บทที่ 1 บทนำ -...

74
บทที1 บทนํา ความเปนมา สกลนคร เปนจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีเนื้อทีประมาณ 6,003,602.5 ไร คิดเปนรอยละ 5.6 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่มากเปนอันดับ 9 ของ ภาค ในอดีตเปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรปาไมแตในปจจุบันพื้นที่ปาไมไดลดลงมาก จากป . . 2504 จังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปาไมประมาณ 5.18 ลานไร หรือรอยละ 86.28 ของพื้นทีจังหวัด แตในป .. 2538 จังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปาไมเหลือยูประมาณ 870,625 ไร หรือรอยละ 14.50 ของพื้นที่จังหวัด ในป .. 2541 พื้นที่ปาไมลดลงเหลือประมาณ 850,625 ไร หรือรอยละ 14.17 ของพื้นที่จังหวัด ( สถิติการปาไมของประเทศไทย กรมปาไม . 2549 : ออนไลน ) ปญหาการ บุกรุกพื้นที่ปาไมจังหวัดสกลนครดังกลาว หากหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎรใน จังหวัดยังไมใหความสําคัญกับปญหาที่เกิดขึ้นวาตองชวยกันแกไขปญหาอยางจริงจัง ผลกระทบทีเกิดจากการบุกรุกทําลายพื้นที่ปาไมก็จะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น กรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหาดังกลาว มี ความพยายามเพิ่มพื้นที่ปาไมของประเทศโดยการปลูกตนไมอันเปนวิธีการชวยเรงสภาพปาใหคืน สภาพเดิมเพื่อใหเกิดความสมดุลกับจํานวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น การปลูกตนไมจะสําเร็จไดตองมีกลาไม ที่มีคุณภาพดีตามหลักวิชาการปาไม จึงไดจัดตั้งสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร เพื่อดําเนินการ ผลิตกลาไมที่ดีสอดคลองกับความตองการของหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน ราษฎรใน จังหวัดสกลนคร และเมื่อนําไปปลูกแลวอัตราการรอดตายสูง เจริญเติบโตไดดีในแตละสภาพพื้นทีของจังหวัดสกลนคร ดังนั้นการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร เปน แนวทางหนึ่งที่จะชวยในการเพิ่มพื้นที่ทรัพยากรปาไมใหกับจังหวัดสกลนครและถาหากไดรับความ รวมมือจากหนวยงานราชการตาง วัด องคกรเอกชน และราษฎรในจังหวัดอยางจริงจังในการปลูก ตนไมโตเร็วเพื่อเศรษฐกิจหรือปลูกปาเพื่อการอนุรักษก็จะชวยฟนฟูปาธรรมชาติและสภาพ สภาพแวดลอมไดรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการสรางอาชีพและรายไดใหกับราษฎรที่มาขอรับการ สนับสนุนกลาไมไปปลูกในที่ดินกรรมสิทธิและหนวยงานราชการ วัด ไปปลูกในที่สาธารณะ ประโยชนของชุมชนสรางเปนสวนปาอนุรักษชุมชนสามารถจัดเปนปาสําหรับการทองเที่ยวเชิง อนุรักษเพื่อประโยชนของสวนรวม

Transcript of บทที่ 1 บทนำ -...

Page 1: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมา

สกลนคร เปนจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีเนื้อที่ ประมาณ 6,003,602.5 ไร คิดเปนรอยละ 5.6 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่มากเปนอันดับ 9 ของภาค ในอดีตเปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรปาไมแตในปจจุบันพื้นที่ปาไมไดลดลงมาก จากป พ.ศ. 2504 จังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปาไมประมาณ 5.18 ลานไร หรือรอยละ 86.28 ของพื้นที่จังหวัด แตในป พ.ศ. 2538 จังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปาไมเหลือยูประมาณ 870,625 ไร หรือรอยละ 14.50 ของพื้นที่จังหวัด ในป พ.ศ. 2541 พื้นที่ปาไมลดลงเหลือประมาณ 850,625 ไร หรือรอยละ 14.17 ของพื้นที่จังหวัด ( สถิติการปาไมของประเทศไทย กรมปาไม. 2549 : ออนไลน ) ปญหาการบุกรุกพื้นที่ปาไมจังหวัดสกลนครดังกลาว หากหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎรในจังหวัดยังไมใหความสําคัญกับปญหาที่เกิดขึ้นวาตองชวยกันแกไขปญหาอยางจริงจัง ผลกระทบที่เกิดจากการบุกรุกทําลายพื้นที่ปาไมก็จะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น

กรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหาดังกลาว มีความพยายามเพิ่มพื้นที่ปาไมของประเทศโดยการปลูกตนไมอันเปนวิธีการชวยเรงสภาพปาใหคืนสภาพเดิมเพื่อใหเกิดความสมดุลกับจํานวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น การปลูกตนไมจะสําเร็จไดตองมีกลาไมที่มีคุณภาพดีตามหลักวิชาการปาไม จึงไดจัดตั้งสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร เพื่อดําเนินการผลิตกลาไมที่ดีสอดคลองกับความตองการของหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน ราษฎรในจังหวัดสกลนคร และเมื่อนําไปปลูกแลวอัตราการรอดตายสูง เจริญเติบโตไดดีในแตละสภาพพื้นที่ของจังหวัดสกลนคร

ดังนั้นการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร เปนแนวทางหนึ่งที่จะชวยในการเพิ่มพื้นที่ทรัพยากรปาไมใหกับจังหวัดสกลนครและถาหากไดรับความรวมมือจากหนวยงานราชการตาง ๆ วัด องคกรเอกชน และราษฎรในจังหวัดอยางจริงจังในการปลกูตนไมโตเร็วเพื่อเศรษฐกิจหรือปลูกปาเพื่อการอนุรักษก็จะชวยฟนฟูปาธรรมชาติและสภาพสภาพแวดลอมไดรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการสรางอาชีพและรายไดใหกับราษฎรที่มาขอรับการสนับสนุนกลาไมไปปลูกในที่ดินกรรมสิทธิ์ และหนวยงานราชการ วัด ไปปลูกในที่สาธารณะประโยชนของชุมชนสรางเปนสวนปาอนุรักษชุมชนสามารถจัดเปนปาสําหรับการทองเที่ยวเชิงอนุรักษเพื่อประโยชนของสวนรวม

Page 2: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

2

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาชนิดและลักษณะของพันธุกลาไมที่หนวยงานราชการ วัด และราษฎรทุกอําเภอในทองที่จังหวัดสกลนครตองการนําไปปลูกเพื่อเศรษฐกิจ และเพื่อการอนุรักษ

2. เพื่อศึกษาการแจกจายกลาไมของสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร 3. เพื่อศึกษาอัตราการรอดตายของพันธุไมที่ปลูกโดยหนวยงานราชการ วัด และราษฎร

หลังการปลูก 1 - 3 ป

นิยามศัพท

ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดกําหนดความหมายของคําศัพทที่ใชในการศึกษาดังนี้ 1. การเพาะชํากลาไม หมายถึง ขบวนการผลิตกลาไมที่เร่ิมตั้งแต การเขียนแผนปฏิบัติงาน

การจัดหาและการจัดเก็บเมล็ดไม การเตรียมวัสดุเพาะชํากลาไม การจัดทําแปลงเพาะเมล็ดไม การทําเรือนเพาะชํากลาไม การเพาะเมล็ดไม การยายชํากลาไม การดูแลบํารุงกลาไม ใหไดกลาไมที่มีคุณภาพตามหลักวิชาการปาไม

2. ความตองการกลาไม หมายถึง หนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน ราษฎร แจงความประสงคตามแบบสํารวจความตองการกลาไมใหสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนครทราบ โดยระบุชนิดกลาไมและจํานวนกลาไมที่ตองการขอรับการสนับสนุน พรอมสถานที่ปลูกใหชัดเจน

3. สถานีเพาะชํากลาไม หมายถึงสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร ที่ตั้ง ถนนสายสกลนคร - กาฬสินธุ ตําบลโคกภู อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณีย 47130 ระวางแผนที่ทหาร 5742 – I พิกัด UTM1875382 48Q 0386174 มีหนาที่ดําเนินการสํารวจความตองการกลาไมในทองที่รับผิดชอบ วางแผนการผลิตกลาไม จัดเตรียมและแจกจายกลาไมตามแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณประจําป ตลอดจนประสานงาน กํากับ ดูแล ตรวจสอบ รวบรวมรายงาน และติดตามประเมินผลการเพาะชํากลาไมและการแจกจายกลาไมใหเปนไปตามแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณที่ไดรับ วางแผนการจัดเก็บเมล็ดไม สํารวจจัดทําทะเบียนแหลงเมล็ดไม จัดเก็บเมล็ดไมและดําเนินงานทางดานสายพันธุของกลาไม ศึกษาพัฒนาเทคนิคการเพาะชํากลาไม การสงเสริมและพัฒนาการผลิตกลาไม ตลอดจนการปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย

4. อัตราการรอดตาย หมายถึง การเปรียบเทียบจํานวนกลาไมที่ขอรับไปปลูกกับจํานวนกลาไมที่ปลูกแลวเจริญเติบโตไดดี มีหนวยเปนรอยละ ( เปอรเซ็นต )

Page 3: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

3

5. การปลูกตนไมเพื่อเศรษฐกิจ หมายถึง การปลูกตนไมเพื่อหวังผลตอบแทนจากการปลูกในลักษณะของการนําผลผลิตจากสวนปาออกมาจําหนายเปนรายไดในรูปแบบตาง ๆ เชน ไมซุง ไมแปรรูป เปนเสาเข็ม เปนถาน และเยื่อกระดาษ เปนตน

6. ปลูกตนไมเพื่อการอนุรักษ หมายถึง การปลูกปาเพื่อหวังผลในการรักษาตนน้ําลําธาร ปองกันการพังทลายของดิน ฟนฟูส่ิงแวดลอม และเพื่อพักผอนหยอนใจ เปนตน

Page 4: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

บทที่ 2 ตรวจเอกสาร

แนวคิดเกี่ยวกับการปลูกตนไม

ปา

ความหมายของปา พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2535 ใหคําจํากัดความคําวา “ปา” ไววา “ที่ที่มีตนไมตาง ๆ ขึ้นมา ถาเปนตนสัก เรียกวา ปาสัก ถาเปนตนรัง เรียกวา ปารัง ถามีพรรณไมชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้นอยูมาก ก็เรียกตามพรรณไมนั้น เชน ปาไผ ปาคา ปาหญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สํานักอุทยานแหงชาติ (2549 ) ไดใหความหมาย “ ปา ” ตามแนวคิดของนักวิชาการปาไม คือ เปนถ่ินที่อยูอาศัยรวมกันของสิ่งมีชีวิต มีทั้งพืชและสัตวนานาชนิด รวมถึงจุลชีพทั้งมวล ตางพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน สวนใหญประกอบดวยตนไมอันขึ้นอยูบนดิน และมีรากยึดเหนี่ยวอยูใตดิน ปาไมเปนสิ่งที่ปลูกทดแทนขึ้นมาใหมได และสามารถเอื้ออํานวยประโยชนใหแกมนุษย ความหมายของคําวา “ ปา ” ตามที่องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ ( FAO ) ไดนิยามศัพทไววา ปาไม คือ ผืนแผนดินทั้งหมดที่พฤกษชาติขึ้นรวมกันอยูโดยมีไมยืนตนทุกขนาดเปนสวนประกอบสําคัญ ไมวาในที่นั้นจะมีการทําไมหรือไม หรือสามารถผลิตไมไดหรือไม ก็มีอิทธิพลตอลมฟาอากาศในทองถ่ินหรือในการควบคุมน้ํา รักษาตนน้ําลําธาร ทั้งนี้รวมถึงพื้นที่ปาไมที่ถูกแผวถางตัดฟนลงหมด หรือไดถูกเผาไปใหม ๆ เพื่อจะทําการปลูกสรางปาขึ้นมาใหมในไมชา แตไมมีความหมายรวมถึงปาละเมาะหมูตนไมที่ขึ้นอยูนอกบริเวณปาตามหัวไรปลายนา หรือตนไมที่ปลูกไวขางถนนที่ดินทางเกษตรกรรม ( เชน สวนผลไม สวนยางพารา ) และสวนสาธารณะ

สรุปไดวา ปาหมายถึง ที่ดิน ภูเขา แหลงน้ําตามธรรมชาติ ชายชายฝงทะเล หรือที่ที่มีตนไมขึ้นอยูจํานวนมาก ที่ยังไมมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน

Page 5: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

5

การอนุรักษ

ความหมายของการอนุรักษ เกษม ( อางใน ยรรยง, 2544 ) กลาววา การอนุรักษ หมายถึง การเก็บรักษา สงวน

ซอมแซม ปรับปรุง และการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อจะไดเอื้ออํานวยใหคุณภาพสูงในการสนองความเปนอยูของมนุษยตลอดไป หรืออีกทางความหมายหนึ่ง คือ เปนการใชตามความตองการและประหยัดไวเพื่อใชในอนาคต (Using of Immediate Need and Saving for Future Use) อํานวย (2530) ใหความหมายการอนุรักษ หมายถึง การนําทรัพยากรออกมาใชประโยชน โดยรักษาไวใหคงสภาพเดิมมากที่สุด นิวัติ ( อางใน ยรรยง, 2544 ) กลาววา การอนุรักษ (Conservation) หมายถึง การรูจักนําทรัพยากรมาใชอยางชาญฉลาด เพื่อใหเกิดประโยชนตอมหาชนมากที่สุด สูญเสียนอยที่สุด ใชไดนานและตองกระจายการใชประโยชนใหทั่วถึงกันโดยถูกตองตามกาลเทศะดวย

สรุปไดวา การอนุรักษ หมายถึง การสงวน การปองกัน การรักษาไว การมีไวใชอยางยั่งยืนหรือนานที่สุด การใชอยางประหยัด การใชเพื่อใหเกิดประโยชนตอมหาชนมากที่สุด การทดแทน การสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ

ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ เศกสรรค ( อางใน ยรรยง, 2544 ) ไดกลาวถึงความหมายของคําวาทรัพยากรและธรรมชาติไว ดังนี้

(1) ทรัพยากร หมายถึง ส่ิงที่มีอยูตามธรรมชาติ อันอาจเปนทรัพยได พจนานุกรมทางวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอมฉบับภาษาอังกฤษ ใหความหมายของทรัพยากร หมายถึง พื้นที่ วัตถุ หรือส่ิงมีชีวิตที่มีประโยชนตอมนุษย

(2) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึง ส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีประโยชน สามารถตอบสนองความตองการของมนุษยได หรือมนุษยสามารถมาใชประโยชนได เชน ดิน ปาไม น้ํา แรธาตุ พลังงาน รวมทั้งกําลังงานของมนุษยดวย

สรุปไดวา ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเปนทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต เปนสิ่งที่มีคุณคาที่มนุษยจะนํามาใชใหเกิดประโยชนหรือสนองตอบความตองการของมนุษยได

Page 6: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

6

สิ่งแวดลอม

ความหมายของสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศูนยพัฒนาทรัพยากรการศึกษา. 2550 : ออนไลน. ใหความหมาย ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนษุยสรางขึ้นอยู รอบ ๆ ตัวเราทั้งที่มีลักษณะกายภาพที่เห็นไดและไมสามารถเห็นได

ส่ิงแวดลอมแบงได 2 ประเภท คือ ( 1 ) ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ ( Natural Environment ) แบงยอยไดอีก 2 ประเภท - ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ เชน บรรยากาศ อุทกภาค ( แมน้ํา ทะเล

มหาสมุทร ) ธรณีภาค ( หินและดิน ) - ส่ิงแวดลอมที่มีชีวิต เชน คน และสัตว ( 2 ) ส่ิงแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น แบงยอยได 2 ประเภท - ส่ิงแวดลอมที่เปนรูปธรรม ไดแก บานเรือน ถนน สนามบิน ฯลฯ - ส่ิงแวดลอมที่เปนนามธรรม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ฯลฯ

สรุปไดวา ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเราที่มีชีวิต ไมมีชีวิต ที่จับตองไดและไมได ที่มีประโยชนตอมนุษย และเปนโทษตอมนุษย ที่ควบคุมไดและควบคุมไมได

Page 7: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

7

บริบทจังหวัดสกลนคร

พื้นที่จังหวัดสกลนคร มีการแบงพื้นที่การปกครองเปน 18 อําเภอ 125 ตําบล 1,485 หมูบาน มีขอมูลพื้นฐานดังนี ้

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงการแบงพื้นที่อําเภอตาง ๆ ของจังหวัดสกลนคร ที่มา : ศูนยปฏิบัติการจังหวดัสกลนคร ( Sakhon Nakhon Provincial Operation center ) (http://www.61.19.116.101/. 2550 : ออนไลน )

Page 8: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

8

1. ท่ีตั้งและอาณาเขต

จังหวัดสกลนครอยูในเขตที่ราบสูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนหรือ เรียกกันวา “แองสกลนคร” หางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนตประมาณ 630 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 9,605.764 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,003,602.5 ไร ตั้งอยูละติจูดที่ 16 องศา 45 ลิปดา ถึง 18 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 103 องศา 25 ลิปดาถึง 104 องศา 30 ลิปดาตะวันออก มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ อําเภอเซกา อําเภอพรเจริญ อําเภอโซพิสัย กิ่ง อ.เฝาไร จังหวัดหนองคาย ทิศใต ติดตอกับ อําเภอเขาวง อําเภอหวยผ้ึง อําเภอสมเด็จ อําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ และ อําเภอ ดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ทิศตะวนัออก ติดตอกับ กิ่ง อ.นาทม อําเภอศรีสงคราม อําเภอนาหวา อําเภอโพนสวรรค อําเภอเมืองสกลนคร อําเภอปลาปาก กิ่ง อ.วังยาง และอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวนัตก ติดตอกับ อําเภอบานดุง อําเภอทุงฝน อําเภอหนองหาน อําเภอไชยวาน และอําเภอวังสามหมอ จงัหวัด อุดรธานี โดยมีแมน้ําสงครามเปนแนวพรมแดน 2. ลักษณะภูมิประเทศ

ชาติชาย ( 2543 ) ไดรวบรวมขอมูลจังหวัดสกลนครไวดังนี้ จังหวัดสกลนครตั้งอยูในแองอารยธรรมที่เปนที่ราบใหญของภาคอีสานตอนบน อยูสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 172 เมตร โดยมีเทือกเขาภูพานอยูทางทิศใตของจังหวัดยาวตลอดแนวตัวจังหวัด เปนแนวเทือกเขาสําคัญที่กั้นอีสานตอนบนกับตอนลางออกจากกัน ซ่ึงสามารถจําแนกลักษณะภูมิประเทศออกเปนลักษณะตาง ๆ ไดดังนี้

2.1. ที่ราบลุมตามลําน้ํา พบทางตอนเหนือของจังหวัดและในบริเวณที่แมน้ําสงครามไหลผานในเขตทองที่อําเภอสองดาว อําเภอสวางแดนดิน อําเภอวานรนิวาส อําเภอคําตากลา อําเภอบานมวง บางสวนยังคงสภาพเปนปาอยูมาก ซ่ึงสวนใหญจะเปนปาโปรงแดง ปจจุบันถูกใชเปนพื้นที่เพาะปลูกขาว และบางแหงถูกปลอยใหเปนที่รกรางมีหญาและไมพุมเตี้ย ๆ ขึ้นปกคลุม

2.2. ที่ราบสูง พบบริเวณที่เปนเทือกเขาสูงในลักษณะที่ราบสูงบนหุบเขา และที่ราบระหวางหุบเขา โดยเฉพาะบนเทือกเขาภูพานอยูในเขตทองที่อําเภอภูพาน ทางดานทิศใตของจังหวัด

Page 9: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

9

อําเภอเตางอย อําเภอเมือง ฯ อําเภอกุดบาก อําเภอวาริชภูมิ และบางสวนของอําเภอสองดาว มีลําหวยสายสั้น ๆ ไหลผาน สวนใหญเปนพื้นที่ปาไมและทุงหญาเลี้ยงสัตว

2.3. ที่ราบเรียบสลับกับพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด เปนลักษณะภูมิประเทศที่อยูถัดจากลักษณะภูมิประเทศที่เปนที่ราบต่ํา สวนใหญใชเปนพื้นที่เพาะปลูกพืชไรพบบริเวณดานตะวันตกและตะวันออกของจังหวัดในทองที่อําเภอเมืองฯ อําเภอกุสุมาลย อําเภอโคกศรีสุพรรณ อําเภอเจริญศิลป อําเภอสวางแดนดิน และอําเภอสองดาว เปนตน มีแหลงน้ําสําคัญคือ หนองหาน พื้นที่สวนใหญถูกใชเปนพื้นที่ทํานาและปลูกพืชลมลุกในชวงหนาแลง

3. ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดสกลนครคลายคลึงกับจังหวัดอื่น ๆ ในภาคอีสาน ชวงฤดูรอนอากาศจะรอนอบอาว ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด และฤดูฝนมีฝนตกชุก กลาวคือ

3.1. ฤดูรอน เ ร่ิมประมาณตนเดือน มีนาคม ไปจนถึงเดือน พฤษภาคมของทุกป รวม

ระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ระยะมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหมดกําลังลง ลมตะวันออกเฉียงใตจากทะเลจีนใตและอาวไทยจะพัดมาแทน และเปนระยะหนึ่งที่ประเทศไทย ไดรับแสงแดดกลาที่สุดทําใหมีอากาศรอน และแหงแลงมาก สถิติภูมิอากาศสูงที่สุดของสกลนคร คือ 41.9 องศาเซลเซียส (รอนจัด) เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 อนึ่งการเปลี่ยนฤดูจากฤดูหนึ่งไปยังอีกฤดูหนึ่งนั้น มีระยะชวงเวลาอยูระหวาง 1 - 2 สัปดาห จะนับวาเปนฤดูหนึ่งฤดูใดยังไมชัดเจน เนื่องจากเปนระยะเปลี่ยนฤดู (transition period)

3.2. ฤดูฝน เริ่มประมาณกลางเดือน พฤษภาคม ถึงชวงปลายเดือน ตุลาคม ฝนตกชุกใน

เดือนสิงหาคม ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งปประมาณ 1,588 มิลลิเมตร เปนชวงที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดเอาความชุมชื้นมาจากมหาสมุทรอินเดีย และยังไดรับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชัน ซ่ึงพัดพาเมฆฝนมาจากทะเลจีนใต แผเขามาปกคลุมทั่วทั้งพื้นที่

3.3. ฤดูหนาว เริ่มประมาณตนเดือน พฤศจิกายน ถึงชวงปลายเดือน กุมภาพันธ อุณหภูมิต่ํา

เฉลี่ยประมาณ 10.7 องศาเซลเซียส เปนชวงที่ไดรับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดพาเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนแผเขามาปกคลุมทําใหอากาศคอยหนาวลงเรื่อย ๆ อากาศจะหนาวแบบแหงแลงและหนาวจัดในชวงเดือน มกราคม จังหวัดสกลนครเคยมีอุณหภูมิต่ําสุดจนถึง -2.5 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเหนือยอดหญา) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2542 ที่สถานีอากาศเกษตรสกลนคร ซ่ึงอยูที่สถานีทดลองพืชไรสกลนคร บานนาคํา ตําบลหวยยาง อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

Page 10: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

10

3.3.1 อุณหภูม ิจังหวัดสกลนครมีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปประมาณ 34.68 องศาเซลเซียส เนื่องจาก

จังหวัดสกลนครตั้งอยูบนที่ราบสูงหางไกลจากทะเลมากจึงไมไดรับอิทธิพลจากลมทะเล ทําใหอุณหภูมิแตละฤดูแตกตางกันมาก โดยอุณหภูมิต่ําสุดของจังหวัดอยูในเดือน มกราคมประมาณ 9.1 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยอยูในเดือน มีนาคม วัดไดประมาณ 41.1 องศาเซลเซียส

ตารางที่ 1 อุณหภูมอิากาศรายปของจังหวดัสกลนคร (หนวย : องศาเซลเซียส)

ป พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2549 ต่ําสุด 11.7 11.0 9.5 9.6 10.2 สูงสุด 40.4 41.8 40.1 41.3 39.0 เฉลี่ย 26.4 26.5 26.0 26.5 26.6

ที่มา : กรมอุตุนิยมวทิยา ( http://www.tmd.go.th./province.php?id.=26. 2550 : ออนไลน )

3.3.2 ปริมาณน้ําฝน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยตลอดทั้งปของจังหวัดสกลนครอยูที่ประมาณ 1,914.4 มิลลิเมตร

จํานวนวันที่ฝนตกตลอดปประมาณ 158 วัน เดือน กันยายน มีปริมาณฝนตกสูงสุดประมาณ 494.6 มิลลิเมตร และเดือน ธันวาคม เปนเดือนที่มีฝนตกนอยที่สุด และไมสามารถวัดปริมาณน้ําฝนได เดือน สิงหาคม เปนเดือนทีม่ีจํานวนวนัฝนตกมากที่สุดถึง 26 วันและเดือน ธันวาคม มีฝนตกนอยที่สุดคือ 1 วัน

ตารางที่ 2 ปริมาณน้ําฝนรายปของจังหวัดสกลนคร (หนวย : มิลลิเมตร)

พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2549 ปริมาณน้ําฝน 1,888.6 1,301.8 1,754.5 1,830 1,602.2

ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา ( http:// www.tmd.go.th./province.php?id.=26. 2550 : ออนไลน )

Page 11: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

11

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป จังหวัดสกลนคร ที่มา : ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร จังหวัดสกลนคร ( http://www.sakonnakhon.go.th/GIS/gisimage/rain.jpg. 2548 : ออนไลน )

3.3.3 ความชื้นสัมพัทธ (Rerative humidity)

ความชื้นสัมพัทธของจังหวัดสกลนคร เปลี่ยนแปลงไปตามมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนที่แผเขามาปกคลุม เมื่อเร่ิมฤดูหนาวอากาศจะแหง และแหงที่สุดอยูในชวงเดือน ธันวาคม ถึง กุมภาพันธ ความชื้นสัมพัทธที่ต่ําที่สุดในสกลนคร วัดไดรอยละ 12 สวนชวงที่อากาศชุมชื้นมากที่สุดอยูในชวงเดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน เนื่องจากมีฝนตกชุกและความชื้นสัมพันธจะมีคาสูงในชวงเชา

Page 12: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

12

3.3.4 พายุฟาคะนอง (Thunder strom)

พายุฟาคะนองมักจะเกิดขึ้นในตอนบายหรือค่ํา ซ่ึงเปนเวลาที่พื้นดินไดรับความรอนไวสูงทําใหอากาศบริเวณเหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้นในทางตั้ง (convection activity) ทําใหเกิดการกอตัวของกอนเมฆอยางรวดเร็วจนใหญมากขึ้น ๆ กระแสอากาศภายในกอนเมฆไหลขึ้น – ลง อยางรุนแรงจนอากาศไมสามารถพยุงกอนเมฆที่ปนปวนนั้นได ประกอบกับมีการแลกเปลี่ยนประจุภายใน กอนเมฆกับพื้นดินหรือระหวางกอนเมฆ จนเกิดฟาแลบ ฟารอง ฟาผา พายุลมแรงและมีฝนตก พายุฝนฟาคะนองบริเวณจังหวัดสกลนคร มักจะเกิดชวง เดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม

3.3.5 พายุหมุนเขตรอน (Tropical storm)

พายุหมุนเขตรอนที่กอตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก ดานตะวันตก จะเคลื่อนตัวผานทะเลจีนใต ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว และเขาบริเวณประเทศไทย สวนบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยโดยเฉพาะบริเวณเขตจังหวัดสกลนครจะไดรับอิทธิพลของพายุลมแรงไมมากนักเนื่องจากกอนที่พายุที่มีความเร็วมากในเกณฑ พายุใตฝุน นั้น จะอยูในทะเลหรือมหาสมุทร เมื่อเคลื่อนตัวขึ้นฝงประเทศเวียดนามและลาวจะปะทะกับภูเขา ปาไม ส่ิงกีดขวางตาง ๆตามธรรมชาติทําใหความเร็วของลมออนกําลังลงมากจนอยูในเกณฑพายุดีเปรสชั่น เมื่อเขาสูภาค ตะวนัออกเฉียงเหนือ ชวงเวลาที่พายหุมนุเคลื่อนตัวเขาสูบริเวณ ภาคตะวันออกเฉยีงเหนือมากทีสุ่ด คือ ชวงเดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน ของทุกปเฉลี่ยปละ 1 – 2 ลูก

3.3.6 เมฆ (Cloud)

ทองฟาบริเวณจังหวัดสกลนคร จะมีเมฆมากในชวงเดือน พฤษภาคม ถึง กันยายน ซ่ึงเปนชวงฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต พัดปกคลุมประเทศไทย เดือนที่มีเมฆนอยที่สุดคือเดือน มกราคม มีประมาณ 1 – 2 สวน (ใน 10 สวน) ในชวงฤดูฝนเมฆที่เกิดขึ้นสวนใหญเปนเมฆชั้นต่ําสวนในฤดูหนาวจะเปนเมฆชั้นกลางและเมฆชั้นสูงทั้งนี้เนื่องมาจากความชื้นในอากาศมีมาก – นอย ตามฤดูกาลนั่นเอง

3.3.7 ลมผิวพื้น (Wind)

ลมผิวพื้นที่พัดเขาสูจังหวัดสกลนคร สวนมากจะเปนลมที่พัดมาจากทิศตะวันออกในชวงเดือน กันยายน ถึงเมษายน โดยจะพัดเวลาสาย บาย ค่ํา ความเร็วลมเฉลี่ย 5 – 15 กิโลเมตร/ช่ัวโมง นอกจากนั้นจะพัดจากทิศใตและตะวันตกเฉียงใตในชวงเดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม

Page 13: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

13

สกลนครเคยมีลมพัดแรงที่สุดความเร็ว 98 กิโลเมตร/ช่ัวโมง พัดจากทิศตะวันออกเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2519 ซ่ึงเปนลมกระโชกแรงที่เกิดจาพายุฤดูรอนหรือพายุฟาคะนอง ทําใหเกิดความเสียหายทั่วไป

3.3.7 หมอกและทัศนวิสัย (Visibility)

หมอก (Fog) เปนปรากฏการณทางอุตุนิยมวิทยา ลักษณะเปนเมฆที่ลอยอยูสูงจากพื้นดินเพียงเล็กนอยทําใหมองไมเห็นสิ่งใด ๆ ในระดับสายตา ในระยะที่ต่ํากวา 1,000 เมตร และบริเวณที่เกิดหมอกจะมีความชื้นสัมพัทธสูงกวารอยละ 96 ขึ้นไป บริเวณจังหวัดสกลนครไมคอยมีหมอกมากนัก สวนใหญหมอกจะเกิดชวงฤดูหนาวในตอนเชาตรู โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณใกลเชิงเขาภูพาน ทัศนวิสัยที่มองเห็นได ต่ํากวา 10 กิโลเมตร เปนปรากฏการณที่เรียกวา ฟาหลัว ฟาหลัวจะมีความชื้นสัมพัทธ ตั้งแตรอยละ 65 ขึ้นไปสวนฟาหลัวแหง (หมอกแดด) จะมีความชื้นสัมพัทธต่ํากวา รอยละ 65

3.3.8 ความกดอากาศ (Pressure)

ความกดอากาศ คือ น้ําหนักของอากาศที่กดลงบนพื้นโลก ตอหนวยพื้นที่สําหรับสกลนครมีคาความกดอากาศในแตละฤดูแตกตางกันมาก มีความกดอากาศเฉลี่ยต่ําสุดประจําป พ.ศ. 2543 ในเดือน กรกฎาคม เทากับ 1,004.27 มิลลิบาร คาความกดอากาศเฉลี่ยสูงสุดประจําปอยูในเดือน ธันวาคม เทากับ 1,013.84 มิลลิบาร เนื่องจากบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผลงมาปกคลุม ( สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดสกลนคร. 2550 : ออนไลน )

Page 14: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

14

4. ขอมูลการปกครอง

จังหวดัสกลนครแบงการปกครองออกเปน 18 อําเภอ 125 ตําบล 1,485 หมูบาน 1 เทศบาลเมือง 15 เทศบาลตําบล 124 องคการบริหารสวนตําบล ดังนี้

ตารางที่ 3 การแบงเขตการปกครอง จังหวัดสกลนคร

อําเภอ เนื้อที่ ( ตร.กม. ) ตําบล หมูบาน อบต. เมืองสกลนคร 1,496.318 17 172 16 พรรณานิคม 673.795 10 130 10 สวางแดนดิน 867.603 16 182 16 วานรนวิาส 908.867 14 180 14 อากาศอํานวย 531.155 8 90 8 วาริชภูม ิ 432.301 5 71 5 กุสุมาลย 412.213 5 69 5 บานมวง 771.765 9 97 9 พังโคน 229.711 5 68 5

โคกศรีสุพรรณ 223.357 4 53 4 เจริญศิลป 358.668 5 55 5 โพนนาแกว 319.602 5 50 5

ภูพาน 507.551 4 64 3 นิคมน้ําอูน 147.054 4 29 4 สองดาว 288.503 4 46 4 คําตากลา 726.368 4 58 4 เตางอย 297.811 4 32 4 กุดบาก 413.122 3 39 3 รวม 9,605.764 125 1,485 124

ที่มา : กรมการปกครอง ขอมูลจังหวัดสกลนคร ( http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad79/sakon_nakhon.htm. 2550 : ออนไลน )

Page 15: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

15

4.1. การใชที่ดินของจังหวัดสกลนคร จําแนกตามการใชประโยชนที่ดิน

จังหวดัสกลนครมีเนื้อที่ทั้งหมด 6,003,602.5 ไร จําแนกตามการใชประโยชนทีด่ิน ดังนี ้ 1.2. พื้นที่ถือครอง 4,192,086 ไร แยกเปน

- ที่อยูอาศัย 372,673 ไร - พื้นที่นาขาว 2,028,972 ไร - พื้นที่ปลูกพชืไร 356,806 ไร - พื้นที่ปลูกสวน 224,465 ไร - พื้นที่เล้ียงสตัว 174,391 ไร - พื้นที่ประมง เพาะเลี้ยง 48,929 ไร - พื้นที่สาธารณะ 226,554 ไร - พื้นที่อ่ืน ๆ 759,296 ไร

1.3. พื้นที่ปาไม 1,018,787 ไร 1.4. พื้นที่ที่ยังไมไดจําแนก 792,729.5 ไร

4.2. การจําแนกทีด่ินตามเอกสารสิทธิ์ที่ดินจังหวดัสกลนคร 2.1. พื้นที่ตามโฉนด 1,607,716.02 ไร 2.2. พื้นที่ตาม นส. 3 ก. 595,445.22 ไร 2.3. พื้นที่ตาม นส. 3 188,826.85 ไร

ท่ีมา : สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวดัสกลนคร ( http://www.sakon-moac.com./page 4-2 htm. 2550 : ออนไลน )

Page 16: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

16

5. พืชเศรษฐกิจของจังหวัด

ภาคเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดของจังหวัดสกลนคร คือเกษตรกรรม ประชากรรอยละ 70 ของจังหวัด ประกอบอาชีพทางการเกษตรเปนหลัก สกลนครมีพื้นที่การเกษตร ประมาณรอยละ 44.20 ของพื้นที่จังหวัด มีรายไดหลักจากการปลูกขาวและพืชไรอ่ืน ๆ พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ และเปนพืชที่ปลูกมากที่สุดเปนรายไดหลักของเกษตรกร คือ ขาวเหนียว ขาวเจาหอมมะลิ มันสําปะหลัง ออยโรงงาน ปอ มะเขือเทศโรงงาน ถ่ัวลิสง ถ่ัวเหลือง และขาวโพดฝกออน

ไมผลและไมยืนตน จังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปลูกไมผลและไมยืนตนทั้งหมดประมาณ 224,465 ไร ปลูกมากที่สุดในทองที่อําเภอเมืองจังหวัดสกลนคร รองลงมาไดแกอําเภอสวางแดนดิน ไมผลและไมยืนตนที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุด คือ มะมวง มะขาม และยางพารา ฯลฯ

สําหรับพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่เกษตรกรนิยมเพาะปลูกเปนรายไดเสริมหลังจากเสร็จสิ้นฤดูทํานาแลว สวนใหญจะเปนพืชผักตาง ๆ ที่มีชวงเวลาการเก็บเกี่ยวส้ัน เชน ถ่ัวฝกยาว พริกขี้หนูใหญ แตงแคนตาลูป เปนตน ซ่ึงเกษตรกรจะนํามาจําหนายสองขางทางถนนใหผูบริโภคโดยตรง

6. ทรัพยากรธรรมชาต ิ

6.1. ทรัพยากรดิน ทรัพยากรดินที่พบในจังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกออกเปนกลุมใหญจะพบดินใน

ลักษณะตาง ๆ อยูทั้งหมด 4 กลุมใหญดวยกัน คือ 6.1.1. กลุมดินนา พบประมาณรอยละ 20 ของพื้นที่จังหวัดสกลนคร ครอบคลุม

พื้นที่ในบริเวณตอนกลาง และตามบริเวณลุมน้ําตาง ๆ ของจังหวัด ซ่ึงอยูในทองที่อําเภอสองดาว อําเภอสวางแดนดิน อําเภอวาริชภูมิ อําเภอเมืองสกลนคร อําเภอโคกศรีสุพรรณ อําเภอบานมวง อําเภออากาศอํานวย และอําเภอพรรณานิคม

6.1.2. กลุมดินไร เปนกลุมดินที่พบมากที่สุดในจังหวัดสกลนคร คิดเปนประมาณรอยละ 50 ของพื้นที่จังหวัด พบกระจายอยูในบริเวณทางตอนเหนือของจังหวัดครอบคลุมพื้นที่บางสวนของอําเภอสวางแดนดิน อําเภอบานมวง อําเภอคําตากลา อําเภอพรรณนานิคม อําเภอกุสุมาลย อําเภอเตางอย อําเภอกุดบาก อําเภอเมืองสกลนคร และอําเภอวานรนิวาส

6.1.3. กลุมดินคละ เปนกลุมดินที่มีดินหลายกลุมปะปนกันอยู สวนใหญพบในลักษณะที่เปนกลุมดินไรทั่วไปปนอยูกับดินนาทั่วไปครอบคลุมพื้นที่ประมาณรอยละ 20 ของพื้นที่จังหวัด พบมากในบริเวณทางดานตะวันออกและดานใตของจังหวัด ในทองที่อําเภออากาศอํานวย อําเภอกุสุมาลย อําเภอกุดบาก อําเภอเมืองสกลนคร

Page 17: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

17

ชุดดินของจังหวัดสกลนคร ที่สําคัญ มีดังตอไปนี้ กลุมชุดดินท่ี 35 เนื้อที่ กลุมชุดดินที่ 35 มีเนื้อที่ประมาณ 739,151.55 ไร

ลักษณะโดยทั่วไป เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดง เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือเกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ พบบริเวณพื้นที่ดินที่มีลักษณะเปนลูกคลื่นจนถึงที่ลาดเชิงเขา สวนใหญมีความลาดชันประมาณ 3 – 20 % และบางสวนมีความลาดชันประมาณ 20 – 35 % เปนดินลึกมีการระบายน้ําดี ระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1.50 เมตรตลอดป มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา pH 4.5 – 5.5 ไดแก ชุดดินดอนไร โคราชสะตึก วาริน ยโสธร และดานซาย มาบบอน ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรตาง ๆ เชน มันสําปะหลัง ขาวโพด ขาวฟาง ออย ปอ งา และถ่ัว บางแหงใชปลูกไมผลและไมยืนตนบางชนิด

ปญหาในการใชประโยชนที่ดิน เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีการอุมน้ําต่ําถึงปานกลาง น้ําใตดินลึก มีการกัดกรอนของดินปานกลางถึงรุนแรง บริเวณที่ความลาดชันสูงเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

ความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช กลุมชุดดินที่ 35 มีศักยภาพในการปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน ตลอดทั้งพัฒนาทุงหญาเลี้ยงสัตวมากกวาที่จะนํามาใชทํานา หรือปลูกขาวที่ตองการน้ําขัง เนื่องจากเปนที่ดอนสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชันเปนสวนใหญ ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย การระบายน้ําดี เนื้อดินมีความพรุนมากเก็บกักน้ําไมคอยอยู

กลุมชุดดินท่ี 49 เนื้อที่ กลุมชุดดินที่ 49 มีเนื้อที่ประมาณ 503,831.72 ไร

ลักษณะโดยทั่วไป เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ดินลางเปนดินเหนียวปนลูกรังหรือเศษ หินทราย ดินมีสีน้ําตาลหรือเหลืองใตลงไปเปนดินเหนียวสีเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีแดง และศิลาแลงออนปะปนอยูดวยเปนจํานวนมาก อาจพบชั้นหินทรายหรือหินดินดานที่ผุพังสลายตัวในชั้นถัดไป พบบริเวณพื้นที่ดอน มีลักษณะเปนลูกคลื่นมีความลาดชัน 3 – 20 % เปนดินตื้นถึงตื้นมาก การระบายน้ําดีระดับนําใตดินอยูลึกกวา 2 เมตร มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา pH 5.0 – 6.5 สวนใหญเปนปาเต็งรัง บางแหงใชปลูกพืชไรและไมโตเร็ว ทุงหญาธรรมชาติ ไดแก ชุดดินโพนพิสัย และสกล บรบือ ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชได เปนทุงหญาตามธรรมชาติ ที่รกรางวางเปลา ปาเต็งรัง หรือใชปลูกไมโตเร็ว

Page 18: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

18

ปญหาในการใชประโยชนที่ดิน ดินตื้นปนลูกรังแนนทึบ มีช้ันศิลาแลงและหินพื้นน้ําซึมผานชั้นดินไดปานกลางถึงชา การอุมน้ําของดินต่ําถึงปานกลาง

ความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช มีศักยภาพคอนขางไมเหมาะสมในการปลูกพืชโดยทั่วไป เนื่องจากเปนดินตื้นถึงตื้นมาก ถาจะใชปลูกพืชไรตองมีหนาดินบนหนาไมต่ํากวา 15 เซนติเมตร และจะตองเลือกพืชรากตื้นมาปลูก ( สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดสกลนคร. 2550 : ออนไลน ) นอกจากนี้แลว ยังมีดินเค็มซึ่งมีเกลือเปนสวนประกอบอยูมากพบคราบเหลือบนผิวดินมากกวารอยละ 50 ของพื้นที่ จํานวน 6,912 ไร ( รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม ป 2549 ภาคที่ 9 ลุมน้ําโขง. 2550 : 9 ) ทําใหใชประโยชนในการเกษตรไดไมดีเทาที่ควร และมีดินทราย กรวด ที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา กระจัดกระจายอยูทั่วไป

6.1.4. กลุมพื้นที่ภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณรอยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวดัพบทางบริเวณตอนใตของจังหวัดสวนใหญจะเปนแนวเทือกเขาภูพานอยูในเขตทองที่อําเภอสองดาว อําเภอวาริชภูม ิ อําเภอนิคมน้ําอูน อําเภอกุดบาก อําเภอภูพาน อําเภอเมืองสกลนคร และอําเภอเตางอย

6.2. ทรัพยากรน้ํา แหลงกําเนิดลําน้ําสายสําคัญของจังหวดัสกลนครสวนใหญอยูบริเวณเทอืกเขาภูพาน นอกจากนี้ก็เปนลําน้ํา ทางระบายน้าํของบึงขนาดใหญอยางหนองหาน โดยมีลําน้ําสําคัญ ไดแก

6.2.1. ลําน้ําสงคราม เปนลําน้ําสายใหญสายหนึ่งของจังหวัด มีตนกําเนิด จากเทือกเขาภูพานบริเวณ (ภู) ผาเหล็ก ในเขตอําเภอสองดาว จังหวัดสกลนครกับ (ภู) ผาหัก ในเขตอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ไหลผานทองที่อําเภอสวางแดนดิน อําเภอคําตากลา อําเภอบานมวง อําเภอวานรนิวาส และอําเภออากาศอํานวย จังหวัดสกลนคร กอนที่จะไหลเขาสูจังหวัดนครพนมที่อําเภอศรีสงคราม แลวไหลลงสูแมน้ําโขงตอไป

6.2.2. ลําน้ําก่ํา เปนลําน้ําที่สําคัญเสมือนหนึ่งวาเปนทางระบายน้ําของลุมน้ําพุงและหนองหาน ไหลผานทองที่อําเภอเมืองสกลนคร อําเภอโพนนาแกว และอําเภอโคกศรีสุพรรณ แลวเขาสูจังหวัดนครพนม และไหลลงแมน้ําโขงตอไป

6.2.3. ลําน้ําพุง มีตนกําเนิดจากเทือกเขาภูพาน ในเขตทองที่อําเภอภูพานไหลผานทองที่อําเภอเตางอย ไปลงยังอางเก็บน้ําเขื่อนน้ําพุงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กอนถูกปลอยใหไหลตอไปยังอําเภอเมืองสกลนคร อําเภอโคกศรีสุพรรณแลวไหลลงสูหนองหานตอไป

6.2.4. ลําน้ํายาม เปนลําน้ําสายเล็กที่มีตนกําเนิดจากเทือกเขาภูพานในทองที่อําเภอวาริชภูมิ ไหลผานทองที่อําเภอสองดาว อําเภอสวางแดนดิน อําเภอวานรนิวาส อําเภอพรรณนานิคม แลวไหลไปบรรจบกับลําน้ําสงครามในทองที่อําเภออากาศอํานวย

Page 19: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

19

6.2.5. ลําน้ําอูน มีตนกําเนิดจากเทือกเขาภูพานในทองที่อําเภอกุดบาก และอําเภอพรรณนานิคมแลวไหลลงสูอางเก็บน้ําของเขื่อนน้ําอูน กอนจะปลอยน้ําผานไปยังทองที่อําเภอพังโคน อําเภอวาริชภูมิ และอําเภอนิคมน้ําอูนตอไป 6.2.6. ลําหวยปลายหาง เปนลําหวยขนาดเล็กมีตนกําเนิดจากเทือกเขาภูพานในทองที่อําเภอวาริชภูมิกอนจะไหลผานไปยังอําเภอสวางแดนดิน อําเภอพังโคน ไปบรรจบกับลําน้ําอูน

6.2.7. หนองหาน เปนบึงน้ําจืดขนาดใหญเปนอันดับสามของประเทศรองจากบึงบอระเพ็ดและกวานพะเยา กวางประมาณ 12 กิโลเมตร ยาวประมาณ 20 กิโลเมตร มีความลึกประมาณ 3 – 6 เมตร อยูในทองที่อําเภอเมืองสกลนคร เปนแหลงน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําประปาของจังหวัด และเปนแหลงประมงน้ําจืดที่สําคัญอีกดวย

ภาพที่ 3 แผนที่แสดงทรัพยากรน้ํา จังหวัดสกลนคร ที่มา : ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร จังหวัดสกลนคร ( http://www.sakonnakhon.go.th/GIS/gisimage/stream.jpg. 2548 : ออนไลน )

Page 20: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

20

6.2.8. แหลงน้ําใตดิน แหลงน้ําใตดินในจังหวัดสกลนครนั้น พบวาเปนน้ําใตดินที่ อยูในชั้นหินดินดานสีน้ําตาลแดง และสีน้ําตาลเทา ช้ันทรายและชั้นหินเกลือ มีความลึกประมาณ 15เมตร ในระดับลึก 60 – 300 เมตร โดยจะพบน้ําตั้งแตระดับผิวดินไปจนถึงประมาณ 125 เมตร โดยสวนใหญประมาณรอยละ 80 ใหน้ําที่มีคุณภาพดี มีปริมาณ 5 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง ยกเวนในทองที่บางสวนของอําเภอสวางแดนดิน อําเภอเมือสกลนคร อําเภอสองดาว อําเภอพรรณนานิคม อําเภอกุสุมาลย อําเภอวานรนิวาส และอําเภอบานมวง ที่พบน้ําเค็มจัดรอยละ 90 ซ่ึงเกิดจากการละลายตัวของชั้นหินเกลือลงในน้ํา ชาวบานสามารถนําไปเปนวัตถุดิบในการผลิตเกลือสินเธาว นอกจากนี้ยังมีน้ําใตดินที่มีคุณสมบัติเปนน้ํากรอยอยูในพื้นที่บางสวนของอําเภอเมืองสกลนคร อําเภอพรรณนานิคม อําเภอพังโคน อําเภอวานรนิวาส และอําเภอบานมวง สําหรับการนําน้ําจากแหลงน้ําใตดินภายในจังหวัดสกลนครขึ้นมาใชนั้น ในบริเวณที่อยูรายรอบหนองหานจะพบน้ําใตดินคุณภาพดีประชาชนสวนใหญสามารถเจาะน้ําบาดาลเพื่อสูบขึ้นมาใชในการอุปโภคบริโภคและใชเปนแหลงน้ําสําคัญในการเพาะปลูกพืชในฤดูแลงได สวนใหญมีหินเกลือละลายอยูมากก็จะสูบขึ้นมาผลิตเปนเกลือสินเธาว เปนตน

6.2.9. แหลงน้ําชลประทาน จังหวัดสกลนครถือวาเปนจังหวัดหนึ่งที่มีโครงการชลประทานอยูในพื้นที่หลายโครงการ โดยมีตั้งแตโครงการขนาดใหญไปจนถึงขนาดเล็ก จํานวนทั้งสิ้นประมาณ 645 โครงการ โดยมีพื้นที่ที่ไดรับประโยชนรวม 518,245 ไร มีโครงการขนาดใหญที่สําคัญคือ โครงการเขื่อนน้ําอูนที่สามารถกักเก็บน้ําไดถึง 520 ลานลูกบาศกเมตร และเขื่อนน้ําพุงที่เก็บน้ําไวเพื่อการผลิตกระแสไฟฟา เปนตน สวนโครงการชลประทานที่เปนอางเก็บน้ําขนาดกลางจํานวน 97 โครงการ ขนาดเล็ก 120 โครงการ ที่เปนฝายคอนกรีต 49 โครงการ และในลักษณะการปรับปรุงขุดลอกสระ หนอง บึง อีกประมาณ 379 แหง จากขอมูลที่กลาวมาจะเห็นวาจังหวัดสกลนครมีทรัพยากรน้ําคอนขางจะอุดมสมบูรณ หากมีการจัดสรรน้ําที่เพียงพอและเหมาะสมจะสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนภายในจังหวัดไดเปนอยางดี

6.3. ทรัพยากรปาไม พื้นที่ปาไมจังหวัดสกลนคร ในปจจุบันจะพบในบริเวณที่อยูใกลกับแนวเทือกเขาภูพานเปนสวนใหญ นอกนั้นจะกระจายเปนหยอม ๆ ตามทองที่อําเภอตาง ๆ ภายในจังหวัด สําหรับสภาพปาไมที่ยังคงความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติอยูจะพบในทองที่อําเภอภูพาน อําเภอสองดาว อําเภอเตางอย และอําเภอโคกศรีสุพรรณ โดยปาที่พบสวนใหญมีลักษณะเปนปาผลัดใบ ปาเต็งรัง ประเภทปาแดงและปาโปรง พันธุไมสําคัญที่พบ ไดแก ไมเต็ง ไมรัง ไมพลวง ไมยาง ไมประดู ไมมะคาโมง ไมมะคาแต ไมแดง และไมไผปา โดยจังหวัดสกลนครมีพื้นที่ที่ไดรับการประกาศใหเปนอุทยานแหงชาติจํานวน 3 แหง ไดแก

Page 21: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

21

6.3.1 อุทยานแหงชาติภูพาน มีเนื้อที่ในทองที่จังหวัดสกลนคร 356,091 ไรสภาพปาในอุทยานแหงชาติภูพานประกอบดวย 3 ชนิด คือ ปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง พันธุไมที่สําคัญ ไดแก เต็ง รัง เหียง พลวง ตีนนก กวาว แดง สาน ชางนาว ประดูปา โมกมัน มะพอก ฯลฯ พืชช้ันลางประกอบดวย หญาเพ็ก ตะโกหิน ปอหู ปรง พวงประดิษฐ รางจืด เปนตน

6.3.2 อุทยานแหงชาติภูผายล มีเนื้อที่ในทองที่จังหวัดสกลนคร 136,443 ไรสภาพปาประกอบดวยปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปาดิบแลง มีพันธุไม ไดแก ตะเคียนทอง มะคาโมง ตะแบก เต็ง รัง แดง เหียง พลวง กะบก ประดู พะยูง ไผ และหวายตาง ๆ เปนตน 6.3.3 อุทยานแหงชาติภูผาเหล็ก มีเนื้อที่ในทองที่จังหวัดสกลนคร159,750 ไร สังคมพืชในเขตอุทยานแหงขาติภูผาเหล็ก เปนปาที่มีสภาพอุดมสมบูรณ ประกอบดวย เต็ง รัง เหียง พลวง ประดูปา ตะแบกเลือด รกฟา มะคาแต ยอปา ชิงชัน แดง ประดูปา มะคาโมง ฯลฯ ( จากขอมูลอุทยานแหงชาติจังหวัดสกลนคร กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. 2550 : ออนไลน ) นอกจากนี้ยังประกอบดวยปาสงวนแหงชาติทั้งหมด 16 แหง รวมพื้นที่ประมาณ 1,857,844 ไร ซ่ึงจําแนกเปน Zone C 488,574 ไร Zone E 1,108,894 ไร และZone A 280,125 ไร โดยในสวนของพื้นที่ Zone E มีการสงมอบให ส.ป.ก. จํานวน 795,892 – 3 – 0 ไร สําหรับ Zone A ไดสงมอบให ส.ป.ก. ทั้งหมด (สวนพัฒนาและจัดการทรัพยากรที่ดินปาไม กรมปาไม. 2547 : รายงาน ) แตอยางไรก็ตามจากผลการแปลภาพถายดาวเทียม ทําใหทราบเนื้อที่ปาไมในแตละจังหวัดในประเทศไทย ป พ.ศ. 2547 พบวาจังหวัดสกลนครมีพื้นที่ปาไมทั้งสิ้น 2,048 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 21.30 ของเนื้อที่จังหวัดสกลนคร (สถิติการปาไมของประเทศไทย กรมปาไม. 2549 : ออนไลน ) โดยพื้นที่ปาไมในจังหวัดสกลนครมีแนวโนมเพิ่มขึ้น รายละเอียดตามตารางที่ 4 ตารางที่ 4 จํานวนเนื้อที่ปาไมจังหวัดสกลนคร แยกเปนรายป

