คำนำ · Web viewสร ปผลการดำเน...

48
1 รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร

Transcript of คำนำ · Web viewสร ปผลการดำเน...

คำนำ

40

รายงานสรุปประเมินผลโครงการ

โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ปีงบประมาณ 2558

สรุปผลการประเมิน

โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

วันอังคารและวันศุกร์ที่ 23,26 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2558

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

บทสรุปผู้บริหาร

รายงานสรุปประเมินผล โครงการ/กิจกรรม อบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ ฉบับนี้เป็นผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2558 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23,26 มิถุนายน2558 ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้ความรู้แก่ผู้บริโภคทั่วไปในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่สนใจในการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพและฝึกอบรมประกอบอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

สรุปผลการดำเนินงานของโครงการนี้ ในระดับมหาวิทยาลัยเป็นการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัย เพื่อการสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในระดับคณะเป็นการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นแหล่งเรียนรูและการบริการ การสรางเสริมสุขภาพ ที่มีการบูรณาการองคความรูทางดานสุขภาพกับภูมิปญญาทองถิ่น กลยุทธ์ที่ 2 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษา บุคลากร อาจารย์ และบุคคลทั่วไปที่มาร่วมฝึกอบรมการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผลการประเมินจากผู้ร่วมกิจกรรม พบว่า มีความพึงพอใจมาก การจัดกิจกรรมบรรลุตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในด้านคุณภาพ ด้านปริมาณ และด้านเวลา

ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการจัดทำรายงานสรุป เพื่อเป็นข้อมูลแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปใช้และเป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน, การวิจัย , บริการทางวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของหน่วยงาน

และในโอกาสนี้ ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการครั้งนี้ทุกท่าน ที่ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ

ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญ

เรื่องหน้า

บทสรุปผู้บริหาร3

สรุปผลการประเมินโครงการ/กิจกรรม5

วัตถุประสงค์6

เป้าหมายโครงการ6

ผู้เข้าร่วมโครงการ6

งบประมาณ6

กิจกรรมการดำเนินงานตามแผน7

ความสำเร็จของการดำเนินงาน8

ผลการประเมินโครงการ8

ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน10

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล10

ภาคผนวก

รายละเอียดโครงการที่ได้รับอนุมัติ16

จดหมายเชิญ จดหมายเชิญวิทยากร 22

แบบสอบถาม26

ภาพประกอบการจัดโครงการ / กิจกรรม27

รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ38

สรุปรายงานผลการประเมิน

โครงการ / กิจกรรม อบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 23 และ 26 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2558 ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2557

1.สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์

ระดับมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัย เพื่อการ

สนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

ระดับคณะ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นแหล่ง

เรียนรูและการบริการ การสรางเสริมสุขภาพ ที่มี

การบูรณาการองคความรูทางดานสุขภาพกับ

ภูมิปญญาทองถิ่น

กลยุทธ์ที่ 2 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

แผนงบประมาณ

ผลผลิต

-อบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหาร เพื่อสุขภาพ 20,000 บาท

ฝึกอบรมเชิงประสบการณ์ประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ จำนวน 2 หลักสูตร

1. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในอาหาร

2. อาหารว่างและเครื่องดื่ม

2. ลักษณะโครงการ

พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนพัฒนาอาจารย์/ บุคลากร

บริการทางวิชาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ด้านบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อมพัฒนานักศึกษา*

ด้านคุณธรรมจริยธรรมและบุคลิกภาพ

อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………….....................................

*หมายเหตุ ความสอดคล้องกับการพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตาม TQF (เฉพาะในกรณีที่มีนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ)

ความรู้ ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร

ทักษะการคิดการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

3. การบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชา (ถ้ามี) วิชาอาหารและจุลินทรีย์ และวิชาการบริการอาหารและการจัดเลี้ยง

4. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้บริโภคทั่วไปในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่สนใจในการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ

2. ฝึกอบรมประกอบอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

5. เป้าหมายของโครงการ

1. บุคลากรและนักศึกษา ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 100 คน

2. มอบใบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรม

6. ผู้เข้าร่วมโครงการ

6.1 กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

จำนวนเป้าหมายของบุคลากร/นักศึกษาเข้าร่วม 100คน

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ / กิจกรรม ทั้งหมด 80คน

แบ่งเป็น

คณาจารย์ 16คน

บุคลากร 12คน

นักศึกษา 47คน

บุคคลภายนอก 5 คน

อื่นๆระบุ……………….…-…..คน

6.2 ปริมาณกลุ่มเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ …100….. คน

6.3 พื้นที่กลุ่มเป้าหมายงาน ผู้ฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

6.4 สถานะของกลุ่มเป้าหมาย (อาชีพ) บุคลากรและนักศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่

6.5 ความต้องการของเป้าหมาย ได้ความรู้เกี่ยวกับการทำอาหาร วิธีใช้วัตถุดิบการประกอบอาหาร

7.งบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

7.1 แหล่งงบประมาณ หมวดเงิน (In Cash) ที่ได้รับจากมหาวิทยาลัย

งปม.เงินแผ่นดิน จำนวนที่ได้รับ.............. บาท ใช้จริง.............บาท

งปม.รายจ่ายจากเงินรายได้ จำนวนที่ได้รับ.... 20,000.. บาท ใช้จริง... 20,000..บาท

งบประมาณสนับสนุนอื่น ๆ ที่ได้รับ

ระบุแหล่งที่มา................... จำนวนที่ได้รับ.................. บาท ใช้จริง..............บาท

7.2 มูลค่าใช้จ่าย (In Kind)

รายการ และมูลค่าใช้จ่ายของโครงการ / กิจกรรม(3 หมวด คือ ค่าตอบแทน ค่าวัสดุ ค่าใช้สอย)

1. ค่าตอบแทนวิทยากร

รวมเป็นเงิน ..........6,000......บาท

2. ค่าวัสดุ

รวมเป็นเงิน ........14,000.........บาท

3. ค่าใช้สอย

รวมเป็นเงิน .......................บาท

4. อื่น ๆ ..........................................

รวมเป็นเงิน .........................บาท

รวมมูลค่าใช้จ่าย ทั้งหมด

.............20,000...........บาท

8. กิจกรรมการดำเนินงานตามแผน

ที่

กิจกรรม

ระยะเวลา

เป้าหมายเชิงปริมาณ

หมายเหตุ

ตามแผน

ปฏิบัติจริง

กำหนดไว้

ปฏิบัติได้จริง

1

การใช้ประโยชน์จาก

จุลินทรีย์ในอาหาร

80

100

80

100

2

อาหารว่างและเครื่องดื่ม

80

100

80

100

9. ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มต้น.......1 มกราคม 2558.... สิ้นสุด..26 มิถุนายน 2558..

10. สถานที่จัดโครงการ ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

11. ผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ภาควิชาคหกรรมศาสตร์

12. การประเมินการดำเนินงานเมื่อเทียบกับแผน

ล่าช้ากว่าแผน ตามแผน เร็วกว่าแผน

13. ความสำเร็จของการดำเนินงาน

13.1 เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของโครงการ(ควรเป็น 4 ระดับ หรือตามความเหมาะสมของโครงการ)

( ) ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 90 - 100

( ) ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 80 –89

( ) ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 70 - 79

( ) ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ต่ำกว่า ร้อยละ 69

13.2 เปรียบเทียบกับเป้าหมายของโครงการ

( ) สูงกว่าเป้าหมาย เพรา...................................................................

( ) ตามเป้าหมาย

( ) ต่ำกว่าเป้าหมายเพราะ...................................................................

14. ผลการประเมินโครงการ / กิจกรรม

14.1 ประเภทของผลผลิตโครงการ(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ผลผลิตที่เป็นโครงสร้างทางกายภาพ หรือผลิตภัณฑ์(Products)

ผลผลิตที่เป็นลักษณะการให้บริการ (Service)

ผลผลิตที่เป็นลักษณะเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ (Management)

14.2 ผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ (ระบุผล)

14.3ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผู้ร่วมกิจกรรมโครงการ 80 คน คิดเป็น 80% ของเป้าหมาย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

14.4 การเป็นวิทยากรคิดเป็นชั่วโมง

1. คุณวุฒิชัย ลัดเครือ จำนวน .....1.......-........5..........ชั่วโมง

2. คุณดวงคำ อินต๊ะปาน จำนวน ....1...........-....5...........ชั่วโมง

14.5 ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/ผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ

ตัวชี้วัด

(Indicators)

เป้าหมาย

(Target)

