บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1...

30
1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ในปัจจุบันมีการรณรงค์ให้มีการใช้ภาชนะหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเพื่อ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม ซึ่งวัตถุดิบธรรมชาติที่นิยมนามาทาบรรจุภัณฑ์ คือใบตองซึ่งใบตองนี้ก็เป็นวัสดุ หลักในการใช้ห่อขนมไทย โดยใบตองที่เหมาะสมแก่การนามาห่อขนมนั้นมีหลายแบบหลายขนาด และรูปแบบ หนึ่งที่นิยมคือใบตองรูปวงกลม ซึ่งการเจียนใบตองให้ได้ขนาดและรูปร่างตามต้องการนั้นต้องใช้วิธีการตัดด้วย กรรไกรหรือมีด ซึ่งกว่าจะได้ใบตองตามแบบที่ต้องการนั้นใช้เวลานาน จึงทาให้มีการคิดค้นเครื่องเจียนใบตอง ให้ได้รูปวงกลมตามต้องการและจานวนครั้งละหลายใบเพื่อความรวดเร็วประหยัดเวลา 1.2 วัตถุประสงค์ สร้างเครื่องเจียนใบตองรูปวงกลมที่สามารถปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ เจียนได้ครั้งละ 5 ใบขึ้นไป 1.3 ขอบเขตกำรวิจัย 1) สร้างเครื่องเจียนใบตองรูปวงกลมที่ปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางได้มากกว่า 2 ขนาด ขึ้นไป 2) เป็นเครื่องที่สามารถเจียนใบตองได้ครั้งละมากกว่า 5 ใบขึ้นไป 3) ทดสอบประสิทธิภาพของการเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่างๆ 3 ขนาด คือ 15, 18, 21 เซนติเมตร 1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ ได้เครื่องมือช่วยเจียนใบตองรูปวงกลมปรับขนาดได้และสามารถเจียนได้ครั้งละหลายแผ่น

Transcript of บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1...

Page 1: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

1

บทที่ 1

บทน ำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

ในปัจจุบันมีการรณรงค์ให้มีการใช้ภาชนะหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายไดเ้องตามธรรมชาติเพ่ือ

ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม ซึ่งวัตถุดิบธรรมชาติที่นิยมน ามาท าบรรจุภัณฑ์ คือใบตองซึ่งใบตองนี้ก็เป็นวัสดุ

หลักในการใช้ห่อขนมไทย โดยใบตองที่เหมาะสมแก่การน ามาห่อขนมนั้นมีหลายแบบหลายขนาด และรูปแบบ

หนึ่งที่นิยมคือใบตองรูปวงกลม ซึ่งการเจียนใบตองให้ได้ขนาดและรูปร่างตามต้องการนั้นต้องใช้วิธีการตัดด้วย

กรรไกรหรือมีด ซึ่งกว่าจะได้ใบตองตามแบบที่ต้องการนั้นใช้เวลานาน จึงท าให้มีการคิดค้นเครื่องเจียนใบตอง

ให้ได้รูปวงกลมตามต้องการและจ านวนครั้งละหลายใบเพ่ือความรวดเร็วประหยัดเวลา

1.2 วัตถุประสงค์

สร้างเครื่องเจียนใบตองรูปวงกลมที่สามารถปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ เจียนได้ครั้งละ 5 ใบขึ้นไป

1.3 ขอบเขตกำรวิจัย

1) สร้างเครื่องเจียนใบตองรูปวงกลมที่ปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางได้มากกว่า 2 ขนาด ขึ้นไป

2) เป็นเครื่องที่สามารถเจียนใบตองได้ครั้งละมากกว่า 5 ใบขึ้นไป

3) ทดสอบประสิทธิภาพของการเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่างๆ 3 ขนาด คือ 15, 18, 21

เซนติเมตร

1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ

ได้เครื่องมือช่วยเจียนใบตองรูปวงกลมปรับขนาดไดแ้ละสามารถเจียนได้ครั้งละหลายแผ่น

Page 2: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

2

บทที่ 2

กำรตรวจสอบเอกสำร

2.1 ลักษณะของใบตอง

ใบกล้วยมีลักษณะแผ่นใบใหญ่ กว้างประมาณ 70 - 90 เซนติเมตร ยาว 1.7 – 2.5 เมตร ปลายและ

โคนใบมน รูปใบมีขอบขนานกัน แผ่นใบตองสดมีสีเขียวเข้ม มีวัตถุแห้งประมาณ 28 เปอร์เซ็นต์ และมีน้ ามาก

ถึง 72 เปอร์เซ็นต์ มีสารอาหารที่ส าคัญ เช่น โปรตีนคิดจากน้ าหนักแห้งประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ มีเยื่อใย

ประมาณ 24 เปอร์เซ็นต์ เปรียบเทียบคุณค่าทางอาหารของใบตองสดกับพืชอาหารสัตว์อ่ืนๆ พบว่าใบตองสดมี

ระดับโปรตีนใกล้เคียงกับหญ้าขนสด (หญ้าขนมีโปรตีนประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์) ส่วนใบตองไม่รวมก้านใบมี

โปรตีนใกล้เคียงกับพืชตระกูลถั่ว

ภาพที่ 1 แสดงใบตองที่ไม่มีรอยขาด ที่มา: www.google.co.th/search?q=ลักษณะใบกล้วย

Page 3: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

3

ภาพที่ 2 แสดงใบตองที่มีรอยขาด

ที่มา: www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=77927.1040

2.2 กำรเจียนใบตองในปัจจุบัน

ใบตองมีแนวใบที่ฉีกขาดง่ายซึ่งจะไม่เหมือนกระดาษที่มีความเหนียว การเจียนจึงท าได้ยากโดยต้อง