หนวยวัด 2534 2536 2538 2541 2547 ตารางกิโลเมตร 1,437 1,417 1,393 1,361 2,048

รอยละ/เนื้อที่จงัหวัด 14.96 14.75 14.50 14.17 21.30 ที่มา : สถิติการปาไมของประเทศไทย กรมปาไม ป พ.ศ. 2549. 2549. : ออนไลน ( http://www.ferest.go.th/stat/stat49/TAB.1.htm. )

Page 22: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

22

การเพาะชํากลาไม

การปลูกตนไมเพื่อการอนุรักษ หรือปลูกเพื่อเศรษฐกิจสิ่งที่สําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จ ประการหนึ่ง คือการปลูกตนไมโดยใชกลาไมที่มีคุณภาพ ซ่ึงคุณภาพของกลาไมก็เปนผลสืบเนื่องมาจากการใชเมล็ดไมพันธุดี มีคุณภาพ และขั้นตอนในการเพาะชํากลาไมที่เหมาะสม ตั้งแตเพาะเมล็ดจนเปนตนกลา ตลอดจนการบํารุงรักษากอนที่จะนําไปปลูก ดังนี้ 1. การจัดการเมล็ดไม (Seed Management) เปนการดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งเมล็ดไมที่มีคุณภาพและปริมาณตามตองการ มีความสําคัญตอการเพาะชํากลาไมเปนอยางมาก มีขั้นตอนในการปฏิบัติตางๆ ดังนี้

1.1. การเลือกแมไมทีด่ี กอนการเกบ็เมล็ดไมที่สําคัญที่สุด คือ การเลือกแมไมที่ดี วนวัฒนวิทยาภาคสนาม 1 ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2541) ไดใหความหมาย แมไม ( plus tree ) ที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ - เปนไมสูงเดน มีอายุ สามารถผลิตเมล็ดดี

- ลําตนเปลาตรง มีความเรียวนอย - มีกิ่งกานนอย ทํามุมฉากกับลําตน - เรือนยอดสมดุลทั้งสองขาง - ปราศจากโรคแมลงทําลาย

ตนไมจะเจริญเติบโต และมีรูปทรงอยางไรขึ้นอยูกับปจจัยทางพันธุกรรมเปนปจจัยหลักอันดับแรก การปลูกตนไมจากแมไมที่ไมมีการคัดเลือกจะทําใหการเจริญเติบโตไมสม่ําเสมอ การคัดเลือกและเก็บเมล็ดจากแมไมที่ดีจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง

1.2. ระยะที่เหมาะสมในการเก็บเมล็ด ระยะทีเ่หมาะสมที่สุดในการเก็บเมลด็ ไดแก ระยะที่เมล็ดแกเตม็ที่ การแกของ

เมล็ดไม มีชวงระยะเวลาที่แตกตางกัน เชนประดู ผลแกประมาณเดือน กันยายน – ตุลาคม สัก สะเดา ประมาณ กุมภาพันธุ – มีนาคม ไมตระกูลยาง เชน ยางนา ตะเคียนทอง ประมาณ เมษายน-พฤษภาคม ซ่ึงแตละปชวงเวลาการแกอาจแตกตางกันขึน้อยูกบัพืน้ที่และสภาวะดินฟาอากาศ ซ่ึงบางชนิดอาจไมใหผลเลยในบางป ดังนั้นตองหมั่นออกไปสังเกตการออกดอกออกผล การเก็บเมล็ดที่ยังไมแกจะทําใหเมล็ดไมไมงอกหรืองอกแตออนแอ การตรวจสอบการแกของเมล็ดแบบงายๆ มี 2 วิธี

- การตรวจสอบดวยสายตา เปนการดูลักษณะภายนอก โดยสังเกตการแกจากการเปลี่ยนแปลงสีและการแหงของฝก – ผล ที่เปนฝก โดยทั่วไปเมื่อฝกแกจะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลดําเชน คูน ประดู ชนิดที่เปนผลสด เมื่อแกจะเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีเหลือง เชน สะเดา เลี่ยน ชนิดไม

Page 23: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

23

ตระกูลยาง ผลจะมีปก 2 – 4 ปก เมื่อแกสังเกตจากการเปลี่ยนสีของปกจากสีเขียวจะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล หรือปกกําลังแหง - การตัดเมล็ด เปนการดูการพัฒนาทางกายภาพของเมล็ด โดยใชกรรไกรตัดกิ่งไม มีดตัดเมล็ด เพื่อตรวจดูสภาพของเปลือกเมล็ดและตนออน เมล็ดไมแกจะมีความแข็งของเปลือกเมล็ดและใบเลี้ยง วิธีนี้ยังเปนการทดสอบการมีชีวิตของเมล็ดไมดวย คือเมล็ดไมมีชีวิตจะสด แข็ง ไมมีแมลงและเชื้อราทําอันตราย ใชในการประเมินเปอรเซ็นตเมล็ดที่จะงอกได

ภาพที่ 4 โครงสรางของเมล็ดไมใบเลี้ยงคู (ไมปาทั่วไป) และใบเลี้ยงเดี่ยว (พวกพืชไร) ที่มา : การเพาะชํากลาไม สวนสงเสริมการเพาะชํากลาไม สํานักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม. ม.ป.ป.

1.3. วิธีการเก็บเมลด็ อาจทําการเก็บไดหลายวิธี ดังนี ้ - การเก็บเมล็ดที่รวงหลนตามธรรมชาติ เปนการเก็บเมล็ดที่งาย ไมตองใชความชํานาญ เหมาะสําหรับตนไมที่มีผลใหญ ฝกใหญ และเมล็ดใหญ เชน สัก และผลไมตระกูลยางบางชนิด การเก็บเมล็ดไมจากพื้นดินมีขอเสีย เชน เมล็ดที่รวงลงพื้นอาจยังไมแก เมื่ออยูบนพื้นดินนานจะเสียความงอกหรือเริ่มงอก อีกทั้งอาจถูกแมลงและโรคทําลาย

- การเก็บเมล็ดจากเรือนยอดโดยตรง เปนการเก็บเมล็ดไมขณะที่เมล็ด ผล หรือฝกแกแลวโดยเก็บจากเรือนยอด จะไดเมล็ดที่มีคุณภาพดีกวาเก็บเมล็ดที่รวงตามธรรมชาติ แตตองคํานึงถึงการจัดเตรียมอุปกรณในการเก็บเมล็ดดวย เพื่อใหเกิดความสะดวก ปรอดภัย ประหยัด เชน บันไดไมไผกรรไกรกระตุกกิ่ง มีดตัดกิ่ง ผาใบรองเมล็ดไม ภาชนะใสเมล็ดไม คราด ไมกวาด ตะแกรงสําหรับรอน การเดินทางและการขนสง การเตรียมปายสําหรับเขียนกํากับไวในภาชนะบรรจุเมล็ดไม บันทึกชื่อชนิดไม สถานที่และวันที่เก็บ

Page 24: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

24

1.4. การปฏิบัติตอเมล็ดหรือผลหลังการเก็บ (Seed handling) - เมื่อเก็บเมล็ดจากตนแมไมมาแลว ควรบรรจุในภาชนะที่มีการระบายอากาศที่

ดี การขนสงตองไมทําใหเมล็ดอยูในสภาพอบ และรอน ถายังไมทําการแยกเมล็ดไมทันที ควรเก็บรักษาเมล็ดไมในรมอุณหภูมิไมสูง มีความชื้นสัมพัทธปานกลาง โดยตากบนพื้นเปนชั้นบางๆ ไมควรกองทับถมเพราะจะทําใหเกิดความรอน เปนอันตรายกับเมล็ดดานลาง การปฏิบัติตอเมล็ดและผลหลังการเก็บแบงเปน - การแยกเมล็ดออกจากผลแหง (Dry fruit extraction) พันธุไมหลายชนิดเมื่อผลแก ผลจะแตกเมล็ดรวงหลน ดั้งนั้นตองเก็บกอนผลแกเต็มที่เล็กนอย จากนั้นนําฝกหรือผลไปตากในรมประมาณหนึ่งวัน นําไปตากกลางแจง 2 - 5 วัน เมื่อฝกแตกเมล็ดจะรวงหลนออกมา บางชนิดเมล็ดยังติดอยูกับรกตองแยกเมล็ดออกโดยการขยี้หรือทุบเบาๆ สําหรับฝกที่ไมแตกออกเมื่อแกเต็มที่ การแยกเมล็ดออกทําไดโดยการทุบ ตัด หรือใชเครื่องแยกเมล็ด เชน ประดู ชิงชัน

- การแยกเมล็ดออกจากผลสด (Fruit depulping) พันธุไมบางชนิดมีเนื้อเยื้อหุมตองแยกเยื้อหุมออกโดยการลางน้ําและใชมือขยี้หรือถูกับตะแกรง ควรพยายามลางเยื่อออกใหหมด เพราะถาลางไมหมดเชื้อราอาจทําใหเมล็ดเนาเสีย - การทําความสะอาดและแยกขนาดเมล็ด (Cleaning and Grading) หลังจากแยกเมล็ดออกจากผลและทําการตากเมล็ดแลวตองขจัดสิ่งเจือปนหรือสวนของเมล็ดลีบทิ้งไป

1.5. การเก็บรักษาเมล็ดกอนนําไปเพาะ (Seed storage) การเก็บรักษาเมล็ดไมมีจุดมุงหมายเพื่อรักษาความมีชีวิตของเมล็ดไมใหมากที่สุด เพื่อการเพาะเมล็ดที่ประสบผลสําเร็จ แตหากสามารถทําการเพาะเมล็ดไดทันทีก็ไมควรเก็บรักษาเมล็ด เนื่องจากการเก็บเมล็ดทําใหความมีชีวิตลดลง โดยเฉพาะเมล็ดในตระกูลยาง ควรเพาะทันที การเก็บรักษาเมลด็แบงออกไดดังนี้ - การเก็บรักษาเมล็ดไมในอุณหภูมิหองธรรมดา สถานที่เก็บควรมีการระบายอากาศดี ไมรอนอบอาว เหมาะสําหรับเมล็ดขนาดใหญเปลือกหนา เชน มะคาโมง ประดู

- การเก็บรักษาเมล็ดไมในสภาพชื้น เปนการเก็บเมล็ดไวในทรายชื้นอุณหภูมิ ไมต่ําจนเกินไปเหมาะสําหรับเมล็ดที่มีความชื้นสูง ถาลดความชื้นของเมล็ดลงมากจะทําใหเมล็ดสูญเสียความมีชีวิต เชน มะมวงปาเมล็ดกอ เมล็ดยางนา - การเก็บรักษาเมล็ดไมในสภาพแหง เปนการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิและความชื้นต่ําควรเก็บไวในภาชนะปดมิดชิด ความชื้นของเมล็ดต่ํากวารอยละ 20 เชน เมล็ดพวก Leguminosae

1.6. การปฏิบัติตอเมล็ดไมกอนเพาะเพื่อเรงการงอก ( Seed pretreatment ) เมล็ดไมแตละชนิดมีความสามารถในการงอกไดเร็วตางกัน ซ่ึงเกิดจากการงันของเมล็ดไม( Seed dormancy ) หรือการที่เมล็ดไมสามารถที่จะงอกไดแมวาจะอยูในสภาวะแวดลอมที่จําเปนตอการงอก คือความชื้น

Page 25: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

25

ออกซิเจน และอุณหภูมิเหมาะสมแลวก็ตาม การปฏิบัติตอเมล็ดกอนเพาะที่เหมาะสมมีผลดีตอการเพาะชํากลาไมอยางมาก คือทําให เมล็ดงอกอยางรวดเร็ว ไดกลาไมที่มีขนาดสม่ําเสมอและปริมาณมาก ซ่ึงเมล็ดแตละชนิดมีเปลือกที่มีความแข็งตางกัน การเรงการงอกก็ปฏิบัติตางไปตามคุณสมบัติของเปลือกเมล็ด ซ่ึงแบงออกเปน ดังนี้ - เมล็ดที่มีเปลือกหุมเมล็ดบาง น้ําซึมผานไดงาย สามารถนําไปเพาะในแปลงเพาะไดทันที่หรือนําไปแชน้ําใชเวลา ประมาณ 1 คืน การแชเมล็ดกอนเพาะจะทําใหการงอกสม่ําเสมอและเปนการคัดเมล็ดที่ลีบ หรือถูกแมลงทําลายทิ้งกอนนําไปเพาะ เชน สะเดา สีเสียดแกน สําหรับเมล็ดไมบางชนิดที่มีสวนของปก เชนไมตระกูลยาง เชนยางนา เต็ง รัง พลวง ควรเด็ดปกทิ้งเพื่อลดขนาดและปองกันการเกิดโรคราจากการเนาเปอยของปก

- ชนิดที่มีเปลือกเมล็ดแข็งหนา เมล็ดพวกนี้ไมวาจะแชน้ําเย็นหรือลวกน้ํารอนก็ ไมไดผล การงอกจะต่ํามากและใชเวลานานกวาจะไดจํานวนกลาไมที่ตองการ วิธีปฏิบัติ โดยการทําใหเปลือกเมล็ดเสียหาย ดวยการถูกระดาษทราย ขลิบตัดเมล็ดดานที่อยูตรงขามกับตนออนดวยกรรไกร มีด ใหพอเห็นใบเลี้ยงที่อยูขางใน หรือ ใชวิธีการแชในน้ํากรดเขมขน เชน กรดกํามะถันรอยละ 95 – 97 เปนเวลาตั้งแต 10 – 60 นาที ขึ้นอยูกับความแข็งหนาของเปลือก และขนาดของเมล็ดไมแตละชนิด เชน คูน กัลปพฤกษ หางนกยูง เมล็ดไมที่ไดรับการปฏิบัติดวยวิธีนี้อัตราการงอกเร็วมาก ในเวลาหนึ่งสัปดาหสามารถงอกไดถึงรอยละ 90 หรือมากกวาและไดกลาที่มีขนาดสม่ําเสมอกัน

- ชนิดที่มีเปลือกเมล็ดแข็ง ไมสามารถปรับปรุงการงอกไดดวยการแชน้ําธรรมดา ตองแชน้ํารอน โดยเทน้ํารอนใสเมล็ดแลวปลอยใหเย็นแชไวประมาณ 1 คืน แลวนําไปเพาะ ความรอนจะละลายสารเคลือบผิวเปลือกเมล็ด และที่อยูในเปลือกเมล็ดคลายขี้ผ้ึง เชน ขี้เหล็กบาน กระถินเทพา ถอน พฤกษ ฯลฯ เมล็ดในกลุมนี้คอนขางเล็ก ใชวิธีการแชน้ํากรดจะไดผลดีมากขึน้ การงอกจะเร็วและมีความสม่ําเสมอกวา - ชนิดที่มีส่ิงหอหุมเมล็ดแข็งหนา เปนกลุมที่มีเมล็ดบรรจุอยูขางในเปลือกหุมเมล็ดที่แข็งและหนา เชน สัก เล่ียน มะกอก ประดู การงอกเปนไปอยางลาชา วิธีการปรับปรุงการงอก โดยใชมีดตัด ผาใหแตกโดยไมเปนอันตรายตอเมล็ด ใชเครื่องขัดผิว และตีปกเพื่อใหส่ิงหอหุมเมล็ดไดรับความเสียหาย อีกวิธีคือการแชหมักใหสวนหุมภายนอกคอยๆสลายตัว เชนใสกระสอบไวกลางแดด รดน้ําใหช้ืนทุกวัน หรือรดน้ําวันเวนวัน ประมาณ 5 – 7 วัน จึงนําลงแปลงเพาะ

Page 26: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

26

ตารางที่ 5 ขอมูลเมล็ดพันธุไมและการปฏิบัติกอนเพาะเมล็ดพันธุไมชนิดตาง ๆ

ชนิดพันธุไม จํานวนเมล็ดตอ 1 ก.ก.

การปฏิบตัิตอเมล็ด กอนเพาะ

% การงอก

ชวงเวลาท่ีใชในการงอก

(วัน)

ชวงเวลาท่ีใช

เพาะชํา(เดือน)

ขนาดความสูงของกลา(ซม.)

ฤดูกาลเก็บเมล็ด

กระถินณรงค (Acacia auriculiformis)

66,600 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 80O-90° C แลวทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.(1 คืน)

75 15 5 30-50 ต.ค.-พ.ย.

กระถินเทพา (Acacia mangium)

98,200 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 80-90° C แลวทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.

75 15 5 30-50 ต.ค.-พ.ย.

ประดู (Pterocarpus macrocarpus)

24,900 แชน้ําเย็นทิ้งไวเปนเวลา 16 ชม.

70 15 5 30-40 ก.ย.-ต.ค.

พะยูง (Dalbegia cochinchinensis)

46,200 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 60-70° C แลวทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.

70 15 8 30-40 ต.ค.-พ.ย.

ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซีส (Eucalyptus camaldulensis)

2,300,000

- 70 21 3 40-50 ม.ค.-มี.ค.

กระถินยกัษ (Leucaena leucocephala)

20,800 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 80-90° C เปนเวลา 16 ชม.

73 9 3 40-50 ธ.ค.-ก.พ.

สะเดา (Azadirachta indica)

4,700 - 75 10 6 30-40 มี.ค.-เม.ย.

Page 27: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

27

ตารางที่ 5 ( ตอ) ขอมูลเมล็ดพันธุไมและการปฏิบัติกอนเพาะเมล็ดพันธุไมชนิดตาง ๆ

ชนิดพันธุไม จํานวนเมล็ดตอ

1 ก.ก

การปฏิบตัิตอเมล็ด กอนเพาะ

% การงอก

ชวงเวลาท่ีใชในการงอก

(วัน)

ชวงเวลาท่ีใช

เพาะชํา(เดือน)

ขนาดความสูงของกลา(ซม.)

ฤดูกาล เก็บเมล็ด

มะคาโมง (Afzelia xylocarpa)

150 ตัด-ทําแผล ที่ปลายเมล็ด 90 12 4 30-35 ต.ค.-พ.ย.

นนทรีปา (Peltophorum dasyrachis)

28,500 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 70-80° C เปนเวลา 16 ชม.

80 13 5 30 ก.ย.-ต.ค.

แดง (Xylia kerrii)

5,000 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 60-70° C เปนเวลา 16 ชม.

70 7 5 30-40 มี.ค.-พ.ค.

ชิงชัน (Dalbergia oliveri)

8,700 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 60-70° C แลวทิ้งใหเย็นเปนเวลา 6 ชม.

70 11 6 30-40 ส.ค.

ยางกราด (Dipterocarpus intricatus)

262 เด็ดปก 70 15 7 30-40 เม.ษ.-พ.ค.

ยางขาว, ยางนา (Dipterocarpus alatus)

130 เด็ดปก 70 12 7 30-35 เม.ษ.-พ.ค.

ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus)

170 เด็ดปก 70 12 8 30 มี.ค.-พ.ย.

พะยอม (Shorea floribunda)

1,200 เด็ดปก 70 11 8 35 เม.ษ.-พ.ค.

เคี่ยม (Cotylelobium melanoxylon)

1,200 เด็ดปก 70 8 8 35 เม.ษ.-พ.ค.

ตะเคียนทอง (Hopea odorata)

2,200 เด็ดปก 70 7 8 35 เม.ษ.-มิ.ย.

ถอน (Albizia procera)

28,000 แชในน้ํารอนอุณหภูม ิ80-90o C แลวทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.

75 11 6 30-40 ม.ค.-ก.พ.

Page 28: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

28

ตารางที่ 5 ( ตอ ) ขอมูลเมล็ดพันธุไมและการปฏิบัติกอนเพาะเมล็ดพนัธุไมชนิดตาง ๆ

ชนิดพันธุไม

จํานวนเมล็ดตอ 1 ก.ก

การปฏิบตัิตอเมล็ดกอน เพาะเมล็ด

% การงอก

ชวงเวลาท่ีใชในการงอก

(วัน)

ชวงเวลาท่ีใช

เพาะชํา(เดือน)

ขนาดความสูงของกลา

(ซม.)

ฤดูกาล เก็บเมล็ด

พฤกษ (Albizia lebbek)

10,000 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 80-90° C แลวทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.

75 12 7 30-40 ธ.ค.-ม.ค.

หางนกยูงฝรั่ง (Delonix regia)

2,240 ตัด-ทําแผล ปลายเมล็ดหรือแชกรดเขมขน45 นาที

90 10 3 30 ต.ค.-ธ.ค.

คูน (Cassia fistula)

7,900 ตัด-ทําแผล ปลายเมล็ดหรือแชกรดเขมขน45 นาที

90 10 6 20 มี.ค.-เม.ษ.

กัลปพฤกษ (Cassia bakeriana)

4,340 ตัด-ทําแผล ที่ปลายเมล็ดหรือแชกรดเขมขน45 นาท ี

90 10 6 20 ม.ค.-ก.พ.

กาฬพฤกษ (Cassia grandis)

3,500 ตัด-ทําแผล ที่ปลายเมล็ดหรือแชกรดเขมขน45 นาท ี

90 10 6 20 ม.ค.-ก.พ.

นนทรีบาน (Peltophorum terocarpum)

17,300 แชในน้ํารอนอุณหภูมิ 70-80° C แลวทิ้งไวให 16 ชม.

80 15 4 30 ก.ค.-พ.ย.

สีเสียดแกน (Acacia catechu)

21,900 แชน้ํา 16 ชม. 75 10 4 30 ธ.ค.-มี.ค.

มะมวงหิมพานต (Anacardium occidentale)

216 ตัด-ทําแผล ที่ปลายเมล็ด 95 10 4 30 ม.ค.-เม.ษ

ยมปา (Ailanthus triphysa)

26,500 - 75 10 4 30 ม.ค.-มี.ค. ส.ค.-ต.ค.

กาหลง, เสี้ยวดอกขาว (Bauhinia acuminata)

9,400 แชในน้ํารอน70° C ทิ้งไวใหเย็น 16 ชม.

75 10 5 30 เม.ษ.-พ.ค.

ขี้เหล็กอเมริกา (Cassia floribunda)

53,700 แชในน้ํารอน 80-90° C แลวทิ้งใหเย็นเปนเวลา 16 ชม.

75 20 4 30 ม.ค.-มี.ค.

Page 29: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

29

ตารางที่ 5 ( ตอ) ขอมูลเมล็ดพันธุไมและการปฏิบัติกอนเพาะเมล็ดพันธุไมชนิดตาง ๆ

ชนิดพันธุไม จํานวนเมล็ดตอ

1 ก.ก

การปฏิบตัิตอเมล็ดกอน เพาะเมล็ด

% การงอก

ชวงเวลาท่ีใชในการงอก

(วัน)

ชวงเวลาท่ีใช

เพาะชํา(เดือน)

ขนาดความสูงของกลา

(ซม.)

ฤดูกาลเก็บเมล็ด

แสมสาร, ขี้เหล็กปา (Cassia garetiana)

30,000 แชในน้ํารอน80-90° C แลวทิ้งไวใหเย็น 16 ชม.

75 20 4 30 ม.ค.-มี.ค.

ทรงบาดาล (Cassia surattensis)

46,500 แชในน้ํารอน 80-90° C แลวทิ้งไวใหเย็น 16 ชม.

75 20 4 30 ม.ค.-มี.ค.

สนทะเล (Casuatrina equisetifolia)

924,000 - 75 10 4 30 ก.ย.-ก.พ.

มะเกลือ (Diospyros mollis)

6,400 ตัด-ทําแผลปลายเมล็ด 75 15 6 30 มี.ค.-พ.ค.

แคฝรั่ง (Griricidia sepium)

8,500 แชน้ํา 16 ชม. 90 10 3 30 ก.พ.-มี.ค.

ซอ (Gmelina arborea)

2,750 - 50 30 4 30 ก.ค.-มี.ค.

อินทนิลน้ํา (Lagerstroemia speciosa)

257,000 - 75 20 4 20 ธ.ค.-ม.ค.

เสลา (Lagerstroemia loudonii)

67,700 - 75 20 4 20 ธ.ค.-ก.พ.

ตะแบก (Lagrstroemia floribunda)

169,000 - 75 20 4 20 ธ.ค.-ม.ค.

เล่ียน (ผลเล็ก) (Melia azedarach)

1,286 (ผลขัด)

ตัด-ทําแผล แชน้ํา 1 คืน สลับผ่ึง 1 วัน รวม 5-7 วัน

60 20 4 30 ส.ค.-ต.ค.

เล่ียน (ผลใหญ) (Melia dubia)

557 (ผลขัด)

ตัด-ทําแผล แชน้ํา 1 คืน สลับผ่ึง 1 วัน รวม 5-7 วัน

60 20 4 30 ก.พ.-เม.ย.

Page 30: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

30

ตารางที่ 5 ( ตอ) ขอมูลเมล็ดพันธุไมและการปฏิบัติกอนเพาะเมล็ดพันธุไมชนิดตาง ๆ

ชนิดพันธุไม จํานวนเมล็ดตอ

1 ก.ก

การปฏิบตัิตอเมล็ด กอนเพาะ

% การงอก

ชวงเวลาท่ีใชในการงอก

(วัน)

ชวงเวลาท่ีใช

เพาะชํา(เดือน)

ขนาดความสูงของกลา

(ซม.)

ฤดูกาล เก็บเมล็ด

จามจุรี (Samania saman)

5,700 แชในน้ํารอน 70-80° C ทิ้งไวใหเย็น 16 ชม.

80 20 4 30 มี.ค.-เม.ษ.

แคบาน (Sesbania grandiflor)

25,600 แชในน้ํารอน 70-80° C ทิ้งไวใหเย็น 16 ชม.

75 15 3 30 ม.ค.-ก.พ.

สัก (Tectona grandis)

1,989 แชน้ํา 1 คืน สลับผ่ึง 1 วัน รวม 5-7 วัน

50 120 6 30 ม.ค.-เม.ษ.

สนสองใบ (Pinus merkusii)

47,600 แชน้ํา 1 คืน 75 15 6 20 พ.ย.-ก.พ.

สนสามใบ (Pinus kesiya)

53,400 แชน้ํา 1 คืน 75 15 6 20 ก.ค.-พ.ย.

