ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ...

16
ชื�อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม หน้าที� : 2/2 ลําดับ 4 วิธีการปฏิบัติงาน - ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน - นําธงขาวแดงหรือเทปขาวแดง มาล้อมกั�นเขตพื�นที�หรือบริเวณที�ทํางาน และป้ายเตือนให้เห็นชัดเจน - ศึกษาแบบหน้างาน - ทําการตัดโดยการใช้ค้อนทุบตามหัวเข็มที�มีการตอกให้ได้ตามระดับ - ทุบเอาเฉพาะเศษปูนที�ติดอยู่ปลายหัวเข็ม - จะต้องทุบให้ได้ตามระดับ หรือ บางต้นอาจจะทําการตัดให้ได้ระดับ - เมื�อได้ระดับแล้วเคลียร์ความสะอาด เพื�อทํางานขั�นตอนต่อไป 5 ข้อควรระวัง - ระวังอุปกรณ์ กระแทรกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ - เครื�องมือกระแทรก นิ�วมือ , มือ - ระวังไฟฟ้า รั�วเครื�องมือ ควรมีการตรวจสอบทุกวัน - ผู้ปฏิบัติจะต้องมีความพร้อมที�จะปฏิบัติงาน - จะต้องมีผู้ควบคุมหน้างาน วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018 PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 02 ระเบียบปฏิบัติงาน ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

Transcript of ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ...

Page 1: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม หน้าที� : 2/2

ลําดับ

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

- นําธงขาวแดงหรือเทปขาวแดง มาล้อมกั�นเขตพื�นที�หรือบริเวณที�ทํางาน และป้ายเตือนให้เห็นชัดเจน

- ศึกษาแบบหน้างาน

- ทําการตัดโดยการใช้ค้อนทุบตามหัวเข็มที�มีการตอกให้ได้ตามระดับ

- ทุบเอาเฉพาะเศษปูนที�ติดอยู่ปลายหัวเข็ม

- จะต้องทุบให้ได้ตามระดับ หรือ บางต้นอาจจะทําการตัดให้ได้ระดับ

- เมื�อได้ระดับแล้วเคลียร์ความสะอาด เพื�อทํางานขั�นตอนต่อไป

5 ข้อควรระวัง

- ระวังอุปกรณ์ กระแทรกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้

- เครื�องมือกระแทรก นิ�วมือ , มือ

- ระวังไฟฟ้า รั�วเครื�องมือ ควรมีการตรวจสอบทุกวัน

- ผู้ปฏิบัติจะต้องมีความพร้อมที�จะปฏิบัติงาน

- จะต้องมีผู้ควบคุมหน้างาน

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 02

ระเบียบปฏิบัติงาน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

Page 2: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : การติดตั�งนั�งร้าน หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

ทําการสํารวจลักษณะสภาพพื�นที�หน้างาน ว่าเป็นอย่างไร สามารถติดตั�งได้หรือไม่ เช่น มีสิ�งกีดขวาง พื�นที�ลาดเอียง

ไม่ได้ระดับ พื�นที�เป็นหลุม, บ่อ รางระบายนํ�า บนถนน ทางแยก ทางโค้ง เป็นต้น

2 การเตรียมอุปกรณ์ติดตั�งนั�งร้าน

การเลือกชิ�นส่วนประกอบการติดตั�ง โดยอุปกรณ์ต้องมีสภาพที�สามารถใช้งานได้สมบูรณ์ ไม่ชํารุด เสียหาย ดังนี�

- โครงสําเร็จรูป (ขาตั�งนั�งร้าน)

- ขาตะเกียบ ( X )

- บันได

- แผ่นปูพื�นนั�งร้าน

- อุปกรณ์จับยึด, แค้มป์, ข้อเสือ

- ข้อต่อใน (Joint Pin)

- ฐานรองปรับระดับ (Jack Base)

