กษา 2550 ัมหาวิ ทยาลัิยศลปากร - SU · 2010. 8. 10. ·...

182
ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 โดย นางสาวพรทิพย รุมนุวิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of กษา 2550 ัมหาวิ ทยาลัิยศลปากร - SU · 2010. 8. 10. ·...

  • ปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสงักัดสํานักงานเขตพืน้ที่การศึกษานครปฐม เขต 2

    โดย นางสาวพรทพิย รุมนุม

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต

    สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควชิาพืน้ฐานทางการศึกษา

    บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

    ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • ปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสงักัดสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษานครปฐม เขต 2

    โดย นางสาวพรทพิย รุมนุม

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา

    ภาควชิาพืน้ฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • FACTORS EFFECTING TO STUDENT'S INTERNET ADDICTION BEHAVIOR OF ELEMENTARY SCHOOL IN NAKHONPATHOM EDUCATION

    SERVICE OFFICE AREA 2

    By Porntip Rumnum

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

    Department of Education Foundations Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2007

  • บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ ปจจัยทีส่งผลตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเนต็ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 ” เสนอโดย นางสาวพรทพิย รุมนุม เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา

    ……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

    คณบดีบณัฑติวิทยาลัย วันที่..........เดอืน.................... พ.ศ...........

    ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. รองศาสตราจารยคณิต เขียววิชัย 2. อาจารย ดร.นรินทร สังขรักษา 3. อาจารยธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย ดร.ลุยง ตรัยไชยาพร) ............/......................../............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารยคณิต เขยีววิชยั) (อาจารย ดร.นรินทร สังขรักษา) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ) (อาจารย ดร.วิรัตน คําศรีจันทร) ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 48260308 : สาขาวิชาพัฒนศึกษา คําสําคัญ : พฤตกิรรมการติดอินเตอรเน็ต , นักเรยีนระดับประถมศึกษา , สํานกังานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 พรทิพย รุมนุม : ปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการตดิอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสงักัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2. อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ : รศ.คณิต เขียววิชยั , อ.ดร.นรินทร สังขรักษา และ อ.ธีรศักดิ ์ อุนอารมยเลิศ. 171 หนา.

    การวิจัยครั้งนี้มวีัตถปุระสงค 1) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศกึษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 เมื่อจาํแนกตามปจจัยสวนบุคคลและปจจัยเกื้อหนุน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสนับสนุนกับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครปฐมเขต 2 4) เพื่อศึกษาปจจัยสนับสนุนที่สงผลตอพฤติกรรมการติดอนิเตอรเน็ตของนักเรยีนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2549 จาํนวน 396 คน ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่องมอืท่ีใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ฉบับ วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for window สถติิท่ีใชในการวิเคราะหขอมลู ไดแก สถิติบรรยายพื้นฐานไดแก คาความถี่ (frequency) คาเฉลีย่ (Χ ) คารอยละ (percentage) และสถิติอางอิง ไดแก สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคาที (t-test) การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (Oneway ANOVA) เมื่อพบความแตกตางในเชิงสถิติทําการเปรยีบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparison) ดวยวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s Method ) การหาสมัประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสันโพรดักสโมเมนต (Pearson’s Product - moment Correlation Coefficient) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบลําดับข้ัน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจยัพบวา

    1. พฤติกรรมการตดิอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรยีนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครปฐมเขต 2 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การใชเวลาบนอินเตอรเน็ตมากกวาที่ตั้งใจ การใชงานอินเตอรเน็ตบอยครั้ง การหยดุใชอินเตอรเน็ตไมได การขาดสัมพันธภาพกับคนรอบขาง การมอีาการหงุดหงิดเมื่อไมไดใชอินเตอรเน็ตออนไลน มีพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตอยูในระดับปานกลาง สวนพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง 2. พฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 เมื่อจําแนกตาม เพศ ระดับชั้น สถานภาพครอบครัว และอาชีพไมแตกตางกัน แตเมื่อจําแนกตามรายไดของผูปกครอง พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคญัทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนปจจัยเกื้อหนุนเมื่อจําแนกตามการใหบริการอินเตอรเน็ต การศึกษาอบรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต ไมแตกตางกัน แตเมื่อจําแนกตามการใหบริการคอมพิวเตอร พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3. พฤติกรรมการตดิอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสงักัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 มีความสมัพนัธกับปจจัยสนับสนุนในดานของการรบัรู และสภาพแวดลอมทางสังคมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สวนดานสัมพันธภาพในครอบครัว และการบริหารเวลาไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต 4. ปจจัยสนับสนุนดานสภาพแวดลอมทางสังคมสามารถทาํนาย พฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนักเรียนระดบัประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 ไดรอยละ 35.0 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดบั .01 สวนการรับรูเปนตัวแปรที่ไดรับการคัดเลอืกเขาสมการเปนลําดับท่ี 2 มีประสิทธิภาพในการทํานายพฤติกรรมการติดอินเตอรเนต็ของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2 เพิ่มข้ึนรอยละ 2.2 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยสภาพแวดลอมทางสังคมและการรับรู มีประสิทธภิาพในการทํานายรวมกันตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตรอยละ 37.2 งานวิจัยน้ี ผูวิจัยไดสรุปการพฒันากรอบมโนทัศนจากการวิจยั เพื่ออธิบายพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต และใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพฒันาความสัมพันธในครอบครัว การใหความรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต การจัดระเบียบการบริการอินเตอรเน็ต การพัฒนาบทบาทของสื่อมวลชน ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิปากร ปการศึกษา 2550 ลายมอืชือ่นักศึกษา........................................ ลายมอืชือ่อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. ................................................ 2. ............................................. 3. ..............................................

