชน น้ําประปา เนือ่งจากน้ําประปาในชุมชนใกลเคียงเปนน้ําประปาภูเขา และการทําเหมืองของโครงการไมมีการใชน้ําในกระบวนการทาํเหมืองหรือมีใชบางในการฉดีพรมเพื่อลดการฟุงกระจายของฝุนละองในบริเวณตาง ๆ ซึ่งก็จะใชน้ําในบอดักตะกอน และไมสงผลตอการปนเปอนตอแหลงน้ําธรรมชาติที่ชุมชนใชเปนดนิและเศษหินในบริเวณที่อาจทําใหน้ําขุนขนไหลลงสูทางน้ําธรรมชาติ เสนทางคมนาคม การดําเนินโครงการจะมีผลทําใหปริมาณการจราจรบนทางหลวงหมายเลข 4140 และทางหลวงหมายเลข 4186 ซึ่งเปนเสนทางขนสงแรมีปริมาณเพิ่มขึ้นและจะกอใหเกิดผลกระทบดานลบอยางหลีกเลี่ยงไมได

4.13 ผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคม

1) สภาพทางสังคม การทําเหมืองของโครงการ คาดวาจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพทางสังคมของชุมชนในทองถิน่อยางมีนยัสําคัญ เนือ่งจากการทําเหมืองของโครงการมีแผนการจางคนงานในทองถิน่เขามาทํางานในเหมอืง ซึ่งคนงานเหลานี้จะมีที่อยูอาศัยในทองถิน่อยูแลว และคนงานทุกคนจะรูจัก คุนเคยกันเปนอยางดีนอกจากนี้ โครงการไดจัดใหมีสวัสดิการแกพนักงานตามความเหมาะสมอีกดวยเชน สวัสดิการอาหารการรักษาพยาบาลเบื้องตน รวมทั้งสวัสดิการตามพระราชบัญติประกันสังคมดวย ดังนั้น ผลกระทบในดานสังคมจึงเปนผลกระทบในดานบวกมากกวาในดานลบ

Page 24: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-23

2) สภาพเศรษฐกิจ การทําเหมืองของโครงการจะกอใหเกิดผลประโยชนทั้งภาวะเศรษฐกิจในระดับทองถิน่และเศรษฐกิจโดยสวนรวม ดังนี ้

(1) ผลประโยชนตอทองถิน่ อาศัยอํานาจตามมาตรา 29 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 คาภาคหลวงแรที่เก็บไดทั้งสิ้น 15,097,000 บาท (รอยละ 4 ของมูลคาแรเฟลดสปารตันละ 700 บาท) จะตองจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นรอยละ 60 คิดเปนเงนิ 9,055,200 บาท โดยเงินจาํนวนนี้จะถูกจดัสรรให

1. อบต. ตําบลกรุงชิง/นบพิตํา จํานวน 3,018,400 บาท 2. อบต. และเทศบาลอื่นในจังหวัดนครศรธีรรมราช จํานวน 1,509,200 บาท 3. อบต. และเทศบาลอื่น ๆ จํานวน 1,509,200 บาท 4. อบจ. จังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 3,018,400 บาท

(2) คาผลประโยชนพิเศษเพื่อประโยชนแกรัฐ เนื่องจากในปแรกของการดําเนินการโครงการจะผลิต และจําหนายสะสมมีมูลคาเกินกวา

50 ลานบาท ตามหนังสือ อก. 0318/8172 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2539 กําหนดใหผูขออนญุาตจายผลประโยชนพิเศษเพื่อประโยชนแกรฐัสําหรับมูลคาแรสวนที่เกิน 50 ลานบาทในอัตรารอยละ 0.1 ดังนั้นต้ังแตปแรกจนสิน้สุดประทานบัตร โครงการจะจายคาผลประโยชนพิเศษเพื่อประโยชนแกรัฐรวมเปนเงิน 378,000 บาท

(3) ผลประโยชนตอรัฐ จากคาภาคหลวงแรทั้งสิ้นจาํนวน 15,097,000 บาท (รอยละ 4 ของมูลคาแรเฟลดสปาร