ที่มา : กรมปาไม, สํานักสงเสริมการปลูกปา, การเพาะชํากลาไม , ม.ป.ป. การปฏิบัติในการเพาะชํากลาไม (Forest Tree Nursery Practice)

เปนการดําเนินการเตรียมการในการเพาะชํากลาไม ส่ิงสําคัญประการหนึ่งที่ตองคํานึงถึงอันดับแรกคือสถานที่ที่จะเพาะชํากลาไมตองไมไกลจากแหลงน้ํา และมีปริมาณน้ํามากเพียงพอที่จะใชในการเพาะชํากลาไมได เมื่อไดสถานที่ที่จะเพาะชําแลว ดําเนินการตอดังนี้

1. รูปแบบการสรางเรือนเพาะชํา (Nursery style) ในสถานที่ที่จะเพาะชํากลาไม สามารถจัดสรางเรือนเพาะชําไดหลายรูปแบบ ไดแก - เรือนเพาะชําถาวร คือการสรางเรือนเพาะชํากลาไมใหสามารถใชงานไดหลายสิบป โดยใชเสาปูน โครงหลังคาใชทอเหล็ก หลังคาใชตาขายพรางแสงรอยละ 50 ซ่ึงสามารถเปดรับแสงไดเต็มที่เปนครั้งคราว

Page 31: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

31

- เรือนเพาะชํากลาไมแบบชั่วคราว คือการสรางเรือนเพาะชํากลาไมที่แข็งแรงพอสมควรสามารถใชงานไดหลายป โดยใชเสาและโครงหลังคาเปนไม หลังคาใชตาขายพรางแสง รอยละ 50 ซ่ึงสามารถเปดรับแสงไดเต็มที่เปนครั้งคราว

2. การเตรียมวัสดุเพาะ (Media or Soil preparation) วัสดุเพาะชําที่ดีก็คือ ดินที่มีธาตุอาหาร มีการระบายน้ํา และอากาศที่เหมาะสม ซ่ึงมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย ( Sandy loam ) ที่มีอินทรียวัตถุที่ผุพังผสมอยู ฉะนั้นควรตรวจสอบดินที่มีอยู หรือที่จัดหามาได หากวาไมเหมาะสมก็ตองผสมสิ่งอื่นเขาไปเพื่อปรับคุณสมบัติของดินใหเหมาะสมแกการเพาะชํา ซ่ึงมีหลักพิจารณาดังนี้ ทราย ผสมเพื่อใหการระบายน้ํา – อากาศดี แกลบเผา ผสมเพื่อทําใหน้ําหนักเบา เพิ่มความเปนดาง และการระบายน้ํา ปุยหมัก ปุยคอก สมเพื่อเพิ่มธาตุอาหาร และทําใหดนิเกาะตัวกันและอุมน้ําดีขึ้น

การผสมวัสดุเพาะไมมีสูตรตายตัวขึ้นอยูกับสภาพดินและธาตุอาหารในดิน เชน ถาดินเปนดินเหนียวจัด การระบายน้ําไมดี และธาตุอาหารต่ําก็ตองเพิ่ม ทรายหรือแกลบเผา และปุยหมัก หรือปุยคอก ถาเปนดินรวนปนทรายมาก จะมีธาตุอาหารนอยและการอุมน้ําไมดี ก็ควรเพิ่มปุยหมักหรือปุยคอก โดยทั่วไปองคประกอบของดินที่เหมาะสมในการเพาะชํากลาไมจะประกอบดวย สวนที่เปนของแข็ง แรธาตุรอยละ 45 น้ํารอยละ 25 อากาศรอยละ 25 และอินทรีวัตถุรอยละ 5

3. การจัดทําแปลงเพาะชํากลาไมออน (Seedling bed) จัดทําแปลงเพาะชํากลาไมออนในเรือนเพาะชําโดยทําเปนกระบะเพาะ ดวยอิฐบล็อค ไมกระดาน หรือไมไผ แปลงเพาะชํากลาไมออนควรใชทรายลวนๆ หรือ ทรายผสมแกลบเผา

4. ฤดูกาลหรือเวลาเริ่มเพาะ (Sowing time) ชวงเวลาที่จะนํากลาไมไปปลูกโดยทั่วไปจะอยูในชวงฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือน พฤษภาคม การเพาะชํา กลาไมบางชนิดโตเร็วบางชนิดโตชา เวลาที่จะเริ่มเพาะจะไมพรอมกัน ดังนั้นควรวางแผนในการเพาะชําใหดี กลาไมโตชา เชน สัก ยมหอม อาจตองเตรียมเพาะลวงหนาหลายเดือน หรือ ทําเปนกลาคางป กลาไมโตเร็ว เชน ยูคาลิปตัส ขี้เหล็กบาน หางนกยูงฝรั่ง พวกนี้อายุประมาณ 3 – 4 เดือน ก็โตไดขนาดปลูกไดแลว ถาเพาะ ตั้งแตตนปรากจะลงดินทําใหเปลือง แรงงานในการตัดรากและดูแลรักษา ไมบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาเมล็ดไดนาน เมื่อเก็บเมล็ดแลวตองเพาะทันที่ เชน สะเดา และไมตระกูลยาง เชน ยางนา เต็ง รัง ตะเคียนทอง 5. การเพาะเมล็ดไม (Seed sowing) การเพาะเมล็ดทําไดดังนี้ - เพาะเมล็ดไมลงถุงดินเพาะชําโดยตรง ใชสําหรับเมล็ดที่มีเปอรเซ็นตการงอกด ีและมีขนาดใหญ ผานการปฏิบัติทําใหเมล็ดงอกไดเรว็แลว เชน การแชน้ํารอน การขลิบ ตัด การแชน้ํากรด ไดแก มะคาโมง มะคาแต ขนุน หกูวาง สําโรง รดน้ําใหถุงดินชุมกอน กดเมล็ดลงใหจมลง

Page 32: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

32

ผิวดินประมาณ 3 – 5 มิลลิเมตร การกดวางเมล็ดตองใหเมล็ดสามารถที่จะแทงยอดออนโผลพนดินไดงาย ควรวางนอนราบ

- เพาะในแปลงเพาะชํากอนยายชํา โดยหวานเมล็ดใหกระจายทั่วแปลงเพาะ ระยะหางระหวางเมล็ดขึ้นอยูกับขนาดเมล็ดและชนิดไม ไมชิดกัน หรือหางกันมากเกินไป ใชไมกดทับเมล็ดใหจมลงไปในทราย แลวโรยทรายกลบใหสม่ําเสมอหนาประมาณ 3 – 5 มิลลิเมตร รดน้ําใหชุม การคลุมแปลงเพาะชําดวยพลาสติกใสจะชวยใหดินรักษาความชื้นไดนาน จะชวยใหอุณหภูมิใหสูงขึ้นเปนการเรงการงอกของเมล็ด และเพิ่มความชื้นของอากาศโดยเฉพาะในฤดูหนาว เมล็ดไมงอกไดดีในอุณหภูมิประมาณ 30 องศาเซลเซียส เมื่อกลาไมตั้งตัวไดจึงเอาพลาสติกออก และเมื่อกลาไมไดขนาดจึงยายชําลงถุงตอไป

6. การเตรียมถุงดิน (Soil bag preparation or Potting) วัสดุเพาะที่เตรียมไวแลวนํามากรอกลงถุงพลาสติก ซ่ึงขนาดที่ใชเพาะชําทั่วไปคือ 4 ×6 นิ้ว ( 1 กิโลกรัม มีถุงประมาณ 400 – 500 ถุง ขึ้นอยูกับความหนาบาง ของพลาสติก ) แตถาเปนกลาไมคางปซ่ึงจะมีขนาดสูงและระบบรากมาก ตองยายกลาไมไปลงถุงขนาดใหญขึ้น เชน 4 ×10 นิ้ว , 6×10 นิ้ว เปนตน การกรอกดิน ใชอุปกรณงายๆ ตัดไมไผ หรือทอน้ํา PVC เปนปากฉลามขนาดใกลเคียงถุงพลาสติก เพื่อใชตักดินและเทใสถุง ถุงพลาสติกเจาะรู ขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตร ตรงกลางกนถุง 4 – 8 รู และดานขางอีก 4 – 8 รู การเจาะรูพลาสติกมีความสําคัญตอระบบรากกลาไมมากการมีรูที่มีขนาดและจํานวนพอเหมาะที่กนถุงจะทําใหรากกลาไมเจริญเติบโตแบบปกติ แตถามีรูไมเหมาะสม เชน จํานวนรูนอยเกินไป หรือรูอยูดานขางหมด จะทําใหรากเจริญเติบโตผิดรูป หรือขดวนอยูกนถุง การจัดวางเรียงถุงใหเปนระเบียบโดยจัดเรียงเปนบล็อก ๆ เพื่อสะดวกในการทํางานและตรวจนับกลาไมและการรอดตาย

7. การยายชํา (Pricking) ขนาดของกลาออนที่เหมาะสมในการยายชําของไมแตละชนิดแตกตางกัน เนื่องจากเมล็ดไมมีขนาดตางกันและขนาดกลาตางกันดวย ส่ิงสําคัญที่ใชในการพิจารณาคือจะตองแนใจวาเปนตนกลาที่แข็งแรงสมบูรณ มีรากออน ลําตนออน ยอดออนที่จะพัฒนาเปนตนกลาที่สมบูรณได ไมควรยายชําตนกลาโตจนมีรากยาวเกินไปเพราะรากจะขดเปนตะขอที่ปลายรากและโคนรากได การถอนกลาจากแปลงเพาะตองระวังไมใหราก ลําตน ใบออนไดรับความเสียหาย ดวยการรดน้ําใหชุมกอนถอนกลา นํากลาออนใสภาชนะท่ีมีน้ําพอประมาณ ใหกลาไมรักษาความสดพรอมที่จะไปชําใสถุง และทําใหกลาไมตั้งตัวไดเร็ว กอนชําควร รดน้ําดินในถุงใหชุมแลวใชไมปลายแหลมขนาดใหญกวารากแทงลงดิน ควรลึกกวาความยาวรากเล็กนอยเพื่อไมใหโคนและปลายราก ขดงอ สอดรากแลวดันดินใหแนบกันเพื่อ ปดชองวางระหวางรากกับดินแลวรดน้ําซ้ําอีกครั้ง หลังยายชําใหสํารวจกลาตาย และรีบชําซอมใหมเพื่อใหกลาไมโตไดทันกันหรือขนาดใกลเคียงกัน

Page 33: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

33

ภาพที่ 6 แสดงการงอกของเมล็ดจนเปนกลาไมที่สมบูรณ ที่มา : การเพาะชํากลาไม สวนสงเสริมการเพาะชํากลาไม กรมปาไม ( ม.ป.ป. : 8 )

การบํารุงรักษากลาไม (Tending)

การบํารุงรักษากลาไม คือการปฏิบัติตอกลาไมหลังการยายชํากลาออนจนกระทั่งกลาไมมีอายุและขนาดตามที่ตองการ พรอมที่จะนําไปปลูกในพื้นที่จริง มีความสําคัญตอคุณภาพของกลาไมเปนอยางมากโดยเฉพาะการรอดตายของกลาไมหลังจากนําไปปลูกในพื้นที่จริง มีวิธีการดังนี้

1. การรดน้ํา (Watering) น้ําเปนปจจัยสําคัญในการเจริญเติบโตของกลาไม เพราะน้ําจะถูกนําไปใชเปนองคประกอบของการสังเคราะหแสง ซ่ึงจะไดผลผลิตเปนอาหาร คือคารโบไฮเดรต สะสมไวในตนกลา และน้ําเปนตัวชวยในการรักษาความสดชื่นและปรับอุณหภูมิของตนกลาในขบวนการคายน้ํา ความตองการใชน้ําของกลาไมผันแปรขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน สวนผสมของวัสดุที่ชํา ที่ตั้งเรือนเพาะชํา รังสีความรอนจากดวงอาทิตย กระแสลม ชนิดกลาไม ชวงอายุของกลาไม การรดน้ําใหกลาไมควรดําเนินการ ดังนี้ - สัปดาหที่หนึ่งของการยายชํา ควรรดน้ําเชา – เย็น ดวยฝกบัวฝอยละเอียด เพราะกลาไมมีขนาดเล็ก ยังไมแข็งแรง และรากของกลาไมยังไมหยั่งลงในวัสดุเพาะชํา - หลังสัปดาหที่หนึ่งรดน้ําวันละครั้ง ใหวัสดุชุมชื้นทั่วทั้งถุง แตถาดินในถุงชําแหงเร็วตองเพิ่มการรดน้ําเปนวันละ 2 คร้ัง เชา – เย็น

Page 34: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

34

2. การใสปุย (Fertilizer application) กลาไมที่เจริญเติบโตในถุงชํา ซ่ึงมีการเตรียมวัสดุชําอยางดี มีธาตุอาหารครบถวนและเพียงพอ และใชระยะเวลาในการเจริญเติบโตสั้น การใหปุยกับกลาไมก็ไมจําเปน เชนกลาไมโตเร็วทั่วไป แตในกลาไมหลายชนิดที่ตองใชระยะเวลาเจริญเติบโตใหไดขนาด ที่ตองการ ตองใชเวลาหลายเดือน บางครั้งตองเตรียมกลาขามป การใหปุยแกกลาไมนับวามีความสําคัญอยางยิ่ง ไมเชนนั้นกลาไมจะแคระแกรน ไมไดขนาดที่ตองการ ควรใหปุยเรงการเจริญเติบโตเพื่อใหมีขนาดตามที่กําหนด ในชวงแรก ปุยที่ใหควรมีปริมาณไนโตรเจนสูง แตไมควรใหมากเกินไปเพราะจะทําใหกลาไมตายได และเมื่อกลาไมโตใกลจะยายปลูก ควรลดปริมาณไนโตรเจน และเพิ่มปริมาณ ฟอสฟอรัสและโปรแตสเซียมใหสูง เพื่อใหกลาไมพัฒนาทางระบบราก และมีการสะสมอาหาร อีกทั้งสามารถใช EM ชวยในการปรับปรุงดินในถุงใหเหมาะสมเพื่อระบบรากของกลาไมสามารถใชธาตุอาหารไดเต็มที่

แรธาตุที่จําเปนที่ตนกลาจะไดรับจากการใสปุย แบงออกเปนสองกลุม อาศัยเกณฑปริมาณที่พืชตองการเปนสําคัญ แรธาตุอาหารที่พืชตองการมาก เรียกวา แรธาตุอาหารหลัก หรือ Macronutrients ประกอบดวย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม กํามะถัน สวนแรธาตุอาหารรองที่พืชตองการนอยหรือ Micronutrients ประกอบดวย เหล็ก แมงกานีส โบรอน สังกะสี ทองแดง โมลิบดินัม คลอรีน

3. การกําจัดวัชพืช (Weeding) วัชพืชจะแยงแสงสวาง น้ํา และธาตุอาหารในดินภายหลังการยายชําควรถอนวัชพืชทุกๆ สัปดาห และเมื่อกลาไมอายุเกิน 1 เดือน ควรถอนวัชพืชทุก 2 สัปดาห หรือเดือนละครั้ง ขึ้นอยูกับความหนาแนนของวัชพืช การถอนวัชพืชควรทําการถอนในขณะที่มีขนาดเล็กหรือเพิ่งงอก เนื่องจากวัชพืชยังมีระบบรากเล็กและถอนงาย ไมทําใหกลาไมที่เพาะชํากระทบกระเทือน การถอนวัชพืชควรถอนภายหลังการรดน้ําในตอนเชาเพราะดินในถุงยังแฉะงายตอการถอน นอกจากนี้ควรถอนวัชพืชที่ขึ้นอยูระหวางชองวางของแปลง และทางเดินดวย เพื่อความสะดวก สะอาด และปองกันการแพรขยายเขาไปในถุงชํา กรณีเมล็ดที่หยอดลงถุงชําโดยตรง ควรทําการถอนตนกลาที่ขึ้นเกิน 1 ตน ยายไปชําถุงที่ตนกลาไมงอก และถาตนกลาไมสมบูรณ มีโรค แมลง รบกวน ก็ควรถอนและทําลายทิ้ง การกําจัดวัชพืชบางครั้งอาจใชสารเคมีหรือเครื่องจักรในการกําจัดหรือควบคุมวัชพืช แตผูใชตองแนใจวาจะไมมีผลกระทบหรือเปนอันตรายตอกลาไม และส่ิงแวดลอม

4. การปองกันและกําจัดศัตรูพืช (Pest and disease control) ผูเพาะตองหมั่นตรวจสอบอยูเสมอวากลาไมที่เพาะชํา มี แมลง และเชื้อรา ทําลายหรือไม ถามีตองรีบกําจัดและปองกันดวยการใชสารเคมี ซ่ึงสารเคมีแตละชนิดใชในการปองกันและกําจัดศัตรูพืชไมเหมือนกัน จะตองทําความเขาใจวิธีใชโดยศึกษาใบกํากับยา และปฏิบัติใหถูกตอง

Page 35: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

35

5. การเลื่อนรากและตัดราก (Root pruning and Root cutting) การเลื่อนและตัดรากกลาไมมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันไมใหรากของกลาไมเจริญเติบโตภายนอกถุงชําเพราะจะทําใหปริมาณรากในถุงชําเหลือนอย โดยเฉพาะระบบรากแขนงและรากฝอย เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหกลาไมเหี่ยวเฉาและตายเมื่อนําไปปลูก การเลื่อนรากหรือตัดรากควรทําทันทีที่รากเริ่มชอนไชออกนอกถุง เพราะรากยังมีขนาดเล็กและขาดงาย กลาไมไดรับความกระทบกระเทือนนอยมาก แตถาปลอยทิ้งไวนานรากชอนไชออกมามาก รากมีขนาดใหญจําเปนตองใชกรรไกรตัดกิ่งที่คมๆตัด ระบบรากจะกระทบกระเทือนมาก กลาไมตองใชระยะเวลาตั้งตัวนาน และบางสวนอาจเหี่ยวเฉาและตายได กอนการเลื่อนและตัดรากควรงดการใหน้ํา ใหดินในถุงแข็งและจับตัวกันแนนเพื่อปองกัน รากกลาไมสวนใหญ ไมใหไดรับความกระทบกระเทือน หลังจากการเลื่อนรากตองทําการรดน้ําใหแกกลาไมทันที การเลื่อนและตัดรากควรทําในวันที่เมฆครึ้ม แดดออน หรือทําตอนเย็น

6. การคัดกลาและจัดเรียงลําดับความสูง (Culling and Grading) ภายหลังจากการยายชาํแลว กลาไมจะมีการเจริญเติบโตที่แตกตางกัน เนื่องมาจากลักษณะทางกรรมพันธุ ของเมล็ด และปจจัยส่ิงแวดลอมอื่นๆ ทําใหกลาไม มีขนาดโต แคระแกรน เรียงปะปนกันอยูในแปลงที่จัดเรียงถุงชํา หากปลอยไวไมทําการใดๆ กลาไมตนเล็ก แคระแกรนก็จะถูกเบียดบังไมเจริญเติบโต นั้นขณะที่ทําการเลื่อนและตัดรากกลาไมภายในแปลง ควรจะทําการคัดกลาและจัดเรียงลําดับความสูงของกลาควบคูกันไปดวย โดยเรียงลําดับความสูงกลาไมที่สูงสุดจัดไวที่หัวแปลงเรียงไปต่ําสุดที่ทายแปลงเพื่อใหตนกลาไดรับแสงสวางและน้ําอยางทั่วถึง กลาไมที่มีลักษณะไมดี มีโรคและแมลงทําลาย ไมสามารถบํารุงใหเปนกลาไมที่สมบูรณควรทําลายทิ้ง กลาไมที่คาดวาจะสามารถบํารุงใหสมบูรณไดอาจคัดแยกไปเรียงเปนแปลงตางหากเพื่อสะดวกตอการใหปุยเปนกรณีพิเศษ กลาไมที่ดีควรมีลักษณะลําตนกลามีความสูงระหวาง 1 – 2 เทาของความสูงของราก หรือ 1 – 2 เทาของความสูงของถุง ลําตนมีความแข็งแรง มั่นคง มีคอรากแข็งแรง 7. การทําใหกลาไมแกรง (Seedling hardening) กลาไมที่อยูในรมเงาของเรือนเพาะชํา มาตลอด ถาขนยายไปปลูกทันทีกลาไมอาจตายไดเพราะภาวะแวดลอมที่แตกตางจากในเรือนเพาะชํากลาไมกะทันหัน เชนแสงแดดจัดเกินไปและความแหงแลง กลาไมไมสามารถปรับสภาพใหเขากับส่ิงแวดลอมภายนอกได ดังนั้น จึงควรทํากลาไมใหแกรงเสียกอน โดยการเปดหลังคาเรือนเพาะชํา เพื่อใหชินกับสภาพแดดจัด ซ่ึงกลาไมจะทํางานมากขึ้นดวยการสังเคราะหแสง หรือการสรางและเก็บสะสมอาหารมากขึ้น และการใหตนกลาชินกับสภาพความแหงแลง เนื่องจากปริมาณน้ําจํากัดอยางพอเหมาะ ดวยการลดปริมาณการใหน้ํา เชนเคยรดน้ําทุกวันก็อาจจะลดปริมาณเปน 1 วันเวน 2 - 3 วัน ประมาณ 1 เดือน กอนนําไปปลูก เมื่อเสร็จจากขั้นตอนทําใหแกรงแลวกอนการขนยายและปลูกจะตองใหน้ําอยางเพียงพอเพื่อใชในระยะตั้งตัว จะชวยใหกลาไมมีการรอดตายสูง

Page 36: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

36

ขั้นตอนการปลูกตนไม

ขั้นตอนการดําเนิน การปลูกตนไม ควรปฏิบัติในชวงฤดูฝนจะไดผลดีที่สุด โดย : 1. การเตรียมพื้นที่ปลูก กอนที่จะเตรียมแปลงปลูกตนไมควรตดัสินใจวาจะปลูกตนไม

เพื่ออะไร ปลูกตนไมชนดิไหน และระยะปลูกเทาไร กอนดําเนนิการปลูกตนไมควรถางวัชพืชออกใหหมดและไถพรวนดินถาหนาดนิแข็งมาก ถาพื้นที่ปลูกมีสภาพดินเปนดินเหนยีว หรือลูกรัง ควรใสปุยหมกั ปุยคอก ปุยชีวภาพหรือเศษพืช ถาพื้นที่เลือกมามีน้ําทวมขังในฤดูฝน ควรจะไถยกรองปลูก เพื่อทําทางระบายน้ํา

2. การขนสงกลาไม ถาขนสงในระยะไกล ใหคลุมกลาไมดวยตาขาย หรือปองกันแสงแดดถากลาไมเหีย่วเฉาควรนําไปวางเรยีงไวใตรมเงา และรดน้ําเชา – เย็น จนกวากลาไมฟนตวัแข็งแรงดีขึ้นกอนนําไปปลูก

3. การขุดหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกควรใหมีขนาดใหญกวาเบาดินของถุงกลาไม เพื่อชวยใหระบบรากหาอาหารไดดีขึ้น ควรใสปุยอินทรยีลงกนหลุมทีป่ลูกกลาไม เพื่อใหกลาไมเจริญเติบโตและมีอัตราการรอดตายสูง

4. การปลูกตนไม ระวงัอยาลืมเอากลาไมออกจากถงุพลาสติก เมื่อปลูกแลวอยาลืมรดน้ําใหมากเพื่อกลาไมฟนตวัไดเร็วขึ้นถาในพื้นที่ปลูกมสัีตวเล้ียงเขามาหากินในบริเวณที่ปลูกตนไม ควรจะทําร้ัวรอบ ๆ แปลงปลูกตนไมเพื่อปองกันไมใหสัตวเล้ียงทําลายตนไมเสยีหาย หรือตายได

วิธีการบํารุงรกัษาตนไม

1. วิธีการใสปุยเคมี ควรมีการศึกษาสภาพขาดธาตุอาหารเสียกอน เพราะวาปุยเคมีมีหลายสูตร ควรที่จะเลือกใชตามความตองการของตนไม เชน ใชปุยเคมีสูตร 15 – 15 – 15 จํานวน 50 กรัม/ตน ระยะเวลาในการใส 1 – 2 คร้ัง/ป

2. การปลูกซอม หลังจากปลูกแลวหากตนไมตายควรจะปลูกซอม ถาตนไมที่ตายไปมีสาเหตุจากพันธุไมไมเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ควรจะเปลี่ยนชนิดพันธุไมใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ปลูก

3. การปองกันไฟปา โดยการกําจัดวัชพืชในแปลงปลูกตนไมและรอบนอกขอบแปลง โดยการจุดไฟเผาวัชพืชตามหลักวิชาการ และควบคุมไมใหเกิดความเสียหายขึ้นกับตนไมในแปลงปลูกตนไม

Page 37: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

37

การดูแลรักษาตนไมท่ีมีความสูงดีแลว

1. การลิดกิ่ง การลิดกิง่ไมที่ไมตองการ โดยเฉพาะที่อยูตอนลางออกไป เพื่อใหตนไมปราศจากตําหนิอันเกดิจากปุมหรือ ตาชวยทําใหไดตนไมที่ดีมีคุณภาพไมมีตําหนิ การลิดกิ่งแตแรก ๆ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง เพราะระยะที่กิ่งไมยังเล็กอยู และตาที่เกิดจากการลิดกิ่งก็มีขนาดเล็ก

2. การตัดสางขยายระยะ เปนการเลือกตัดไมที่ผานวัยรุนไปแลว และขึ้นอยูหนาแนนออก เพื่อชวยใหตนไมที่เหลือมีโอกาสไดรับแสงไมถูกเบียดบัง สารมารถเจริญเติบโตอยางเต็มที่ นอกจากนนี้ยังสามารถมีรายไดจากการขายไมตัดสางขยายระยะไดดวย

โรคพืชปาไม

โรคพืชปาไม ( Forest Tree Diseases ) คือ ลักษณะอาการของตนไมที่ผิดปกติ ไมวาการผิดปกตินั้นจะเกิดกับเมล็ด ตนกลา ลูกไม ไมขนาดใหญ หรือไมที่มีอายุมากก็ตาม และไมวาอาการของโรคจะเกิดกับราก คอราก โคนตน ลําตน กิ่ง ใบ ดอก ผล หรือเมล็ดก็ตาม ซ่ึงจะมีผลกระทบตอระบบสรีรวิทยาหรือการเจริญเติบโตของตนไม (Physiology or Growth) ผลผลิต (Yield) คุณภาพ (Quality) และมูลคาหรือราคา (Value or price) ของตนไม

1. สาเหตุที่ทําใหตนกลาเกิดโรค สาเหตุที่ทําใหตนกลาเปนโรคแบงออกเปน 2 พวกใหญ ๆ คือ 1.1. เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต การขาดธาตุอาหารหรือขาดปุยทําใหตนกลามีขนาดเล็กลง ใบเปลี่ยนสี ใหผลผลิตนอยการเจริญเติบโตหยุดชะงัก โตชา ออนแอ และอาจถึงตายได องคประกอบของดินแปลงเพาะที่ดี ควรมีเนื้อดินรวมปนทรายหรือดินที่มีแรธาตุอาหารรอยละ 45 มีอินทรียวัตถุหรือขุยพืช รอยละ 5 มีชองวางบรรจุอากาศรอยละ 20-30 และมีน้ําอยูประมาณรอยละ 20-30

1.2. โรคเกิดจากสิ่งมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตทําใหเกิดโรคแกกลาไมไดหลายชนิด เชื้อโรคเหลานี้ยังสามารถแพรระบาด แพรเชื้อติดตอไปยังตนกลาหรือในสวนปาที่นํากลาไมไปปลูกได จําเปนจะตองรูจักเชื้อโรคแตละชนิด อาการและการปองกันกําจัดเชื้อโรคที่เปนสาเหตุทําใหเกิดโรคที่สําคัญ เชน เชื้อรา บักเตรี วิสา ไมโครพลาสมา และไสเดือนฝอย