- ท่อแป็บ

- ล้อ พร้อมเบรค

- ค้อนเหล็ก, กุญแจหางหนู

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- เข็มขัดนิรภัย

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น

- หมวกนิรภัย

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

หมายเลข : P-SAF 004

แก้ไขครั�งที� : Rev. 02

ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน

หมายเลข : P-SAF 004

แก้ไขครั�งที� : Rev. 02

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 3: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : การติดตั�งนั�งร้าน หน้าที� : 2/2

ลําดับ

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

1. กรณีที�เป็นนั�งร้านอยู่กับที�

1.1 นําฐานรองปรับระดับ (Jack Base) มาวางบนพื�นให้ครบทั�ง 4 มุม

1.2 นําโครงสําเร็จรูป จํานวน 2 ชุด มาสวมเข้ากับฐานรองปรับระดับ (Jack Base)

1.3 นําขาตะเกียบ ( X ) จํานวน 2 ชุด สวมเข้ากับโครงสําเร็จรูป

1.4 นําบันไดมาพาดเข้ากับโครงนั�งร้านที�ประกอบเสร็จ

1.5 นําแผ่นปูพื�นนั�งร้านสวมด้านบนโครงนั�งร้านสําเร็จรูป

- หากต้องการติดตั�งนั�งร้านชั�นต่อไป มีดังนี�

1.6 นําข้อต่อใน (Joint Pin) 4 ตัว สวมเข้ากับมุมโครงนั�งร้านสําเร็จรูปให้ครบทั�ง 4 มุม จากนั�นให้ทําตาม ข้อ (1.3) - (1.6)

จนครบและพอดีกับหน้างาน

1.7 นําท่อแป็บมาทําเป็นตัวคํ�ายันนั�งร้านทั�ง 3 ด้าน เพื�อเพิ�มความแข็งแรง

1.8 นําอุปกรณ์จับยึด, แค้มป์มาล็อคท่อแป็บกับนั�งร้าน โดยใช้ค้อนหรือประแจขันให้แน่น

1.9 ทําการตรวจสอบความแข็งแรง ว่าสมบูรณ์พร้อมใช้งานหรือไม่

2. กรณีที�เป็นนั�งร้านเคลื�อนที�

2.1 นําล้อ พร้อมเบรค มาวางบนพื�นให้ครบทั�ง 4 มุม

2.2 นําโครงสําเร็จรูป จํานวน 2 ชุด มาสวมเข้ากับล้อ พร้อมเบรค ให้แน่น

2.3 ให้ทําตาม ข้อ (1.3) - (1.9)

5 การตรวจสอบก่อนใช้งาน

- เช็คตัวจับยึด ว่าติดตั�งครบทุกตัว และขันแน่นหรือไม่

6 ข้อควรระวังในการใช้นั�งร้าน

- ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ชนิดเดียวกันและห้ามใช้แบบผสมผสานอย่างเด็ดขาด

- ไม่นําสิ�งของหรือพนักงานขึ�นไปปฏิบัติงานมากเกินไปหรือกองวัสดุไว้มากเกินความจําเป็น

- วัสดุดังต่อไปนี�ห้ามนําใช้เป็นนั�งร้าน เช่น ไม้เก่า เนื�อยุ่ย มีตาไม้ เหล็กคดงอ เป็นสนิม

- การติดตั�งไม่เป็นไปตามแบบที�บริษัทผู้ผลิตกําหนดหรือตามแบบที�วิศวกรกําหนด

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

- หากสมบูรณ์พร้อมใช้งาน ให้ทําป้ายติดระบุ "ปลอดภัย ใช้งานได"้

- เช็คล้อ พร้อมเบรค ว่าทํางานปกติหรือไม่

- เช็คโครงสร้างทั�งหมด ว่ามีความแข็งแรง พร้อมใช้งานหรือไม่

ระเบียบปฏิบัติงาน

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 4: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานเชื�อมตัดด้วยแก๊ส หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