ตันละ 700 บาท) รอยละ 40 ของคาภาคหลวงแรรวมจะตกเปนของรฐับาลกลางซึ่งคิดไดเทากับ 6,038,800 บาท (ตารางที่ 4.12-1)

ตารางที่ 4.12-1 เปรียบเทียบผลตอบแทนแกภาครัฐ (บาท)

ผลตอบแทนแกภาครัฐ กรณีฐาน กรณีราคาแรเฟลดสปารลดลงรอยละ 20 และ

ราคาน้ํามันเพ่ิมขึ้นรอยละ 20 คาภาคหลวง - อบต. กรุงชิง/นบพิตํา 3,018,400 2,414,720 คาภาคหลวง - อบจ. จังหวัดนครศรีธรรมราช 3,018,400 2,414,720 คาภาคหลวง - จัดสรรให อบต. และเทศบาล อื่นๆ 3,018,400 2,414,720 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 56,633,400 45,306,720 คาภาคหลวง - รัฐบาลกลาง 6,038,800 4,831,040 ผลประโยชนพิเศษเพื่อประโยชนแกรัฐ 378,000 302,400

นอกจากนี้ในการดําเนินโครงการ โครงการจะตองจายภาษีเงินไดนิติบุคคลในอัตรารอยละ 30 ของกําไรสุทธ ิ จากประมาณการผลตอบแทนทางการเงินพบวา ตลอดอายุโครงการรฐัจะไดรับภาษีเงินไดนิติบุคคลรวม 50,594,600 บาท ดังนั้น โดยรวมรฐัจะไดผลประโยชนทางตรงจากคาภาคหลวงแร ภาษีเงินไดนิติบุคคลและผลประโยชนพเิศษเพื่อประโยชนแกรัฐ เทากับ 56,633,400 บาท

(4) ผลประโยชนทางออมตอทองถิ่นและรัฐ ในการดําเนินโครงการ นอกจากผลประโยชนทางตรงทีท่องถิน่และรฐัไดรับตาง ๆ ขางตน

ซึ่งสามารถนําไปใชพัฒนาและใชจายตามลําดับความสําคัญ โครงการยังใหผลประโยชนทางออมในรูปของการสรางงาน 44 ตําแหนง กอใหเกิดการอุปโภคและบริโภคเพิ่มขึ้นทั้งในทองถิ่นและในเศรษฐกิจโดยรวม

Page 25: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-24

จากการประเมินดานเศรษฐศาสตร พบวา การดําเนินกิจกรรมการทําเหมืองของโครงการมีความคุมทุนเปนการพัฒนานําแรออกมาใชใหเปนประโยชนเพื่อพัฒนาประเทศ ประทานบัตรโครงการเคยเปนประทานบัตรเดิมอยูแลวไมมีการสูญเสียแรในแหลงใหม

จากการศึกษาทัศนคติของราษฎรในชุมชนใกลเคียงที่มีตอโครงการทําเหมืองของโครงการ ซึ่งไดแก ชุมชนบานเขาเหล็ก และบานนบ ราษฎรในชุมชนดังกลาวไดแสดงความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการไว 3 ประเด็น คือเห็นดวย ไมเหน็ดวย และไมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ โดยราษฎรที่เห็นดวยกับโครงการ ซึ่งใหความเหน็วาการดําเนินการทําเหมืองจะมีผลดีในดานการสรางงานใหแกชุมชน สรางความเจริญสูชุมชน สรางเศรษฐกิจในชมุชนใหดีขึน้ และงบประมาณในการพัฒนาชุมขนเพิ่มขึน้ สวนความคิดเห็นของราษฎรที่ไมเห็นดวย ใหเหตุผลวาการทําเหมืองแรอาจกอใหเกิดฝุนละอองฟุงกระจายรบกวน ทําใหเกิดเสียงดังรบกวน เกดิผลกระทบตอแหลงน้ําธรรมชาติ และทําใหถนนชํารุดเสยีหาย ประเด็นขอวิตกกังวลเหลานี้จําเปนตองกําหนดมาตรการปองกันและแกไข

