บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช...

20
Physics 1 - ฟฟฟฟฟฟฟ 1 บบบบบ 10 บบบบบบบ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบบบ 10.1ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.2 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.3 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.4 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟ 10.5 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.6 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.7 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.1 บบบบบ บบบ บบบบ ฟ. ฟ. ฟฟฟฟฟฟ 10.1 ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 10.1 ฟ. ฟฟฟ ฟ. บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบบ : ฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบบ : ฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบ : ฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ บบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบ บบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบ บบบบบบบบบบบบ ฟฟฟฟฟฟฟฟ : ฟฟฟ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟ : ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ : ฟฟ. ฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ 107

Transcript of บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช...

Page 1: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

บทท่ี 10 การหมุนบทที่ผ่านมาจะกล่าวถึงจลศาสตร ์ แรง พลังงาน และโมเมนตัม ซึ่งจะอธบิายเกี่ยวกับกฎ

พื้นฐานของการเคล่ือนที่ และกฎการอนุรกัษ์ ซึ่งจะพจิารณาเฉพาะวตัถทุี่เคล่ือนที่ในแนวเสน้ตรงเท่านัน้ แต่ในนความเป็นจรงิการหมุนก็เป็นการเคล่ือนที่อีกแบบหนึ่ง ซึ่งในบทน้ีและบทต่อไปจะอธบิายเกี่ยวกับการหมุนเน้ือหาประกอบด้วย10.1 นิยามการหมุน 10.2 จลศาสตรก์ารหมุน10.3 กฎการหมุน 10.4 ทฤษฎีแกนตัง้ฉากและทฤษฎีแกนขนาน10.5 รศัมไีจเรชัน่ 10.6 การประยุกต์ใชก้ฎการหมุน10.7 พลังงานจลน์ในการหมุน

10.1 นิยาม การหมุน

ก. ข.

รูปที่ 10.1

เปรยีบเทียบความคล้ายคลึงระหวา่งการเคล่ือนที่เชงิเสน้กับการเคล่ือนที่เชงิมุม โดยพจิารณาดังรูปที่ 10.1 ก. และ ข.

การเคลื่อนท่ีเชงิเสน้ การเคลื่อนท่ีเชงิมุมตำาแหน่ง : จะบอกด้วยระยะทางซึ่งวดัจากแกนอ้างอิงมุมฉากถึงตำาแหน่งที่วตัถอุยู่

มุม : จะบอกด้วยมุมซึ่งวดัจากแกนอ้างอิงมุมฉากถึงตำาแหน่งที่วตัถอุยู่

การกระจดัชงิเสน้ : การเปล่ียนแปลงตำาแหน่ง การกระจดัเชงิมุม : การเปล่ียนแปลงมุมความเรว็ : การกระจดัที่เปล่ียนไป ความเรว็เชงิมุม : การกระจดัเชงิมุมที่เปล่ียนไปความเรง่ : การเปล่ียนแปลงความเรว็ ความเรง่เชงิมุม : การเปล่ียนแปลงความเรว็

เชงิมุม

เปรยีบเทียบความสมัพนัธร์ะหวา่งการเคล่ือนที่เชงิเสน้กับการเคล่ือนที่เชงิมุมในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์

การเคลื่อนท่ีเชงิเสน้ การเคลื่อนท่ีเชงิมุม ความสมัพนัธ์ตำาแหน่ง : มุม : การกระจดั : การกระจดัเชงิมุม : ความเรว็ : ความเรว็เชงิมุม :

ความเรง่ : ความเรง่เชงิมุม :

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

107

Page 2: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

ตัวอยา่งท่ี 10.1 แผ่น CD มเีสน้ผ่าศูนยก์ลาง วางอยูบ่นแป้นหมุนซึ่งอยูน่ิ่ง เมื่อกดให้สวทิซท์ำาใหแ้ผ่น CD หมุนด้วยความเรว็ 200 rpm ภายในเวลา