Page 38: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

38

2. ลักษณะอาการอยางไรจึงจะเรียกวาตนไมเปนโรค อาการของโรคพืชบนสวนตาง ๆ ของตนกลามีหลายนิดดวยกัน โดยเฉพาะอาการที่เกิดบนใบ บางครั้งจะมีอาการคลายกันหรือใกลเคียงกัน แตอาจเกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุก็ได อาการผิดปกติ ของตนเทาที่พบพอสรุปไดดังนี้ 2.1. อาการของโรคบนใบ จะมีอาการหลายแบบและเกดิขึ้นหลายสาเหตุ เชน การขาดธาตุอาหาร เกิดจากเชื้อรา บักเตรี วิสา และไมโครพลาสมา (1) โรคใบจุดจะพบแผลแหงเปนจุดกระจายบนใน แผลมีขนาดใกลเคียงกัน แผลกลม หรือเปนเหลี่ยม ถาเปนมาก ๆ ใบจะแหง เกิดจากหลายสาเหตุ เชน เชื้อราและบักเตรีหลายชนิด เปนตน

(2) โรคใบไหมจะพบแผลแหงมีขนาดใหญ อาจจะแหงในบริเวณใบ หรือจากขอบใบก็ไดเมื่อเทียบกับโรคใบจุดแลวแผลที่เกิดจากใบไมจะมีขนาดใหญกวาและเกิดเปนบริเวณกวางกวา สาเหตุเกิดจากเชื้อราและบักเตรีหลายชนิด (3) โรคใบดาง อาการใบดางมีไดหลายลักษณะแลวแตสาเหตุ อาจเกิดจากเชื้อวิสา ขาดธาตุอาหาร แมลงดูดกิน หรือลักษณะกลายพันธุของพืชหรือตนกลาอยางใดอยางหนึ่งหรือรวมกัน แตโดยทั่วไปมักเกิดจากเชื้อวิสา

(4) โรคใบหงิก ใบจะหงิกงอมวนตัว อาจเปนคลื่นเมื่อดูทั้งตน จะมีลักษณะแคระแกร็น มีขนาดเล็กลงอยางเห็นไดชัด เมื่อเทียบกับตนปกติ สาเหตุมักเกิดกับเชื้อวิสาและแมลงดูดกิน

(5) โรคแคงเคอร บางทีเรียกวา โรคแผลสะเก็ด โดยเกิดเปนแผลตุมนูนสีน้ําตาลทั้งดานบนและลางของใบ พบไดทั้งบนผล กิ่งสวนใหญเกิดจากเชื้อราและบักเตรี

(6) โรคสแคปหรือเรียกวาโรคสะเก็ด อาการใกลเคียงกับโรคแคงเคอรมาก แตมักเกิดเฉพาะดานบนของใบเทานั้น สวนอาการบนแผลและกิ่งเหมือนอาการแมลงดูดกิน ถาสังเกตดี ๆ มักจะเห็นแมลงอยูดวย ใบจะโปงบวมเห็นไดชัด

(7) โรคสนิมเหล็กเกิดแผลเปนตุมขุยสีสนิม เมื่อเกิดอาการมาก ๆ จะเห็นผงสนิมมากมาย อาจเกิดที่ตนดวยสาเหตุเกิดจากเชื้อรา

(8) โรคราแปงขาวจะเห็นเชื้อราเปนผงสีขาวข้ึนคลุมบนใบคลายแปงปกคลุมทั่วไป คอย ๆ ขยายวงจนเต็มใบ เปนมาก ๆ ใบจะแหงตาย สาเหตุเกิดจากเชื้อรา

(9) โรคราน้ําคาง ใบที่เปนโรคนี้จะเห็นลักษณะสีเหลือง ๆ บริเวณใบ เมื่อดูใตใบเปนลักษณะเดนชัดกวา เมื่ออากาศเย็นชื้นจะเห็นผงขาว ๆ ชัดเจน แตอาการของโรคนี้จะแตกตางกันไปแตละตนกลาแตละชนิด เกิดจากเชื้อรา

Page 39: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

39

(10) โรคราดํา ใบที่เกิดจากโรคนี้จะมีแผลคลายเขมาดําคลุมผิวใบหรือสวนอื่น ๆ ของกลา เมื่อใชมือลูบจะหลุดออก มักจะพบราดําพรอม ๆ กับแมลงพวกเพลี้ย รานี้จะเจริญบนน้ําหวานของเพลี้ยที่ขับถายออกมา

(11) โรคแอนแทรคโนส ใบที่เกิดโรคนี้ แผลมักจะแหงตายสีน้ําตาล และมักเกิดเปนวง ๆ คลายวงแหวน เปนมาก ๆ ใบจะแหงตายในที่สุด สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เกิดไดทั้งบนใบ กิ่ง ผล และเมล็ด

2.2. อาการที่พบทั้งตน (1) โรคเหี่ยวในระยะแรกจะเห็นใบเหี่ยวลูลงกอน แลวคอย ๆ เหี่ยวตาย

ทั้งตน ถาพบอาการโรคเหี่ยวทั้งตนตองพิจารณาถึงสาเหตุอันเกิดจากตนกลาขาดน้ําหรือไดน้ํามากเกินไป ทําใหรากเสียสภาพ เชน รากขาด รากปม เนื่องจากไสเดือนฝอยรากเนา เนื่องจากเชื้อราเขาทําลาย หรือรากดีแตไมอาจลําเลียงน้ําและแรธาตุไปเลี้ยงใบสังเคราะหแสงได เพราะทอน้ําถูกอุดตัน

(2) โรคแตกพุมตนแตกใบมากผิดปกติแตใบจะไมสมบูรณ มีขนาดเล็กเปนพุมกระจุกคลายไมกวาด การแตกพุมนี้อาจเกิดขึ้นที่ใบหรือดอกก็ได สาเหตุเกิดจากเชื้อไมโครพลาสมา ซ่ึงเปนเชื้อมีขนาดเล็กกวา บักเตรี แตใหญกวาเชื้อวิสา

2.3 โรคเกิดที่ผล (1) โรคผลเนาสวนมากเกิดแผลสีน้ําตาลเขมกอน ตอมาแผลจะขยายโต

ขึ้น อาการเนาอาจมีขนาดรอบแผลจํากัดวง หรือ อาจจะเนากลาวตอไปไดอีกหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับชนิดผลและเชื้อที่ทําใหเกิดโรคเปนสําคัญ โรคเนาของผลนอกจากจะเกิดกับตนไมที่ปลูกเปนสวนผลิตเมล็ดพันธุไมแลว ยังพบภายหลังการเก็บรักษาผลหลังเก็บเกี่ยวจากตนไมในสวนแลวอีกดวยถาผลเกิดรอยแผลขณะเก็บเกี่ยว และเก็บรักษาไวที่รอนและมีความชื้นมาก จะเกิดอาการเนา สาเหตุเกิดจากเชื้อรา (2) โรคผลแตกสวนมากไมไดเกิดจากเชื้อรา แตเกิดจากตนไมไดรับน้ําไมสม่ําเสมอ ถาตนไมไดรับน้ําเปนเวลานาน ๆ เมื่อฝนตกหนักมีความชื้นมากเกินไป ขณะตนไมมีผลออน ก็จะทําใหผลแตกไดงาย เนื่องจากเนื้อเยื่อเปลือกผลมีการยึดหดตัวฉับพลัน จึงเกิดการแตกฉีกได

2.4. โรคที่เกิดจากเมล็ดและดอก (1) เมล็ดเนาเชื้อราและบักเตรีจะทําใหเมล็ดเปลี่ยนสี เมล็ดเล็ก เหี่ยว ถาเชื้อ

ราหรือบักเตรีเขาไปทําลายถึงคัพภะ (Embryo) จะทําใหการมีชีวิต (Viability) และการงอก (Germinability) ของเมล็ดต่ํา แตถาเชื้อรา หรือบักเตรีทําลายเฉพาะเปลือกนอกก็จะสามารถถายทอดเชื้อไปยังแปลงเพาะชํากลาไมและทําลายตนกลาได เมล็ดเนาจะเกิดในที่ช้ืนมากกวาที่แหง

Page 40: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

40

(2) ดอกเนาเชื้อราและบักเตรี ทําใหดอกเนาในชวงฤดูฝนมากกวาฤดูแลง เกิดไดทั้งบนตนและดอกตูม และดอกบานแลวจะทําใหดอกมีสีน้ําตาลหรือสีดํา เปนมาก ๆ ดอกจะแหงเนาเละและรวงหลนเสียหายในที่สุด ทําใหการผลิดอกออกผลไมดี เกิดการเสียหายตอการผลิตเมล็ดได การติดโรคอาจเกิดจากกระแสลมและแมลงเปนพาหะได

2.5. โรคที่เกิดกับตนกลา (1) โรครากเนาสังเกตไดจากตนกลามักจะเหี่ยว ถาดูที่รากจะพบวารากเนา

ดําหรือสีน้ําตาล เปลือกจะรอนหลุดติดมือออกมา เนื่องจากเชื้อโรคเขาทําลาย สาเหตุเกิดจากเชื้อราหรือบักเตรี

(2) โรครากปมรากจะมีอาการพองโตออกเปนปมโดยจะพองออก เกิดจากภายในออกมาดานนอก สาเหตุเกิดจากไสเดือนฝอย

(3) ตนกลาเนาคอดินเมื่อดูทั้งแปลง ตนกลาจะฟุบตายเปนหยอม ๆ เมื่อตรวจดูที่คอราก จะเห็นวาโคนตนมีลักษณะช้ําคอดลงเปนสีน้ําตาลดําและเนา มักจะพบกับแปลงที่มีตนกลาหนาแนนเกินไป และมีความชื้นสูง สาเหตุเกิดจากเชื้อราทําอันตราย

3. โรคของกลาไมในแปลงเพาะชํา

3.1. โรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ (Seed-borne Disease) เมล็ดพันธุที่นิยมนําไปใชเพาะเปนกลาไมเพื่อนําไปปลูกปาเปนสวนมาก ในปจจุบันจะมีเชื้อราติดตออยูทุกชนิดแตชนิดที่มีเชื้อราในปริมาณมากไดแก เมล็ดไมเต็งทองกวาว มะคาโมง ซอ สัก ยูคาลิปตัส เล่ียน เปนตน เชื้อรา ที่ติดอยูกับเมล็ดพันธุเหลานี้จะสามารถทําลายความมีชีวิตและอัตราการงอกของเมล็ดได และยังสามารถจะถายทอดเชื้อไปยังแปลงเพาะและกลาไมตอไปได เชื้อราที่ติดอยูกับเมล็ด นอกจากจะทําใหเมล็ดไมงอกและเกิดโรคขณะกําลังงอกออกจากเมล็ดใหม ๆ แลว ยังสามารถจะเพิ่มเชื้อติดอยูในแปลงเพาะอีกดวย นอกจากนี้เชื้อโรคเมล็ดยังสามารถเปลี่ยนน้ํายอย เพิ่มการหายใจ ทําลายโปรตีน คารโบไฮเดรท ทําลายสารอินทรียและอนินทรียของเมล็ดทําลายองคประกอบของโครโมโซม ทําใหเมล็ดกลายพันธุไดงาย ดังนั้นกอนที่จะนําเมล็ดพันธุไปเพาะขยายพันธุ ควรจะเลือกพันธุที่มีคุณภาพดี ปราศจากโรคใชเพาะชํากลา การปองกันและกําจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดควรปฏิบัติดังนี้

(1) ควรเก็บเมล็ดพันธุเมื่อแกเต็มที่แลวเทานั้น (2) กะเทาะเมล็ดออกจากผลโดยเร็ว (3) ผ่ึงหรืออบเมล็ดใหเหลือความชื้นอยูในเมล็ดประมาณ 8-14%

Page 41: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

41

(4) เก็บรักษาเมล็ดไวในที่เก็บที่แหงสะอาดและในภาชนะที่สะอาดที่อุณหภูมิประมาณ 4-5 องศาเซียส ที่ความชื้นสัมพันธประมาณรอยละ 45-60

(5) ควรอาบน้ํายาปองกันเชื้อราและแมลง (6) ควรหวานหรือเพาะเมล็ดโดยเร็ว อยาเก็บไวนานเกินไป จะทําใหเชื้อรา

ทําอันตรายแกความมีชีวิต และการงอกลดต่ําลง 3.2. โรคเนาคอดิน (Damping-off Diseasse)

โรคเนาคอดิน เปนโรคที่มีความยุงยากซับซอนมากในบริเวณแปลงเพาะ และเปนโรคที่สําคัญที่สุดที่นักเพาะกลาไมและหัวหนาศูนยเพาะชํากลาไมมักจะพบอยูเสมอ เชื้อโรคนี้มักจะทําอันตรายแกกลาไมเกือบทุกชนิดเชื้อโรคที่ทําใหเกิดโรคเนาคอดินแกกลาไมมีสาเหตุมากจากโรคที่ติดมากับเมล็ด(Seed borne Diseases) และเชื้อราที่อยูในดิน (Soil-borne Diseases) ที่นํามาใชในการเพาะชํากลาไม เชื้อราจะดํารงชีวิตอยูไดกับขุยพืชและอินทรียวัตถุในดิน เมื่อสภาวะเหมาะสม เชน อากาศรอนอบอาว และความชื้นสูงพอเหมาะก็จะเขาทําลายตนกลา โรคเนาคอดินเกิดไดทั้งไมสนและไมโตเร็วชนิดตาง ๆ มักพบกับตนกลาที่มีอายุตั้งแต 0-2 ป ในทุกสภาพแปลงเพาะชําทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในชวงฝนตกหนัก ความชื้นสูง อากาศรอนอบอาว ชนิดกลาไมที่พบวาเกิดโรคเนาคอดินเสมอ ไดแก สมพง ตุมเตน ยูลาลิปตัส เล่ียน กัลปพฤกษ ชัยพฤกษ ซอ มะคาโมง สนสามใบ ฯลฯ การปองกันและกําจัด การปองกันและกําจัดโรคเนาคอดินจะตองใชมาตรการการปองกันดีกวามาตรการแกไข เพราะเชื้อโรคจะเกิดขึ้นและระบาดอยางรวดเร็วมาก ยากที่จะแกไขไดทันทวงที การใชวิธีควบคุมวิธีใดโดยเฉพาะนั้น อาจจะไมไดผลดีควรจะไดมีการประสานวิธีตาง ๆ ควบคุมจึงจะไดผล โดยปฏิบัติตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ คือ 1. ควรคัดเลือกเมล็ดพันธุ ปราศจากโรคไปเพาะชํากลาไม 2. การเตรียมดินแปลงเพาะควรมีการตากดินแปลงเพาะดวยแสงแดดอยางนอย 10-15 วัน เพื่อทําลายเชื้อโรคในดิน โดยเฉพาะเชื้อราและไขของไสเดือนฝอย ควรใชดินรวนปนทรายที่มีการระบายน้ําดี 3. ถาเปนไปไดควรมีการอบดินรมควันดวยยา Dazomet หรือ Methyl romide/Chloropierin ในแปลงเพาะชํา หรือดินในถุงชํากอนโดยรมควันประมาณ 48 ชม. โดยใชยารมควัน 1-2 กก./3 ตรม. ของเนื้อที่แปลงเพาะ นอกจากนี้อาจใชยา Volex หรือ Formalin(38%) รมควันแทนก็ใชได เสร็จแลวใชพลาสติกคลุมดิน จึงปลอยยาใหอบดินเพื่อฆาเชื้อโรคยาจะลอยสูที่ต่ําลงดินไป เมื่อครบ 48 ชม. จึงเอาพลาสติกออก แลวทิ้งไวนานอยางนอย 2 อาทิตย จึงทําการหวานเมล็ดเพาะกลาได

Page 42: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

42

4. กอนเพาะเมล็ดควรนําเมล็ดไปฆาเชื้อโรคเสียกอน โดยอาจจะจุมแชในน้ํารอนหรืออุน หรือ ยาฆาเชื้อรากอน แลวจึงทําการเพาะกลา 5. ควรปรับปรุงดินไมใหเปนกรดหรือดางมากเกินไป คา pH ของดินที่เหมาะควรอยูระหวาง 5.5-6.5 ดินเพาะกลาไม ไมควรมีซากพืชมากเกินไป 6. การเลือกเวลาเพาะกลา โรคบางอยางเราสามารถหลีกเลี่ยงได เชน โรคมักจะเกิดรุนแรงในชวงฝนตกหนักควรหลีกเลี่ยงไปเพาะตอนปลายหรือตนฤดูฝน ถาเกิดโรคมากในฤดูหนาว ควรเลี่ยงมาปลูกหรือเพาะกลาตอนตนหรือปลายฤดูแทน จะชวยลดความเสียหายไดมาก 7. ควรเพาะกลาในแปลงเพาะหมุนเวียนสลับกันไป ไมควรเพาะกลาซ้ําชนิดในที่แหงเดียวกัน 8. อยาหวานเมล็ดมากเกินไป 9. ควรฉีดยาปองกัน และกําจัดเชื้อราเปนครั้งคราว 1-2 อาทิตย/คร้ัง 10. เด็ดหรือตัดกิ่ง ใบเปนโรค หรือถอนตนเปนโรคไปทําลายทิ้งเสียกอนที่จะลุกลามไปสูตนกลาอื่นตอไป 11. ฉีดยาฆาแมลงที่เปนพาหะนําโรค เชน พวกเพลี้ย เปนตน 12. ควรหาวิธีเรงการงอกของเมล็ดอยางสม่ําเสมอและรวดเร็ว

3.3. โรคเนาของเหงาสักขณะเก็บรักษา ประเทศไทยนิยมปลูกไมสักจากเหงา (Planting Stumps) มากกวาใชเมล็ดโดยตรง เพราะปลูกดวยเหงา จะมีอัตราการรอดตายสูง ตนสักจะมีการเจริญเติบโตไดดี โดยปกติจะเตรียมเพาะกลาใน แปลงเพาะกอนเปนเวลา 1-2 ป แลวพอถึงฤดูทิ้งใบหมด ก็จะทําการตอนเหงา ตองตัดแตงเตรียมเหงามัดเปนมัด ๆ ละประมาณ 50-100 เหงา แลวเก็บไวใตดิน หมกทรายเก็บไวในโรงเก็บ วิธีการนี้นิยมปฏิบัติกันทั้งของ ออป. และกรมปาไม ในบางปจะมีปญหาเรื่องเชื้อราทําอันตรายตอเหงาสัก เสียหายมากถึงรอยละ 40-90 ของเหงา สักที่เก็บรักษา จากการศึกษาพบวาเชื้อรา Botryodiplodia theobromae Pat. เปนเชื้อราที่พบวาทําอันตรายแกเหงาสักเสียหายมาก นอกจากนี้ยังมีเชื้อราพวก Aspergillusniger. Penicillium spp. ชวยทําลายเปลือกและเหงาสัก การปองกันโรคนี้ที่ไดผลดีควรจะชุบหรือจุมเหงาสักดวยยาปองกันเชื้อราชนิด Vitavax, Saprol, Benlate หรือ Busan ในอัตรา 15,000-20,000 ppm. กอนเก็บรักษาจะไดผลดี ขอสําคัญที่สุด หลุมเก็บ จะตองรักษาความเย็นที่อุณหภูมิประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส จะปองกันโรคนี้ไดดี และควรรักษาความชื้นในเหงาใหไดประมาณรอยละ 60-80

Page 43: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

43

3.4. โรคทําลายใบ จากการตรวจพบโรคทําลายใบชนิดใบจุดของกลาไมประดู (Pterocarpus macrocarpus) และ ไมพยุง ชิงชัน(Dalbergia cochinchinensis) ปรากฏวาโรคใบจุดดํา (Tar Spot1) เกิดกับใบ เกิดจากเชื้อรา Phyllachora pterocarpi Syd. ทําความเสียหายแกกลาไมประดูและพยุง ชิงชัน อายุ 0-1 ป ตายประมาณรอยละ 80-90 ของตนไมที่เพาะ ณ ศูนยเพาะชํากลาไมสะแกราช กองบํารุง กรมปาไม เมื่อป พ.ศ. 2524-2525 การปองกันและกําจัด แนะนําใหใชยา Benlate, Vitavax, Saprol หรือ Busan ละลายน้ําสะอาดอัตรา 2-4 ชอนโตะ ตอน้ํา 20ลิตร ฉีดพนเมื่อโรคเริ่มเกิดใหม ๆ หรือใชวิธีฉีดปองกันทุก 1- 2 สัปดาหจนกวาโรคจะหาย 3.5. โรคราแปงขาว (Powdery mildew) ของกลากระถินณรงค และกระถินเทพา เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. พบทําลายตนกลารอยละ 70-80 ทําใหใบแหง ตนกลาตายได 3.6. โรคใบจุด (Leaf Spot) ของกลาไมยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส เกิดจากเชื้อรา Phaeoseptoria eucalypi (Banf.) Walk. พบตนกลาเปนโรค 60-70% ทําใหใบรวงชะงักการเจริญเติบโตของตนกลา 3.7. โรคใบจุดของเลี่ยน เกิดจากเชื้อรา (Cercospora subsessillis Syd.) เกิดบนใบสีน้ําตาลคอนขางกลม ขนาด 1-4 มม. กลางแผลมีจุดสีขาวเห็นไดชัดบนหลังใบ แผลที่ทองใบมีลักษณะช้ํา สีน้ําตาล ขอบนอกเทา เปนโรคจะเหลืองและรวงหลนในที่สุดตนกลาพบเปนโรคประมาณรอยละ 80 แพรเชื้อโดยสปอร ปลิวไปตามลม หรือจากการรดน้ํากระเด็นไปติดใบตนกลาขางเคียง 3.8. โรคใบรวง (Needle cast) ของสนสองใบ และสนคาริเบีย เกิดจากเชื้อรา Lophodermium indianum. L. kumaunicum L. australe. Meloderma sharmarum และ Glomerella cingulata ตนกลาเกิดโรคประมาณ 90-100% พบที่ ศูนยเพาะชําบอแกว อ.ฮอด จ.เชียงใหม ตนกลาจะตายประมาณ 20-30% 3.9. โรคราสนิมของสนสามใบ เกิดจากเชื้อรา Coleosporium tussilaginis พบที่ศูนยเพาะชําบอหลวง ตนกลาที่เกิดโรคในอัตราต่ําประมาณ 1-2% 3.10. โรคราสนิมของกลาสัก เกิดจากเชื้อรา Chaconia (Olivea) tectnae ระบาดชวงฤดูหนาว ตนกลา เปนโรคประมาณ 80-90% ใตทองใบมีจุดสีเหลือง ทําใหใบแหงรวงหลนกอนกําหนดชะงักการเจริญเติบโต

Page 44: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

44

การปองกันและกําจัด แนะนําใหใชยา Benlate. Vitavax. Saprol หรือ Busan ละลายน้ําสะอาดอัตรา 2-4 ชอนโตะตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนเมื่อโรคเร่ิมเกิดใหม ๆ หรือใชวิธีปองกันทุก 1-2 สัปดาห จนกวาโรคจะหาย

แมลงศัตรูกลาไมในแปลงเพาะ

กลาไมนับเปนชวงเวลาที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอคุณภาพของสวนปา เพราะกลาไมที่มีความแข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคหรือแมลงรบกวนจะมีโอกาสรอดตายไดสูงเมื่อนําไปปลูกในพื้นที่ ดังนั้น การดูแลรักษากลาไมจึงมีความสําคัญมาก ไมยิ่งหยอนไปกวาการดูแลรักษาภายหลังการปลูก เนื่องจากระยะเวลาในชวงเปนกลาไมมีระยะเวลาที่ส้ัน และอยูในพื้นที่คอนขางจํากัด การจัดการสามารถดําเนินการไดสะดวก แตในการจัดการโดยเฉพาะการจัดการปญหาของแมลงศัตรูพืชนั้น จําเปนตองทราบวามีแมลงอะไรบางที่เปนศัตรู พืชอาหารมีอะไรบาง

ชนิดของแมลงศัตรูกลาไม สามารถแบงโดยอาศัยลักษณะการทําลาย ซ่ึงแบงได 4 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ประเภทกินใบ 2. ประเภทดูดน้ําเลี้ยง 3. ประเภทกัดลําตน 4. ประเภทกัดราก

1. ประเภทกินใบ แมลงศัตรูพืชประเภทกินใบ เปนที่ทราบกันดีวาใบสวนที่มีความสําคัญตอกลาไมอยางมาก เพราะเปนที่ปรุงอาหารเพื่อเล้ียงสวนตาง ๆ ของตนกลา ดังนั้น การสูญเสียใบอันเนื่องจากถูกแมลงกัด กินใบ จะมีผลใหกลาไมนั้นไมสมบูรณเทาที่ควร และถาการทําลายรุนแรงจะทําใหกลาไมตายได ซ่ึงแมลงในกลุมนี้จะประกอบดวย (1) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนกินใบสัก พืชอาหาร สัก ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย ผีเสื้อกลางคืนขนาด 21-40 มม. ปกคูหนาสีน้ําตาล ปกคู

หลังสีน้ําตาลเขม มีแถบสีสมขอบแดงอยูกลาง และขอบลางของปก ตัวหนอน เมื่อยังเล็กสีเขียว พอโตขึ้นมีแถบสีดําปนน้ําเงินขาง

ลําตัวขางละแถบบนสันหลังมีแถบสีน้ําตาลปนเหลือง เมื่อใกลเขา

Page 45: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

45

ดักแดสีจะดํา และมีแถบสลับขาวขางลําตัว ใตทองสีเหลือง โตเต็มที่ยาวประมาณ 3.5 ซม. ดักแด สีน้ําตาล เขาดักแดในดินหรือเศษใบไมใตตน

อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนกัดใบสักและพับใบที่กัดเขาหากันเพื่อเปนที่อาศัย และเมื่อการกัดกินรุนแรง ทําใหใบขาดวิ่นจนเหลือแตเสนใบที่มีขนาดใหญเทานั้น ระยะตัวหนอนที่เปนชวงระยะทําอันตรายตอใบคือ 12-18 วัน ดังนั้น การระบาดเกิดไดรวดเร็วมาก

ชวงเวลาที่พบ มีนาคม ถึง ตุลาคม การปองกันกําจัด ใชเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringensis ที่มีช่ือทางการคาวา ทูริไซต

อะโกนา และแบคโตสปน ผสมน้ําฉีดพนในอัตรา 0.5 กก. ตอน้ํา 500 ลิตร โดยฉีดพนใหทั่วใบในชวงที่พบตัวหนอน

(2) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนขี้เหล็ก พืชอาหาร ขี้เหล็ก ชัยพฤกษ กัลปพฤกษ ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนผีเสื้อกลางวัน มีสีเหลืองขนาด 50-60 มม. ตัวหนอน สีเขียวสดหรือเขียวปนน้ําตาล มีเสนเขียวเขมหรือดํา ขาง

ลําตัวขางละ 1 เสน หนอนโตเต็มที่ยาวประมาณ 40 มม. ดักแด สีเขียวออนหรือสีน้ําตาลออน ติดอยูใตใบ อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนเมื่อมีมากจะกัดกินใบจนโกรน โดยจะกัดกินใบออนกอน

การระบาดเกิดขึ้นไดรวดเร็วมาก ชวงเวลาที่พบ ฤดูฝนราวเดือน พฤษภาคม ถึง ตุลาคม การปองกันและกําจัด ใชเชื้อแบคทีเรีย เชนเดียวกับการปองกันกําจัดหนอนกินใบสัก