พยายามไม่ให้ใบตองฉีกขาดตามแนวใบ ซึ่งใบตองมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่มีความกว้างรวมแกนใบประมาณ

70-80 เซนติเมตร ดังนั้นจึงมีขนาดความกว้างสูงสุดที่จะน ามาเจียนได้เพียงประมาณ 40 เซนติเมตร การ

ออกแบบจึงต้องสอดคล้องกับขนาดความกว้างที่จ ากัดของใบตอง

ปัจจุบันการน าใบตองมาใช้นั้นจะเริ่มตัดจากต้นกล้วยที่มีอายุ 6 เดือนหรือ 1 ปี ขึ้นไป ควรเลือก

ใบตองที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไป แต่ถ้าแก่เกินไปใบตองจะกรอบและฉีกขาดง่าย โดยพันธุ์กล้วยที่นิยมน ามาใช้คือ

กล้วยตานีซึ่งจะมีความเหนียวกว่าใบตองพันธุ์อ่ืน ส่วนพันธุ์ที่นิยมรองลงมาคือใบตองกล้วยน้ าว้าซึ่งหาได้ง่าย

และนิยมปลูกทั่วไปเพ่ือทานผล โดยลักษณะของใบตองตานี จะมีความนุ่มเหนียว ไม่เปราะ ไม่ฉีกขาดง่าย มี

ความหนาพอเหมาะต่อการน ามาใช้ ส่วนลักษณะของใบตองกล้วยน้ าว้า จะมีความหนาน้อยกว่าใบตองตานี มี

ความเปราะบ้างเล็กน้อย มีสีเขียวอ่อน มักน าใบตองชนิดนี้มาห่อขนมที่มีขนาดเล็ก

การเจียนใบตองเป็นวงกลมนั้น จะต้องมีภาชนะที่มีขอบเรียบเป็นวงกลมเพ่ือน ามาวางกดทับให้แนบ

กับใบตองแล้วใช้มีดคมเจียนตามขอบภาชนะนั้น

Page 4: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

4

ภาพที่ 3 การเจียนใบตองเป็นวงกลมในปัจจุบัน ที่มา: Jom Uncategorised (2016)

2.3 เครื่องตัดกระดำษที่มีในปัจจุบัน

Circle Scissor Pro เครื่องตัดวงกลมปรับขนำดได้

เครื่องตัดวงกลมปรับขนาดได้หลายขนาดจนถึงวงกลมขนาด 6 นิ้ว เป็นแบบหมุนตัดกระดาษจะไม่

เป็นรอย อุปกรณ์ปากกาใบมีดจะมีฝาล็อค โดยตัวมีดจะยืดออกขณะก าลังใช้งาน และหดกลับเข้าสู่ตัวฐานเพ่ือ

ความปลอดภัย

ภาพที่ 4 เครื่องตัดกระดาษเป็นวงกลม ที่มา: www.sweetmaple.com/product-th-753595-3656317-Circle+Scissor+Pro+เครื่องตัด

วงกลมปรับขนาดได้+ใบมีดส ารองเปลี่ยนได้อีก3อัน+ดูวีดีโอการใช้งานด้านในค่ะ.html

Page 5: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

5

Martha Stewart Crafts - Circle Cutter เครื่องช่วยตัดกระดำษวงกลมตำมขนำดที่ต้องกำร เครื่อง Martha Stewart Crafts - Circle Cutter มีลักษณะคล้ายกับ Circle Scissor Pro ในการใช้

งานท าโดยวางคัตเตอร์ลงที่บริเวณรู ตามขนาดที่ต้องการและหมุน ก็จะได้กระดาษรูปวงกลมสวยงาม ขนาด

วงกลมเล็กสุดที่ตัดได้ คือ 1 นิ้ว และใหญ่สุด 5 นิ้วครึ่ง

ภาพที่ 5 เครื่อง Martha Stewart Crafts - Circle Cutter

ที่มา:http://prettydesign.weloveshopping.com/store/product/view/Martha_Stewart_Crafts_Circ

le_Cutter_เครื่องตัดกระดาษวงกลมตามขนาดที่ต้องการ -18819014-th.html

เครื่องตัดกระดำษ วงกลม–วงรี Logan#201

เครื่องตัดกระดาษ วงกลม–วงรี Logan#201 เป็นเครื่องตัดกระดาษ 45 องศา เป็นรูปวงกลม–วงรี

สามารถตัดวงกลม–วงรี ได้ตั้งแต่ 3.25 x 4.75 นิ้ว ถึง 20 x 30 นิ้ว โดยมีส่วนต่างๆ ของความกว้างและความ

ยาวของวงรีตั้งแต่ 0 – 3 นิ้ว ท างานง่าย สะดวก รวดเร็ว มีมาตรวัดทั้งระบบนิ้วและ ซ.ม.