จงหาก . ความเรง่เชงิมุมเฉล่ียข . ถ้าแผ่น CD มคีวามเรว็ลดลงเหลือ 100 rpm จง

หาความเรง่เชงิเสน้

วธิทีำา เปล่ียนความเรว็เชงิมุมจากหน่วย rpm (รอบต่อนาที) ใหเ้ป็นหน่วย rad/s

====

ก. จากสมการ

= = =

==

ข. จากความสมัพนัธร์ะหวา่งความเรง่เชงิมุมกับความเรง่ในแนวเสน้สมัผัส= ==

ค. จากความสมัพนัธร์ะหวา่งความเรว็เชงิมุมกับความเรง่เขา้สูศู่นยก์ลาง= ==

พจิารณารูปที่ 10.2 จะได้ความเรง่เชงิเสน้ของแผ่น CD คือ=

=

=

รูปที่ 10.2

10.2 จลศาสตรก์ารหมุน

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

108

Page 3: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

การเคล่ือนที่เชงิเสน้ของวตัถดุ้วยความเรง่ คงที่ สมการเหล่าน้ีได้มาจากการ integrate ชุดสมการจลศาสตรด์ังนี้

เมื่อพจิารณาสญัลักษณ์ที่ใชแ้ทนการเคล่ือนที่เชงิเสน้และเชงิมุมเชน่ กับ ; กับ เป็นต้น มาเปรยีบเทียบกับสมการการเคล่ือนที่เชงิเสน้เมื่อ คงที่ เราจะได้สมการการเคล่ือนที่เชงิมุมของวตัถเุมื่อ คงที่ดังนี้

การใชส้มการการเคล่ือนที่เชงิเสน้ใชไ้ด้เมื่อ คงที่ ในทำานองเดียวกับสมการการหมุนใชไ้ด้เมื่อ คงที่

ตัวอยา่งท่ี 10.2 จากตัวอยา่งที่ 10.1 จงหาก. แผ่น CD หมุนได้กี่รอบจงึจะหยุดหมุนข. ระยะทางเชงิเสน้ที่แผ่น CD เคล่ือนที่ได้ก่อนที่จะหยุดหมุน

วธิทีำา ก. จาก =จากตัวอยา่งที่ 10.1 เมื่อ ; ; ; ;

;

====

ข. ==

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

109

Page 4: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

=

10.3 การหมุนกฎการเคล่ือนที่ของนิวตันใชไ้ด้ดีกับการเคล่ือนที่ของวตัถ ุ ทำานองเดียวกันเราใชก้ฎการ

เคล่ือนที่ของนิวตันกับการหมุนด้วยกฎขอ้ท่ีหน่ึงของนิวตันสำาหรบัการหมุนวตัถทุกุชนิดจะเคล่ือนที่ด้วยความเรว็เชงิมุมคงที่ นอกจากม ีแรง ทอรด์มากระทำาต่อวตัถนัุน้ล้อรถจกัรยานจะไมส่ามารถเคล่ือนที่ได้นอกจากมแีรงภายนอกมากระทำา บางแรงทำาใหล้้อ

หมุนแต่บางแรงไมม่ผีลต่อการหมุนทอรค์คืออะไรและต่างจากแรงอยา่งไร

รูปที่ 10.3 รูปที่ 10.4

พจิารณารูปที่ 10.3 จะสงัเกตเุหน็วา่แนวแรงที่กระทำาต่อไมเ้มตรผ่านจุดหมุน (pivot) กรณีนี้จะไมเ่กิดการหมุน แต่ถ้าแนวแรงที่กระทำาต่อไมเ้มตรไมผ่่านจุดหมุน กรณีนี้จะเกิดการหมุน นอกจากน้ีแรงที่กระทำาต่อไมเ้มตรสามารถแยกออกเป็นองค์ประกอบยอ่ยเป็นแรงที่ตัง้ฉากกับไม้เมตรและแรงที่ชนานกับไมเ้มตรดังรูปที่ 10.4 แรงที่มผีลต่อการหมุนคือแรงที่ตัง้ฉากกับไมเ้มตรเท่านัน้ นัน่คือ