4.14 ผลกระทบดานสาธารณสุขและอาชีวอนามัย

จากกิจกรรมการทําเหมืองแรของโครงการที่ตองมกีารเจาะระเบิด การขนสงแร ซึ่งกจิกรรมดังกลาวอาจจะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และโดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบดานสุขภาพของคนงาน และราษฎรที่อยูบริเวณใกลเคียง โดยที่ปรึกษายังไดประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการทีจ่ะสงผลกระทบตอสุขภาพ มีรายละเอียดดังนี ้

1) ผลกระทบดานคุณภาพอากาศ จากผลการประเมินดานคุณภาพอากาศ พบวา ลักษณะของกิจกรรมการทําเหมืองแรของโครงการ

ในชวงตอไปทาํใหเกิดปริมาณฝุนละอองไมแตกตางจากเดิมมากนัก โดยกิจกรรมที่ทําใหเกิดผลกระทบดานคุณภาพอากาศมีดังนี้

- การเปดหนาดิน การเจาะระเบิดและการใชระเบิดอาจจะทําใหมีการฟุงกระจายของฝุนละออง - การเก็บกอง และตักแร โดยหากแรมีความชื้นตํ่า ประกอบกับหากพบวามีลมแรงอาจมีการฟุง

กระจายของฝุนละอองได - กองแรหรือกองเปลือกดิน อาจจะมีลมพัดทําใหฝุนละอองฟุงกระจาย - การขนสงแรภายในพื้นทีโ่ครงการ และเสนลําเลียงแรจากหนาเหมืองไปยังโรงแตงแรบริเวณภายนอก

โครงการที่เปนทางลูกรังที่อาจจะทําใหมีฝุนละอองฟุงกระจาย (1) ผลกระทบตอคนงานภายในโครงการ

กลุมคนงานเปนกลุมที่มีโอกาสไดรับมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการทําเหมืองของโครงการหรือรับสารมลพิษนําไปในปริมาณสูงโดยผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถสรุปได คือ

ฝุนละอองจะกอใหเกิดโรคเกีย่วกับระบบทางเดินหายใจ และการเสื่อมสมรรถภาพของปอด พบวา ปกติเมื่อฝุนผานเขาสูทางเดินหายใจจะมีปฏิกิริยาตอบโตสิ่งแปลกปลอมโดยการกรองหรือขับออก ฝุนละอองที่มีขนาดใหญกวา 10 ไมครอนจะถูกกรองหรือถูกขับออกทางขนจมูก และหลอดลมสวนตนจะไปไมถงึปอด แตฝุนละอองขนาดเลก็กวา 10 ไมครอนจะผานถึงหลอดลมยอยและทําใหเกิดความผิดปกติ จําแนกได 2 ประเภท คือ

1. ฝุนละอองประเภทที่ทําใหเกิดการเพิ่มเนื้อเยือ่เกี่ยวพัน (Fibro genic dusts) เปนฝุนละอองที่สามารถทําลายถุงลมปอด และเกิดการแทนที่ดวยเนื้อเยือ่เกี่ยวพัน การเปลีย่นแปลงนี้เปนไปอยางถาวรไมสามารถคืนสภาพเดิมได