  • 48260308 : MAJOR : DEVELOPMENT EDUCATION KEY WORD : INTERNET ADDICTION BEHAVIOR, STUDENT’S ELEMENTARY, NAKHONPATHOM EDUCATION SERVICE OFFICE AREA 2 PORNTIP RUMNUM : FACTORS EFFECTING TO STUDENT’S INTERNET ADDICTION BEHAVIOR OF ELEMENTARY SCHOOL IN NAKHONPATHOM EDUCATION SERVICE OFFICE AREA 2. THESIS ADVISORS : ASSOC. PROF. KANIT KHEOVICHAI, M.ED., NARIN SUNGRUKSA, ED.D., AND THIRASAK UNAROMLERT, M.ED. , 171 pp. The purposes of the research are : 1) To study a level internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. 2) To compare internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2 which classifying by personal factor and helping factor 3) To study a relationship between supporting factor and internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. 4) To study the supporting factor effecting internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. The samples group is the elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. the second level in the year of 2006, 396 persons from a Multi – stage Random Sampling. The instrument of the research is one set of questionnaire. Information Analysised by a ready – made program called SPSS for window. Statistics using in this information Analysis are the basic relatable statistics such as frequency,Χ ,percentage and the referential statistics such as standard (S.D.), t-test, Oneway ANOVA when finding a statistical difference of Multiple Comparison by Scheffe’s Method Pearson’s Product-moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were : 1) Internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. consideration finds out that More than intended time spent online, Other responsibilities neglected, Unsuccessful attempts to cut down, Significant relationship discord because of use, Excessive thoughts or anxiety when not online and internet addiction behavior are average level while internet addiction behavior generally are average level, too.

    2) Internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. which classifying by gender, student’s level, family status and occupation are not different but classifying by their parents income as a result show that there are statistical difference significant at .05 Helping factor classifying service internet studying or training about computer and internet are not different but classifying computer service as a result show that there are statistical difference significant at .05.

    3) Internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. relationship supporting factor perception and social environment with a statistically significant at .01. For the family relationship and time management, there is nothing connect to the internet addiction behavior.

    4) Social support motivation predicted internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. 35.0 percentage significant at .01. while the perception variable which is selected into the equation in the second order efficiency predicted internet addiction behavior for elementary students school in Nakhonpathom education service office area 2. increases 2.2 percentage significant at .01 by the social environment and perception efficiency in co-forecasting about the internet addiction behavior in the percentage of 37.2. Researcher can summarize the conceptualization from this research for explaining internet addiction behavior and support about the development in family relationship presenting the knowledge about internet managing the internet service and develop part of mass media.

    Department of Education Foundations Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007 Student's signature ........................................ Thesis Advisors' signature 1. ..................................... 2. ................................... 3. ...................................

  • กิตติกรรมประกาศ วิทยานพินธเลมนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ขอขอบพระคุณอาจารย ดร.ลุยง ตรัยไชยาพร ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานพินธ ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารยคณติ เขียววิชยั ประธานผูควบคุมวิทยานพินธ ขอขอบพระคุณอาจารย ดร. นรนิทร สังขรักษา ผูควบคุมวิทยานพินธ อาจารย ดร. วิรัตน คําศรีจันทร ผูทรงคุณวุฒิ ที่ไดใหความกรุณาในการใหคําปรึกษา แนะนํา และแกไขปญหาตางๆ ในระหวางการดําเนินการวิจัยโดยตลอด ขอขอบพระคุณอาจารย ธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ ผูเชี่ยวชาญการสรางแบบประเมินที่ไดใหคําแนะนําในการวิจัย ผูวิจยัรูสึกซาบซึ้ง และระลึกถึงพระคณุของอาจารยเปนอยางสูง จึงขอขอบพระคุณดวยความเคารพอยางยิง่

    ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญที่กรุณาใหคําแนะนํา ปรึกษา ตรวจสอบ ปรับปรุงในสวนของเครื่องมือที่ใชในการวิจยั ขอกราบขอบพระคุณ ทีไ่ดใหคําแนะนําอันมีคายิ่ง ขอขอบพระคุณทุกๆ ทาน ที่มีสวนรวมในการทําวิทยานิพนธเลมนี้ใหสําเร็จลุลวงดวยด ี ซ่ึงผูวิจัยไมสามารถจะกลาวนามไดทั้งหมด ณ ที่นี ้

    ทายสุดนี้ ความดีของวิทยานพินธเลมนี้ ผูวจิัยขอมอบเพื่อตอบแทนพระคุณ คุณนพินธ และคุณนพพา รุมนุม (บิดาและมารดา) ตลอดจนครูอาจารย ผูอบรมสั่งสอน ที่ใหความรักความเมตตาแกผูวิจยัดวยดเีสมอมา

  • สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฌ บทที่ 1 บทนํา............................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................................................ 1

    วัตถุประสงคของการวิจยั ...................................................................................... 8 สมมติฐานของการวิจยั.......................................................................................... 8 ขอบเขตของการวิจยั ............................................................................................. 8 นิยามศัพทเฉพาะ .................................................................................................. 10 ประโยชนทีค่าดวาจะไดรับ................................................................................... 11

    2 วรรณกรรมและงานวจิัยที่เกี่ยวของ .............................................................................. 12 แนวคิดเกีย่วกับอนิเตอรเน็ต.................................................................................. 13 แนวคิดเกีย่วกับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ...................................................... 25 แนวคิดเกีย่วกับปจจัยสนับสนนุ............................................................................ 32 แนวคิดเกีย่วกับปจจัยเกื้อหนุน.............................................................................. 43 งานวิจยัที่เกีย่วของ ................................................................................................ 48 3 วิธีดําเนนิการวิจัย .......................................................................................................... 59 ประชากรและกลุมตัวอยาง .................................................................................. 59 ตัวแปรที่ศึกษา ..................................................................................................... 61 เครื่องมือที่ใชในการวิจยั ...................................................................................... 62 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ .............................................................................. 64 การเก็บรวบรวมขอมูล ......................................................................................... 66 การวิเคราะหขอมูล............................................................................................... 66

  • บทที่ หนา 4 ผลการวิเคราะหขอมูล.................................................................................................. 70 ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคล....................................................... 71 ตอนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยเกือ้หนุน.................................................................... 73 ตอนที่ 3 การวิเคราะหการรับรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต สัมพันธภาพในครอบครัว สภาพแวดลอมทางสังคม บริหารเวลา พฤติกรรมการติดอินเตอรเนต็ .... 75 ตอนที่ 4 การวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ...... .... 82 ตอนที่ 5 การวิเคราะหปจจัยเกือ้หนุนกบัพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ............... 86 ตอนที่ 6 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยสนับสนนุกับพฤติกรรมการติด อินเตอรเน็ต............................................................................................. 89