= ===

เมื่อ คือผลคณูระหวา่งระยะทางที่ลากจากจุดหมุนมาตัง้ฉาก (แขนหมุน) กับแนวแรง หรอืผลคณูระหวา่งแรงที่ตัง้ฉากกับแขนหมุน ดังรูปที่ 10.5

ทอรค์เมื่อเขยีนอยูใ่นรูปของเวกเตอร ์ หรอื cross product =

การหาทิศของทอรค์จะกล่าวในบทต่อไป

รูปที่ 10.5

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

110

Page 5: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

ตัวอยา่งท่ี 10.3 ออกแรงในแนวด่ิง เพื่อเปิดฝากระป๋องสโีดยออกแรงหา่งจากจุดหมุนเป็นระยะ ดังรูปที่ 10.6 จงหา

ก. ขนาดของทอรค์ข. แรง ที่ต้องใชเ้ปิดฝากระป๋องเมื่ออกแรงทำามุม กับแนวดิ่ง

วธิทีำา ก. เนื่องจากแรงที่ออกตัง้ฉากกับแขนหมุนจะได้วา่=

ขนาดของทอรค์ ===

ข.เมื่อแรง ไมต่ัง้ฉากกับแขนหมุน เมื่อแยกองค์ประกอบของแรงจะมเีพยีงแรงเดียวเท่านัน้ที่มีผลต่อการหมุน แรงนัน่คือ จะได้วา่

==

==

กฎขอ้สองของนิวตันสำาหรบัการหมุนความเรง่เชงิมุมของวตัถจุะเปล่ียนแปลงตามค่าทอรค์ แต่ไมข่ึ้นกับโมเมนต์ความเฉ่ือยของ

วตัถุจาก =

= เมื่อ คือโมเมนต์ความเฉ่ือยกฎขอ้สองสำาหรบัการหมุน

=โมเมนต์ความเฉ่ือยคืออะไร ใชท้ำาอะไรมผีลอยา่งไร และจะคำานวณอยา่งไร

วตัถรุูปทรงใด ๆ แขวนอยูด่ังรูปที่ 10.7 โดยมคีวามเรง่เชงิมุม พจิารณามวลก้อนเล็ก ๆ ถกูกระทำาด้วยแรง ซึ่งตัง้ฉากกับแขนหมุนทำาให ้ มคีวามเรง่เชงิมุม ด้วย อาศัยสมการ

= จะได้วา่=

แต่ คือแรงในแนวเสน้สมัผัส แทนด้วย จะได้ความเรง่ในแนวเสน้สมัผัส ด้วย

รูปที่ 10.7= =====

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

111

Page 6: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

เปรยีบเทียบสมการที่ได้กับกฎขอ้สองของการหมุนเมื่อ ที่ได้คือผลรวมของทอรค์ทัง้หมดที่เกิดจากมวลยอ่ย ๆ จะได้ค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถรูุปทรงใด ๆ คือ

=ตามปกติความเฉ่ือยต่อการเล่ือนตำาแหน่งของวตัถขุึ้นอยูก่ับมวล แต่ความเฉ่ือยต่อการ

หมุน (โมเมนต์ความเฉ่ือย) จะไมข่ึ้นกับมวลแต่ขึ้นอยูก่ับรูปทรงของวตัถุ

ตัวอยา่งท่ี 10.4 ดรมัเบลประกอบด้วยมวลก้อนละ เชื่อมด้วยมวลเบายาว หมุนรอบแกนซึ่งตัง้ฉากกับระนาบของกระดาษดังรูปที่ 10.8 จงหาขนาดของทอรค์ที่ทำาใหด้รมัเบลหมุนด้วยความเรว็ และหยุดภายในเวลา

วธิทีำา ถือวา่มวล ทัง้สองมขีนาดเล็กเมื่อเทียบกับระยะทางระหวา่งมวลทัง้สอง ดังนัน้ค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยจากเง่ือนไขการอินทิเกรตก็คือผลรวมของมวลทัง้หมด