Page 26: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-25

2. ฝุนละออง ประเภทที่ไมทําใหเกิดการเพิ่มเนื้อเยื่อเกี่ยวพนั (Non-Fibro genic dusts) โดยถุงลมจะยังคงเปนปกติจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆ ถุงลมปอด สมรรถภาพของปอดสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดหากฝุนละอองถูกกําจัดไดหมด (บัญญัติ ปรชัญานนท, 2532 อางตาม นพมาศ หริมเทพาทิป, 2541) และนอกจากนั้นอาจจะทําใหเกิดโรคซิลิโคซีส หรือโรคปอดฝุนทราย (Silicosis) เปนโรคปอดอักเสบจากการหายใจนําฝุนทราย (ซิลิกาหรือซิลิกอนไดออกไซด) เขาไปสะสมในปอดจนเกิดการอักเสบหรือมพีงัผืดขึ้นในปอด ซึ่งมักใชเวลาไมนอยกวา 3-5 ป บางคนแมหลังจากเลิกเกี่ยวของกับฝุนซิลิกามาหลายปแลวก็อาจมีอาการปวยขึ้นได ลักษณะงาน ที่เกิดฝุนซิลกิา เชน การโม บด ยอย หิน/แร ตาง ๆ งานกอสรางหรอืงาน ที่เกี่ยวของกับ หิน ทราย ซีเมนต งานทําแกว เซรามคิ ครก อฐิ ภาชนะดินเผา กระเบือ้ง การหลอโลหะ การยงิทรายเคลอืบผวิโลหะ การเจียรนัย เพชร พลอย ฯลฯ อาการ ปวยของผูนําเปนโรคนี ้ ไดแก หายใจสั้น ไอแหง ไอเรือ้รัง หอบเหนื่อยงาย เจ็บแนน หนาอก หลอดลมอักเสบเรื้อรงั เมื่อโรครนุแรงจะพบเยื่อหุมปอดหนา หวัใจโต การหายใจลมเหลว โรคนี้เกิดไดทั้งแบบเฉียบพลันภายใน 5 ป หรือแบบเรือ้รังคอยเปนคอยไป 20-40 ป มักเปนวัณโรคปอดไดงาย มีอาการรุนแรงและรักษาหายยากกวาคนทั่วไป เมื่อตรวจสมรรถภาพปอดจะพบวามีความจุของปอดลดลง และภาพถายรังสีปอดจะผิดปกติโดยพบจุดทึบเล็กๆ กระจายอยูทั่วไป สําหรับการรักษาในปจจุบันยังไมมีวิธีรักษาใหหายขาดได เพียงแตรักษาตามอาการและลดอาการแทรกซอนเทานั้น

(2) ผลกระทบตอชุมชนใกลเคียง ผลกระทบดานคุณภาพอากาศตอสุขภาพอนามัยของราษฎรที่อาศัยอยูบริเวณชุมชนใกลเคียง

คาดวาจะไมไดรับโดยตรงหรือในระดับที่รุนแรงเชนเดียวกับคนงานที่ปฏิบัติงานอยูภายในโครงการ แตอาจจะไดรับฝุนละอองฟุงกระจายจากฝุนละอองจากการระเบิด และการขนสงแร ซึ่งคาดวาอยูในระดับตํ่าเนื่องจากกลุมราษฎรอยูไกลกวา 1 กม. ประกอบกับบริเวณโดยรอบโครงการมีสภาพเปนพื้นที่ปาไมที่ชวยกรองฝุนละอองได

จากการประเมินผลกระทบดานคุณภาพของอากาศที่จะมีผลกระทบตอพนักงานของโครงการและราษฎรบริเวณใกลเคียง ซึ่งพบวากลุมเปาหมายที่จะไดรับผลกระทบโดยตรง คือ กลุมคนงานของโครงการ ซึ่งจะไดกําหนดมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบและมาตรการติดตามตรวจสอบตอไป สําหรับราษฎรบริเวณใกลเคียงไดรับผลกระทบโดยออมและผลกระทบอยูในระดับตํ่า

2) ผลกระทบดานเสียง กิจกรรมที่ทําใหเกิดผลกระทบดานเสียงมีดังนี้ - การทํางานของเครื่องจักรในการพัฒนาหนาเหมือง - การบรรทุกแรของรถบรรทุก - การขุดเจาะและการระเบิดหนาเหมือง (1) ผลกระทบตอคนงานภายในโครงการ

คนงานที่ปฏิบัติงานอยูภายในโครงการที่อยูใกลแหลงหรือสัมผัสโดยตรงอาจจะไดรับผลกระทบตอสภาพการไดยิน โดยแบงลักษณะของผลกระทบออกเปน 2 แบบ ดังนี้

• อาการที่เกิดขึ้นกับหโูดยตรง เมื่อคนเราไดรับฟงเสียงดังมากๆ เปนเวลานานๆ ติดตอกันอาจจะทําใหเกิดอาการหูตึงหรือหหูนวก คอื ทําใหไมไดยิน การพูดคุยแบบธรรมดา ซึ่งทั้งนี้มีขอพิจารณาวา ถาบุคคลนัน้ไมไดยินตํ่ากวา 10 วัน ถือวาเปนหูหนวกชั่วคราว แตถาไมไดยินต้ังแต 10 วันขึ้นไปถือวาเปนหูหนวกถาวร (ณรงค ณ เชียงใหม, 2525)