หรือใชน้ําแชเมล็ดสะเดา 1 กก. ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพน (3) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนกินใบประดู พืชอาหาร ประดู พะยูง ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย ผีเสื้อกลางคืนขนาด 23-25 มม. ปกสีน้ําตาลเทา ตัวหนอน ลักษณะกึ่งคืบ รูปทรงกระบอกสีเขียว และมีเสนมีขาว

พาดตามยาวของลําตัว 8 เสน หนอนโตเต็มที่ยาวประมาณ 30-40 มม. ดักแด สีน้ําตาลดํา เขาดักแดในดิน

อาการที่ปรากฏ ตัวหนอน ระยะแรกจะกินผิวใบจนสังเกตเห็นรางแหสีน้ําตาลหนอนระยะตอมาจะกินใบหมดทั้งใบ โดยเฉพาะใบออนและเลี่ยง

Page 46: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

46

ไมกินใบแก ตัวหนอนเมื่อไดรับการกระทบกระเทือน จะทิ้งตัวลงจากใบโดยอาศัยเสนใยที่สรางขึ้น

ชวงเวลาที่พบ พฤษภาคม ถึง ตุลาคม การปองกันกําจัด ใชแบคทีเรียฉีดพน เชนเดียวกับหนอนกินใบสัก หรือใชแมลงตัว

ห้ําที่ขอการสนับสนุนจากศูนยวิจัยและควบคุมศัตรูพืชปาไม ที่ตั้งอยูในจังหวัดลําปาง ขอนแกน และจันทบุรี

(4) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนกินใบนนทรี พืชอาหาร นนทรี หางนกยูงฝรั่ง สีเสียดแกน ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย ผีเสื้อกลางคืนขนาด 27-42 มม. ปกคูหนาสีน้ําตาลเขม

ปกคูหลังสีจางกวา ตัวหนอน ตัวหนอนสีเขียวตองออน มีลายสลับกับสีขาว มีจุดสีดํา

ขางลําตัว ขางละ 8 จุดสวนหัวสีเหลือง ดานขางของหัวสีเขม ดักแด สีน้ําตาลเขม เขาดักแกที่ปลายใบ อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนกินใบจนโกรนเหลือแตกานใบ ตัวหนอนพบเกาะแนบ

แนนกับกานใบเมื่อถูกรบกวนจะทิ้งตวั ชวงเวลาที่พบ เมษายน ถึง ตุลาคม การปองกันกําจัด เชนเดียวกับหนอนกินใบประดู (5) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนมวนใบ พืชอาหาร สะเดา สะเดาเทียม ยูคาลิปตัส ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนผีเสื้อปกตัดสีเหลืองปนสม ขนาด 17-23 มม. ตัวหนอน ระยะแรกสีเขียวออน ตอมาเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลออน มี

ตุมบนลําตัว แตละตุมมีขนเสนเล็ก ๆ ติดอยู ดักแด สีเขียวถึงน้ําตาล อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนจะชักใยดึงเอาใบออนที่ยอดของกลาไมมารวมกันเปนที่

อาศัย และเปนอาหาร ทําใหเกิดเปนรอยขาดวิ่น ชวงเวลาที่พบ ตลอดป การปองกันกําจัด ใชสารเคมี โมโนโครโตฟอส อัตรา 35-50 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร หรือ

แลนเนท 10-15 ก. ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนที่ยอด (6) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนมวนใบไผ พืชอาหาร ไผทุกชนิด

Page 47: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

47

ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย ผีเสื้อกลางคืนขนาด 20-23 มม. ปกสีเหลืองออน ขอบปกหนาและหลังมีลายหยักสีน้ําตาล 3 เสน

ตัวหนอน เพิ่งฟกจากไข มีสีครีม ตอมาเปลี่ยนเปนสีเขียวออน มีจุดสีดําและขนออน ๆ หัวสีน้ําตาลดํา ดักแด สีน้ําตาล

อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนระยะแรกอยูรวมกันเปนกลุม กินเฉพาะผิวใบ หลังจากตัวหนอนโตขึ้น จึงแยกออกหากิน โดยการดึงใบที่ยอดมารวมกันดวยใยที่หนอนสรางขึ้น จนเห็นเปนหลอดชัดเจน แตละหลอด มีหนอนอาศัย 1-3 ตัว และกินผิวใบจนเห็นเปนสีน้ําตาล

ชวงเวลาที่พบ กรกฎาคม ถึง ธันวาคม การปองกันกําจัด สารเคมี เฟนิโตรไทออน หรือ คารบาริล ผสมสารจับใบ ในอัตราที่

แนะนําไวในฉลาก ฉีกพนที่ใบในขณะที่หลอดใบยังมีสีเขียวอยู (7) ช่ือแมลงศัตรูพืช ดวงดอมทอง พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนดวงงวงสีเหลือบ ลักษณะเปนฝุนตามตัว มีสีตาง ๆ

เชน น้ําตาลปนเขียว เขียวปนทอง เขียวปนทองแดง เปนตน ขนาดประมาณ 13-15 มม.

ตัวหนอน สีขาวอมเทา โตเต็มที่ประมาณ 15-20 มม. อาการที่ปรากฏ ดวงกัดกินใบพืชจนพรุนไปทั้งใบ ตัวดวงมีอยูรวมกันเปนกลุม ทํา

ใหการทําลายรุนแรง ปกติไมคอยวองไว ถาถูกรบกวนจะทิ้งตัวลงสูพื้นดิน พบตัวดวงไดงายในเวลากลางวัน

ชวงเวลาที่พบ ตลอดป การปองกันกําจัด สารเคมี โมโนโครโตฟอส อัตรา 30 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพน

หรือ คารบาริล 40 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร (8) ช่ือแมลงศัตรูพืช ดวงกุหลาบ พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด ลักษณะชองแมลง ตัวเต็มวัย เปนดวงสีน้ําตาลปนเทาหรือสีโกโก ลําตัวคอนขางปอม

แบน สวนหัวกวางเกือบเทาลําตัว ขนาดประมาณ 12-15 มม. ตัวหนอน สีขาวครีม สวนหัวสีน้ําตาล ลําตัวชอบขดเปนตัว C อาการที่ปรากฏ ดวงกัดกินใบในเวลากลางคืน และหลบซอนตัวในดินหรือซากพืช

ในเวลากลางวัน ใบที่ถูกกัดจะเปนรูพรุน ชวงเวลาที่พบ ตลอดป

Page 48: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

48

การปองกันกําจัด เชนเดียวกับดวงดอมทอง แตควรดําเนินการในเวลาเย็น

(9) ช่ือแมลงศัตรูพืช ดวงยีราฟ พืชอาหาร ตะเคียนทอง ยางนา ตะแบก พะยอม พลวง อินทนิลบก อินทนิลน้ํา

หูกวาง เต็ง รังมะมวง ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนดวงงวง ขนาด 5-8 มม. สีน้ําตาลเขม มีจุดสีเหลืองที่

ปกขางละ 3 จุด กลางเปนจุดใหญ เปนรูปเกือกมา สวนนอกยื่นออกไปคลายเปนคอ สวนหัวมีตาใหญโปนเวลาเกาะที่ใบจะชูหัวทํามุม 45 องศา

ตัวหนอน สีครีม ไมมีขา หัวสีน้ําตาล โตเต็มที่ยาว 5 มม. อาศัยอยูภายในหลอด

ดักแด สีครีม อาการที่ปรากฏ ตัวดวงกินสวนผิวใบออน จนเห็นเปนหลุมกระจายทั่วไป และกัด

ใบของพืชอาหาร แลววางไข 1-3 ฟอง ไวที่ขอบใบ และมวนใบเขาหาจนแนน เห็นเปนหลอดสั้น ๆ หอยติดอยูกับใบใหญ หลอดที่เพิ่งมวนใหม ๆ มีสีเขียว หลังจากนั้น 1-2 วัน จะเปลี่ยนเปนสีดําและแหง ตัวหนอนที่ฟกจากไขจะกินใบภายในหลอดและในที่สุด หลอดจะรวง

ชวงเวลาที่พบ กันยายน ถึง พฤศจิกายน การปองกันกําจัด เก็บหลอดตัวออนเผาทําลาย หรือใชสารเคมี โมโนโครโตฟอส

อัตรา 20 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร พนใหทั่วใบ โดยเฉพาะใบออน เพื่อทําลายตัวดวงในชวงที่พบตัวดวงที่ตนกลา

(10)ช่ือแมลงศัตรูพืช ดวงอกเหลือง พืชอาหาร ซอ ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนดวงขนาดประมาณ 14-15.5 มม. เมื่อลอกคราบใหม

ปกและอกมีสีเหลืองสด ปกจะเปลี่ยนเปนสีสมภายในเวลาชั่วโมงคร่ึง สวนอกเปลี่ยนเปนสีสมในหนึ่งอาทิตยตอมา ตัวหนอน สีเหลืองสม ระยะแรกไมมีหนวด ลําตัวออนนุมเปนปลอง เมื่อลอกคราบ ลําตัวจะมีสีเขมขึ้นจนเปนสีดํา มีแถบเหลืองพาดยาวที่กลางสันหลัง รอบตัวมีหนามยาวออน ๆ สีขาว ลําตัวคอนขางแบนอุยอาย เคลื่อนไหวชา การลอกคราบแตละครั้ง คราบจะติดอยูที่ปลายลําตัว รวมกับสิ่งขับถาย ทําใหดูคลายหาง

Page 49: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

49

อาการที่ปรากฏ ตัวหนอนระยะแรก จะกินสวนของผิวใบทางทองใบ และเมื่อหนอน โตขึ้นจะกัดใบจนเปนรูพรุนทั่วใบ การระบาดเกิดไดรุนแรงในฤดูฝน

ชวงเวลาที่พบ ใชสารเคมี คารบาริล อัตรา 40 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนเพื่อทําลาย ตัวดวง และตัวหนอน

2. ประเภทดูดน้ําเลี้ยง แมลงที่มีลักษณะการทําลายโดยการดูดน้ําเลี้ยง มักเปนแมลงที่มีปากเปนจงอยแหลม เพื่อการเจาะแทงเขาไปดูดน้ําเลี้ยงจากเนื้อเยื่อภายใน ซ่ึงสวนของกลาไมที่ไดรับอันตราย คือ ใบ ยอด ลําตน และราก มีผล ทําใหใบหรือยอดแหงและตายในที่สุด โดยปกติแมลงที่พบในกลุมนี้มักมีขนาดเล็กและอยูรวมกันเปนกลุม ดังรายละเอียดตอไปนี้ (1) ช่ือแมลงศัตรูพืช เพล้ียแปง พืชอาหาร จามจุรี ลักษณะของแมลง เปนแมลงขนาดเล็ก เคลื่อนไหวเชื่องชา สามารถผลิตไขและใยขาว

ออกมาหอหุมตัว ทําใหเปนแปงขาว พบตามกิ่งกานใบ ตาใบ อาการที่ปรากฏ พบเปนแปงขาวติดอยูที่กานใบ ยอด และทองใบ มักพบรวมกับมด

ดํา และมดแดง ชวงเวลาที่พบ สิงหาคม ถึง ธันวาคม มกราคม ถึง พฤษภาคม การปองกันกําจัด ใชสารเคมี เอ็นโดซัลเฟน ไซเปอรเมธริน หรือ ไพรินมิฟอสเมธริล

ในการปองกันกําจัด (2) ช่ือแมลงศัตรูพืช เพล้ียออน พืชอาหาร ชัยพฤกษ ประดู มะคาโมง มะคาแต ลักษณะของแมลง เปนแมลงที่มีขนาดเล็กประมาณ 1-2 มม. มีทั้งชนิดมีปกและไมมี

ปก สีครีมจนถึงสีเขียวออน อาการที่ปรากฏ พบเกาะเปนกลุมที่บริเวณยอด มักพบรวมกับมด และเกิดราดํา

เนื่องจากการขับถายน้ําหวานของเพลี้ยออน ใบออนและยอดหงิกงอ ไมเจริญ การแตกใบออนไมสมบูรณ

ชวงเวลาที่พบ สิงหาคม ถึง ธันวาคม มกราคม ถึง พฤษภาคม การปองกันกําจัด ใชสารเคมี มาลาไธออน ฉีกพนหางกันครั้งละ 7 วัน

(3) ช่ือแมลงศัตรูพืช เพล้ียไฟ พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด

Page 50: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

50

ลักษณะของแมลง เปนแมลงขนาดเล็กตัวผอมบางมาก ยาวประมาณ 2-3 มม. ตัวออนสีครีม ตัวเต็มวัยสีดําวองไวมาก หลบซอนตามซอกใบ และกานใบ

อาการที่ปรากฏ ทําใหเกิดอาหารขอบใบไหม หงิกงอ รวมทั้งยอดออนหงิกงอ ชวงเวลาที่พบ ตลอดทั้งป การปองกันกําจัด ใชสารเคมี ฟอสซ อัตรา 50 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร หรือ ไดคารโซส

อัตรา 40 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนที่ใบออน 3. ประเภทกัดลําตนและยอด แมลงในกลุมนี้จะมีเขี้ยวที่แข็งแรง สามารถกัดลําตนหรือยอดของกลาไมใหขาด ทําใหการเจริญเติบโตของกลาไมลดลง ตองยืดเวลาในการบํารุงรักษาเพิ่มขึ้น แมลงในกลุมนี้ไดแก (1) ช่ือแมลงศัตรูพืช ตั๊กแตน พืชอาหาร กลาไมทุกชนดิ ลักษณะของแมลง ทั้งระยะเต็มวัยและตัวหนอนไมมี ลักษณะที่แตกตางกันนัก

กลาวคือ ตัวเต็มวัยมีปกเห็นชัด สวนตัวออนไมมีปก มีทั้งประเภทหนวดสั้นและหนวดยาว มีทั้งสีเขียวกลมกลืนกับสีของใบ และสีน้ําตาล

อาการที่ปรากฏ ตนกลาที่ไดรับอันตรายจะขาดตรงบริเวณที่ถูกกัด หรือหักพับในกรณีที่กัดไมขาด

ชวงเวลาที่พบ ตลอดทั้งป การปองกันกําจัด ใชเหยื่อพิษซึ่งเตรียมจากเซฟวิน 125 กรัม ผสมน้ํา 20 ลิตร

กากน้ําตาล 2 ลิตร แกลบ 60 ลิตร ซังขาวโพด 30 ลิตร หรือใชมันสําปะหลังสดสับเปนชิ้นขนาด 1-5 ลบ ซม. แทนซังขาวโพดก็ได คลุกเคลากัน แลวนําไปวางเปนแนวกวาง 1 ม. แตละแนวหางกัน 40 ม. โดยตั้งใหอยูเหนือลมในชวงที่พบตัวเต็มวัย หรือพนที่กลาไมดวย ซูมิไธออน หรือบาซูดิน อัตรา 20 ลบ. ตอน้ํา 20 ลิตร

Page 51: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

51

4. ประเภทกัดกินราก แมลงในกลุมนี้ เปนแมลงที่อาศัยในดิน กัดกินสวนของรากหรือปลายราก ทําใหตนกลาไมสามารถดูดน้ําและแรธาตุมาเลี้ยงลําตนได ทําใหตนกลาเหี่ยวแหงและตายในที่สุด แมลงในกลุมนี้คือ (1) ช่ือแมลงศัตรูพืช หนอนดวงกัดราก พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัย เปนดวงปกแข็ง ลําตัวอวนปอม หนวดแบบแผนใบไม

ประกบกัน ตัวหนอน สีขาว หัวกะโหลก โตกวาง ลําตัวยาว เคลื่อนไหวชา มีขา

ส้ัน 3 คู ไมมีขาเทียมลําตัวมักจะงอเปนรูปตัว C อาการที่ปรากฏ ตนกลาเริ่มเหี่ยวเฉา ใบมีสีเหลือง แตไมทิ้งใบ ตอมากลาจะตาย เมื่อ

ขุดดูจะพบตัวหนอนสีขาวที่บริเวณราก ชวงเวลาที่พบ มีนาคม ถึง พฤศจิกายน การปองกันกําจัด ใชสารเคมี คารโบฟูราน โรยในแปลงเพาะ (2) ช่ือแมลงศัตรูพืช ปลวก พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด ลักษณะของแมลง เปนแมลงสังคมที่มีการแบงแยกหนาที่ชัดเจน ปลวกที่พบสวนใหญ

มีสีขาวขุนและเหลือง หวัสีน้ําตาล เห็นเขีย้วยาวชัดเจน อาการที่ปรากฏ ตนกลาที่ไดรับอันตรายมักเปนตนกลาที่ออนแอ เนื่องจากไดรับผล

จากการแหงแลง กลาไมจะแสดงอาการเหี่ยวเฉาอยางรวดเร็ว และจะตายในที่สุด

ชวงเวลาที่พบ ธันวาคม ถึงเมษายน การปองกันกําจัด ใชสารเคมี คลอรเดน หรือ คลอรไพริฟอส หรือ เลนเทร็กซ ผสมน้ํา

ราดในแปลงเพาะ (3) ช่ือแมลงศัตรูพืช จิ้งหรีด พืชอาหาร กลาไมทุกชนิด ลักษณะของแมลง ตัวเต็มวัยและตัวออน สีดํา หรือน้ําตาลดํา อาการที่ปรากฏ ตัวออนและตัวเต็มวัย ขุดรูอาศัยอยูใตดิน กัดราก และคอรากของ

ตนกลาจนขาดใบเหี่ยวเฉาและตาย ชวงเวลาที่พบ ตลอดทั้งป การปองกันกําจัด ใชเหยื่อพิษเชนเดียวกับตั๊กแตน

Page 52: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

52

แมลงศัตรูพืชที่พบเปนประจํา

1. ช่ือสามัญ ปลวก (termite , white ant) อันดับ lsoptera

ความสําคัญ ปลวกทําความเสียหายแกบานเรือน และสิ่งกอสรางมากมาย ตลอดจนถึงตนไมยืนตนเชนในป พ.ศ. 2522 ปลวกกัดกินเหงาของกลาสักในแปลงเพาะตายไปเปนจํานวนมากทําใหกลาที่จะใชปลูกในปนั้นขาดแคลนมาก และตั้งแตป 2526 เปนตนมา มีรายงานวา ยูคาลิปตัสที่ปลูกทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีอายุระหวางตั้งแตยายปลูกจนถึงอายุ 2 ป ไดรับความเสียหายจากปลวกอยูเปนประจํา ปจจุบันปลวกเปนปญหามากกับตนไมหลายชนิดที่มีอายุนอย(1-3 ป) ที่ปลูกในที่แหงแลง เพราะปลวกจําเปนตองเสาะแสวงหาอาหารและน้ําในชวงฤดูแลง แตปลวกก็ยังใหประโยชนแกมนุษยเหมือนกัน เชน พวกที่เพาะเห็ดในรังของมัน ที่มนุษยนํามาใชเปนอาหารชาวบานตามทองถ่ินตาง ๆ เก็บเห็ดโคนขาย ทํารายไดใหแกครอบครัวปหนึ่ง ๆ เปนจํานวนไมนอย ในป พ.ศ. 2530 นี้ ปลวกที่พบในประเทศไทยมีทั้งหมด 92 ชนิด อาศัยการจําแนกปลวกตาม Roonwall (1970) และผูเชี่ยวชาญเรื่องปลวก สามารถแยกปลวกออกโดยทั่วไปไดเปน 2 พวก คือพวกที่อาศัยในดิน(ground dweller termites) และพวกที่อยูอาศัยอยูในไม (wood dweller termites) ปลวกที่อาศัยอยูในไม (wood dweller termites) จะอยูเฉพาะในไมบนดินเทานั้น ไมนั้นอาจมีชีวิตหรือไมมีชีวิตก็ได ซ่ึงมีอยู 2 ประเภทคือ ประเภทที่ตองการความชื้นในไมสูง(damp wood termites) ไดแก Katoermes, Neotemes และ Gryptotermes เปนตน สวนประกอบที่ตองการความชื้นนอย (dry wood termites) ไดแก Cryptoermes domesticus และ C. thailandis เปนตน ปลวกทั้ง 2 ชนิดนี้ พบในกรุงเทพฯ อาศัยอยูตามคานไมตามพื้นไมที่แหง หรือตามไมโครงหลังคา ทําใหเกิดขุยไมลักษณะเปนเม็ดเล็กขนาดเทา ๆ กัน หลนกองอยูตามพื้น จะตามหารูที่มีขุยไมหลนไดจากจุดที่ขุยไมกองอยูแลว มองขึ้นตรงเพดานจะพบพอดี ปลวกที่อาศัยอยูในดิน (ground dweller termites) รวมถึงปลวกที่ทํารังอยูใตดิน แตทําทางเดินขึ้นมาหาอาหารบนดิน หรือทํารังอยูในไมที่อยูติดตอกับดิน และตองลงไปในดินหาความชื้น (Subterran-termites) ปลวกจําพวกนี้ จะมีความสัมพันธกับเห็ดรา และทําความเสียหายแกอาคารบานเรือน ไมลมขอนนอนตามพื้นดินและตนไมที่ยืนตนอยูได เชนMacrotermes, Odontotermes, Microtermes และ Coptotermes เปนตน สําหรับปลวกที่ทําความเสียหายแกอาคารบานเรือนในกรุงเทพฯ เปนปลวกชนิด Coptotermes havilandi และ C.gestroi หัวและตัวของ C.haviamdi จะผอมบางกวา C.gestroi ชอบสรางรังดินพอกอยูตามคานไม สวน C.havilandi สวน Chavilandi จะทําเปนทางเดินใหเห็นเทานั้น

Page 53: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

53

การปองกันและกําจัด ใชสารเคมีโรยรอบแปลงเพาะ หรือโคนตนไมในสวนปา หรือฉีดพนตามบริเวณที่ปลวกอาศัยอยูแลวแตความเหมาะสม สารเคมีทั่วไปใชปองกันกําจัดปลวกได ไดแก ดีลคริน เอนดริน ออลริล และบีเอชชี แตในปจจุบันยาเคมีจําพวกนี้ได ถูกสั่งหามใช และหามขายแลว ในหลายประเทศ เพราะมีพิษตกคางนาน แตยาประเภทนี้ ที่ยังมีผูนิยมใชมาก เพราะไดผลดี และยังไดรับอนุญาตใหใชอยูเฉพาะในการกําจัดปลวกมี คลอรเดน เฮปตาคอลร และเซลไครท(ดีลคริน) ฯลฯ ยาชนิดใหมซ่ึงเปนสารออรกาโนฟอสเฟตที่ใชกําจัดปลวกแทนสารออรกาโนคลอรีนไดคือ คลอรไพริฟอส หรือ มีช่ืออ่ืน ๆ วา เดอรสแบน ลอรสแบน และดาวโก 179 อยางไรก็ดีตามหลักการปองกันและเศรษฐกิจการลงทุน การกําจัดปลวกมิใชของงาย เพราะหลวกซุกซอนอยูทั่วไป สําหรับอาคารบานเรือน ซ่ึงมีส่ิงปลูกสรางสลับซับซอน จําเปนตองใชผูมีความชํานาญในการกําจัด เพราะยกเคมีเหลานี้มีอันตรายสูง ไมควรใชเมื่อไมมีความจําเปน ในที่ที่เชื่อแนวามีปลวกอยูควรปองกันอาคารกอนการปลูกสราง จะทําไดสะดวกกวา นอกจากนี้ การเลือกชนิดไมที่ความทนทานตอการเขาทําลายของปลวก ก็มีสวนชวยไดมาก ตัวอยางเชน ไมเหียง ตะเคียนหนู ตาเสือ ตะแบกเลือด และจันทรดง จะทนทานตอการทําลายของปลวก Coptptermes gestroi ไดมากกวาไมยางพารา ยาง ยมหิน เคี่ยมคะนอง พลวง และ กระบก 2. ช่ือสามัญ มอดเจาะไมไผ (bamboo borer) วงศ Bostrychidae พืชอาหาร ไมไผ ความสําคัญ เปนศัตรูของไมไผ แพรกระจายทั่วไปในเขตรอน ในประเทศไทย

พบทําลายไมไผชนิดตาง ๆ ทั่วทุกภาค ลักษณะทั่วไป มอดรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก ตัวหนอนที่โตเต็มที่มีขนาด 3-3.8

มม. ลําตัวสีเหลืองออนสวนตัวมอดมีขนาดลําตัวยาว 2.5-3.5 มม. สีน้ําตาลเปนมัน สวนหัวและอกสีดํา ฐานปกมีคอนขางแดง หนวดมี 10 ปลอง สวนปลาย 3 ปลอง มีขนาดใหญ หนวดปลองที่ 2 ส้ันกวาปลองแรก ปกขรุขระ

ชีวประวัติและนิสัย มอดชนิดนี้ ชอบทําลายไมไผ สวนที่ถูกทําลายจะเปนผงคลายแปงละเอียดอัดอยูภายใน ปหนึ่ง ๆ พบหลายรุน โดยเฉพาะในแถบรอน พบ 5-7 รุน หลังจากผสมพันธุแลว ตัวเมียจะเจาะเขาไปวางไขในไมประมาณ 20 ฟอง ภายใน 2-3 วัน จะฟกออกมา ตัวดวงอาจจะบินไปหาที่วางไขใหม หรืออาจจะเขาไปในรูเดิม ที่จะเจาะออกมาเพื่อกลับเขาไปวางไขในไมไผเดิม

Page 54: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

54

การปองกันกําจัด การปองกันมอดชนิดนี้ ที่ชาวบานทํากันโดยการแชไมไผในน้ํา หรือเผาสวนผิวเพื่อลดปริมาณแปง และทําใหแหงซึ่งใชไดผลดี

ฉวีวรรณ หตุะเจริญ และสุรชัยชลดํารงกุล. 2520.