ผลที่ได้รับ

(Actual)

ผลเป้าหมาย

สูง

ต่ำ

ผลที่ได้รับเชิงปริมาณ :

1.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ผลที่ได้รับเชิงคุณภาพ :

1.ความสำเร็จในการทำกิจกรรมอบรมการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ

2. ความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรม

80

อย่างน้อย 3กิจกรรม

เฉลี่ย 3.51

(ระดับมาก)

80

ทำกิจกรรม

4 กิจกรรม

เฉลี่ย 4.31

(ระดับมาก)

เชิงเวลา : โครงการแล้วเสร็จตามระยะที่กำหนด

80%

100%

เชิงต้นทุน :

ค่าใช้จ่ายของโครงการเป็นไปตามที่ได้รับอนุมัติ

80%

100%

หมายเหตุ

ตัวชี้วัดอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับลักษณะหรือประเภทของโครงการ

14.6. สนองตอบต่อการประกันคุณภาพการศึกษา (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

กพร. ตัวบ่งชี้ที่……………………………………………………………

สมศ.ตัวบ่งชี้ที่……………………………………………………………

สกอ. ตัวบ่งชี้ที่ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต (ตัวบ่งชี้ 2.6แ ละ 2.7

องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนานักศึกษา (ตัวบ่งชี้ที่ 3.2)

14.7 ข้อเสนอแนะ

จุดเด่น/จุดแข็งของโครงการ

กิจกรรมบริการวิชาการเพื่อให้ความรู้และทักษะการประกอบอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุภาพ ผู้ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมสามารถไปไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพด้านอาหารได้จริง

จุดอ่อน /ปัญหาอุปสรรคของโครงการ

การประชาสัมพันธ์โครงการ ส่วนใหญ่กลุ่มเป้าหมายไม่ทราบข่าว การประชาสัมพันธ์

ไม่ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะการจัดโครงการครั้งต่อไป

จัดฝึกอบรมการะประกอบอาหารให้ตรงกับวิถีชีวิตของคนเมืองในปัจจุบันที่มีแต่ความ

เร่งรีบ

15. ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

1. ภาควิชาคหรรมศาสตร์ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการประกอบที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพให้แก่ชุมชนและบุคลากรในมหาวิทยาลัยที่สนใจทั่วไป

2. ภาควิชาคหกรรมศาสตร์มีกิจกรรมบูรณาการ บริการวิชาการกับการเรียนการสอน

3. บุคลกากรและนักศึกษาหลักสูตรคหกรรมศาสตร์ได้องค์ความรู้จากการทำงานาบูรณาการ

4. เกิดแผนพัฒนาภาควิชาและแนวทางในการดำเนินการ ในการพัฒนางานบูรณาการวิชาการกับการเรียนการสอน

5. บุคลากรในภาควิชาคหกรรมศาสตร์มีความตื่นตัว ในการทำงานบริการวิชาการ

16. งานที่จะดำเนินต่อหลังจากการดำเนินโครงการ/ การพัฒนาโครงการครั้งต่อไป

กิจกรรมบูรณาการงานงานวิจัย บริการวิชาการการเรียนการสอน และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านคหกรรมศาสตร์ในชุมชนที่มีความประสงค์จะรับบริการ โดยการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น

17. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ขอบเขตของการประเมิน

17.1 ประชากรของการประเมิน ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และผู้ร่วมกิจกรรม

จำนวน 80 คน

17.2 กลุ่มตัวอย่างของการประเมิน ได้แก่นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และผู้ร่วมกิจกรรม

จำนวน 80 คน

ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรม

ลักษณะคำถามเป็นการถามความคิดเห็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า(Rating Scale) โดยแต่ละคำถามมีคำตอบให้เลือก 5 ระดับตามแนวทางของ Likert (Likert Scale) ประกอบด้วยข้อความที่เป็นการให้ความสำคัญในการตัดสินใจต่อการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโดยแต่ละข้อคำถามมีคำตอบเป็นความคิดเห็นให้เลือก 5 ระดับคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละระดับดังนี้