= =รูปที่ 10.8 แทนค่าต่าง ๆ ในสมการ

===

แต่ = =

=

=จากกฎขอ้สองของการหมุน

====

ในกรณีที่วตัถมุรีูปทรง รศัมใีนการหมุนวดัจากจุดหมุนไปยงัมวลสว่นเล็ก ๆ มคี่าไมม่ากนักเมื่อเทียบกับขนาดของวตัถ ุ เราสมารถคำานวณหาโมเมนต์ความเฉ่ือยได้โดยการอินทิเกรต

ตัวอยา่งท่ี 10.5 ก. จงหาโมเมนต์ความเฉ่ือยของวงแหวนบางสมำ่าเสมอรศัม ี มวล รอบแกนที่ผ่านจุดศูนยก์ลางมวลดังรูปที่ 10.9 ข. จงหาโมเมนต์ความเฉ่ือยของแผ่นจานบางสมำ่าเสมอรศัม ี มวล รอบแกนที่ผ่านจุดศูนยก์ลางมวลดังรูปที่ 10.10 วธิทีำา ก. แบง่วงแหวนออกเป็นสว่นเล็ก ๆ มมีวล หา่งจากแกนหมุนรศัม ี โมเมนต์ความเฉ่ือยของมวล คือ

==

==

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

112

Page 7: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

เมื่อผลรวมทัง้หมดของมวล ที่แบง่เป็นสว่นเล็ก ๆ มคี่าเท่ากับ ดังนัน้จะได้วา่โมเมนต์ความเฉ่ือย

ของวงแหวนบางรอบจุดศูนยก์ลางมวลคือ=

รูปที่ 10.10ข. ในกรณีเป็นแผ่นจานเมื่อแบง่แผ่นจานออกเป็นวงแหวนเล็ก ๆ รศัม ี หนา มมีวล

จะสงัเกตเุหน็วา่ ค่าขอบของวงแหวนมค่ีาไมค่งที่จะเปล่ียนตามระยะ ดังนัน้ค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของแผ่นจานเกิดจากโมเมนต์ความเฉ่ือยสว่นเล็ก ๆ ของวงแหวน ดังรูปที่ 10.10

เมื่อนำามวล หนา มาคล่ี

รูปที่ 10.10

=เมื่อรวมวงแหวนสว่นเล็ก ๆ ทัง้หมดก็จะกลายเป็นแผ่นบาง

=

=

แต่มวลสว่นเล็ก ขึ้นอยูร่ศัม ี สมมติเป็นแผ่นจานบางสมำ่าเสมอดังนัน้การกระจายของมวลจะขึ้นอยูก่ับพื้นที่

= เนื่องจาก ขึ้นอยูก่ับพื้นที่

=

หรอืคำานวณหา จาก = =แต่ คือความหนาแน่นต่อพื้นที่จะได้ จากบทที่ 8

===

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

113

Page 8: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

แทนค่า ลงในสมการ

=

=

=

=โมเมนต์ความเฉ่ือยของแผ่นจานกลมรอบจุดศูนยก์ลางคือ

=จากค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยที่ได้ถ้าปล่อยวงแหวนกับแผ่นจานใหก้ลิ้งลงจากพื้นเอียงอันไหน

จะถึงปลายพื้นเอียงก่อนค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถขุึ้นอยูก่ับรูปรา่งของวตัถแุสดงดังตารางที่ 10.1

ตารางที่ 10.1

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

114

Page 9: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

10.4 ทฤษฎีแกนตั้งฉากและทฤษฎีแกนขนานในบางกรณีการคำานวณค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยมคีวามยุง่ยากซบัซอ้นเราสามารถทำาใหง่้ายขึ้น

โดยใชท้ฤษฎีแกนตัง้ฉาก หรอืทฤษฎีแกนขนานเขา้มาชว่ย

10.4.1 ทฤษฎีแกนตั้งฉาก เป็นทฤษฎีที่ใชใ้นการคำานวณหาค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถแุขง็เกรง็ที่มลัีกษณะเป็นแผ่นบาง ๆ พจิารณาวตัถหุมุนรอบแกน , และ แสดงดังรูปที่ 10.11