ภาพที่ 6 เครื่องตัดกระดาษ วงกลม – วงรี Logan#201

ที่มา: www.999frames.com/machine3_4.html

Page 6: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

6

2.4 เครื่องเจียนใบตองและงำนวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

จากการศึกษาและค้นคว้ามีการคิดค้นเครื่องเจียนใบตองน้อยมาก ซึ่งมีเครื่อง เครื่องตัด – พับ – เย็บ

วัสดุห่ออาหาร ซึ่งไม่มีการบอกว่าตัดเป็นรูปแบบได แต่การออกแบบนี้เป็นเครื่องเจียนใบตองเป็นวงกลมขนาด

ตามต้องการเพ่ือน ามาข้ึนรูปเป็นกระทงใส่อาหาร

ภาพที่ 7 เครื่องตัด – พับ – เย็บวัสดุห่ออาหาร

ที่มา: http://118.175.21.17/innovation/bverd/bb_project_detail.php?project_id=1251

นฤพล เอ่ียมดวง และคณะ (2552) วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง ได้ประดิษฐ์ เครื่องตัด พับ เย็บวัสดุห่ออาหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยลดต้นทุนการผลิตขนมหวาน ให้มีต้นทุนในการผลิตที่ต่ าลง สามารถแก้ไขปัญหาความยากจนให้กับกลุ่มผู้ผลิตขนมหวาน ซึ่งพบว่า การใช้เครื่องตัด พับ เย็บวัสดุห่ออาหาร จะใช้เวลาเฉลี่ย 60.2 กระทงต่อนาที คิดค่าจ้าง 0.0018 บาทต่อกระทง ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าและมีต้นทุนต่ ากว่าการใช้แรงงานคน ซึ่งใช้เวลาเฉลี่ย 7 กระทงต่อนาที คิดเป็นค่าจ้าง 0.047 บาทต่อกระทง โดยผลทดสอบความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่ทดลองใช้เครื่องตัด พับ เย็บวัสดุห่ออาหาร พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด

พิทักษ์ ศรีสนและคณะ ( 2554) ประดิษฐ์เครื่องเจียนใบตองมีองค์ประกอบหลักคือ แท่นหมุนวางใบตอง คานกดแม่พิมพ์ใบตองและใบมีด หลักการท างานของเครื่องเจียนใบตองใช้หลักการของคานอันดับ 2 จากการศึกษาพบว่า ไม้และแผ่นสเตนเลสเหมาะสมส าหรับการน ามาประดิษฐ์เครื่องเจียนใบตอง เพราะไม้แข็งแรง ทนทาน ราคาไม่แพง ขึ้นรูปเป็นชิ้นงานสามารถใช้เครื่องมือในบ้านที่มีอยู่ได้

Page 7: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

7

วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง จ.นครราชสีมา (พ.ศ.2554)อุปกรณ์พับใบตองนี้ จะต้องตัดใบตองเป็นทรง

กลมตามขนาด แล้วน ามาใส่ลงในช่องของอุปกรณ์พับใบตองและหมุนแกนเพ่ือจับจีบใบตองให้สามารถเย็บด้วย

แม็กตามมุมพับได้

ภาพที่ 8 การใช้อุปกรณ์พับใบตอง

ที่มา: วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

www.youtube.com/watch?v=AebvXMc40JI

Page 8: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

8

วิจิตรา จันทภาโส และคณะ (2555) ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ตัดพับกรีดใบตองส าหรับขนมสอดไส้โดยตัดและพับใบตองได้ครั้งละ 1 ใบเท่านั้น และใบตองที่ตัดเป็นรูปวงรีที่มีปลายแหลมทั้งด้านเช่นเดียวกับลักษณะของใบไม้

ภาพที่ 9 อุปกรณ์ตัดพับกรีดใบตองส าหรับขนมสอดไส้

ที่มา: www.thaiinvention.net/detail.php

Page 9: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

9

บทที่ 3

อุปกรณ์และวิธีกำรวิจัย

3.1 แนวคิดในกำรออกแบบ

1) ได้ใบตองจากการเจียนเป็นรูปวงกลม: มีเพลาแกนหมุน

2) สามารถปรับขนาดได้: ใบมีดจะต้องเคลื่อนที่และปรับระยะได้

3) ได้ใบตองมากกว่า 5 ใบ จากการเจียน 1 ครั้ง

4) ใบมีดราคาถูกหาซื้อได้ตามท้องตลาด: มีดคัตเตอร์เปลี่ยนใบได้

3.2 กำรออกแบบเครื่องเจียนใบตองเป็นวงกลมปรับขนำดได้

(ก) แบบร่าง (ข) โต๊ะรองเครื่องจริง ภาพที่ 10 โต๊ะรองเครื่อง

โต๊ะเป็นฐานรองเครื่องเจียน มีขนาดกว้าง 40 เซนติเมตร ยาว 40 เซนติเมตร ท าจากไม้อัด มีแผ่นยางรองตัดขนาด A3 ยึดติดไว้ เพ่ือป้องกันไม่ให้ใบมีดกระแทกจนเกิดความเสียหายกับใบมีด

Page 10: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

10

(ก) แบบร่าง (ข) ชิ้นส่วนจริง ภาพที่ 11 ตัวทับส่วนนอกด้านล่าง

ตัวทับส่วนนอกท าจากเหล็กตันหนา 4 หุน กลึงมีบ่าลึก 5 มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอก 30 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางด้านใน 22 เซนติเมตร ด้านล่างเชื่อมติดกับเหล็กเส้นเพ่ือใช้เป็นส่วนจับยกและตรงข้ามเชื่อมติดกับเหล็กท่อขนาด 4 หุน เพ่ือเป็นแกนหมุนในการยกให้ทับกับใบตอง