    ตอนที่ 7 การวเิคราะหปจจัยสนับสนุนที่สงผลหรือทํานายพฤติกรรมการติด อินเตอรเน็ต............................................................................................ 90 ตอนที่ 8 การวิเคราะหเนื้อหาเกีย่วกับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต .................... 91

    ตอนที่ 9 การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลนอินเตอรเน็ต .. 93 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ........................................................... 98 สรุปผลการวิจัย .................................................................................................... 98 อภปิรายผลการวจิัย .............................................................................................. 103 กรอบมโนทัศนเชิงทฤษฎีที่ไดจากการวิจัย .......................................................... 111 ขอเสนอแนะของการวิจยั..................................................................................... 114

    ขอเสนอแนะในการทําวจิัยคร้ังตอไป................................................................... 116 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. 117 ภาคผนวก .................................................................................................................................. 127 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ..................... 128 ภาคผนวก ข การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ....................................... 130 ภาคผนวก ค แบบสอบถามที่ใชในการวิจยั ......................................................... 143 ภาคผนวก ง หนังสือขอความอนุเคราะหในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และหนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล................... 153 ภาคผนวก จ ผูทรงคุณวุฒิ .................................................................................... 169

    ประวัติผูศึกษา ...................................................................................................... 171

  • สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยั ............................................................................... 60 2 การวิเคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคล................................................................... 71 3 การวิเคราะหปจจัยเกื้อหนนุ................................................................................ 73 4 การวิเคราะหการรับรูเกี่ยวกบัอินเตอรเน็ต .......................................................... 75 5 การวิเคราะหสัมพันธภาพในครอบครัว .............................................................. 77 6 การวิเคราะหสภาพแวดลอมทางสังคม ............................................................... 78 7 การวิเคราะหการบริหารเวลา .............................................................................. 79 8 การวิเคราะหพฤติกรรมการติดอินเตอรเนต็ ........................................................ 80 9 การเปรียบเทยีบตัวแปรเพศกบัพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ............................ 82 10 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต จําแนกตามระดับชั้น............................................................................... 82 11 การเปรียบเทยีบพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต จําแนกตามระดับชั้น ................. 83 12 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต จําแนกตามสถานภาพครอบครัว............................................................ 83 13 การเปรียบเทยีบพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตจําแนกตามสถานภาพครอบครัว 83 14 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต จําแนกตามรายไดผูปกครอง .................................................................. 84 15 การเปรียบเทยีบพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตจําแนกตามรายไดผูปกครอง ..... 84 16 เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉลี่ยของพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ............... 85 17 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต จําแนกตามอาชีพผูปกครอง ................................................................... 85 18 การเปรียบเทยีบพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตจําแนกตามอาชีพผูปกครอง ....... 86 19 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใหบริการคอมพิวเตอรกับพฤติกรรม การติดอินเตอรเน็ต ................................................................................ 86 20 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใหบริการอินเตอรเน็ตกับพฤติกรรม การติดอินเตอรเน็ต ................................................................................ 87 21 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การศึกษาอบรมการใชคอมพิวเตอรกับ พฤติกรรมการติดอินเตอรเนต็................................................................ 87

  • ตารางที่ หนา 22 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การศึกษาอบรมการใชอินเตอรเน็ตกับ พฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต ................................................................ 88 23 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจยัสนับสนุน กับพฤติกรรมการติด อินเตอรเน็ต ............................................................................................ 89 24 การวิเคราะหปจจัยสนับสนนุที่สงผลหรือทํานายพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต . 90 25 แสดงจํานวน รอยละ ของนกัเรียนที่มีความรูสึกตอการเลนอินเตอรเนต็ ........... 91 26 แสดงจํานวน รอยละ ของนกัเรียนทีพ่บปญหาในการเลนอินเตอรเน็ต............... 92 27 คาดัชนีความสอดคลองเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามการรับรู ............................. 131 28 คาดัชนีความสอดคลองเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามสัมพันธภาพในครอบครัว . 132 29 คาดัชนีความสอดคลองเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามสภาพแวดลอมทางสังคม... 133 30 คาดัชนีความสอดคลองเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามการบริหารเวลา ................. 134 31 คาดัชนีความสอดคลองเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต 135 32 คาอํานาจจําแนกและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามการรับรู................................... 137 33 คาอํานาจจําแนกและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสัมพันธภาพในครอบครัว.. 138 34 คาอํานาจจําแนกและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสภาพแวดลอมทางสังคม... 139 35 คาอํานาจจําแนกและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามการบริหารเวลา.................. 140 36 คาอํานาจจําแนกและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต 141

  • 1

    1

    บทท่ี 1 บทนํา

    ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

    ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการขยายวงกวางของการสื่อสาร

    ขอมูลตางๆ ทําใหครอบครัวมีโอกาสรับขอมูล ความรู และวัฒนธรรมจากแหลงขอมูลตางๆ มากขึ้น ที่อาจสงผลกระทบตอรูปแบบ การอบรมเลี้ยงดูบุตรในอนาคต ซ่ึงการไดรับขอมูลที่หลากหลาย มีขอดี คือสมาชิกครอบครัวสามารถพัฒนาตนเองใหมีความรูกาวไกล ในขณะเดยีวกันขอเสียอาจจะเกิดจากการปรบัวัฒนธรรมใหมที่เนนบริโภคนิยมเขามาในครอบครัวโดยไมตั้งใจ จนทําใหเกิดพฤติกรรมการเลียนแบบทีไ่มเหมาะสม มีผลทําใหวัฒนธรรมตางชาติไดทําใหเดก็ไทยมีคุณลักษณะแตกตางไปจากเดิม และเลียนแบบพฤติกรรมที่ขามวัฒนธรรมมากขึ้น (รุจา ภูไพบูลย 2542:1)