รูปที่ 10.11

จาก =เมื่อ เป็นระยะจาก ถึงแกน และ เน่ืองจากเป็นวตัถแุผ่นบางจะได้

=แต่

===

ตัวอยา่งท่ี 10.6 จงหาค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของแผ่นจานบางสมำ่าเสมอมวล รศัม ี รอบแกน และ ดังรูปที่ 10.12

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

115

Page 10: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

รูปที่ 10.12

วธิทีำา อาศัยแกน , และ ตามรูป ใหร้ะนาบของวงกลมอยูใ่นระนาบ และจุดศูนยก์ลางอยูท่ี่จุด จะได้

=แต่ และ จะได้

=

=

และ =

นัน่คือ

10.4.2 ทฤษฎีแกนขนาน ค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถโุดยทัว่ ๆ ไปเราจะทราบค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถรุอบแกนที่ผ่านจุดศูนยก์ลางของมวลของวตัถ ุ ถ้าต้องการจะหาค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของวตัถนัุน้รอบแกนหมุนใด ๆ ซึ่งขนานกับแกนหมุนที่ผ่านจุดศูนยก์ลางมวล และหา่งออกมาเท่ากับ ดังรูปที่ 10.13

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

116

Page 11: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

รูปที่ 10.13

=เมื่อ

คือโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนใด ๆ ที่ขนานกับแกนที่ผ่านจุดศูนยก์ลางมวล คือโมเมนต์ความเฉื่อยรอบจุดศูนยก์ลางมวล คือมวลของวตัถนัุน้

เป็นระยะหา่งระหวา่งแกนทัง้สอง

ตัวอยา่งท่ี 10.7 จงใชท้ฤษฎีแกนขนานหาค่าโมเมนต์ความเฉ่ือยของลวดเสน้เล็ก มวล ยาว ซึ่งหมุนรอบจุด ที่อยูป่ลายลวดดังรูปที่ 10.4

รูปที่ 10.4

วธิทีำา =

=

=

=

=

10.5 รศัมไีจเรชัน่จากตัวอยา่งที่ผ่านมา เราจะพบวา่วตัถทุี่มรูีปรา่งต่างๆ กันยอ่มมสีมการโมเมนต์ความเฉ่ือย

ต่างกัน ดังนัน้เพื่อความสะดวกในการคำานวณ จงึได้มกีารกำาหนดสมการทัว่ไปสำาหรบัโมเมนต์ของความเฉ่ือยของวตัถทุกุรูปรา่งขึ้นมาเมื่อ

=เมื่อ คือโมเมนต์ความเฉื่อยของวตัถทุกุรูปรา่ง

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

117

Page 12: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

คือมวลของวตัถนัุน่ คือรศัมไีจเรชัน่

10.6 การประยุกต์ใชก้ฎการหมุนตัวอยา่งท่ี 10.8 แขวนมวล = ที่ปลายเชอืกเบาโดยปลายอีกขา้งหน่ึงคล้องผ่านรอกมวล = มเีสน้ผ่าศูนยก์ลาง แสดงดังรูปที่ จงหาความเรง่ของมวลที่แขวน

รูปที่ 10.14

วธิทีำา เพื่อความสะดวกในการคำานวณใหแ้ยกคิดที่ละสว่นดังนี้พจิารณาแรงที่กระทำาบนมวลที่แขวน เมื่อมวลเคล่ือนที่ในแนวเสน้ตรง อาศัยกฎการ

เคล่ือนที่ขอ้สองของนิวตัน ตามรูปที่ 10.15=== (1)

กำาหนดใหท้ิศลงมเีครื่องหมายเป็นบวก

รูปที่ 10.15 พจิารณาแรงที่กระทำาต่อรอก ซึ่งประกอบด้วยแรง ; และ ดังรูปที่ 10.16 แรงที่ทำาใหเ้กิดทอรค์และทำาใหร้อกหมุนคือแรง เท่านัน้ กำาหนดใหท้ิศหมุนตามเขม็นาฬิกาเป็นบวก