พื�นที�จุดที�จะเข้าไปปฏิบัติงาน ต้องมั�นใจว่าพื�นที�สํารวจรอบๆ ไม่มีวัสดุหรือสิ�งของที�จะเป็นต้นกําเนิดของเชื�อเพลิง

ที�จะนําไปสู่การเกิดอัคคีภัยได้

2 การเตรียมอุปกรณ์ และเครื�องมือ

- เครื�องเชื�อม / แหล่งพลังงาน

- ถังแก๊สอะเซทีลีน , ถังออกซิเจน

- ทีจุดไฟแก๊ส

- คีมจับลวดเชื�อม

- อุปกรณ์ต่อสายปลั�กพ่วง

- ลวดเชื�อม

- ชิ�นงาน

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หน้ากากเชื�อม

- แว่นตากันแสง

- ถุงมือหนังยาง / ปลอกแขน

- เอี�ยมกันสะเก็ดไฟ

- ถังดับเพลิง

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

หมายเลข : P-SAF 005

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

ระเบียบปฏิบัติงาน

หมายเลข : P-SAF 005

แก้ไขครั�งที� : Rev. 02

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 5: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานเชื�อมตัดด้วยแก๊ส หน้าที� : 2/2

ลําดับ

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

- เตรียมแผ่นโลหะ / เตรียมชิ�นงาน

- จัดชิ�นงานและท่าเชื�อมตามความเหมาะสม (ตามแบบ)

- เริ�มปฏิบัติการเชื�อมชิ�นงาน

- เคาะสแลคออก เอาแปรงขัด และตรวจสอบ

- นําไปจัดเรียงไว้ให้เป็นระเบียบ สะดวกต่อการใช้งาน

5 ข้อควรระวัง

- การแต่งกายต้องเรียบร้อยไม่รุ่มร่าม

- สวมแว่นตานิรภัยเมื�อต้องการเจียร การเชื�อม การสกัด หรือทํางานในลักษณะที�งานอยู่เหนือศีรษะ

- ถ้าจะทําการแก้ไขอุปกรณ์ไฟฟ้า จะต้องถอดปลั�ก หรือปิดสวิทซ์ไฟฟ้าทุกครั�ง

- ก่อนจะหยิบจับชิ�นงาน ต้องแน่ใจว่าชิ�นงานนั�นไม่ร้อน

- ใช้คีมหรืออุปกรณ์จับชิ�นงานในการจับหรือเคลื�อนย้ายชิ�นงานที�ร้อน ไม่ให้ถุงมือหรือ หนังหยิบจับเพราะอาจไหม้ได้

- หลังเลิกงานทุกครั�ง ต้องปรับเครื�องมือ - อุปกรณ์ต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานเช่นเดิมหลังจากทํางานเสร็จแล้ว

ระเบียบปฏิบัติงาน

แก้ไขครั�งที� : Rev. 02

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

PROCEDURE

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

Page 6: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานเจียร งานขัด หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

ทําการตรวจสอบบริเวณโดยรอบๆ และด้านล่างว่ามีสารไวไฟ เศษวัสดุ หรือเชื�อเพลิง ที�อาจเกิดอัคคีภัยได้ หรือไม่

หากพบต้องนํา ออกให้หมด

2 การเตรียมอุปกรณ์ และเครื�องมือ

- สายไฟที�มีตัวกันไฟรั�ว

- เครื�องเจียร , ใบเจียร ขนาดต่างๆ

- นํ�า สําหรับจุ่มชิ�นงานที�ร้อน

- ชิ�นงาน

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หน้ากาก หรือ แว่นตานิรภัย ป้องกันเศษวัสดุกระเด็นเข้าตา

- สวมที�ครอบหู หรือที�อุดหู เพื�อลดเสียงขณะทํางาน

- ถุงมือหนังยาง / ปลอกแขน

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ตรวจสอบอุปกรณ์เครื�องเจียรก่อนใช้งาน เช่น สภาพใบหินเจียรจะต้องไม่ชํารุด ไม่เสียหายไม่แตก