    ความแพรหลายของอินเตอรเน็ตในปจจุบัน ทําใหระบบการสื่อสารขอมูลสามารถทําไดโดยสะดวกไมวาจะอยูสวนไหนของโลก ไมวาจะเปนการสนทนา การโอนยายแฟมขอมูล รวมทั้งการสืบคนขอมูลจากบริการขาวสารทางหนาเอกสารอินเตอรเน็ต (World Wide Web) ทําใหมีผูใชอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นอยางมาก ซ่ึงรวมทั้งเด็กๆและเยาวชนดวย ทําใหผูใชอินเตอรเน็ตอายุนอยเหลานี้มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อย ไมวาจะเปนในสวนที่ผูปกครองสวนใหญมักจะสนับสนุนใหลูกหลานไดใชคอมพิวเตอรตั้งแตอายยุังนอย โปรแกรมที่ใชงานสวนใหญก็ถูกออกแบบมาใหใชงานไดงาย แมแตเดก็เล็กๆก็สามารถใชงานคอมพิวเตอรได แตหากจะเอาใจใสและสํารวจวา ผูใชอายุนอยเหลานี้นิยมใชโปรแกรมใดในอนิเตอรเน็ตมากที่สุด ก็คงจะหนีไมพน โปรแกรมยอดนิยมในการสนทนา (Chat) (หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกจิ 2543 :7) ซ่ึงในปจจุบนันี้ อินเตอรเนต็ บริการขอมูลออนไลนและเครือขายขอมูลขององคกรเอกชน เปดโลกกวางใหเรียกใชขอมูลดวนทันใจ จะไดรับบริการหลากหลายที่ไมอาจคาดเดาได แมวาการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารจะดึงร้ังโลกกวางใหกลายเปนชุมชนแคบๆซึ่งนาจะกอปญหาทาทายใหขบคดิแกไข (นพดล เวชสวัสดิ ์2538 : 33)

    ในสังคมยุคขาวสาร แทบจะไมมีใครไมเคยไดยินคําวา “อินเตอรเนต็” เหตุเพราะอินเตอรเน็ตไดกลายเปนสวนหนึ่งในชวีิตประจําวนัของคนจํานวนมากในโลกนีไ้ปแลว การใช

  • 2

    2

    อินเตอรเน็ตในปจจุบันไดขยายวงกวางออกไปมากขึ้น โดยไดกาวเขาไปในทุกสาขาอาชีพ ไมไดจํากัดอยูเฉพาะดานการศึกษาหรือการวิจยัเหมือนเมื่อเริ่มมีการใชอินเตอรเน็ตใหมๆ ดวยคุณสมบัติการเขาถึงกลุมเปาหมายจํานวนมากๆ ไดในเวลาอันรวดเร็ว และใชตนทุนในการลงทุนต่ํา ทําใหอินเตอรเน็ตเปนสิ่งที่พึงปรารถนาขององคกรทั้งหลาย ไดมีความพยายามนําอินเตอรเน็ตมาใชเพื่อประโยชนสําหรับหนวยงานของตนในรปูแบบตางๆ นอกจากนี้อินเตอรเน็ตยังกลายเปนอีกส่ือหนึ่งของความบันเทิงภายในครอบครัวไปดวย ไมวาจะเปนการฟงวิทย ุ ดูโทรทัศน ลวนแลวแตสามารถกระทําผานอินเตอรเน็ตไดทัง้ส้ิน (มหาวิทยาลัยพายัพ 2548: 2)

    สําหรับประเทศไทยนัน้ กระแสการพัฒนาประเทศที่มีเปาหมายที่ "สังคมและเศรษฐกิจบนฐานความรู" โดยหนัไปเนน "การสรางความรู" (Makeing Knowledge) ใหพรอมรับโครงสรางแรงงานที่จะแปรเปลี่ยนไปในอนาคต และการสรางองคความรู วิทยาการและเทคโนโลยีตางๆ ที่นับวันจะมีอิทธิพลตอวิถีชีวติมนุษยมากขึน้ รวมถึงแนวโนมการพัฒนาที่เนนพึ่งพาอาศัยกันระหวางชาติ (Interdependency) ควบคูกับ "การแขงขัน" เพื่อความเปนผูนําทั้งในระดับภมูิภาคและระดบันานาประเทศที่สูงขึ้น การมีโอกาสและเสรีภาพของการเขาถึงขอมูลขาวสารที่สะดวกรวดเร็วยิ่งขึน้นับวาม ี คุณประโยชนอยางมหาศาล และการเขาถึงอินเตอรเน็ตไดงายนั้นก็ทําใหคนทั่วไปจํานวนมากไดเรยีนรูดวยตนเอง (Individual Learning) จากการสืบคนหรือเสาะแสวงหาความรูตาง ๆ ในเว็บไซดประเภทการศึกษาผานระบบเครือขาย (E-search) หรือ (ED-search) ทั้งหลายหรือแมแตเขาสูหองเรียนออนไลน (E-learning) หรือ (E-liberally) ที่มีอยูตามเว็บสถาบันหรือองคกรตางๆ ไดอยางตอเนื่องทุกที่ทุกเวลา การเรียนรูที่มาพรอมกับความสะดวกใชนีเ้องที่ทําเด็กจํานวนไมนอยมใิชเปนแตเพียง "ผูใช" (User) คอมพิวเตอรหรืออินเตอรเน็ตเทานั้น แตยังสามารถเปนถึงผูออกแบบและสรางโปรแกรม หรือ "Programmer" เองไดดวย (จุฬากรณ มาเสถียรวงศ 2547 : 1)

    อินเตอรเน็ตเปรียบเสมือนเครื่องมือสําคัญของการเขาถึงขอมูลความรู และการเรยีนรูและเปนอาวุธชนิดหนึ่งในโลกแหงการแขงขันที่มีความรูเปนฐาน (Knowledge-based) ซ่ึงแนวโนมนั้นมีความแนนอนวาปฏิบัตกิารตางๆ จะถูกจดัการโดยคอมพิวเตอรและเครือขายอินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ตเปนเทคโนโลยีอยางหนึ่ง เชนเดียวกับเทคโนโลยีอ่ืนที่มนุษยประดษิฐคิดคนขึ้น คือมีทั้งขอดีและขอเสยี นอกเหนือไปจากเรื่องไมดีไมงามตางๆ ที่หล่ังไหลมากับสื่อชนิดนี ้ ไมวาจะเปนภาพลามกอนาจาร ไวรัส การพนัน แมแตคนเลนเว็บที่เลือกชมแตส่ิงดีๆ ก็อาจจะมีปญหาไดเหมือนกนั (มหาวิทยาลัยพายัพ 2548 : 2)