จากกฎขอ้สองของการหมุน==

=แทนค่า ลงในสมการที่ 1 จะได้

= (2) รูปที่ 10.16

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

118

Page 13: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

เมื่อ คือโมเมนต์ความเฉ่ือยของแผ่นจานกลมกลมรอบจุดศูนยก์ลางมวลจะได้

เมื่อความเรง่ คือความเรง่ที่เกิดเนื่องจากจากแรง เป็นความเรง่ที่ขอบ

ที่ขอบของแผ่นจานกลมดังนัน้ แต่ แทนค่าต่างๆ ลงในสมการที่ (2)

=

=

=

=

แทนค่าต่าง ๆ เพื่อหาค่า

=

=

ตัวอยา่งท่ี 10.9 วตัถทุรงกลมมวล รศัม ี มโีมเมนต์ความเฉื่อย กล้ิงลงมาตามพื้นเอียงสงู จงหาความเรง่และความเรว็เชงิเสน้ที่ปลายพื้นเอียงวธิทีำา

รูปที่ 10.17

เขยีน free body diagram แสดงแรงที่กระทำากับวตัถแุสดงดังรูปที่ 10.17 จะสงัเกตเหน็วา่แรงที่ทำาใหห้มุนคือแรงเสยีดทาน จากกฎการเคล่ือนที่ขอ้ 2 ของนิวตัน เมื่อแยกพจิารณาในแต่ละสว่นพจิาณาการเลื่อนตำาแหน่งแกน

=== (1)

(เมื่อแรง เป็นแรงที่ทำาใหว้ตัถทุรงกลมหมุนหมุน)แกน =

== (2)

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

119

Page 14: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

พจิารณาการหมุน=== (3)

แทนสมการที่ (3) ลงในสมการที่ (1)=

แต่ คือความเรง่ในแนวเสน้สมัผัส อาศัยความสมัพนัธร์ะหวา่งความเรง่เชงิเสน้ในแนวเสน้สมัผัสกับความเรง่เชงิมุมจะได้

พจิารณาการเล่ือนตำาแหน่งของวตัถทุรงกลมอยา่งเดียวแสดงดังรูปที่ 10.17 ก. และการหมุนอยา่งเดียวแสดงดังรูปที่ 10.17 ข. เพื่อใชป้ระกอบการรพจิารณาการเคล่ือนที่ของวตัถุวา่เป็นการเคล่ือนที่ลักษณะใด ถ้าเคล่ือนที่แบบกลิ้งเป็นการเคล่ือนรวมกันทัง้สองแบบ

ก. วตัถเุล่ือนตำาแหน่งอยา่งเดียว ข. วตัถหุมุนอยา่งเดียว

รูปที่ 10.17 แสดงการเคล่ือนที่ของทรงกลม

=

==

=

จากสมการที่ได้ถ้าวตัถไุมม่กีารหมุน จะได้คำาตอบของความเรง่คือ ซึ่งกล่าวมาแล้วจากขา้งต้น

เนื่องจากความเรง่ ที่ได้เป็นค่าคงที่ ดังนัน้เราสามารถคำานวณหาค่าความเรว็ของวตัถุทรงกลม จากโจทยค่์าต่าง ๆ ที่กำาหนดใหม้ดัีงน้ี

; ; ; (ต้องการหา)

;

จากค่าที่กำาหนดใหส้มการการเล่ือนตำาแหน่งที่ไมต่ิดตัวแปรเวลา คือ

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

120

Page 15: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

=

=

=

=

นัน่คือถ้าวตัภไุมม่กีารหมุน คำาตอบของความเรว็คือ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว

สรุป ทอรค์จะอธบิายถึงการหมุนของวตัถ ุ สว่นแรงจะอธบิายถึงการเล่ือนตำาแหน่งของวตัถุ

10.7 พลังงานจลน์ในการหมุนจากบทที่ผ่าน ๆ มา หวัขอ้สดุท้ายที่จะกล่าวถึงคือกฎการอนุรกัษ์พลังงาน เน่ืองจากเมื่อใช้