ต้องมีการ์ดป้องกันสะเก็ดกระเด็น

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

- ให้ต่อเครื�องเจียรเข้ากับชุดสายไฟที�มีตัวกันไฟรั�ว

- เริ�มปฏิบัติการเจียร / ขัดชิ�นงาน ตามที�ได้รับหมอบหมายให้แล้วเสร็จ

- ผู้ปฏิบัติงานต้องจัดการไม่ให้เศษผงเจียรกระเด็นไปไกล

- ในการเจียรหิน ควรใช้หินเจียรชนิดหยาบก่อน แล้วจึงใช้หินเจียรชนิดละเอียดอีกครั�ง

- ขณะเจียร ควรมีนํ�าสําหรับจุ่มชิ�นงานที�ร้อน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

หมายเลข : P-SAF-006

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

หมายเลข : P-SAF-006

Page 7: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานเจียร งานขัด หน้าที� : 2/2

ลําดับ

5 ข้อควรระวัง

- ไม่เจียรงานใกล้สารไวไฟ

- ระวังไม่ให้สะเก็ดไฟกระเด็นถูกสายไฟของเครื�องจักร

- ห้ามใช้ใบตัดมาใช้ในงานเจียรเด็ดขาด

- ไม่ควรเจียรงานเกินกําลังของเครื�องเจียร

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

ระเบียบปฏิบัติงาน

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 8: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานติดตั�ง Protection อาคาร หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

ทําการสํารวจสภาพพื�นที�หน้างาน ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร สามารถติดตั�งได้หรือไม่ เพื�อนํามาหาข้อสรุป

ในการออกแบบการติดตั�ง Protection ตัวอาคาร ให้มีความเหมาะสม

2 การเตรียมอุปกรณ์ และเครื�องมือ

การเลือกชิ�นส่วนประกอบการติดตั�ง โดยอุปกรณ์ที�ใช้ต้องมีสภาพที�สามารถใช้งานได้สมบูรณ์ ไม่ชํารุด/เสียหาย

และเหมาะสมกับหน้างาน ประกอบด้วย

- เสาคํ�ายัน / ป๊อบคํ�ายัน

- ฐานรองปรับระดับ (Jack Base)

- อุปกรณ์จับยึด, แค้มป์, ข้อเสือ

- ผ้า Mesh Sheet หรือ Blue Sheet หรือ ตาข่ายเขียว

- ลวด และ คีมตัดลวด

- โครงเหล็กตามความเหมาะสม เช่น เหล็กกล่องขนาด 2' x 2' เป็นต้น

- เครื�องเชื�อม / ลวดเชื�อม

- คีมจับลวดเชื�อม

- อุปกรณ์ต่อสายปลั�กพ่วง

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หน้ากากเชื�อม

- แว่นตากันแสง

- ถุงมือหนังยาง / ปลอกแขน

- ถังดับเพลิง

- เข็มขัดนิรภัย

- ถุงมือผ้า หรือ ถุงมือหนัง

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น

- หมวกนิรภัย

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-007

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

หมายเลข : P-SAF-007

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

Page 9: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานติดตั�ง Protection อาคาร หน้าที� : 2/2

ลําดับ

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

- กรณีที�ใช้เสาคํ�ายัน / ป๊อบคํ�ายัน โดยใช้ฐานรองปรับระดับ (Jack Base) สวมเข้ากับเสาคํ�ายัน / ป๊อบคํ�ายัน ด้านในให้ห่างจาก

ขอบอาคาร แล้วปรับระดับให้พอดีกับความสูง ทําคํ�ายันให้เต็มพื�นที�ทั�งชั�น โดยแบ่งเป็นระยะเท่าๆ กัน

- กรณีใช้โครงเหล็ก ทําการฝังเหล็กที�ตัวพื�นและเพดานอาคาร จากนั�นนําโครงสร้างเหล็กแบบมาเชื�อมยึดติดให้แน่น