    สํานักงานสถิติแหงชาติ (2544 : 1) ซ่ึงไดสํารวจการใชเครื่องมือ/อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.2544 พบวา เครื่องคอมพิวเตอรบุคคลตอจํานวนประชากร 100 คน คิดเปนรอยละ 1.48 การใชอินเตอรเน็ตตอจํานวนประชากร 100 คน คิดเปนรอยละ 5.64 และรายงานผลการ

  • 3

    3

    สํารวจการมีการใชเครื่องมือ/อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2546 พบวารอยละของประชากรอายุ 6 ปขึ้นไป ที่ใชอินเทอรเน็ตจําแนกตามกลุมอายุ พบวา อายุ 6 – 14 ป คิดเปนรอยละ 8.5 จําแนกตามแหลงที่ใชมากทีสุ่ดคือบาน คิดเปนรอยละ 25.5 และจาํแนกตามวัตถุประสงคการใชงาน คิดเปนรอยละ 55.00 (สํานักงานสถิติแหงชาติ 2547: 1)

    การที่เด็กไทยมีโอกาสและเสรีภาพของการเขาถึงขอมูลขาวสาร ที่สะดวกรวดเรว็ไดงายขึ้น แมจะเปนเรื่องที่ดีในแงการเปดโลกการเรียนรูสําหรับเด็ก แตก็ไมเปนเชนนั้นเสมอไป ในตางประเทศเดก็จํานวนมากกก็ลายเปน "โรคติดเน็ต" (Internet Addiction Disorder) ซ่ึงมีลักษณะคลายกับการตดิพนันที่ถอนตัวไมขึ้น หมกมุนอยูกับอินเตอรเน็ตไมสามารถควบคุมตนเองได ใชอินเตอรเน็ตนานกวาทีต่ั้งใจไวและหงุดหงดิเมื่อตองใชนอยลงหรือไมไดสัมผัส แตขอมูลจากโครงการติดตามสถานการณเดก็และเยาวชน (Child Watch) จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยในป 2546 แจงวา จากการสํารวจวัยรุนระดับมัธยมปลายและอุดมศกึษา พบสถานการณเดก็ไทยที่นาเปนหวง เพราะอินเตอรเน็ต คือ ปจจุบันเด็กวัยรุนในเขตอําเภอเมืองกวารอยละ 50 นิยมใชบริการราน Internet และรอยละ 10 ที่เขาราน 2-3 คร้ังตอสัปดาหขึ้นไป ซ่ึงสวนใหญใชเลนเกมและพูดคุยทางอินเตอรเน็ต (อมรวิชช นาครทรรพ 2546 : 8)

    แมเทคโนโลยสีมัยใหมสรางความสะดวกสบายใหกับมนุษย แตมีคนจํานวนไมนอยที่นํามาใชในทางที่ผิด จากการสํารวจเว็บไซดโปที่เปนเวบ็ไซดหลักสิบแหงของประเทศไทย พบวาจะนําไปสูเว็บไซดโปประมาณ 1,000 เว็บไซดที่ผูเลนอินเตอรเน็ตสามารถเขาไปดูภาพโปเปลือย การรวมเพศและสงภาพโปของตัวเองหรอืผูอ่ืน ในลักษณะแอบถายใหผูที่นยิมชมชอบเขาไปดไูดตลอดเวลารวมทั้งสามารถสั่งซ้ือหนังแผนโปและอุปกรณเครื่องเลนประกอบการมีเซ็กซ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมพูดคุยสด ถูกนํามาเปนเครื่องมือเชื้อเชิญหรือเพื่อขายบริการทางเพศหรือเพื่อสรางความพึงพอใจใหทั้งสองฝาย (อิทธิพล ปรีติประสงค 2546 : 65)

    ปจจุบันพบวาเด็กในระดับประถมศึกษา มีความสนใจโปรแกรมสนทนาบนอินเตอรเน็ตเปนจํานวนมาก ซ่ึงการสนทนาแตละครั้งจะใชเวลาไมต่าํกวาชัว่โมงและไมไดพัฒนาความรูหรือเรยีนรูอะไรเพิ่มเติมเลย รวมทั้งเด็กบางคนยังติดการสนทนาบนอินเตอรเน็ตเปนเวลาหลายๆชั่วโมงตอวัน ทําใหไมสนใจการเรียนหรือทําการบาน กิจกรรมของเด็กและเยาวชนอายุระหวาง 6 – 24 ป รอยละ 6.8 ใชเวลาวางในการเลนคอมพิวเตอรและวดีีโอเกม (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2549:33) จะเหน็วาการสนทนาบนอินเตอรเน็ตถูกสนับสนุนใหใชในทางที่ผิดสําหรับเด็ก ดังนั้น ผูปกครองไมควรใหสนทนาเกนิ 1 ชั่วโมง ตองสอนใหรูจักการแบงเวลาใหถูกตองและใหใชอินเตอรเนต็ในทางที่สมควร เด็กมีความสนใจใฝรูเรื่องราวตางๆบนอินเตอรเนต็ พวกเขาไดยินไดรับรูเรื่องราวของอินเตอรเน็ต จากสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน (มูลนิธิเด็ก2543:1)