(ก) แบบร่าง (ข) ชิ้นส่วนจริง ภาพที่ 12 ตัวทับส่วนนอกด้านบน

ตัวทับส่วนนอกด้านบน (ภาพที่ 12) เป็นแผ่นเหล็กหนา 4 หุน กลึงมีบ่าลึก 5 มิลลิเมตร มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอก 30 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางด้านใน 22 เซนติเมตร จะประกบกับตัวทับส่วนนอกด้านล่าง (ภาพที่ 11) ซึ่งบ่าจะขบกันไม่ให้หลุดออกจากกันขณะท าการเลื่อนหมุนไปโดยรอบ และใส่เพลาขนาด 7 มิลลิเมตร สี่ชิ้นด้วยการเชื่อมติด ใส่สปริงทั้งสี่ขด โดยขดสปริงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มิลลิเมตร สูง 8 เซนติเมตร เพ่ือรับน้ าหนักดิสเบรคและท้ังชุดขยับขึ้นลงได้เพ่ือส่งแรงกดให้ใบมีดเจียนใบตองได้

Page 11: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

11

(ก) แบบร่าง (ข) ชิ้นส่วนจริง ภาพที่ 13 จานยึดแกนจับมีด

ภาพที่ 14 เพลาลูกปืน

จานยึดแกนจับมีด (ภาพที่ 13) เป็นจานดิสเบรกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร จะมีรูเพลาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 มิลลิเมตร ตรงกลางเพลามีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 20 มิลลิเมตร ซึ่งจานดิสเบรกจะยึดตดิกับเพลาลูกปืนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านใน 20 มิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอก 40 มิลลิเมตร (ภาพที่ 14)

(ก) แบบร่าง (ข) ชิ้นส่วนจริง ภาพที่ 15 แกนทับส่วนกลาง

แกนทับส่วนกลาง (ภาพที่ 15) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร มีบ่าหนา 5 มิลลิเมตร ซึ่งจะสวมเข้ากับเพลาลูกปืน และเชื่อมติดกับจานทับมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 13 เซนติเมตร

Page 12: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

12

3.3 ส่วนประกอบเครื่องเจียนใบตองเป็นวงกลมปรับขนำดได้

ภาพที่ 16 เครื่องเจียนใบตองเป็นวงกลมปรับขนาดได้

1) ฐานรองตัด หมายเลข 1 ท าด้วยไม้อัด มีขนาด 40 × 40 เซนติเมตร

2) ชุดทับใบตอง หมายเลข 2 และ 3 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 22 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง

ภายนอก 30 เซนติเมตร หนา 4 หุน ทั้งสองชิ้น ชิ้นหมายเลข 3 จะไม่สามารถหมุนได้ แต่จะยกได้เพ่ือสอด

ใบตอง ชิ้นหมายเลข 2 จะหมุนได้และยกออกได้ จากชิ้นหมายเลข 3

3) จานหมุนเป็นตัวจับมีดที่ปรับขนาดได้ หมายเลข 4

4) แกนจับมีด หมายเลข 5 ท ามาจากเหล็กกลมตัน กลึงเป็นน็อตตัวผู้เพ่ือใส่น็อตตัวเมียไว้ยึดล็อค

5) ตัวจับมีด หมายเลข 6 ไม่ให้เคลื่อนทีท่ าจากเหล็กแผ่น ขนาด 4 × 4 เซนติเมตร

6) สปริง หมายเลข 7 รองรับน้ าหนักจานหมุนและชุดตัด

7) ส่วนทับใบตองตรงกลาง หมายเลข 8 ไม่ให้ใบตองเคลื่อนที่ ท าจากเหล็กแผ่นขนาด

เส้นผ่าศูนย์กลาง 13 เซนติเมตร เชื่อมติดกับเหล็กกลมตันขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร

8) ใบมีดเป็นมีดคัตเตอร์ ที่มีรูขนาด 1 หุน ส าหรับยึดจับเข้าแกนจับใบมีดหมายเลข 6

1

3

2

4

5

6

7

8

Page 13: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

13

ภาพที่ 17 แกนจับมีด

แกนจับมีดจะกลึงเป็นเกลียวน็อตตัวผู้ (1) ขนาด 4 หุน เชือ่มติดกับตัวมีดคัตเตอร์ (4) ด้วยน็อตขนาด 1 หุน (3) และวางทาบด้วยเหล็กสองชิ้นที่วางตั้งฉากกัน (5) เพ่ือจับมีดไม่ให้เคลื่อนที่หรือหักงอ มีน็อตตัวเมีย (2) ขนาด 4 หุน สวมเข้ากับแกนจับมีดเพ่ือจับกับร่องจานหมุนปรับขนาดได้

3.4 กำรท ำงำนของเครื่องเจียนใบตองเป็นวงกลมปรับขนำดได ้

1) คัดขนาดใบตองที่มีความกว้างและยาว โตกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณสองเซนติเมตร ยกชุดทับใบตองขึ้น ปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง (15 เซนติเมตร 18 เซนติเมตร 21 เซนติเมตร) ปรับหน้าใบมีดให้ตั้งฉากกับแกนหมุน

ภาพที่ 18 คัดขนาดใบตอง ภาพที่ 19 การใช้เครื่องเจียนใบตอง 1

2 3

4

5 1

Page 14: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

14

2) เรียงใบตองตามจ านวนชั้นที่ต้องการแล้วสอดใบตองให้อยู่กึ่งกลางชุดทับพร้อมกับวางชุดทับลงต าแหน่งเริ่มต้น