เกณฑ์ที่ใช้ในการให้คะแนนคือ

มากที่สุด 5คะแนน

มาก 4คะแนน

ปานกลาง 3คะแนน

น้อย 2คะแนน

น้อยที่สุด 1คะแนน

การวัดระดับความพึงพอใจใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประเมินค่า(Likert Scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับคือ ดีมาก มาก ปานกลาง น้อย น้อยมาก ในการแปลความหมายของคะแนน ใช้ค่าเฉลี่ย เป็นเกณฑ์ ซึ่งแปลความหมายค่าเฉลี่ยของกลุ่มดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายความว่ามากที่สุด

ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายความว่ามาก

ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายความว่าปานกลาง

ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายความว่าน้อย

ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายความว่าน้อยที่สุด

ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรม

(n=80)

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น

ค่าเฉลี่ย

แปลผล

1. เนื้อหาการฝึกอบรมมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้

4.55

มากที่สุด

2. ได้ความรู้ตรงกับความต้องการ

4.50

มาก

3. วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ในการดำเนินกิจกรรมเหมาะสม

4.46

มาก

4. เอกสารประกอบการเรียนรู้มีความเหมาะสม

4.38

มาก

5. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้

4.46

มาก

6. ระยะเวลาดำเนินโครงการมีความเหมาะสม

4.43

มาก

7. สภาพแวดล้อมในการอบรมเอื้อต่อการเรียนรู้

4.29

มาก

8. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด

ความรู้

3.90

มาก

9. บรรยากาศการเรียนรู้อย่างเป็นกันเองไม่ตึงเครียด

4.25

มาก

10.ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมต่อการดำเนิน

กิจกรรมโดยรวม

3.98

มาก

เฉลี่ยรวม

4.31

มาก

จากตารางพบว่า ความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.31)

โดยเนื้อหาฝึกอบรมมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ ผู้ประเมินให้คะแนนในระดับมากที่สุด (= 4.55) ส่วนประเด็นอื่นๆ อยู่ในระดับมาก

ภาคผนวก

หลักฐานประกอบการรายงานผลการจัดโครงการ

1. หนังสือขออนุมัติจัดโครงการ

1. รายละเอียดโครงการ / กิจกรรม

1. กำหนดการ

1. จดหมายเชิญ จดหมายเชิญวิทยากรภายนอก พร้อมเอกสารตอบรับ

1. แบบสอบถาม

1. ภาพประกอบการจัดโครงการ / กิจกรรม

1. รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ/ลายเซ็นผู้เข้าร่วมโครงการทั้งนักศึกษาและอาจารย์หรือบุคคลภายนอก

1. ซีดีรวมเล่ม 1 แผ่น/โครงการ

หนังสือขออนุมัติจัดโครงการ

รายละเอียดโครงการ

กำหนดการ

หนังสือเชิญวิทยากร

แบบประเมินผล

โครงการบูรณาการงานวิจัย บริการวิชาการ การเรียนการสอน และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในงานคหกรรมศาสตร์สู่ชุมชน

วันที่ 1 เดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2558

ณ ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมายถูกลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด

รายการประเมิน

ระดับความพอใจ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1. เนื้อหาการฝึกอบรมมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้

2. ได้ความรู้ตรงกับความต้องการ

3. วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ในการดำเนิน

กิจกรรมเหมาะสม

4. เอกสารประกอบการเรียนรู้มีความเหมาะสม

5. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้

6. ระยะเวลาดำเนินโครงการมีความเหมาะสม

7. สภาพแวดล้อมในการอบรมเอื้อต่อการเรียนรู้

8. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด

ความรู้

9. บรรยากาศการเรียนรู้อย่างเป็นกันเองไม่ตึงเครียด

10.ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมต่อการดำเนิน

กิจกรรมโดยรวม

ข้อเสนอแนะ

1. โครงการที่ต้องการให้จัดครั้งต่อไป

.........................................................................................................................................

2. ระยะเวลาจัดกิจกรรมครั้งต่อไป.........................................................................................................................................

3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ(เพิ่มเติม) .........................................................................................................................................

ภาพประกอบการจัดโครงการ/กิจกรรม

อบรมการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในอาหาร ในวันอังคารที่ 23 มิถุนายน 2558

โดยวิทยากร คุณวุฒิชัย ลัดเครือ ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์

อบรมอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในวันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน 2558

โดยวิทยากร เชฟดวงคำ อินต๊ะปาน ณ ห้องปฏิบัติการอาหาร ตึกคหกรรมศาสตร์

รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ/ลายเซ็นต์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งนักศึกษาและอาจารย์หรือบุคคลภายนอก

C