  • 4

    4

    เด็กและเยาวชนวันนี้ เปนอนาคตของชาติ ส่ิงที่เปนปญหาและนาเปนหวง คือ ไดมีการเตรียมตวัเพียงพอหรือยงั ทั้งเรื่องของรางกาย คุณภาพ สุขอนามัย ความรู และคุณธรรมในสังคม เด็กไทยอายุ 12-14 ปมักติดอินเตอรเน็ต และมือถือ ครอบครัวมีแนวโนมปลอยใหเด็กอยูตามลําพังมากขึ้น เนื่องจากบิดามารดา ตองไปหางานทํา (รุจา ภูไพบูลย และคณะ 2542 :11) เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1996 เปนครั้งแรกที่ส่ือมวลชนเริ่ม ประโคมขาวโรคติดอินเตอรเน็ตโดยเกิดกลุมอาการทางจิตหลายอยาง เนื่องมาจากการใหเน็ตมากเกนิไป เชน ซึมเศรา แยกตัวเอง ไมสนใจส่ิงแวดลอม โรคติดอินเตอรเน็ตนั้นก็คลายๆ กับการตดิส่ิงเสพติดตางๆ ที่สรางปญหาใหเกิดกบัอารมณ รางกาย สังคม (มีทติ้งมอล 2548 : 1) ขาวฮือฮาในป 2547 เกีย่วกับประเด็นนี้คือ มีเด็กชายอายุ 11 ขวบ ติดเกมคอมพวิเตอรงอมแงม หนีออกจากบานจนกลายเปนเด็กเรรอนขายพวงมาลยัในที่สุด และพบเด็กหลายคนหนีเรียนไปนั่งเลนเกม จนผลการเรียนตกต่ํา ผูปกครองบางรายจนปญญาหามปราม จึงตองใชวิธีลามโซลูกไวที่บาน กระทรวงไอซีทีจึงหามใหเด็กอายุต่ํากวา 18 ป เลนเกมเกนิ วนัละ 3 ชั่วโมงและจนถึงเวลาไมเกิน 22.00น.รวมทั้งหามเลนการพนันชงิโชค รานเกมที่ฝาฝนมีสิทธิ์จําคุก สวนสถาบันสุขภาพจิตเดก็และวยัรุนก็ไดเปดคลินิกปองกันและแกไขปญหาเด็กติดเกม เพือ่คอยใหคําปรกึษาผานทางสายตรง 1323 ดวยเชนกนั (สถาบันวิจยัประชากรและสังคม 2548 : 81)

    ปจจุบันเกมออนไลนกระจายความสนกุไปทั่วทุกพืน้ที ่ หวังที่จะเปนกิจกรรมพิเศษใหผูเลนไดฝกทักษะดานตางๆ และไดสรางมิตรภาพใหมๆ จากการพดูคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นขณะเลนเกม เหตุผลนี้เองทีก่ลายเปนดาบสองคมใหเด็กหลายคนเขาไปหาความบันเทิงแบบไมถูกที่ไมถูกเวลา หรือเรียกวาเปนอาการติดเกม หนาที่ของพอแมนอกจากการดูแลเอาใจใสลูกดวยความรักแลว การปลูกฝงวินัยและความรับผิดชอบใหลูกเปนอีกเรื่องที่สําคัญมาก เนื่องจากเปนรากฐานของชีวิตที่สงผลตออนาคตอยางหลีกเลี่ยงไมได ถาหากไมมีวนิัยและความรับผิดชอบ แมจะมีความรู ความสามารถสูงเพียงใดกไ็มสามารถประสบความสําเร็จในชีวติได วิธีการปลูกฝงวินัยและความรับผิดชอบใหลูกนัน้ทาํไดหลายวิธี ไดแก การกําหนดกติกาภายในบานวาเดก็ทําอะไรไดมากนอยเพยีงใด หรือการมอบหมายหนาที่บางอยางใหเด็กทํา พรอมทั้งกํากับใหเปนไปตามกติกาหรือตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย พอแมอาจใชวิธีการกําหนดรางวัลหรือการลงโทษรวมดวย ซ่ึงจะชวยใหเดก็รูจักควบคุมตนเองและรูจักบริหารเวลา ปจจัยสําคัญคือการสนับสนุนใหเด็กมีโอกาสทํากิจกรรมสรางสรรคทางเลือก ซ่ึงจะไดมาจากการทํากจิกรรมตางๆ ในชีวิต เชน การเรียน การเลนเกม เปนตน หากเดก็ไมประสบความสําเร็จในการเรยีน หรือรูปแบบวิธีการเรียนไมสามารถดึงดูดความสนใจใหสนุกสนานกับการเรียนได ประกอบกับการที่เด็กไมมกีจิกรรมทางเลือกอื่น การเลนเกมจึงเปนทางออกหนึ่งที่ทําใหเดก็สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทาทายใหพิชิตความยากของเกม

  • 5

    5

    และรูสึกภาคภมูิใจเมื่อตนทําไดสําเร็จ ดงันั้นพอแมผูปกครองตองใหโอกาสเด็กในการมีกิจกรรมสรางสรรคอยางอื่นตามความสนใจของตวัเดก็เองนอกเหนือไปจากการเลนเกม เชน กีฬา ดนตรี ศิลปะ เปนตน อยางไรก็ตาม การสรางบรรยากาศครอบครัวที่อบอุน จะทําใหเด็กรูสึกมีความสุขในครอบครัว มีความภาคภูมิใจในตนเอง มีความรูสึกชื่นชมศรัทธา พอแมอยากจะทําตามที่พอแม ส่ังสอนแนะนาํ ซ่ึงดีกวาการสรางบรรยากาศคับของใจในครอบครัว จะทําใหเด็กรูสึกเปนทุกขกับการอยูในบานหรืออาจรูสึกเบื่อหนายกับการพร่ําบนของพอแม จนเกิดการตอตานและอยากจะปฏิบัติตรงกันขามกับที่พอแมตองการ เพื่อตอบโตจากการถูกดุวาหรือลงโทษใหเจ็บช้ําใจ การสรางบรรยากาศอบอุนในครอบครัวทําไดหลายวิธี ไดแก การใชเวลาวางรวมกันในครอบครัว เชน ดูทีวีดวยกัน กินอาหารนอกบานดวยกนั หรือเลนกีฬาดวยกัน พรอมทั้งมีการพัฒนาการสื่อสารในครอบครัวใหเกิดการฟงอยางเขาใจและมีการสื่อสารที่ชัดเจน ใชภาษาสื่อสารทางบวก เพื่อใหสมาชิกในครอบครัวรูสึกเปนสุขและมีความพอใจที่จะอยูรวมกนั โดยที่ไมตองไปแสวงหาความภาคภูมใิจนอกบานหรือในโลกไซเบอร (บัณฑิต ศรไพศาล 2549 : 31) สํานักงานวิจัยเอแบคโพลล มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดทําการวิจยัเกีย่วกับพฤติกรรมความรุนแรงในวยัรุนเรื่อง “การสํารวจความเสี่ยงในการใชความรนุแรงแกปญหาของนักเรียนชายกรณีศกึษา : นักเรียนชายระดับมัธยมปลายและสายอาชีวะในเขตกรุงเทพมหานคร” ใน พ.ศ. 2546 พบวาปจจัยดานสื่อประเภทอินเตอรเน็ตมอิีทธิพลตอการใชความรุนแรงของวัยรุนรอยละ30.8(สํานักงานเอแบคโพลล2546: 68) ผลการสํารวจระบาดวิทยาปญหาดานอารมณและพฤติกรรมของเด็กและวัยรุนไทยป 2548 พบวา เด็กและวยัรุนไทยที่มีอายุ 6 – 18 ป จํานวน687,798 คน หรือรอยละ 5.1 ของเด็กวยัดังกลาวมีปญหาสุขภาพจิตและพฤตกิรรมในระดับที่ถือวา “ผิดปกต”ิ ตองพบจิตแพทยหรือผูเชี่ยวชาญเรือ่งสุขภาพจิต ซ่ึงปญหาดังกลาว ไดแก อาการวิตกกังวล ซึมเศรา คิดฆาตัวตาย พฤติกรรมเด็กกวาวยั เกเร ผิดกฎระเบียบ อยูไมสุข หุนหันพลันแลน ปญหาสังคม พฤติกรรมกาวราวและปญหาทางเพศโดยวัยรุนหญิงจะมีปญหามากที่สุด และพบมากที่สุดในภาคใตถึง รอยละ 9.8 รองลงมา คือ กรุงเทพมหานคร รอยละ7.7 นอกจากนีย้ังพบวา รอยละ 6.2 ของเด็กนกัเรียนและนกัศึกษาเกี่ยวของกับยาเสพตดิประเภทตางๆ ถึงแมวามเีด็กจํานวนมากสมควรไดรับความชวยเหลือจากจิตแพทย แตทวาในแตละปมีจิตแพทยเพิ่มขึ้นนอยมากรวมทั้งประเทศแลวมีจํานวนไมถึง 500 คน และสวนใหญทํางานอยูในกรุงเทพมหานคร ขณะที่การปลูกฝงสุขภาพจติที่ดี เริ่มตนจากการสรางความสัมพันธภายในครอบครัว ตั้งแตวยัเดก็ แตกลับพบวาความสัมพันธพอแมลูกในครอบครัวไทยกําลังเผชิญปญหารุนแรง ซ่ึงการวัดความสัมพันธภายในครอบครัวทางดานจิตวิทยานัน้จําแนกออก ไดแก แสดงความรักเอาใจใสและควบคมุไมมากเกนิไป (รักพอดี) รักเอาใจ ใสแตควบคุมมาก(หวงเกิน) ควบคุมแตไมแสดง

  • 6

    6

    ความรักเอาใจใส (พรองรัก) และไมมีความผูกพันเลย(หางเหิน) พบวาความสัมพันธแบบควบคุมแตไมแสดงความรักเอาใจใส หรือความพรองรักมีมากกวาความสัมพันธแบบอื่นๆในแทบทุกภาค โดยภาคอีสานความสัมพันธในครอบครัวดีแมจะมีความยากจนกวาภาคอื่นๆ ก็ตาม สังคมไทยจึงควรใหความสําคญักับการสรางความสัมพันธที่ดีโดยเริ่มจากที่บาน (สถาบันวิจยัประชากรและสังคม 2549 : 24)

    ดังนั้นคําวา "แคคล๊ิกก็พลิกโลก" จึงเห็นไดชัดวาอินเตอรเน็ตมีผลกระทบตอเยาวชนซึ่งจําเปนจะตองใหความสําคญัตอการจัดการอินเตอรเน็ต เพื่อการเรียนรูของเด็กทั้งในวันนี้และสังคมการเรียนรูในวนัหนา (จุฬากรณ มาเสถียรวงศ 2547 : 8) เด็กนกัเรียนระดับประถมศึกษาเปนวยัที่อยากรูอยากเหน็ อาจจะทําใหหลงไปในทางผิดได ความคิดใหมในการนําเสนอสิ่งที่เปนคุณคาตอสังคมหรือชวยจรรโลงสังคม และผลิตสื่อที่ไมละเมิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ โดยไมตอกย้ําส่ิงที่เปนการยัว่ยใุหเด็กและเยาวชนหลงผิดหรือเกิดพฤติกรรมเลียนแบบอยางที่ผานมา

    แตส่ิงที่เราควรกาวไปกวานีใ้นเชิงมาตรการรูปธรรม มากกวาการตั้งคาํถามกับสื่อยังมีอีกหลายแนวทาง ประการแรกคงตองเรียกรองใหรัฐบาลขยับตัวแกปญหานี้อยางจรงิจังและเรงดวนโดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกบักฎหมายและการบังคับใช ความจริงแลวภาครัฐตระหนักดีถึงความไมพรอมของกฎหมายเกาในการใชแกปญหานี้เพราะเปนเสมือน “ดาบที่เปนสนมิ” จึงไดมีความพยายามยกรางกฎหมายใหมขึ้นมาหลายฉบับ ไมวาจะเปนการแกไขเพิ่มเติมรางพระราชบัญญัติ มาตรการปองกัน และปราบปรามการทําใหแพรหลาย การผลิตและการคาวัสดลุามก และรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเตมิประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 287 , 287 ทวิ และ มาตรา 287 ตรี หรือรางพระราชบัญญัติอาชญากรรมคอมพิวเตอร แตกระบวนการทํางานนี้ดูเนิ่นนาน และไมสามารถนํามาใชกับปญหาไดทันทวงที ประเทศไทยจึงยังคงอยูในสภาวะการรอคอยเครื่องมือที่อาจเปนดาบศักดิสิ์ทธิ์ไวจัดการกับปญหาอยางมีประสิทธิภาพตอไป (อิทธิพล ปรีติประสงค 2546 : 65)