- นําผ้า Mesh Sheet หรือ Blue Sheet หรือ ตาข่ายเขียว ขึงให้ตึง ผูกด้วยลวดยึดติดกับโครงเหล็กหรือเสาคํ�ายัน / ป๊อบคํ�ายัน

ที�ติดตั�งไว้แล้วให้แน่น จนครบเต็มพื�นที�

- กรณีติดตั�งราวกันตก ทําการฝังเหล็กที�ตัวพื�นหรือผนังอาคาร แล้วนําโครงเหล็กหรือท่อแป๊บมาเชื�อมยึดติดให้แน่น

- หากทํางานบนที�สูง หรือริมขอบอาคาร ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่เข็มขัดนิรภัยด้วยทุกครั�ง

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 10: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานใช้สลิงยกของด้วยเครน หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

โดยการสํารวจลักษณะสภาพพื�นที�หน้างาน ว่าพื�นที�รอบๆ ข้างมีสิ�งกีดขวางหรือไม่ เป็นที�สัญจรของพนักงานหรือไม่

2 การเตรียมอุปกรณ์ในการยกสิ�งของด้วยเครน

การเลือกชิ�นส่วนประกอบการติดตั�ง โดยอุปกรณ์ต้องมีสภาพที�สามารถใช้งานได้สมบูรณ์ ไม่ชํารุด เสียหาย ประกอบด้วย

- เชือกและสลิงผ้าใบ

- ลวดสลิง

- โซ่ ห่วง หรือ ข้อต่อ

- ตะขอ

- สเก็น (Shackles)

- อุปกรณ์สําหรับ ผูก มัด หรือ ยึดโยงอื�นๆ ได้แก่ หัวใจล๊อคลวดสลิง (Wedge Socket) , อายโบลท (EYE BOLT) , Turnbuckle

- ตัวชิ�นงาน หรือ สิ�งของ ที�จะทําการเคลื�อนย้าย (ยก)

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- เข็มขัดนิรภัย

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น

- หมวกนิรภัย

- แว่นตานิรภัย

ระเบียบปฏิบัติงาน

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

หมายเลข : P-SAF-008

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-008

Page 11: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานใช้สลิงยกของด้วยเครน หน้าที� : 2/2

ลําดับ

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ที�จะขับปั�นจั�นได้ ต้องเป็นผู้มีวุฒิบัตรเท่านั�น

- ผู้ให้สัญญาณต้องมีเพียงคนเดียวเท่านั�น

- กําหนดตําแหน่ง และพื�นที�วางสิ�งของ โดยอยู่ในรัศมีของแขนเครน (บูม) ที�สามารถเข้าถึงได้

- จัดเตรียมสิ�งของมาวางในจุดตําแหน่งที�กําหนด เพื�อทําการเคลื�อนย้าย (ยก)

- จัดเรียงสิ�งของตามความเหมาะสม เพื�อสะดวกต่อการผูกมัดและขนย้าย

- นําเชือกและสลิงผ้าใบ หรือ ลวดสลิง หรือ โซ่ มาผูกติดกับสิ�งของ และใช้สเก็นล็อคให้แน่น

- การผูกติดกับสิ�งของนั�น ควรให้สิ�งของที�จะยกอยู่ในระดับระนาบและแรงที�ทําต่อสายลวดสลิงต้องเท่ากัน (Balance)

เพื�อป้องกันการถ่ายเทนํ�าหนักไปข้างใดข้างหนึ�ง มากเกินไป จนส่งผลทําให้เกิดการหลุดร่วงได้

- กรณีที�ใช้กระบะ (เรือ) ขนย้าย ให้นําตะขอมาคล้องทั�ง 4 มุมและล็อคให้แน่น (ห้ามใส่ชิ�นงานล้นขอบกระบะ)

- เมื�อของที�ยกอยู่สูงจากพื�นประมาณ 20 ซม. ให้หยุดแล้ว ตรวจสอบความปลอดภัยของสิ�งของที�ยึด