พลังงานคำานวณจะทำาใหง่้ายและสะดวกกวา่การคำานวณเมื่อใชแ้รงและทอรค์ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือพลังงานจนล์มผีลต่อการหมุนอยา่งไร พจิารณาดังรูปที่ 10.18 เมื่อแบง่มวลออกเป็นสว่นเล็ก ๆ มคีวามเรว็ และอยูห่า่งจากจุดหมุน จากนิยามของพลังงานจลน์เชงิเสน้ของมวลเล็ก ๆ

=

รูปที่ 10.18

แต่ คือความเรว็ในแนวเสน้สมัผัส จะได้

=คิดทัง้หมด

=เมื่อสมการทางซา้ยมอืคือพลังงานจลน์ในการหมุนของวตัถทุัง้ก้อน สว่นสมการทางขวามอื

คือโมเมนต์ความเฉื่อยพลังงานจลน์ในการหมุน

=

จะสงัเกตเุหน็วา่พลังงานจลน์เชงิเสน้จะมคี่าเท่ากับครึง่หน่ึงของผลคณูระหวา่งความเฉ่ือย (มวล) กับความเรว็กำาลังสอง ในทำานองเดียวกันพลังงานจลน์ในการหมุนจะมค่ีาเท่ากับครึง่หนึ่งของผลคณูระหวา่งโมเมนต์ความเฉ่ือยและความเรว็เชงิมุมยกกำาลังสอง

ตัวอยา่งท่ี 10.10 จากตัวอยา่งที่ 10.9 จงหาความเรง่และความเรว็เชงิเสน้เมื่อใชก้ฎการอนุรกัษ์พลังงาน

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

121

Page 16: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

วธิทีำา

รูปที่ 10.19พจิารณารูปที่ 10.19 เมื่อวตัถกุล้ิงพลังงานจลน์ที่เกี่ยวขอ้งได้แก่พลังงานจลน์เชงิเสน้

(การเคล่ือนที่ของจุด cm) กับพลังงานจลน์ในการหมุน (วตัถหุมุนรอบจุด cm) จากกฎการอนุรกัษ์พลังงาน

==

=เมื่อวตัถกุล้ิงโดยไมม่กีารไถลความเรว็เชงิเสน้จะสมัพนัธก์ับความเรว็เชงิมุมดังน้ี

=

=

=

เมื่อคำานวณโดยการใชก้ฎการอนุรกัษ์พลังงานจะง่ายกวา่การคำานวณโดยใชแ้รงและทอรค์ทราบหรอืไม ่? ทำาไมความเรง่และความเรว็ไมข่ึ้นอยูก่ับมวล ใหนั้กศึกษาพจิารณาที่ค่า

โมเมนต์ความเฉ่ือย ถ้ากำาหนดให ้ เมื่อ คือแรงเสยีดทานแทนลงในสมการขา้งบนจะได้

=

=

จากสมการที่ได้ค่า และ จะไมป่รากฎ นัน่คือความเรว็จะไมข่ึ้นกับมวลแต่ขึ้นอยูก่ับรูปรา่ง เน่ืองจากในสมการมคี่า ปรากฎอยู่

นักศึกษาตอบได้หรอืไมว่า่ เมื่อปล่อยวงแหวนกับแผ่นจานกลมจากปลายพื้นเอียงพรอ้มกันอันไหนจะถึงปลายพื้นเอียงก่อน

สรุป

นิยามการหมุนมุม : การกระจดัเชงิมุม :

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

122

Page 17: บทที่ 10 · Web viewแขวนมวล = ท ปลายเช อกเบาโดยปลายอ กข างหน งคล องผ านรอกมวล

Physics 1 - ฟสิกิส ์1

ความเรว็เชงิมุม : ความเรง่เชงิมุม :

ความสมัพนัธร์ะหวา่งเชงิเสน้กับเชงิมุม

สมการการหมุนจะใชไ้ด้เมื่อความเรง่เชงิมุม คงที่ นิยามของทอรค์ :กฎขอ้สองของการหมุน :นิยามของโมเมนต์ความเฉ่ือย :ทฤษฎีแกนตัง้ฉาก :ทฤษฎีแกนขนาน :พลังงานจลน์ในการหมุน :

ผศ. เสมา สอนประสม ภาควชิาฟสิกิส ์ คณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลัยรงัสติ

123