ภาพที่ 20 การใช้เครื่องเจียนใบตอง 2

3) ใช้มือกดตรงกลางชุดทับมีดเบาๆ แล้วท าการเจียนใบตองโดยการหมุนใบมีดเพ่ือกรีดใบตองจนครบวงรอบ

ภาพที่ 21 การใช้เครื่องเจียนใบตอง 3

4) ยกชุดทับใบตองขึ้นเพ่ือน าใบตองที่เจียนได้ออกจากตัวเครื่อง

ภาพที่ 22 การใช้เครื่องเจียนใบตอง 4

Page 15: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

15

3.5 กำรทดสอบค่ำควำมแข็งสปริง

น าสปริงที่ใช้มาท าการทดสอบ โดยการน าสปริงวางบนแท่นรับแรงกดของเครื่อง Universal Testing Machine ดังภาพที่ 24 ทดสอบการกดหาค่าความแข็งสปริง บันทึกค่าการเปลี่ยนแปลงแรงกด (N) กับระยะยุบตัวของสปริง (mm)

ภาพที่ 23 เครื่อง Universal Testing Machine

ภาพที่ 24 การทบสอบหาค่าคงท่ีสปริง

จากการทดสอบวัดค่าความแข็งสปริง 4 ขด ได้ค่าความแข็งของสปริงทั้ง 4 ขด เฉลี่ย 1.17 N/mm

ภาพที่ 25 สปริงที่ใส่ในเครื่องเจียนใบตอง

Page 16: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

16

บทที่ 4

ผลกำรทดลองและวิจำรณ์

4.1 กำรทดลอง

1) คัดขนาดใบตองเพ่ือเจียนที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15, 18 และ 21 เซนติเมตร 2) ท าการทดสอบกรีดใบตองในแต่ละขนาดโดยเรียงใบตองจ านวน 7, 9 และ 11 แผ่น อย่างละ 3 ซ้ า รวมจ านวน 81 แผ่น ต่อขนาดที่ทดสอบ 3) ปรับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเครื่องเจียนเป็น 15 เซนติเมตร 18 เซนติเมตร และ 21 เซนติเมตร ตามล าดับ 4) เจียนใบตองครั้งละชุด ตรวจดูรอยช้ า และส่วนที่เจียนไม่ขาด พร้อมบันทึกผลการทดสอบ

5) คัดเลือกผลการทดสอบที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด เพ่ือท าการทดสอบทวนซ้ า จ านวน 10 ครั้ง และบันทึกผลการทดสอบ

ตารางที่ 4.1 ผลทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร

จ านวนชั้นใบตอง (แผ่น)

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 น้ าหนัก

เฉลี่ย (กรัม)

7 X X / / / / X X / / / / / X X / / / / / X 27.67

9 X X / / / / / / X X X X / / / / / X X X / / / / / / / 34.00

11 X X X X / / / / / / X X X / / / / / / / / X X X X / / / / / / / X 41.00

ล่าง บน ล่าง บน ล่าง บน

หมายเหตุ: เครื่องหมาย / หมายถึง ใบตองไม่มีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

เครื่องหมาย x หมายถึง ใบตองมีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

จากการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ซึ่งท าการเจียนใบตองซ้อนกัน

ครั้งละ 7 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 4, 5 และ 5 แผ่น

ตามล าดับ คิดเป็นประสิทธิภาพการเจียนใบตองร้อยละ 57.14, 71.43 และ 71.43 ตามล าดับ และเม่ือเพ่ิม

จ านวนใบตองซ้อนกันเป็นครั้งละ 9 แผ่น ทดสอบซ้ าจ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพ

สมบูรณ์จ านวน 6, 5 และ 7 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิดเป็นร้อยละ 66.67, 55.56

และ 77.78 ตามล าดับ ส่วนการทดสอบเจียนใบตองซ้อนกันครั้งละจ านวน 11 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้

ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 6, 8 และ 7 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิด

เป็นร้อยละ 54.55, 63.64 และ 63.64 ตามล าดับ

Page 17: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

17

โดยสรุปแล้วการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ครั้งละ 7, 9 และ 11

แผ่น มีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยของการเจียนใบตอง คิดเป็นร้อยละ 66.67, 66.67 และ 60.61 ตามล าดับ และ

จากการสังเกตลักษณะใบตองเจียนกลมท่ีได้ พบว่า ใบที่อยู่ล่างสุดเกิดความเสียหายฉีกขาดเป็นเพราะแรงกด

ไม่พอให้ใบมีดเจียนใบตองให้ขาดเป็นวงกลมได้ทั้งแผ่น ใบบนสุดที่เสียหายเกิดจากแรงกดมากเกินไปท าให้ช้ า

หรือเส้นใยที่ไม่แนบกับใบตองไปอื่นท าให้มีดเกี่ยวใบตองด้านบนขาด

ตารางที่ 4.2 ผลทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร

จ านวนชั้นใบตอง (แผ่น)

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 น้ าหนัก

เฉลี่ย (กรัม)

7 / / / / / / X X X / / / / / / / / / / / / 34.33

9 X X / / / / / / X X X X / / / / / X X / / / / / / / X 48.00

11 X X / / / / / / / / X X X X X / / / / / / / X X X / / / / /X X X 54.67

ล่าง บน ล่าง บน ล่าง บน

หมายเหตุ: เครื่องหมาย / หมายถึง ใบตองไม่มีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

เครื่องหมาย x หมายถึง ใบตองมีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

จากการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ซึ่งท าการเจียนใบตองซ้อนกัน

ครั้งละ 7 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 6, 5 และ 7 แผ่น

ตามล าดับ คิดเป็นประสิทธิภาพการเจียนใบตองร้อยละ 85.71, 71.43 และ 100 ตามล าดับ และเม่ือเพ่ิม

จ านวนใบตองซ้อนกันเป็นครั้งละ 9 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน

6, 5 และ 7 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิดเป็นร้อยละ 66.67, 55.56 และ 77.78

ตามล าดับ ส่วนการทดสอบเจียนใบตองซ้อนกันครั้งละจ านวน 11 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูป

วงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 8, 7 และ 5 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิดเป็นร้อยละ

72.73, 63.64 และ 45.45 ตามล าดับ

โดยสรุปแล้วการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ครั้งละ 7, 9 และ 11

แผ่น มีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยของการเจียนใบตอง คิดเป็นร้อยละ 85.71, 66.67 และ 60.61 ตามล าดับ และ

จากการสังเกตลักษณะใบตองเจียนกลมท่ีได้ พบว่า ใบที่อยู่ล่างสุดเกิดความเสียหายฉีกขาดเป็นเพราะแรงกด

ไม่พอให้ใบมีดเจียนใบตองให้ขาดเป็นวงกลมได้ทั้งแผ่น ใบบนสุดที่เสียหายเกิดจากแรงกดมากเกินไปท าให้ช้ า

หรือเส้นใยที่ไม่แนบกับใบตองไปอื่นท าให้มีดเกี่ยวใบตองด้านบนขาด

Page 18: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

18

ตารางที่ 4.3 ผลทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร

จ านวนชั้นใบตอง (แผ่น)

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 น้ าหนัก

เฉลี่ย (กรัม)

7 X X / / / / X X / / / / / / X / / / / / / 53.67

9 X X / / / / / / X X / / / / / / / / X / / / / / / / X 66.33

11 X X / / / / / / / / X X X X / / / / / / / X X X X / / / / / / / X 88.33

ล่าง บน ล่าง บน ล่าง บน

หมายเหตุ: เครื่องหมาย / หมายถึง ใบตองไม่มีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

เครื่องหมาย x หมายถึง ใบตองมีรอยฉีกขาดหรือรอยช้ า

จากการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร ซึ่งท าการเจียนใบตองซ้อนกัน

ครั้งละ 7 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 4, 6 และ 6 แผ่น

ตามล าดับ คิดเป็นประสิทธิภาพการเจียนใบตองร้อยละ 57.14, 85.71 และ 85.71 ตามล าดับ และเมื่อเพ่ิม

จ านวนใบตองซ้อนกันเป็นครั้งละ 9 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูปวงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน

6, 8 และ 7 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิดเป็นร้อยละ 66.67, 88.89 และ 77.78

ตามล าดับ ส่วนการทดสอบเจียนใบตองซ้อนกันครั้งละจ านวน 11 แผ่น จ านวน 3 ครั้ง พบว่าได้ใบตองเจียนรูป

วงกลมสภาพสมบูรณ์จ านวน 8, 7 และ 7 แผ่น ตามล าดับ มีประสิทธิภาพการเจียนใบตองคิดเป็นร้อยละ

72.73, 63.64 และ 63.64 ตามล าดับ

โดยสรุปแล้วการทดสอบเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร ครั้งละ 7, 9 และ 11

แผ่น มีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยของการเจียนใบตอง คิดเป็นร้อยละ 76.19, 77.78 และ 66.67 ตามล าดับ และ

จากการสังเกตลักษณะใบตองเจียนกลมท่ีได้ พบว่า ใบที่อยู่ล่างสุดเกิดความเสียหายฉีกขาดเป็นเพราะแรงกด

ไม่พอให้ใบมีดเจียนใบตองให้ขาดเป็นวงกลมได้ทั้งแผ่น ใบบนสุดที่เสียหายเกิดจากแรงกดมากเกินไปท าให้ช้ า

หรือเส้นใยที่ไม่แนบกับใบตองไปอื่นท าให้มีดเกี่ยวใบตองด้านบนขาด

Page 19: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

19

4.2 ผลกำรทดสอบประสิทธิภำพ

จากการทดสอบประสิทธิภาพการเจียนใบตอง มีรอยกรีดกับไม่มีรอยกรีด เส้นผ่านศูนย์กลางโดยเฉลี่ย

และความชื้นเฉลี่ยแสดงในตาราง

ประสิทธิภาพการเจียน (ร้อยละ) = จ านวนใบตองที่ไม่มีต าหนิ

จ านวนใบที่ตัดในหน่ึงครั้ง

ตารางที่ 4.4 ประสิทธิภาพการเจียนใบตองขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15, 18 และ 21 เซนติเมตร

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง (เซนติเมตร)

จ านวนแผ่น ตัดต่อครั้ง (แผ่น)

ไม่มีต าหนิต าหนิ (ร้อยละ)

น้ าหนักเฉลี่ย (กรัม)

15

7 66.67 27.67

9 66.67 34

11 60.61 41

18

7 85.71 34.33

9 66.67 48

11 60.61 54.67

21

7 76.19 53.67

9 77.78 66.33

11 66.67 88.33

Page 20: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

20

กราฟที่ 4.1 ประสิทธิภาพการเจียนใบตอง ที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 15, 18 และ 21 เซนติเมตร จ านวนชั้นใบตอง