การปองกันกําจัดแมลงแบบชีววิธี

แมวาแมลงจะมีการสืบพันธุที่มีประสิทธิภาพสูงมาก สามารถแพรพันธุเพิ่มปริมาณไดอยางรวดเร็ว แตแมลงก็มีศัตรูธรรมชาติมากมายที่คอยควบคุมประชาการของแมลงใหอยูในสมดุล ศัตรูธรรมชาติของแมลงไดแก ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เชน สภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปเปนอันตรายตอแมลง และอีกอยางไดแกส่ิงมีชีวิตชนิดอื่นที่เปนศัตรูของแมลง ที่สําคัญก็คือแมลงดวยกันเอง แมลงหลายชนิดที่กินหรืออยูภายในภายนอกตัวของแมลงชนิดอื่น แมลงเหลานี้เราเรียกวาตัวห้ําและตัวเบียน ซ่ึงปกติแลวจะมีอยูจํานวนมากพอที่จะควบคุมจํานวนประชากรของแมลงชนิดหนึ่ง ๆ ใหอยูในสมดุล คือ ไมทําใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ แตมาถึงปจจุบันมนุษยไดทําลายแมลงที่เปนประโยชนไปเสียมาก ทั้งที่ฆามันโดยตรงและที่ไปรบกวนเปลี่ยนสภาพความเปนอยู ซ่ึงกระทบกระเทือนตอวงจรชีวิตของมัน จนทําใหแมลงตัวห้ําและตัวเบียนนอยลงเรื่อย ๆ จนไมเพียงพอจะกําจัดแมลงศัตรูพืช ปจจุบันไดมีการชวยเพิ่มปริมาณแมลงตัวก้ําและตัวเบียน เชน การผลิตแมลงเหลานี้แลวนําไปปลอยในธรรมชาติ เรียกวิธีการนี้วา การปองกันกําจัดแมลงแบบชีววิธี ซ่ึงเปนวิธีการที่ดีที่สุดเพราะไมเปนอันตรายตอผูใชและสภาพแวดลอมตาง ๆ

แมลงตัวห้ํา แมลงตัวห้ํา หมายถึง แมลงที่กินแมลงเปนอาหาร แมลงตัวห้ําจะมีลักษณะสําคัญตางจากแมลงตวัเบียน คือ

1. สวนมากมีขนาดใหญและแข็งแรงกวาเหยือ่ที่ใชเปนอาหาร 2. สวนมากกินเหยื่อโดยการกดักินตวัเหยื่อ ทําใหเหยื่อตายทันท ี3. ตัวห้ําจะกินเหยื่อหนึ่งตวัหรือมากกวาในแตละมื้ออาหาร ดังนั้นจึงกินเหยื่อย ไดหลายตวัตลอดชวงชวีติการเจริญเตบิโตของมัน 4. ตัวห้ําจะอาศยัอยูคนละที่กับแมลงที่เปนเหยื่อ และออกหาอาหารในทีต่าง ๆ กัน แตละมื้อ

แมลงตัวห้ํามีมากมายหลายชนิด มีอยูในเกือบทุกกลุมของแมลง เชน ตั๊กแตนตําขาว ดวงบางชนิด แมลงวันบางชนิด ตอแตนและมวนบางชนิด สวนแมลงปอ และแมลงชางนั้นเกือบทุกชนิดเปนแมลงตัวห้ําที่สําคัญทาการเกษตร แมลงตัวห้ําแบงเปน 2 พวกใหญ ๆ คือ พวกท่ีมีความวองไว กระตือรือรนในการออกหาเหยื่อ พวกนี้มักจะมีอวัยวะที่ดัดแปลงไปเพื่อชวยในการจับเหยื่อ

Page 55: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

55

เชน มีขายื่น ยาวสําหรับจับเหยื่อ เชน ตั๊กแตนตําขาว บางก็มีตาใหญเพื่อจะไดเห็นเหยื่อไดชัดเจน เชน แมลงปอ เปนตนอีกพวกไดแก พวกที่กินเหยื่ออยูกับที่ เชน ดวงเตาลายกินเพลี้ยออน ซ่ึงไมมีอวัยวะดัดแปลงเปนพิเศษแตอยางใด แลงตัวห้ําที่มีปากแบบกัดกินจะกัดเหยื่อเปนชิ้น ๆ แลวเคี้ยวกินเปนอาหาร เชน ตั๊กแตน แมลงปอ เปนตน สวนตัวห้ําที่มีปากแบบแทงดูดจะแทงปากเขาไปดูดกินของเหลวตาง ๆ ในตัวแมลงจนแหงเหลือแตซากแลวทิ้งไป เชน มวนเพชฌฆาต แมลงบางชนิดเปนแมลงตัวห้ําทั้งในระยะที่เปนตัวออนและตัวเต็มวัย เชน แมลงปอ ดวงดิน แตแมลงบางชนิดเปนตัวห้ําเฉพาะตอนเปนตัวออนเมื่อโตเต็มวัยจะกินน้ําหวานแทนหรือเกสรดอกไม เชน แมลงวันดอกไม และบางชนิดก็เปนตัวห้ําตอนเปนตัวเต็มวัยในขณะที่เปนตัวออนจะกินซากพืชซากสัตวเปนอาหาร เชน แมลงวันหัวบุบ ไดมีการนําแมลงตัวห้ํามาใชกําจัดแมลงศัตรูทางการเกษตรประสบผลสําเร็จมาแลวหลายตัวอยาง เชน ในตางประเทศไดใชดวงเตาลายทําลายเพลี้ยแปงในสวนสม ดวยเตายังสามารกําจัดเพลี้ยออนไดเปนอยางดีมีการผลิตดวงชนิดนี้เพื่อการคา เกษตรกรสามารถหาซื้อแลวนํามาปลอยในสวนของตนเองได

Page 56: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

56

ตารางที่ 6 แมลงที่เปนตัวห้ําที่สําคัญกลุมใหญ ๆ และเหยื่อที่กนิ แมลง ระยะทีเ่ปนตวัห้ํา เหยื่อทีก่ิน ตั๊กแตน ตัวออนและตวัเต็มวัย หนอนและแมลงชนิดตาง ๆ

แมลงปอ ตัวออนและตวัเต็มวัย แมลงตัวเล็ก ๆ มวน :

มวนเพชฌฆาต ตัวออนและตวัเต็มวัย แมลงชนิดตาง ๆ มวน damsel ตัวออนและตวัเต็มวัย หนอนผีเสื้อและแมลงชนิดอื่น ๆ

ดวง : ดวงดนิ ตัวออนและตวัเต็มวัย แมลงที่อาศัยในดิน

ดวงเตา , เตาลาย ตัวออนและตวัเต็มวัย เพล้ียออนเพลีย้หอย ดวงเสือ ตัวออนและตวัเต็มวัย แมลงชนิดตาง ๆ

ดวงกนกระดก ตัวออนและตวัเต็มวัย แมลงที่อาศัยในดิน แมลงวัน :

แมลงวันหัวบบุ ตัวเต็มวัย แมลงชนิดตาง ๆ แมลงวันดอกไม ตัวออน เพล้ียออน ตวัออนมด ปลวก

แมลงเจิง ตอ , มด :

ตอรัง ตัวเต็มวัยหาเหยื่อมาเลี้ยงตวัออน หนอนผีเสื้อ ตอหมารา ตัวเต็มวัยหาเหยื่อมาเลี้ยงตวัออน หนอนผีเสื้อ เพล้ียออน

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. www.doae.go.th/library/html/pest_all.htm. 2548 : ออนไลน

แมลงตัวเบยีน แมลงตัวเบยีนเปนศัตรูธรรมชาติที่สําคัญทางเศรษฐกิจของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด แมลงตัวเบยีนจะกนิแมลงชนิดอื่นเปนอาหารในลักษณะที่แตกตางจากแมลงหวัห้ํา คือ

1. อาศัยกินอยูตัวเหยื่อภายนอกหรือภายใน และอาศัยกินอยูในลักษณะนี้เปนเวลานานตลอดวงจรชีวติ หรืออยางนอยก็ระยะหนึ่งของวงจรชีวิต

2. ตัวเบียนมีขนาดเล็กกวาเหยื่อมาก สวนใหญเหยื่อหนึ่งตวัจะมีตัวเบยีนอาศัยอยูจํานวนมากมาย

Page 57: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

57

3. ตัวเบียนจะคอย ๆ ดูดกนิอาหารจากเหยื่ออยาง ชา ๆ และทําใหเหยื่อตายเมื่อตัวเบียนเจริญเติบโตเตม็ที่แลว

4. ใชเหยื่อเพยีงตวัเดยีวตลอดระยะการเจริญเติบโตของตัวเบียน

แมลงตัวเบียนของแมลงดวยกันเองแตกตางจากแมลงตัวเบียนสัตวชนิดอื่น ๆ คือ ทําใหแมลงที่เปนเหยื่อตายในที่สุด แตแมลงตัวเบียนชนิดอื่น ๆ เชน หมัด ไรไก หรือเหา จะแคดูดเลือดและแรธาตุอาหารกอใหเกิดอันตรายบางแตไมถึงกับตาย ความสัมพันธระหวางแมลงตัวเบียนและแมลงศัตรูพืชนั้นคอนขางเฉพาะเจาะจงบางชนิดจะทําลายแมลงเพียงชนิดเดียวเทานั้นเฉพาะแมลงในกลุมพวกตอแตนและแมลงวันบางชนิดเทานั้นที่เปนแมลงตัวเบียน แมลงตัวเบียนจะทําลายเหยื่อในระยะตาง ๆ กัน บางชนิดทําลายไขของเหยื่อบางชนิดทําลายตัวออนหรือดักแด โดยปกติจะไมทาํลายตัวเต็มวัยของแมลง แมลงสวนมากเปนตัวเบียนตอนเปนตัวออน เมื่อเปนตัวเต็มวัยจะหากินเปนอิสระ ตัวเบียนบางชนิดอาศัยในตัวแมลงและเจริญเติบโต โดยใชน้ําเลี้ยงในตัวแมลงเปนอาหารแตบางชนิดก็อาศัยอยูภายนอกและทําแผลขึ้นที่ผิวหนังของเหยื่อดูดกินน้ําเลี้ยงจากภายใน

วงจรชีวิตของแมลงตัวเบียนเริ่มตนจากตัวเบียนมาวางไข โดยใชอวัยวะวางไขแทงเขาไปวางไขในตัวเหยื่อหรือบนตัวเหยื่อ สวนมากจะวางไขหลายฟองแลวจากไปหาเหยื่อตัวอ่ืน เพื่อวางไขตอไป โดยมิไดดูแลตัวออนที่จะฟกออกมา แตตัวเบียนบางตัวจะปลอยสารพิษออกมากอนเพื่อจะใหเหยื่อเปนอัมพาตจะไดวางไขไดงายขึ้นและอาจนําเหยื่อที่มันวางไขบนตัวแลวมาใสไวในรังที่มันสรางขึ้นเพื่อใหแนใจวาตัวออนที่ฟกออกมาจะมีทั้งอาหารและที่อยูอาศัยปลอดภัยจากศัตรูตัวออนของแมลงตัวเบียนเมื่อฟกออกจากไขแลวจะกินแรธาตุอาหารจากตัวเหยื่อ โดยเหยื่อก็จะยังคงมีชีวิตตอไปเรื่อย ๆ พรอมกับตัวเบียนก็เจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อแมลงตัวเบียนเติบโตเต็มที่แลวจะเขาดักแดอาจเขาดักแดภายในหรือภายนอกตัวแมลงซึ่งถึงขณะนี้แมลงที่เปนเหยื่อจะดูดกินไปหมดแลว อาจเหลือเพียงเปลือกผนังลําตนเทานั้น จากนั้นตัวเบียนก็จะเจริญเปนตัวเต็มวัย ซ่ึงมีชีวิตอยูเปนอิสระกินน้ําหวานดอกไมเปนอาหาร

ในธรรมชาติมีแมลงตัวเบียนหลายชนิดชวยกําจัดแมลงศัตรูพืชอยูแลว แตมนุษยเราก็ชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหมากวิ่งขึ้น มีการผลิตแตนเบียนหลายชนิด แลวนําไขไปปลอยในแปลงปลูกพืช เชน แตนเบียนฝอยไตรโคแกรมมา ขึ้นเปนแตนเบียนไขของหนอนผีเสื้อหลายชนิด ในประเทศไทย ไดมีการผลิตแตนเบียนชนิดนี้ในไขของผีเสื้อขาวสาร แลวนําไปปลอยในแปลงออย เพื่อใชกําจัดหนอนกอทําลายออย นอกจากนี้มีการนําแตนเบียนจากที่หนึ่งไปปราบแมลงซึ่งกําลังระบาดอีกที่หนึ่ง ทั้งยังมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายและจําหนาย แตนเบียนที่เปนประโยชนทางการเกษตรหลายชนิดดวย

Page 58: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

58

ตารางที่ 7 แมลงตัวเบียนทีสํ่าคัญ

แมลง ตัวเบียนภายใน หรือภายนอก เหยื่อ แมลงวัน :

แมลงวันกนขน ภายใน หนอนผีเสื้อ หนอนดวง มวน แมลงวันหลังลาย ภายใน แมลงชนิดตาง ๆ

ตอเบียน แตนเบียน : ตอเบียน ( Ichneumons) ภายในและภายนอก หนอนเสื้อ ตวัออนตอเบยีน

แตนเบยีน แตนเบยีน (Broconids) ภายใน หนอนผีเสื้อ หนอนแมลงวนั

เพล้ียออน แตนเบยีนฝอย (chalcidid) ภายในและภายนอก หนอนผีเสื้อ หนอนแมลงวนั

หนอนดวง แตนเบยีนไตรโคแกรมมา

(Trichohramma) ภายใน ไขของแมลงชนิดตาง ๆ ตัวไตโลปคส : ภายใน แมลงพวกเพลีย้ มวน ตั๊กแตน

(Strepssiptera) ตอแตน

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. www.doae.go.th/library/html/pest_all.htm. 2548 : ออนไลน

หนาท่ีของแรธาตุอาหารที่จําเปนตอพชื แรธาตุอาหาร หนาที ่คารบอน คารบอนเปนสวนประกอบโมเลกุลพื้นฐานของคารโบไฮเดรท โปรตีน ไลปด และ นิวคลีอิค อะซิด ออกซิเจน ออกซิเจนคลายกับคารบอนในสวนที่มีอยูในสารประกอบอินทรียทั้งหมดในสิ่งที่มี ชีวิต ไฮโดรเจน ไฮโดรเจนแสดงบทบาทเปนศูนยกลางในการเผาผลาญ มีความสําคัญในความ

สมดุลของไอออน และเปนสวนลดหลักของโมเลกุล และแสดงบทบาทสําคัญสูงสุดตอความสัมพันธในพลังงานของเซล

ไนโตรเจน ไนโตรเจนเปนสวนประกอบของสารประกอบอินทรียที่สําคัญหลายชนิด เริ่มจาก โปรตีนไปจนถึงนิวคลีอิค อะซิด

Page 59: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

59

ฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสเปนศูนยกลางในพืช คือในการถายเทพลังงานและการเผาผลาญโปรตีน โปรตัสเซียม โปรตัสเซียม ชวยในการเรงการแยกสารละลายและเรงกจิกรรมของไอออน หนาที ่ ของโปรตัสเซียมเชื่อมโยงหรือกระตุนน้ํายอยหลายชนิดของคารโบไฮเดรทและการ เผาผลาญ แคลเซียม แคลเซียมมีสวนรวมในการแบงเซล และแสดงบทบาทหลักในการคงรูปรางของชั้น เนื้อเยื่อ แมกนีเซียม แมกนีเซียมเปนสวนหนึ่งของคลอโรฟล และเปนสวนเชื่อมโยงสําหรับปฏิกิริยา

น้ํายอยหลายชนิด กํามะถัน กํามะถันคลายกับฟอสฟอรัสในสวนที่รวมในการใหพลังงานแกเซลของพืช เหล็ก เหล็กเปนสวนประกอบสําคัญในน้ํายอยหลายชนิด และเปนพาหะรวมถึงพาหะ กระแสไฟฟา การหายใจ หรือ Cytochromes และพาหะกระแสไฟฟาถายเท หรือ Ferredoxins ในประการหลังนี้รวมในหนาที่การเผาผลาญที่สําคัญสูงสุดเชน การตรึง ไนโตรเจน การสังเคราะหแสง และการถายเทกระแสไฟฟา สังกะสี สังกะสีเปนสวนประกอบที่สําคญัในน้ํายอยหลาย ๆ ชนิด ไดแก Dehydrogenases Proteinases และ Peptidases รวมไปถึง Carbonic anhydrase Alcohol dehydrogenase Glutamic dehydrogenase และ Malic dehydrogenase และน้ํายอยอ่ืน ๆ อีกมากมาย

แมงกานีส แมงกานีสมีสวนรวมในระบบกระบวนการออกซิเจนของการสังเคราะหแสง และ เปนสวนประกอบของน้ํายอย Arginase และ Phosphotransferase ทองแดง ทองแดงเปนสวนประกอบของน้ํายอยที่สําคัญรวมไปถึง Cytochrome Oxidase Ascorbic acid Oxidase และ Laccase โบรอน หนาที่ทางชีวเคมีพิ เศษของโบรอนยังไมทราบ แตอาจจะมีสวนรวมในการ

ขบวนการเผาผลาญคารโบรไฮเดรทและการสังเคราะหในสวนประกอบของผนังเซล

โมลิบดินัม เปนสวนที่ชวยในการสรางสารไนโตรเจนเกิดขึ้นไดเปนปกติในพืช อีกทั้งยังเปน สวนประกอบที่จําเปนใน Nitrate reductase เชนเดียวกันกับ Nitrogenase หรือ

น้ํายอยตรงไนโตรเจน คลอรีน จําเปนตอการสังเคราะหแสง และเปนตัวกระตุนน้ํายอยไปถึงการแยกโมเลกุลของ

น้ํา อีกทั้งยังทําหนาที่เปนตัวเรงการแยกสารละลายในการเจริญเติบโตของพืชในดินเค็ม

Page 60: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

60

1. การแจกแจงลกัษณะทัว่ไปของอาการขาดแรธาตุอาหารในพืช

แรธาต ุ อาการ

N ใบดางเริ่มในใบแก ในพืชตระกูลหญา การแตกกอจะลดลงภายใตสภาพการปลูก ถามีการขาดจะแสดงอาการมากขึ้นไดชัดเจน ทําใหพืชทั้งตนจะมีสีเหลือง และการ เจริญเติบโตจะชะงกังัน P การเจริญเติบโตจะชะงักงันใบแกจะมีสีสมอมมวงใบใหญสีเขียวเขมในพืชตระกูล หญาการแตกกอจะลดลงอยางมาก K ใบแกจะแสดงอาการเปนจุดหรือขอบใบไหมเริ่มจากปลายใบ ทําใหเพิ่มการออนแอ ในดานโรค ความแหงแลงและอันตรายจากความหนาวเย็น Ca ใบออนกลายเปนสีขาว จุดทีก่าํลังเจริญเติบโตจะตายและใบโคงงอ Mg ขอบใบ เสนกลางใบจะมีลักษณะดางใบแกจะเปนสีชมพู บางครั้งใบมวนคลายกับ อาการที่ เกิดจากความแหงแลง พืชจะออนแอตออากาศหนาว S ใบออนจะมีลักษณะดาง ภายใตสภาพการที่ขาดอยางรุนแรง พืชทั้งตนจะมีลักษณะ เปนแถบดางคลายกับลักษณะของการขาดไนโตรเจน Zn เกิดลักษณะเปนแถบสีสนิมเหล็กในใบแก กับแถบดางในใบที่แกเต็มที่ขนาดของใบ

ลดลง Fe เสนกลางใบของใบออนจะมีลักษณะดาง ภายใตอาการที่ขาดอยางรุนแรง ทั้งใบจะกลาย เปนสีเหลืองในระยะเริ่มแรก และในที่สุดก็จะเปนสีขาว Mn อาการคลาย ๆ กับการขนาดแรเหล็ก การขาดในระยะที่รุนแรงจะทําใหเนื้อเยื่อตาย

แทนที่จะเปนสีขาว Cu ใบออนจะมีลักษณะดาง ใบมวนและตายจากสวนยอดลงไปหาโคนตน Mo เกิดลักษณะเปนจุดสีมวงในใบออน ใบมีสีซีดและใบเหี่ยว B ปลายใบมีสีเขียวอมมวง แตมสีเหลืองทอง เกดิการตายในสวนที่เปนจดุที่กําลัง

เจริญเติบโต

Page 61: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

61

2. การแจกแจงลกัษณะอาการเปนพิษของพืช

แรธาต ุ อาการ

ไนโตรเจน พืชปกติมีสีเขยีวเขม แตปกติแลวจะมีระบบรากจํากัดความเปนพิษของ NO3 จะแสดงอาการขอบใบไหมในใบแกตามดวยเสนกลางใบยบุลง ความเปนพิษของ NH+

4 จะทําใหรอบ ๆ ปลายใบมีสีดําในใบแกและเนื้อเยื่อจะตาย ฟอสฟอรัส เนื้อเยื่อจะตายและปลายยอดแหงเขาหาโคน เสนกลางใบมีลักษณะดางในใบออน

ขอบใบไหมในใบแก โปรตัสเซียม K มากเกินอาจนําไปสูการขาด Mg และอาจเปนไปไดที่จะทําใหขาด Mn, Zn, และ Fe กํามะถัน ลดในการเจริญเติบโต และขนาดของใบ ในบางครั้งเสนกลางใบจะเปนสีเหลืองหรือ

ใบไหม แมกนีเซยีม Mg มากเกินสามารถชักนําใหเกิดการขาด K เกิดอาการขาดในพืน้ที่น้ําทวมในดิน กรดใบแก มสีีเหลืองทอง ชักนําการขาด P, K และ Zn เนือ้เยื่อเสนกลางใบจะตาย แมงกานีส การเปนสีเหลืองเริ่มที่ขอบใบแก กระจายไปทั่วสลับกับสีเขียว เสนกลางใบดาง เหลืองทองใบพืชตระกูลถ่ัว คลอรีน ปลายใบหรือขอบใบไหม ลดขนาดของใบและบางครั้งจะเปนใบดาง สังกะสี Zn มากเกิน ชักนําใหเปนใบดางที่เกิดจากการแรเหล็กในพืช ทองแดง การเจริญเติบโตชะงักงัน ลดการแตกกิ่งกาน ชักนําใหเปนใบดางที่เกิดจากการขาด

แรเหล็กในพืช โบลิบดินัม ยากที่จะสังเกตได อลูมิเนียม การเกิดใบเหลืองสลับดวยแถบเสนกลางใบสีขาวในใบแก

(สัมฤทธิ์ เฟองจันทร. 2538. )

Page 62: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

บทที่ 3 วิธีการศึกษา

ระยะเวลาศึกษา

ป พ.ศ. 2547 - 2549

พื้นท่ีศึกษา

สถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร ตําบลโคกภู อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร พื้นที่ที่สนับสนุนกลาไมทุกอําเภอของทองที่จังหวัดสกลนคร

การสํารวจความตองการกลาไม

สํารวจความตองการกลาไมตามแบบสํารวจความตองการกลาไมที่กรมปาไม กําหนดให (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก) จากหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎรในทองที่จังหวัดสกลนคร โดย.-

1. แจกแบบสํารวจความตองการกลาไมใหหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎร ที่มาติดตอขอรับการสนับสนุนจากสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร 2. สงแบบสํารวจความตองการกลาไมใหหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎร ทางไปรษณีย การเพาะชํากลาไม

1. ดําเนินการเพาะชํากลาไมตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายเงินงบประมาณที่ไดรับการจัดสรร

2. ดําเนินการจัดหาและจัดเก็บเมล็ดไมจากแมไมที่ดีตามหลักวนวัฒนวิทยา (silvicuture) โดยคํานึงถึงชนิดเมล็ดพันธุไมตองตรงกับความตองการที่แทจริง

3. ปฎิบัติตอเมล็ดพันธุไมเพื่อเรงอัตราการงอกใหสม่ําเสมอเพื่อที่จะไดตนออนที่มีขนาดและความสูงใกลเคียงกัน

4. ทําความสะอาดแปลงเพาะชําโดยการฉีดพนยาฆาเชื้อโรคและไขของแมลงศัตรูพืชตาง ๆ 5. ตรวจสอบเรือนเพาะชํากลาไมแบบเปดขนาด 30 X 30 เมตร ปรับพื้นเรือนเพาะชํากลา

ไมใหมีความลาดเอียงเล็กนอยเพื่อปองกันน้ําทวมขังในฤดูฝน ตรวจสอบตาขายพราง

Page 63: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

63

แสง รอยละ 50 ถาชํารุดฉีกขาดตองดําเนินการแกไขใหอยูในสภาพดี อุปกรณทุกชิ้นตองนํามาตากแดดฆาเชื้อโรค

6. เตรียมวัสดุที่จําเปนตองใชเพาะชํากลาไม เชน ดิน แกลบ ทราย ถุงเพาะชํา ใหพรอมและเพียงพอกับจํานวนกลาไมที่ไดรับการจัดสรร

7. ดําเนินการเพาะชํากลาไมตามหลักวิชาการปาไมใหไดกลาไมที่ดีมีคุณภาพ แข็งแกรง ผานการทํากลาไมใหแกรง ( hardening off )

8. ดูแล บํารุงรักษากลาไมใหพรอมแจกจายเมื่อถึงฤดูกาลปลูกตนไม ( ฤดูฝน ) การแจกจายกลาไม

เมื่อกลาไมพรอมสนับสนุน จะเชิญชวนหนวยงานตาง ๆ วัด ราษฎร โดย.-

1. ประชาสัมพันธผานวิทยุกระจายเสียง 909 จังหวัดสกลนคร และแจงในที่ประชุมจังหวัดใหหัวหนาหนวยงานราชการตาง ๆ ทราบ

2. ทําหนังสือแจงใหผูตองการกลาไมทราบตามที่อยูในแบบสํารวจความตองการกลาไม 3. ติดปายผาเชิญชวนใหมาขอรับการสนับสนุนกลาไม

ขั้นตอนการแจกจายกลาไม

1. กรอกรายละเอียดตามแบบขอรับกลาไมและเขียนแบบโครงการประกอบคําขอรับกลาไมตามแบบที่สถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนครจัดไว

2. สอบถามวัตถุประสงคและสถานที่ปลูกพรอมใหคําแนะนําชนิดกลาไมที่เหมาะสมกับ พื้นที่โดยศึกษาจากขอมูลพื้นฐานทางภูมิศาสตรและขอมูลภูมิอากาศจังหวัดสกลนคร

3. อธิบายขั้นตอนขนยายกลาไม การปฏิบัติตอกลาไมกอนปลูก ระยะปลูกตนไมที่เหมาะสมตามวัตถุประสงคในการปลูกตนไม ขั้นตอนการปลูกตนไม และ การดูแลบํารุงรักษาตนไมหลังการปลูก

4. สนับสนุนกลาไมตามระเบียบกรมปาไมวาดวยการแจกจายกลาไม พ.ศ. 2536 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2536

Page 64: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

64

การติดตามผลการแจกจายกลาไม

การติดตามผลการแจกจายกลาไมจะดําเนินการเมื่อส้ินฤดูกาลปลูกตนไมประมาณเดือน ตุลาคม ของทุกป ซ่ึงจะติดตามผลการปลูกตนไมของหนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน ราษฎรที่ขอรับการสนับสนุนกลาไม ประมาณรอยละ 10 ของผูที่ขอรับกลาไมแตละประเภท โดยเจาหนาที่ผูรับผิดชอบการเพาะชํากลาไมจะเปนผูออกไปติดตามผลการแจกจายกลาไม ดวยวิธีการสุมตัวอยางจากแบบขอรับกลาไมที่มีขอมูลที่อยูและสถานที่ปลูกชัดเจนเพื่อขอดูแปลงปลูกตนไมในพื้นที่จริง พรอมใหคําแนะนําการบํารุงรักษาตนไมตองทําติดตอกันอยางนอย 3 ปหลังปลูกหรือตนไมเจริญเติบโตพนวัชพืช การประเมินผลการแจกจายกลาไม

การประเมินผลการแจกจายกลาไมจะดําเนินการพรอมกับการติดตามผลการแจกจายกลาไมตามแบบสํารวจประเมินผลการแจกจายกลาไมที่กรมปาไม กําหนดให (รายละเอียดที่ภาคผนวก) หลังจากดําเนินการเสร็จสิ้นรวบรวมรายงานกรมฯ และเก็บขอมูลไวที่สถานีเพาะชํากลาไมเพื่อเปนฐานขอมูลศึกษาในปถัดไปติดตอกัน 3 ป