• อาการที่ไมเกิดขึ้นกับหโูดยตรง ทําใหเกิดความออนเปลี้ยเพลียแรงทัง้รางกายและจิตใจ เกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน เกิดความหงุดหงิด ซึ่งบางทีอาจจะเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคประสาทได

Page 27: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-26

การแสดงออกของบุคคลเปลีย่นไป เชน เกดิการรําคาญ เสียบุคลิกลักษณะ ลดความคุนเคยซึง่กันและกัน เสียสมาธิ เสียขวัญ นอกจากนี้ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานลดลง ทําใหสั่งงานผิดพลาดไดงาย เพิ่มอัตราการเกิดอุบัติเหตุ (ณรงค ณ เชียงใหม, 2525) หากพิจารณาจากองคประกอบที่ทําใหเกิดประสาทหูเสื่อมจากเสียงที่สําคัญ ไดแก ระดับเสียงที่ไดรับ ระยะเวลาที่ไดรับเสียง ความแตกตางระหวางบุคคล รายละเอียดของแตละปจจัยจากเอกสารงานวิจัยสรุปไดดังนี ้

1. ระดับเสียงที่ไดรับ นักวิจัยสวนใหญพบวาระดับเสียงที่ทุกความถี่ไมควรเกนิ 80 เดซิเบล(เอ) จึงจะปลอดภัย

ตอการไดยิน (Pual and Peter, 1978) สอดคลองกับรายงานของ Holmes, et al. (1991) การไดรับเสียงเฉลี่ย 85 เดซิเบล(เอ) หรือมากกวาในแตละวันเปนระยะเวลานานจะกอใหเกิดประสาทหูเสื่อม และงานศึกษาของ พัชนีพร เกษตรเวทิน (2533) ศึกษาระดับเสียงที่เกิดจากการใชอาวุธที่ใชในการฝกวิชาทหารของนักเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา พบวา ระดบัเสียงอยูในชวง 95-140 เดซิเบล(เอ) เมื่อตรวจวัดระดับการไดยินพบวารอยละ 18.97 ประสาทหูเสื่อม สวนระดับเสียงที่อยูในชวง 65-95 เดซิเบล(เอ) จากโรงงานมันอัดเม็ดศรรีาชารอยละ 52.3 ประสาทหูเสื่อม (นัยนา นักรบไทย, 2534 อางตาม กลา มณีโชติ, 2541)

2. ระยะเวลาที่รับเสียงในที่ทํางาน งานวิจัยจํานวนมากบงชี้วาระยะเวลาที่ไดรับเสียงกับการเสื่อมการไดยินจะมีความสัมพันธ

กัน เชน จากการศึกษาของ Nixon Glorig (1961) ศึกษาการไดยินของคนงานที่ไดรับเสียงแบบตอเนื่อง 77-96 เดซิเบล(เอ) โดยรับเสียง 8 ชม./วัน จะมีการสูญเสียการไดยินในระยะ 10 ปแรกคอนขางสูง สอดคลองกับ Taylor, et al. (1965) ระบุการไดรับเสียงดังนานติดตอกันหลายปจะทําใหเกิดการเสื่อมการไดยนิอยางถาวร และงานศึกษาของวิไลลักษณ วงศสุข (2536) ทําการศึกษาการเสื่อมการไดยินจากเสียงในกลุมผูที่ปฏิบัติงานพบวาผูที่สัมผัสเสียงตลอดเวลา มีอัตราเสี่ยงตอการสูญเสียการไดยิน 104.89 เทา เมื่อเทียบกับผูที่ไมสัมผัสเสียง โดยผูที่สมัผัสเสียงเปนครั้งคราวมีอัตราเสี่ยงตอการสูญเสียการไดยิน 29.97 เทา เมื่อเทียบกบัผูที่ไมสัมผัสเสียง กลุมผูประกอบอาชีพหัตถกรรมมีดอรัญญิก ที่ไดรบัเสียงจากการขึ้นรูปโลหะ/ทบุ มีอัตราความชกุของโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงรอยละ 29.8 และมีผูประสาทหูเริ่มเสื่อมจากเสียงที่ความถี่สูง รอยละ 57.4 (มณฑา คลายศรีโพธ์ิ, 2545)