7, 9 และ 11 แผ่น

จากผลการทดลองนี้จะเห็นได้ว่าที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ที่จ านวน 7 แผ่นต่อครั้งให้

ประสิทธิภาพสูงสุด จึงน ามาทดลองซ้ า 10 ครั้ง ถ้าเพ่ิมจ านวนแผ่นมากขึ้นท าให้ประสิทธิภาพไม่แตกต่าง หาก

เพ่ิมมากเกินไป จะท าให้ประสิทธิภาพแตกต่างมาก

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

7 แผ่นต่อครั้ง 8 แผ่นต่อครั้ง 9 แผ่นต่อครั้ง

ประสิทธิภำพกำรเจียนใบตอง

เส้นผ่าศูนกลาง 15 เซนติเมตร

เส้นผ่าศูนกลาง 18 เซนติเมตร

เส้นผ่าศูนกลาง 21 เซนติเมตร

Page 21: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

21

ตารางที่ 4.5 ผลทดสอบซ้ าการเจียนใบตอง 7 แผ่น ที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร เพ่ือหาความแม่นย า

ทดสอบครั้งที่

ใบตองไม่มีต าหนิ น้ าหนัก (กรัม)

ประสิทธิภาพ (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 6 7

1 x / / / / / / 42 85.71

2 / / / / / / / 40 100

3 x / / / / / / 43 85.71

4 x / / / / / / 46 85.71

5 x / / / / / / 42 85.71

6 / / / / / / / 39 100

7 / / / / / / / 45 100

8 x / / / / / / 42 85.71

9 / / / / / / / 42 100

10 / / / / / / / 40 100

ล่าง บน เฉลี่ย 92 .86

หมายเหตุ: ใบที่ 1 คือใบที่อยู่ด้านล่างสุด

จะเห็นว่า การเจียนใบตองที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ครั้งละ 7 แผ่น มีประสิทธิภาพดีที่สุด จึง

น ามาทดสอบ 10 ซ้ า ได้ประสิทธิภาพเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 92.86 หากคิดจ านวนแผ่นที่ได้ต่อการเจียน 7 แผ่นต่อ

ครั้ง จะได้ใบตองที่เจียนแล้วโดยเฉลี่ย 6 แผ่นต่อครั้ง โดยร้อยละ 50 สามารถเจียนได้ครบทั้ง 7 แผ่น

และจากการจับเวลาที่ใช้ในการเจียนใบตอง ใช้เวลา 30 วินาทีต่อการเจียน 1 ครัง้ ดังนั้นโดยการ

ค านวณใน 1 ชั่วโมงจะเจียนใบตองได้ 780 แผ่น (60×2×7×0.9286 )

Page 22: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

22

ภาพที่ 27 ใบตองที่เจียนเป็นวงกลมสมบูรณ์

ภาพที่ 28 ใบตองชั้นบนสุดที่ฉีกขาดเนื่องจากการใช้แรงเจียนมากเกินไป

ภาพที่ 29 ใบตองแผ่นด้านล่างที่เจียนไม่ขาด

Page 23: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

23

4.3 วิจำรณ์ผลกำรทดสอบ

จากการทดสอบใบ พบว่า

- หากใช้น้ าหนักกดไม่มากเพียงพอจะท าให้คมของใบมีดกรีดลงไม่ถึงใบตองที่อยู่ชั้นล่างสุด ส่งผลให้ไม่

สามารถเจียนใบตองให้ขาดเป็นวงกลมได้รอบทั้งแผ่น และยังมีผลท าให้ใบตองชั้นบนสุดเกิดการฉีกขาด

เนื่องจากตัวกดทับไม่ส่งน้ าหนักแนบสนิทกับเส้นใยของใบตองท าให้ใบมีดเกี่ยวใบตองที่วางอยู่ชั้นบนสุดฉีกขาด

แต่หากใช้แรงกดมากเกินไปก็จะท าให้เกิดรอยช้ าของใบตองชั้นบนสุด

- ในการเจียนหากปรับมีดไม่ดีท าให้จุดต้นและจุดสุดท้ายในการตัดไม่ทับรอบเดิมใบตองจึงฉีกขาด

- ฐานรองตัดไม่เรียบท าให้รอยตัดใบสุดท้ายไม่สม่ าเสมอ และไม่ขาดเป็นวงกลม

- ผลการทดลองขึ้นอยู่กับความช านาญของผู้ทดสอบ

Page 24: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

24

บทที่ 5

สรุปผลกำรทดลอง

5.1 ผลกำรทดสอบประสิทธิภำพกำรเจียนใบตอง

จากการทดลองเจียนใบตองที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ครั้งละ 7, 9 และ 11 แผ่น มี

ประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 66.67, 66.67 และ 60.61 ตามล าดับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ครั้งละ

7, 9 และ 11 แผ่น มีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 85.71, 66.67 และ 60.61 ตามล าดับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 21

เซนติเมตร ครั้งละ 7, 9 และ 11 แผ่น มีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 76.19, 77.78 และ 66.67 ตามล าดับ จะ

เห็นว่าที่เส้นผ่านศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร ครั้งละ 7 แผ่น มีประสิทธิภาพดีสุด และจากการทดสอบทวนซ้ า 10

ครั้ง ใหป้ระสิทธิภาพเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 92.86 และหากคิดจ านวนแผ่นที่ได้ต่อการเจียน 7 แผ่นต่อครั้ง จะได้