Page 65: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

บทที่ 4 ผลและวิจารณ

ผลการศึกษาการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร ไดดําเนินการเพาะชํากลาไมตามงบประมาณที่ไดรับระหวาง ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 - 2549 และชนิดกลาไมที่หนวยงานราชการ วัด องคกรเอกชน และราษฎรในทองที่จังหวัดสกลนครตองการ มีรายละเอียดดังนี้

ผลและวิจารณผลการศึกษา 1. ผลการเพาะชํากลาไมชนิดตางๆ

ตารางที่ 8 สรุปผลการเพาะชํากลาไมชนิดตาง ๆ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2549 จํานวนกลาไมที่เพาะชํา ( กลา ) ลําดับ

ที่ ชนิดไมที ่เพาะชํา ปงบประมาณ 2547 ปงบประมาณ 2548 ปงบประมาณ 2549 2547- 2549

1 ยูคาลิปตัส 110,000 61,000 125,000 296,000 2 ประดูปา 10,100 10,700 40,000 60,800 3 มะเมา 5,000 - 30,000 35,000 4 พะยูง 4,200 300 - 4,500 5 คูน 22,800 19,780 60,000 99,780 6 มะคาโมง 8,200 6,700 6,000 20,900 7 แดง 1,000 150 - 1,150 8 สัก 4,300 5,550 1,000 10,850 9 ขี้เหล็กบาน 11,400 3,550 20,000 34,950 10 สะเดา 3,000 1,570 30,000 34,570 11 อินทนิลน้ํา - 700 10,000 10,700 12 กระถินเทพา - - - 15,000 13 หางนกยูง - - - 2,500 14 กระถินณรงค - - - 2,500 15 มะขามเทศ - - - 5,000 16 ยางนา - - - 3,000

รวม 180,000 110,000 350,000 640,000

Page 66: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

66

จากตารางที่ 8 สรุปผลการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร ของสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2549 ไดจํานวนทั้งสิ้น 640,000 กลา แยกเปนรายปคือ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 จํานวน 180,000 กลา ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 จํานวน 110,000 กลา ปงบประมาณ พ.ศ. 2549 จํานวน 350,000 กลา ชนิดไมที่เพาะมากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ยูคาลิปตัส จํานวน 296,000 กลา รองลงมาคือ คูน จํานวน 99,780 กลา และประดูปา จํานวน 60,800 กลา อันดับตอไปเปน มะเมา ขี้เหล็กบานและ สะเดา ซ่ึงมีจํานวนประมาณ 35,000 กลา และกระถินเทพา จํานวน 15,000 กลา สักและอินทนิลน้ําประมาณ 10,775 กลา และกลาไมชนิดอื่น ๆ เรียงตามลําดับ คือ มะขามเทศ พะยูง ยางนา หางนกยูง กระถินณรงค และ แดง

2. ผลการจายกลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร

2.1. ผลการจายกลาไมแยกตามอําเภอตาง ๆ ของจังหวัดสกลนคร

ตารางที่ 9 สรุปผลการจายกลาไมแยกตามอําเภอตาง ๆ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2549 จํานวนราย จํานวนกลาไม(กลา) พื้นที่ปลูก(ไร)

อําเภอ ป2547

ป2548

ป2549

ป 2547

ป 2548

ป 2549

ป2547

ป2548

ป2549

เมือง 41 49 74 48,150 32,950 69,050 351 250 488 โพนนาแกว 9 5 21 9,500 4,180 26,580 84 28 218 เตางอย 1 1 7 1,000 500 6,550 7 4 44 โคกศรีสุพรรณ 4 6 14 5,645 4,470 15,970 38 30 117 กุสุมาลย 4 9 13 9,000 15,600 47,100 68 144 390 กุดบาก 2 10 21 4,600 7,450 21,450 31 50 155 ภูพาน 37 32 61 42,000 23,280 64,080 300 199 447 พรรณนานิคม 7 8 12 7,500 4,820 10,320 58 69 73 พังโคน 4 3 16 1,605 3,300 26,100 11 22 214 วาริชภูม ิ - 2 3 - 750 2,750 - 5 19 นิคมน้ําอูน 1 13 23 600 7,600 22,500 4 56 173 วานรนวิาส 6 4 7 10,200 1,600 5,600 78 11 37 คําตากลา - 1 2 - 1,000 1,000 - 7 7 บานมวง - 5 6 - 2,100 3,000 - 14 20

Page 67: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

67

ตารางที่ 9 ( ตอ ) สรุปผลการจายกลาไมแยกตามอําเภอตาง ๆ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2549

จํานวนราย จํานวนกลาไม(กลา) พื้นที่ปลูก(ไร) อําเภอ ป

2547 ป

2548 ป

2549 ป

2547 ป

2548 ป

2549 ป

2547 ป 2548

ป2549

อากาศอํานวย 1 5 7 4,000 2,450 4,350 27 17 29 สวางแดนดิน 15 - 8 16,000 - 10,100 117 - 72 เจริญศิลป 1 1 4 300 500 2,000 2 3 13 จ.กาฬสินธุ จ.นครพนม

11 1 7 18,100 1,400 7,500 113 17 60

รวม 146 149 306 180,000 110,000 350,000 1,289 926 2,576

จากตารางที่ 9 สถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร แจกจายกลาไมใหกับผูมาขอรับการสนับสนุน คือ ราษฎร วัด หนวยงานราชการ องคกรเอกชน เรียงตามจํานวนผูขอรับการสนับสนุนกลาไมในแตละทองที่อําเภอ แยกเปนรายป 3 อันดับแรก คือ

- ป พ.ศ. 2547 คือ อําเภอเมืองสกลนคร มี 41 ราย จํานวน 48,150 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 351 ไร รองลงมาคืออําเภอภูพาน มี 37 ราย จํานวน 42,000 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 300 ไร และอําเภอสวางแดนดิน มี 15 ราย จํานวน 16,000 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 117 ไร

- ป พ.ศ. 2548 อําเภอเมืองสกลนคร มี 49 ราย จํานวน 32,950 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 250 ไร รองลงมาอําเภอภูพาน มี 32 ราย จํานวน 23,280 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 199 ไร และอําเภอนิคมน้ําอูน มี 13 ราย จํานวน 7,600 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 56 ไร

- ป พ.ศ. 2549 อําเภอเมืองสกลนคร มี 74 ราย จํานวน 69,050 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 488 ไร รองลงมาอําเภอภูพาน มี 61 ราย จํานวน 64,080 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 447 ไร และอําเภอนิคมน้ําอูน 23 ราย จํานวน 22,500 กลา เนื้อที่ปลูกประมาณ 173 ไร

Page 68: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

68

2.2. ผลการจายกลาไมแยกตามประเภทผูมาขอรับกลาไม

ตารางที่ 10 สรุปผลการจายกลาไม ประเภทราษฎรทั่วไป ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 49 ปงบประมาณ จํานวนคน

( ราย ) จํานวนกลาไม

( กลา) เนื้อที่ปลูก ( ไร ) ไดรับการสนบัสนุนกลา

ไมเฉลี่ยรายละ (กลา) 2547 126 135,860 1,403 1,078.25 2548 97 64,970 447 669.79 2549 149 120,093 801 805.99 รวม 372 320,923 2,651 862.69

- จากตารางที่ 10 ป พ.ศ. 2547 ราษฎรทั่วไปไดรับการสนับสนุนกลาไมเฉลี่ยรายละ 1,078.25 กลา/ป ป พ.ศ. 2548 ไดรับ 669.79 กลา/ป ป พ.ศ. 2549 ไดรับ 805.99 กลา/ป และโดยเฉลี่ยป พ.ศ. 2547 – 49 เฉลี่ย 3 ป ไดรับ 862.69 กลา/ป ไดพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น 2,651 ไร

ตารางที่ 11 สรุปผลการจายกลาไม ประเภทวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 49 ปงบประมาณ จํานวนคน

( ราย ) จํานวนกลาไม

( กลา) เนื้อที่ปลูก ( ไร ) ไดรับการสนบัสนุนกลา

ไมเฉลี่ยรายละ (กลา) 2547 15 16,995 15 1,133 2548 8 4,870 39 608.75 2549 18 17,300 115 961 รวม 41 39,165 169 955.24

- จากตารางที่ 11 ป พ.ศ. 2547 วัดทั่วไปไดรับการสนับสนุนกลาไมเฉลี่ยรายละ

1,133 กลา/ป ป พ.ศ. 2548 ไดรับ 608.75 กลา/ป ปพ.ศ. 2549 ไดรับ 961 กลา/ป และโดยเฉลี่ยป พ.ศ. 2547 – 49 เฉลี่ย 3 ป ไดรับ 955.24 กลา/ป ไดพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น 169 ไร

Page 69: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

69

ตารางที่ 12 สรุปผลการจายกลาไม ประเภทหนวยงานราชการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 49 ปงบประมาณ จํานวนคน

( ราย ) จํานวนกลาไม

( กลา) เนื้อที่ปลูก ( ไร ) ไดรับการสนบัสนุนกลา

ไมเฉลี่ยรายละ (กลา) 2547 17 22,945 226 1,349.70 2548 53 40,160 299 757.73 2549 116 209,607 1,398 1,806.95 รวม 186 272,712 1,923 1,466.19

- จากตารางที่ 12 ป พ.ศ. 2547 หนวยงานราชการไดรับการสนับสนุนกลาไมเฉลี่ย

รายละ 1,349.70 กลา/ป ป พ.ศ. 2548 ไดรับ 757.73 กลา/ป ปพ.ศ. 2549 ไดรับ 1,806.95 กลา/ป และโดยเฉลี่ยป พ.ศ. 2547 – 49 เฉลี่ย 3 ป ไดรับ 1,466.19 กลา/ป ไดพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น 1,923 ไร

ตารางที่ 13 สรุปผลการจายกลาไม ประเภทองคกรเอกชน ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 49 ปงบประมาณ จํานวนคน

( ราย ) จํานวนกลาไม

( กลา) เนื้อที่ปลูก ( ไร ) ไดรับการสนบัสนุนกลา

ไมเฉลี่ยรายละ (กลา) 2547 1 4,200 28 4,200 2548 - - - - 2549 1 3,000 20 3,000 รวม 2 7,200 48 3,600

- จากตารางที่ 13 ป พ.ศ. 2547 องคกรเอกชนไดรับการสนับสนุนกลาไมเฉลี่ยรายละ 4,200 กลา/ป ป พ.ศ. 2548 ไดรับ - กลา/ป ปพ.ศ. 2549 ไดรับ 3,000 กลา/ป และโดยเฉลี่ยป พ.ศ. 2547 – 49 เฉลี่ย 3 ป ไดรับ 3,600 กลา/ป ไดพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น 48 ไร

Page 70: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

70

2.3. ผลการสํารวจประเมินผลการแจกจายกลาไม การติดตามประเมินผลการแจกจายกลาไม ศึกษาจากอัตราการรอดตายของตนไมที่

ปลูกในป พ.ศ. 2547 โดยเริ่มประเมินในป พ.ศ. 2547 เปนปแรก ป พ.ศ. 2548 เปนปที่สอง และป พ.ศ. 2549 เปนปสาม ผลการสํารวจปรากฏดังนี้

ตารางที่ 14 สรุปอัตราการรอดตายของตนไมป 1 – 3

อัตราการรอดตายแยกตามประเภทผูขอรับกลาไม ( หนวย : รอยละ) ป ที่ ราษฎรทั่วไป วัด หนวยงานราชการ องคกรเอกชน 1 85 - 90 85 - 90 81 - 85 82 2 85 - 89 87 - 88 78 - 75 79 3 84 - 88 86 - 87 72 - 74 75

จากตารางที่ 14 ผลการประเมินผลการแจกจายกลาไม ป พ.ศ. 2547 พบวา กลาไมที่ราษฎรไดขอรับการสนับสนุนจากสถานีเพาะชํากลาไมจังหวดัสกลนคร มีอัตราการรอดตายในปที่ แรกรอยละ 85 – 90 ปที่ 2 รอยละ 85 – 89 ปที่ 3 รอยละ 81 – 88 วดัมีอัตราการรอดตายรอยละ 85 – 90 ปที่ 2 รอยละ 87 – 88 ปที่ 3 รอยละ 86 – 87 หนวยงานราชการมีอัตราการรอดตายในปแรก รอยละ 81 – 85 ปที่ 2 รอยละ 78 – 75 ปที่ 3 รอยละ 72 – 74 และองคกรเอกชน ปแรกมีอัตราการรอดตายรอยละ 82 ปที่ 2 รอยละ 79 ปที่ 3 รอยละ 75 เรียงอันดับอัตราการรอดตายจากมากไปนอยไดดังนี้ ราษฎรทั่วไป วัด องคกรเอกชน และหนวยงานราชการ จากการศึกษาราษฎรทั่วไปกับวัดผลการประเมินอัตราการรอดตายใกลเคียงกัน

Page 71: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ

สรุปผล

ผลการศึกษาการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนครซึ่งดําเนินการ ระหวางป พ.ศ. 2547 – 2549 สถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนครดําเนินการเพาะชํากลาไม และแจกจายกลาไมสนับสนุนใหราษฎร วัด และหนวยงานราชการตางๆ และองคกรเอกชน จํานวน 640,000 กลา มีราษฎรขอรับกลาไม จํานวน 372 ราย วัด จํานวน 41 วัด หนวยงานราชการตาง ๆ 186 ราย องคกรเอกชน 2 ราย รวม 601 ราย สามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียวไดประมาณ 4,791 ไร

กลาไมที่ราษฎรนิยมขอรับการสนับสนุนไปปลูกจะเปนกลาไมเศรษฐกิจที่โตเร็วและตนไมชนิดที่ใหผลผลิตนําไปอุปโภค บริโภคได เชน ยูคาลิปตัส สะเดา มะเมา กระถินเทพา ขี้เหล็กบาน สัก ในปแรกอัตราการรอดตายจะมีสูงถึงรอยละ 85 – 90 แตในปที่ 2 – 3 อัตราการรอดตายจะลดลงเล็กนอย บางรายก็ไมลดเนื่องจากมีการปลูกซอม และมีการดูแลบํารุงรักษาตนไมอยางจริงจังสาเหตุมาจากผลผลิตจากตนไมที่เกิดขึ้นราษฎรเปนผูรับผลประโยชนโดยตรงทั้งหมด ยกเวนบางรายที่มีพื้นที่ปลูกอยูในที่ประสบภัยทางธรรมชาติ ไดแก น้ําทวมขัง ภาวะแหงแลง ดินเค็ม กลาไมแนะนําสนับสนุนใหปลูก ไดแก ยูคาลิปตัส สะเดา ประดูปา มะขามเปรี้ยว คูน เปนตน

กลาไมที่หนวยงานราชตางๆ นิยมขอรับการสนับสนุนไปปลูกจะเปนไมที่ใหดอกสวยงาม เปนไมยืนตนขนาดใหญอายุยืนยาวและใหรมเงา เชน คูน ยางนา สัก ประดูปา มะคาโมง ในปแรก การรอดตายจะมีสูงถึงรอยละ 81 – 85 แตในปที่ 2 – 3 อัตราการรอดตายจะลดลงมาก สาเหตุมาจากขาดเงินงบประมาณและเปนการปฏิบัติตามนโยบายเทานั้น หลังการปลูกไมมีการบํารุงรักษาปลอยใหตนไมเจริญเติบโตเองตามธรรมชาติ บางปก็ประสบภัยทางธรรมชาติ ไดแก น้ําทวมขัง ภาวะแหงแลง

กลาไมที่วัดตางๆ ในทองที่จังหวัดสกลนคร นิยมขอรับการสนับสนุนไปปลูกจะเปนไมที่ใหดอกสวยงาม เปนไมยืนตนขนาดใหญอายุยืนยาวและใหรมเงา เชน คูน ยางนา สัก ประดูปา มะคาโมง ในปแรกอัตราการรอดตายจะสูงถึงรอยละ 85 – 90 ในปที่ 2 – 3 อัตราการรอดตายจะลดลงเล็กนอย แตมีบางวัดที่ติดตอขอรับการสนับสนุนกลาไมมาปลูกซอมและปลูกใหมเพิ่มพื้นที่ปลูกทุกป สาเหตุมาจากตองการฟนฟูสภาพปาใหกลับมามีสภาพใกลเคียงปาธรรมชาติเพื่อใชในการปฏิบัติธรรมของพระ เณร และประชาชนที่สนใจ

องคกรเอกชนที่ขอรับกลาไมมีความตองการกลายูคาลิปตัส เพื่อนําไปปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ที่ผานการใชประโยชนจนเสื่อมโทรม อัตราการรอดตายรอยละ 82 ปที่ 2 – 3 อัตราการรอดตายลดลงเล็กนอย

Page 72: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

72

อําเภอที่มีผูมาขอรับการสนับสนุนกลาไม เรียงลําดับจากมากไปนอย 3 ลําดับแรก ไดแก อําเภอเมืองสกลนคร อําเภอภูพาน อําเภอนิคมน้ําอูน เนื่องจากระยะทางใกลทางคมนาคมสะดวกเสียคาใชจายในการขนสงกลาไมนอย

อําเภอที่ขอรับการสนับสนุนกลาไมนอยที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก อําเภอคําตากลา อําเภอวาริชภูมิ อําเภอเจริญศิลป เนื่องจากอยูหางไกลจากสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร การขนสงกลาไมตองใชเงินงบประมาณสูง

ประโยชนที่ไดรับจากการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร มีดังนี้

1. สามารถฟนฟูทรัพยากรปาไมที่ถูกทําลายไปใหพลิกฟนกลับมาเปนพื้นที่สีเขียวไดอีก กอใหเกิดความสมดุลทางธรรมชาติ และปรับภูมิทัศนใหจังหวัดสกลนครไดเนื้อที่ประมาณ 4,791 ไร

2. ในอนาคตราษฎรที่นํากลาไมไปปลูกจะมีรายไดจากการขายผลผลิตจากตนไมที่ปลูกเอง และลดรายจายโดยการเก็บเห็ดและทรัพยากรอื่น ๆ ซ่ึงเปนผลพลอยไดจากการปลูกตนไมมาใชในการอุปโภคและบริโภค ลดการลักลอบตัดไมจากปาธรรมชาติโดยใชประโยชนจากผลิตผลตนไมที่ปลูกเอง นอกจากนี้ตนไมที่ปลูกยังมีสวนชวยลดการพังทลายของดิน ลดภาวะโลกรอน ลดการสูญเสียธาตุอาหารในดิน และปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รักษาสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ได

3. ปองกันไมใหชนิดพันธุไมทองถ่ินที่หายากสูญหายไปจากพื้นที่จังหวัดสกลนคร และเปนการชวยลดปญหาการลักลอบตัดไม บุกรุกทําลายปาธรรมชาติ ซ่ึงเปนการปองกันรักษาปาในเชิงรุก

4. เปนแหลงเรียนรูดานการเพาะชํากลาไม เทคนิคการเพาะชํากลาไมใหม ๆ และชนิดพันธุไมที่เหมาะสมกับทองถ่ินที่มีคาทางเศรษฐกิจและการอนุรักษ ใหกับหนวยงานราชการตางๆ วัด เอกชน และราษฎรทั่วไป

5. มีสวนชวยในการสนับสนุนกลาไมตามโครงการปลูกตนไมตางๆ ตามนโยบายของรัฐบาล ผูวาราชการจังหวัด หัวหนาสวนราชการ องคการปกครองสวนทองถ่ินตางๆ และวัด ใหประสบผลสําเร็จ

Page 73: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

73

ขอเสนอแนะ

ปญหาอุปสรรค ของการดําเนินการเพาะชํากลาไมเพื่อสนับสนุนการปลูกตนไมในทองที่จังหวัดสกลนคร พอสรุปเพื่อเปนแนวทางขอเสนอแนะไวดังนี้

1. อําเภอโพนนาแกว อําเภอเมืองสกลนคร อําเภอวาริชภูมิ อําเภออากาศอํานวย ในชวงฤดูฝนจะมีน้ําทวมขัง ตนไมที่เหมาะสมกับพื้นที่ไดแก ยางนา ยูคาลิปตัส กระถินเทพา และไผ เปนตน

2. อําเภอสองดาว อําเภอพังโคน อําเภอสวางแดนดิน มีสภาพภูมิอากาศแหงแลว ตนไมที่เหมาะสมกับพื้นที่ ไดแก ยูคาลิปตัส คูณ แดง ประดูปา และขี้เหล็กบาน เปนตน

3. อําเภอวาริชภูมิ อําเภอบานมวง มีสภาพดินเค็ม เพราะทํานาเกลือ ตนไมที่เหมาะสมกับพื้นที่ ไดแก นนทรีปา นนทรีบาน สะเดา กระถินเทพา และยูคาลิปตัส เปนตน

4. เพื่อใหผูขอรับการสนับสนุนกลาไมไดรับการบริการที่เสมอภาพ และเทาเทียมกันควรตั้งหนวยเพาะชํากลาไมเพิ่มขึ้นอีก 2 แหง กระจายออกไปในทองที่อําเภอ จังหวัดสกลนครที่มาขอรับการสนับสนุนกลาไมในปริมาณนอย

แนวทางแกไขปญหาจากการปฏิบัติงานเพาะชํากลาไมของสถานีเพาะชํากลาไมจังหวัดสกลนคร

1. ในหลายๆ อําเภอของจังหวัดสกลนครยังมีปญหาในเรื่องที่ทํากินเนื่องจากภัยแลง ดินเค็ม และน้ําทวมขัง ซ่ึงพืชผลทางการเกษตรชนิดอื่นๆ ปลูกแลวตองใชตนทุนสูงมากจึงใหผลตอบแทนไมคุมคา ราษฎรบางสวนจึงหันมาปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตเร็วการดูแลบํารุงรักษางายใชเงินลงทุนต่ํา และผลผลิตสามารถขายไดงายมีพอคาติดตอขอรับซื้อถึงแปลงปลูก เชน ยูคาลิปตัส สะเดา ขี้เหล็กบาน มะเมา ทําใหกลาไมที่เพาะขึ้นมาไมเพียงพอกับความตองการที่แทจริง (จากการทําสํารวจความตองการกลาไม) ที่จะแจกในแตละป ควรจัดสรรงบประมาณเพิ่มใหเพียงพอกับความตองการตามแบบรายงานความตองการกลาไมที่รายงานใหกรมทราบ

2. กลาไมบางชนิดเจริญเติบโตชาและเมล็ดจะแกในชวงเดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม เชน สัก ชิงชัน พยุง ไมตระกูลยาง ไดแก ยางนา พะยอม ตะเคียนทอง เมื่อทําการเพาะชําแลวกลาไมที่ เพาะชําไดจะมีอายุ และขนาดที่ยังไมเหมาะสมจะนําไปปลูกในพื้นที่ไดทันในปงบประมาณที่ไดรับแผนปฎิบัติงาน จึงสมควรจัดทําเปนกลาไมขนาดใหญหรือกลาไมดูแลขามป กรมอุทยานฯ ควรจะพิจารณาแยกชนิดไมใหเหมาะสมวาชนิดไหนที่ปลูกไดทันในปงบประมาณชนดิไหนควรจัดทําเปนกลาไมขนาดใหญหรือกลาไมดูแลขามป และจัดสรรงบประมาณมาใหหนวยเพาะ

Page 74: บทที่ 1 บทนำ - app.dnp.go.thapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00313/C00313-3.pdfบทที่ 1 บทนํา ความเป นมา สกลนคร

74

ชํากลาไมเพื่อดําเนินการดูแลบํารุงรักษาใหเปนกลาไมขนาดใหญและกลาไมขามป เพื่อการปลูกตนไมจะไดประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วางไว

3. ปจจุบันสถานีเพาะชํากลาไม หนวยเพาะชํากลาไม สวนมากจะจัดหาเมล็ดไมเอง โดยใหคนงานไปเก็บในพื้นที่ หรือจัดซื้อจากแหลงที่เก็บเมล็ดไมขาย เชน อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงผูดําเนินการเพาะชําไมทราบวาเมล็ดพันธุที่เก็บหรือซ้ือมามีคุณภาพดีหรือไม อาจทําใหผลการเพาะชํากลาไมไมไดคุณภาพตามตองการ โดยเฉพาะเมื่อนําไปปลูกแลวไมทราบวากลาไมที่ปลูกจะเจริญเติบโตเปนตนไมที่ดีหรือไม ดังนั้นกรมอุทยานฯ ควรจะพิจารณาใหหนวยงานที่เกี่ยวของกับเมล็ดพันธุไมดําเนินการจัดตั้งหนวยงานจัดหาและเก็บเมล็ดไมในรูปแบบธนาคารเมล็ดพันธุไมในแตละภาคของประเทศไทย เพื่อเปนแหลงเก็บรักษาเมล็ดพันธุไมที่มีคาและหายากจากแหลงเมล็ดพันธุไม ( Seed Orchrad ) มาจําหนาย แลกเปลี่ยน และรับฝากเมล็ดพันธุไมแตละภาคใหกับสถานีเพาะชํากลาไม หนวยงาน หรือราษฎรที่สนใจ เพื่อที่หนวยเพาะชํากลาไมจะไดเมลด็ไมที่ดีมีการควบคุมคุณภาพตามหลักวิชาการ มาดําเนินการเพาะชํากลาไม สงผลใหการปลูกตนไมประสบผลสําเร็จไดตนไมที่ดีมีคุณคาตรงกับความตองการทางเศรษฐกิจและการอนุรักษตอไปในอนาคต

4. ควรสงเสริมการฝกอบรม และการไปศึกษาดูงานดานการเพาะชํากลาไมใหกับเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานเพาะชํากลาไม เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนองคความรูเกี่ยวกับเทคนิคการเพาะชํากลาไมแบบใหมหรือภูมิปญญาทองถ่ิน แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรคในการเพาะชํากลาไม เพื่อเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานไดรูและเขาใจจากการแลกเปลี่ยนประสบการณตรงของแตละหนวยงานเปนการตอยอดองคความรูและถักทอผลงานอยางตอเนื่อง สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการแกไขปรับปรุงการเพาะชํากลาไมของตนเองและหนวยงานไดจริงใหดียิ่งขึ้นตอไป

5. การปลูกตนไมตามโครงการตางๆของหนวยงานราชการตาง ๆ วัด ที่ขอรับการสนับสนุนกลาไม สวนใหญจะเปนการปลูกตามนโยบายรัฐบาลหรือของหนวยงานนั้นๆ การปลูกตนไมไมไดเกิดจากจิตสํานึกที่จะปลูก จึงทําใหการปลูกตนไมขาดการดูแลเอาใจใส เกิดความเสียหายเปนจํานวนมาก สถานีเพาะชํากลาไม ควรประสานงานใหความรูเกี่ยวกับขั้นตอนการปลูกกลาไมและวิธีการบํารุงตนไมตามหลักวนวัฒนวิทยา ( silviculture ) แกหนวยงานราชการ วัด พรอมแนะนําหนวยงานที่ขอรับการสนับสนุนกลาไมกอนขอรับกลาไม ตองจัดเตรียมงบประมาณในการดูแลและบํารุงรักษากลาไมที่ปลูก อยางนอยในชวง 3 ปแรก หรือจนกวากลาไมจะเจริญเติบโตพนวัชพืช สัตวเล้ียงและไฟไหม