3. ความแตกตางระหวางบุคคล องคประกอบที่สําคัญของปจจัยการสูญเสียการไดยินเนื่องจากความแตกตางระหวางบุคคล

ไดแก อายุ โรคของหู และความไวของหูตอเสียง รายละเอียดดังนี้ ♦ ปจจัยดานอายุ ปกติประสาทหูเสื่อมจะเกิดตามวัย (Presbycusis) โดยบุคคลที่อยูใน

วัยสูงอายุจะมีการเหี่ยวฝอของ Organ of Corti ที่บริเวณฐานของกนหอย ทัง้นี้ปกติประสาทหูเสื่อมตามวัยมักเกิดขึ้นทั้ง 2 ห ูและพบกับผูทีม่ีอายุมากกวา 40 ป นอกจากนี้ผูชายมีโอกาสเปนมากกวาผูหญิงในอัตรา 3:2

♦ ปจจัยดานโรคของห ู ปจจัยดานนี้อาจเกิดขึ้นจาก 2 กลุม คือ ประสาทรับฟงเสียงบกพรองแตกําเนิด และประสาทรับฟงเสียงบกพรองหลังการคลอด

♦ ปจจัยดานความไวของหูตอเสียง ไมสามารถระบุไดแนชดัวาบุคคลใดมีความไวของหูตอเสียงมากนอยเพียงใด อยางไรก็ตาม ความไวดังกลาวจึงเปนองคประกอบตอการเสื่อมการไดยิน

หากพิจารณาองคประกอบที่ทาํใหเกิดการเสื่อมการไดยินของคนงานเหมอืงแร อาจสรุปไดดังตารางที่ 4.13-1

Page 28: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-27

ตารางที่ 4.13-1 สภาพสิ่งแวดลอมดานเสียงและองคประกอบปจจัยการเสื่อมการไดยินของคนงานเหมืองแร

ปจจัยการเสื่อมการไดยิน สภาพสิ่งแวดลอมดานเสียง ระดับเสียง เฉลี่ย 94 เดซิเบล(เอ) (สําหรับผูที่อยูใกลกับเคร่ืองจักรอุปกรณ) ชนิดของเสียง เสียงเปลี่ยนแปลงในระดับคงที่ ระยะเวลาที่ไดรับเสียงในที่ทํางาน 8 ชม./วัน ความแตกตางระหวางบุคคล - อายุ - โดยสวนใหญอายุมากกวา 20 ป - โรคของหู - ระบุไมไดแตสามารถตรวจสอบได - ความไวของหูตอเสียง - ระบุไมได

(2) ผลกระทบตอชุมชนใกลเคียง ผลกระทบดานเสียงตอสุขภาพของราษฎรที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียงพื้นที่โครงการ คาดวาจะ

ไมไดรับโดยตรงหรือในระดับที่รุนแรง เมื่อเทียบกับคนงานที่ปฏิบัติงานภายในพื้นที่โครงการ ซึ่งเพยีงแคจะทําใหเกิดความรําคาญหรือเกิดความหงุดหงิดในบางเวลาเทานั้น เนื่องจากในแตละวันโครงการจะดําเนินการกิจกรรมวันละ 8 ชั่วโมง เทานั้น แตอยางไรก็ตามจะไดกําหนดมาตรการปองกันและแกไขตอไป

(3) ผลกระทบดานอุบัติเหตุ บริเวณหรือสาเหตุที่อาจเกดิอุบัติเหตุที่สําคัญในกิจกรรมเหมืองแรของโครงการมีดังนี้ • การขนสงแรออกนอกพ้ืนที่โครงการ