    จังหวดันครปฐมเปนจังหวดัที่อยูในเขตปรมิณฑล ประชากรสวนใหญรอยละ 32 ประกอบอาชพีเกษตรกร รายไดของประชากรสวนใหญมาจากสาขาอุตสาหกรรม รองลงมาเปนสาขาการบริการ และ พาณชิยกรรม เศรษฐกิจมกีารเจริญเติบโตมีรายไดเฉล่ียตอหวัเปนลําดับที่ 6 ของภาค และมีรายไดเฉล่ียตอหัวเปนลําดบัที่ 17 ของประเทศ (สํานักงานสถิติจังหวัดนครปฐม 2546:1) รวมทั้งยังเปนเมืองการศึกษา มีสถานศึกษาทั้งโรงเรียนระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และมหาวิทยาลยัหลายแหง ทาํใหมีการคาและบริการที่กวางขวางรวมทั้งอินเตอรเน็ต ซ่ึงไดใหความสะดวกในการเขาถึงเครือขายอินเตอรเน็ตของคนจังหวัดนครปฐมในปจจุบันทําไดสะดวก เนื่องจากจํานวนของสถานใหบริการอินเตอรเนต็มีอยูมากมาย ซ่ึงผูใชบริการสามารถใชไดในราคาถูกอยางไมจํากัดเว็บไซด เชน เลนเกมออนไลน ดูหนังฟงเพลง คนหา

  • 7

    7

    ขอมูลตางๆ แชท(Chat) ซ่ึงลวนแตใหความเพลิดเพลินกบัผูใชบริการ จึงเปนที่ดึงดูดใหเดก็นกัเรียนในจังหวดันครปฐมใชเวลาวางหลังเลิกเรยีน และวนัหยุดไปกับการเลนอินเตอรเน็ตเปนสวนมากปจจุบันนีพ้บวาธุรกิจประเภทรานอินเตอรเน็ต ตูเกมและคาราโอเกะของจังหวดันครปฐม มีการจดทะเบียนการเปดกิจการเฉลี่ยวันละประมาณ2-3ราย (สํานักงานองคการบริหารสวนจงัหวัดนครปฐม 2549) สําหรับเขตพื้นที่การศกึษาเขต 2 จังหวัดนครปฐม มีครัวเรือนทั้งส้ิน 146,247 ครัวเรือน โดยมีจํานวนประชากรทั้งหมด 376,208 คน ประกอบดวยเพศชาย 182,622 คน คิดเปนรอยละ 48.54 เพศหญิง 193,586 คน คิดเปนรอยละ 51.46 (กรมการปกครอง 2549:1) และมีสภาพความเปนเมืองมีเขตแดนอยูติดกับกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย อําเภอสามพราน อําเภอนครชัยศรี อําเภอพุทธมณฑล และอําเภอบางเลน ทัง้ยังมีสภาพของการอุตสาหกรรมและสภาพชีวิตแบบเมืองมากกวาเขตพืน้ที่การศึกษาเขต 1 จากการสํารวจขอมูลจากผูใชโทรศพัทของ TOT พบวามีการใชอินเตอรเน็ตทัง้ส้ิน 2,114 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 3.67 ของผูใชโทรศัพทของ TOT ทั้งหมด (บริษัท ทีโอที จํากดั (มหาชน) 2549) ซ่ึงการใชอินเตอรเน็ตนั้นนอกจากจะม ี "คุณอนันต" ตอการเรียนรูของเด็กแลว ยังอาจม ี "โทษมหันต" ตอชีวิตของเดก็ดวย เพราะเพียงแคคล๊ิกเขาอินเตอรเน็ตก็จะเปลี่ยนโลกของเด็กไปในฉับพลัน อินเตอรเน็ตจงึเปรียบเสมือนดาบสองคมที่เปนอาวุธสรางปญญาไดพอๆ กับทําลายชีวติเด็ก

    ในฐานะที่เปนนักศึกษาพัฒนศึกษาซึ่งเปนการศึกษาเชิงสหวิทยาการ โดยการสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สามารถบูรณาการความรูในสาขาวชิาตางๆ ไมวาจะเปน ดานการศกึษา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ฯลฯ มีความเกี่ยวโยงและสัมพันธกันในสังคม ในการแกไขปญหาสังคม ซ่ึงปจจุบันปญหาในสังคมเกิดขึ้นมากมายโดยเฉพาะเดก็และเยาวชนที่จะเปนอนาคตของชาติที่ไดรับการบริโภคสื่อจากสิ่งรอบตัว โดยเฉพาะการใชอินเตอรเน็ตสงผลใหเด็กมพีฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตโดยไมรูตวั ในฐานะที่เราเปนนักพัฒนศกึษา จึงควรตระหนักถึงปญหาทีเ่กิดขึ้นและหาแนวทางปองกนัแกไขใหกับเยาวชนซึ่งจะเปนรากฐานสําคัญเพื่อการพฒันาที่มั่นคงของประเทศชาติ

    จากสภาพการณดังกลาวจึงตองทําการสํารวจสภาวการณและปจจยัที่นําไปสูพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของเด็กนักเรียน ซ่ึงจะกลายเปนเยาวชนที่มีคุณภาพของประเทศในอนาคตดังนั้นพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตจึงเปน ปญหาที่สําคัญที่มีความจําเปนที่จะตองทําการศึกษาปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ต โดยเฉพาะนกัเรียนในระดับประถมศึกษาซึ่งเปนเด็กและเยาวชนของชาติในอนาคต และเพื่อเปนแนวทางในการดแูลและควบคุมพฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ตของเยาวชน อันจะนําไปเปนขอมูลพื้นฐานที่ใชในการกําหนดนโยบายเพื่อปองกันและหาแนวทางควบคุมดูแลพฤติกรรมการติดอนิเตอรเน็ตของเยาวชนตอไป

  • 8

    8

    วัตถุประสงคของการวิจัย สําหรับงานวิจยันี้ผูวจิัยไดกําหนดวัตถุประสงคไวดังตอไปนี้ 1. เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการติดอินเตอรเน็ตของนัก