ใบตองที่เจียนแล้วโดยเฉลี่ย 6 แผ่นต่อครั้ง โดยร้อยละ 50 สามารถเจียนได้ครบทั้ง 7 แผ่น ซึ่งจะช่วยให้

สามารถเจียนใบตองได้ถึงจ านวน 780 แผ่นต่อชั่วโมง

5.2 ข้อเสนอแนะ

ในการทดสอบพบว่าความแน่นและมุมของการตั้งใบมีดมีผลต่อความกลมและรอยฉีกขาด โดยต้องตั้ง

ปลายมีดให้ตั้งฉากกับจุดศูนย์กลางของแกนหมุนตรงกลางเสมอ การใช้แรงกดที่เบาเกินไปท าให้รอยตัดขาดไม่

สม่ าเสมอการเจียนใบตองจึงไม่ขาดทั่วถึงชั้นล่างและอาจจะท าให้ใบตองเสียหาย แตห่ากใช้แรงกดมากไปจะท า

ให้ใบมีดงอ เจียนไม่กลม และเกิดรอยช้ าของใบตองแผ่นบนสุด

Page 25: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

25

เอกสำรอ้ำงอิง

กำรเลือกใบตองท่ีน ำมำใช้. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2559, จาก noklovesong40.wordpress.com/การเลือก

ใบตองที่น ามาใช/

นฤพล เอ่ียมดวง และคณะ วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง. 2552 . เครื่องตัด-พับ-เย็บวัสดุห่อ อำหำร. ค้นเมื่อ

17 พฤศจิกา 2559, จาก

http://118.175.21.17/innovation/bverd/bb_project_detail.php?project_id=1251

พิทักษ์ ศรีสนและคณะ โรงเรียนสทิงพระวิทยา อ าเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. (2554). เครื่องเจียนใบตอง.

ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2559, จาก library.ipst.ac.th/handle/ipst/4065

ส่วนประกอบของกล้วย. ค้นเมื่อ 17 พฤศจิกา 2559, จาก bananas51.wordpress.comข้อมูลทั่วไป

เกี่ยวกับกล้วย/ส่วนประกอบของกล้วย-2/

Circle Scissor Pro. ค้นหาเมื่อ 24 ธนวาคม 2559, จาก sweetmaple.tarad.com/product-th-753595-

3656317-Circle+Scissor+Pro+เครื่องตัดวงกลมปรับขนาดได้+ใบมีดส ารองเปลี่ยนได้อีก3อัน+ดู

วีดีโอการใช้งานด้านในค่ะ.html

Jom Uncategorised, (2559). วิธีท ำกระทงสี่มุม. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2559, จาก www.thai-

thaifood.com/th/วิธีท ากระทงสี่มุม/

Sittyideablog. (2559). อุปกรณ์พับใบตอง. คนเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2559, จาก

www.youtube.com/watch?v=AebvXMc40JI

Suteera. (2557). เรื่องกล้วยที่ไม่ใช่เรื่องกล้วย ๆ สวนลุงหมี ครับ. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2557,

www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=77927.1040

(2559). เครื่องตัดกระดำษวงกลมตำมขนำดที่ต้องกำร. ค้นหาเมื่อ 24 ธันวาคม,

prettydesign.weloveshopping.com/store/product/view/Martha_Stewart_Crafts_Circle_

Cutter_เครื่องตัดกระดาษวงกลมตามขนาดที่ต้องการ

Page 26: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

26

ภำคผนวก

ภำคผนวก ก ตำรำงผลกำรทดลอง

ตารางที่ 1 ก. ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร จ านวน7แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ ไม่มีรอยต าหนิ น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 x x x

28 27 28

2 x / /

3 / / /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 x x x

ตารางที่ 2 ก. ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซติเมตร จ านวน 9 แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 x x x

34 33 35

2 x x x

3 / x /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 x x /

Page 27: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

27

ตารางที่ 3 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร จ านวน11 แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 x x x

41 42 40

2 x x x

3 x / x

4 x / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 / / /

10 / / /

11 x x x

ตารางที่ 4 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร จ านวน 7 แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 / x /

33 36 34

2 / x /

3 / / /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 x / /

Page 28: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

28

ตารางที่ 5 ก. ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร จ านวน 9 แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 x x /

45 50 49

2 / / /

3 / / /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 / x x

ตารางที่ 6 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 เซนติเมตร จ านวน11 แผ่นต่อครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่ 3

1 x x x

53 55 56

2 / x x

3 / x x

4 / x /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 / / /

10 x / x

11 x / x

Page 29: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

29

ตารางที่ 7 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร จ านวน 7 แผ่นต่อ 1 ครั้ง

ตารางที่ 8 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร จ านวนเจ็ดแผ่นต่อ 9 ครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3

1 x x x

68 66 65

2 x / /

3 / / /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 x / x

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3

1 x x x

52 54 55

2 x / /

3 / / /

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

Page 30: บทที่ 1 บทน ำ - Kasetsart University · 2017-11-20 · 1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

30

ตารางที่ 9 ก.ทดสอบการเจียนใบตอง ที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 21 เซนติเมตร จ านวนเจ็ดแผ่นต่อ11 ครั้ง

ใบที่ รอยฉีกขาด น้ าหนัก (g)

ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3

1 x x x

89 86 90

2 x x x

3 / x x

4 / / /

5 / / /

6 / / /

7 / / /

8 / / /

9 / / /

10 / / /

11 x x x