จากแยกทางหลวงหมายเลข 4186 มีถนนเขาสูโครงการระยะทางประมาณ 1 กม. โดยโครงการจัดใหมีระบบสเปรยน้ําบริเวณริมเสนทาง เพื่อปองกันผลกระทบดานการฟุงกระจายของฝุนละออง ซึ่งริมเสนทางนี้มีบานเรือนราษฎร โดยความถี่ของการขนสงแรและการสัญจรของรถยนตสํานักงานประมาณ 9 เที่ยว/วัน จึงอาจจะเกิดอุบัติเหตุขึ้นได และรถบรรทุกแรที่ใชทางหลวงหมายเลข 4186 หากคนขับมีความประมาทอาจจะทําใหเกิดอุบัติเหตุตอผูใชเสนทางดังกลาวไดเนื่องจากบางชวงของเสนทางผานพืน้ที่ชุมชน จึงจําเปนตองเพิ่มความระมัดระวัง

• อุบัติเหตุบริเวณหนางาน การใชเครื่องจกัรและอุปกรณที่จําเปน เชน การจัดเก็บเปลือกดินและเศษหิน การเจาะ

ระเบิด และการขนสงแร กิจกรรมเหลานี้อาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได • การจัดสภาพแวดลอมบริเวณที่พักคนงาน

การจัดสภาพสิ่งแวดลอมบริเวณที่พักอาศัยของคนงาน อาการเจ็บปวยหรือสุขภาพไมแข็งแรงอาจเกิดจากการจัดสภาพสิ่งแวดลอมบริเวณที่พักอาศัยไมเหมาะสม เชน อากาศถายเทไมสะดวก สวมมีจํานวนจํากัด ทิ้งขยะไมเหมาะสม และแสงสวางไมเพียงพอ

• ผลกระทบดานสังคม เนื่องจากกิจกรรมของโครงการเปนการดําเนนิการผลิตแร มีกิจกรรมตางๆ ตอเนือ่งจาก

กิจกรรมที่มีอยูเดิม ซึ่งราษฎรที่อยูบริเวณใกลเคียงมีความคุนเคยกับกิจกรรมตางๆ เหลานี้อยูแลว ผลกระทบทางดานสังคมจึงอยูในระดับตํ่า อยางไรก็ตามจากการสํารวจพบวามีราษฎรบางสวนที่มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบดานฝุนละออง เสียงดังรบกวนและความสัน่สะเทือน และเกรงวาโครงการจะไมปฏิบัติตามมาตรการปองกนัแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางดีพอ ดังจะไดกําหนดมาตรการปองกันและแกไขตอไป

Page 29: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-28

4.15 ผลกระทบตอประวัติศาสตร และสุนทรียภาพ/ทัศนียภาพ

1) ประวัติศาสตร และสุนทรียภาพ จากการตรวจสอบเบื้องตนโดยอาศัยเอกสารทางวิชาการของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ และ

จากการสํารวจภาคสนามปรากฏวาบริเวณพืน้ทีโ่ครงการเปนพืน้ที่ปาสงวนแหงชาติปากรงุชิง และไดรบัอนญุาตใหใชประโยชนพื้นทีป่าไมเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2536 หมดอายวัุนที่ 21 มิถนุายน 2546 แตมิไดเปนแหลงธรรมชาติอันควรอนรุักษหรอืแหลงทองเทีย่วสําคัญแตอยางใด ดังนั้น การดําเนินโครงการจึงไมสงผลกระทบดานประวัติศาสตรสุนทรียภาพ และการทองเที่ยวแตอยางใด

2) ผลกระทบตอทัศนียภาพ เนื่องจากการทาํเหมืองแรเฟลดสปารซึ่งจะมีการเปดเหมืองแบบ Open Pit Mine โดยจะทําใหที่

ลาดเขากลายเปนรองหุบเขาหรอืขมุเหมือง ทัง้นีค้ณะผูทําการศึกษาไดประเมนิผลกระทบดานทัศนียภาพจากมุมมองบนถนนทางหลวงหมายเลข 4186 ในตําแหนงดังรูปที่ 4.15-1 พบวามุมมองจากจุด 1 และ 2 ซึ่งอยูทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตของพื้นทีโ่ครงการ พบวาในบางชวงของเสนทางโดยเฉพาะชวงที่เขาใกลพื้นที่โครงการทางดานทิศตะวันตกจะสามารถมองเห็นพื้นที่โครงการแตไมชัดเจนมากนัก เนือ่งจากพื้นที่โครงการอยูหางจากถนนทางหลวงหมายเลข 4186 ประมาณ 1 กม. ประกอบกับบริเวณริมเสนทางมีสภาพเปนพื้นที่เกษตรกรรมทําสวนยางพารา สวนผลไม และบางบริเวณเปนพื้นทีร่กรางทีม่ีไมยืนตนและไมพุม ทําใหสามารถชวยบดบังทัศนียภาพของโครงการไดเปนอยางดี

3) การประเมินผลกระทบตอแหลงทองเที่ยวทะเลหมอกกรุงชิง จากการสํารวจในภาคสนาม พบวา บรเิวณจุดชมวิวทะเลหมอกกรุงชิงอยูบริเวณดานทิศใตของ

กลุมเหมืองแรเฟลดสปาร (รูปที่ 4.15-1) โดยมุมมองชมทะเลหมอกจะอยูทางดานทิศใต ซึ่งจะอยูคนละฝงกับที่ต้ังของกลุมเหมอืงแร และเมื่อพิจารณามุมมองจากทางหลวงหมายเลข 4186 และทางลําลองที่จะเขาไปยังจุดชมวิวทะเลหมอก จะสามารถมองเห็นกลุมเหมืองแรไดในบางจุดเทานั้น สําหรับบรเิวณจุดชมวิวจะสามารถมองเห็นกลุมเหมืองแรไดเพียงบางสวน แตจะไมสามารถมองเห็นพ้ืนที่โครงการไดเพราะอยูในชองเขา

4.16 สรุปผลกระทบตอทรัพยากรสิ่งแวดลอม

จากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ สามารถสรุปผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการในชวงตอไปดังตารางที่ 4.16-1

Page 30: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

รูปที่ 4.15-1 แสดงตําแหนงจุดชมวิวทะเลหมอกกรุงชิง

หนา 4-29

ทิศเหนือทิศตะวันตก

ทิศตะวันออกทิศใต

สัญลักษณ :

ประทานบัตรที่ 26159/15310

พื้นที่ใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่ 1/2548

คําขอประทานบัตรที่ 1/2545จุดชมทะเลหมอก

พื้นที่ทะเลหมอก

การเดินทางเขาสูจุดชมวิวทะเลหมอก

กลุมเหมืองแรเฟลดสปารพื้นที่โครงการ

ประทานบัตรขางเคียง

คําขอประทานบัตรขางเคียง

ที่มา: กรมแผนที่ทหาร (2543) และการสํารวจภาคสนาม(2552)

1 จุดมุมมองที่ 1

2

1

2 จุดมุมมองที่ 2

3

3 จุดมุมมองที่ 3

Page 31: บทที่4eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/52_8/06.บทที่ 4_การ... · หน า 4-1 บทที่ การประเมินผลกระทบส

หนา 4-30

ตารางที่ 4.16-1 สรุปผลกระทบตอทรัพยากรสิ่งแวดลอมจากการดําเนินโครงการในชวงตอไป

มีผลกระทบ

ขอบเขตพื้นที่ ระดับ ระยะเวลา ทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคา ไมมีผลกระทบ

เฉพาะบริเวณโครงการ ขยายออกนอกที่ตั้งโครงการ สูง ปานกลาง ต่ํา สั้น ยาว

1. สภาพภูมิประเทศ 2. ภูมิอากาศ 3. คุณภาพอากาศ 4. ธรณีวิทยา - ดานบวก - ดานลบ 5. เสียง 6. ความสั่นสะเทือน 7. อุทกวิทยาและคุณภาพน้ําผิวดิน 8. อุทกธรณีวิทยาและคุณภาพน้ําใตดิน 9. ทรัพยากรดิน 10. ทรัพยากรปาไม 11. ทรัพยากรสัตวปา 12. การใชประโยชนที่ดิน 13. การเกษตรกรรม 14. อุตสาหกรรมแร 15. การคมนาคม 16. สาธารณูปโภค 17. เศรษฐกิจ-สังคม 18. สาธารณสุข อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 19. สุนทรียภาพและการทองเที่ยว 20. โบราณคดี โบราณสถาน และประวัติศาสตร

หนา 4-30