- ยกไปจนถึงระดับความสูงที�กําหนด

5 ข้อควรระวัง

- ไม่ยืนอยู่ใต้สิ�งของที�ต้องการยก (หาทางป้องกัน ห้ามเข้าในบริเวณ)

- ตําแหน่งของผู้ให้สัญญาณ ต้องมองเห็นได้จากผู้ขับรถปั�นจั�นและเป็นจุดที�ปลอดภัย

- แขวนสิ�งของที�มีนํ�าหนักน้อยกว่านํ�าหนักปลอดภัยที�กําหนดไว้

PROCEDURE

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 12: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานยกของด้วยรถโฟร์คลิฟท์ หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

โดยการสํารวจลักษณะสภาพพื�นที�หน้างาน ว่าพื�นที�รอบๆ ข้างมีสิ�งกีดขวางทางวิ�งรถหรือไม่ สภาพผิวจราจรเป็นอย่างไร

เช่น เป็นหลุม-บ่อ เปียกหรือลื�น เป็นที�ลาดเอียง เป็นต้น

2 การเตรียมอุปกรณ์ในการยกสิ�งของด้วยรถโฟร์คลิฟท์

การเลือกชิ�นส่วนประกอบการติดตั�ง โดยอุปกรณ์ต้องมีสภาพที�สามารถใช้งานได้สมบูรณ์ ไม่ชํารุด เสียหาย ประกอบด้วย

- PALLET

- ตัวชิ�นงาน หรือ สิ�งของ ที�จะทําการเคลื�อนย้าย (ยก)

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หมวกนิรภัย

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น

- แว่นตานิรภัย

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ก่อนจะเริ�มงานประจําวันให้ทําการตรวจรถที�จะพร้อมทํางานได้ ต้องอยู่ในสภาพที�ดีพร้อม

- นําสิ�งของที�เตรียมไว้ มาวางบน PALLET (เลือกใช้ PALLET ให้เหมาะสมกับของที�จะยก) โดยตรวจสอบนํ�าหนักสิ�งของ

ที�จะยกว่าไม่เกินขีดจํากัดของรถยก รวมทั�งการจัดวางตําแหน่งของหีบห่อ เพื�อความปลอดภัย

- ก่อนเข้ายกของ ต้องทําการตรวจระยะกว้างของงาว่าอยู่ในระยะที�พอดีกับ PALLET

- สอดงาเข้าใต้ของที�จะบรรทุกให้สุดความยาว ปรับเสาให้เอนหลังเพื�อให้หีบห่อที�บรรทุกอยู่บนงาแนบชิดกันแผงกั�น

- ก่อนออกรถต้องตรวจสอบ เสา งา และของที�บรรทุกอยู่ในสภาพเรียบร้อย และเส้นทางวิ�งต้องไม่มีสิ�งกีดขวาง

- เมื�อบรรทุกของอยู่บนงา เสาควรอยู่ในลักษณะตรงหรือ เอนหลังตลอดเวลา รักษาระดับงาให้สูงจากพื�นถนนประมาณ 100 ถึง

150 มิลลิเมตร (4-6นิ�ว) อย่ายกงาสูงเมื�อบรรทุกของและนํารถออกวิ�ง

- ลดงาลงและนําสิ�งของบน PALLET วางลงอย่างระมัดระวัง

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-009

ระเบียบปฏิบัติงาน

PROCEDURE

ระเบียบปฏิบัติงาน

หมายเลข : P-SAF-009

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

Page 13: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานยกของด้วยรถโฟร์คลิฟท์ หน้าที� : 2/2

ลําดับ

5 ข้อควรระวัง

- ห้ามมิให้ผู้หนึ�งผู้ใดอยู่ในระหว่างบริเวณของรถยก

- ผู้ขับต้องอยู่ในสภาพพร้อมเสมอ อย่าหลับใน อย่าขับรถยกในขณะที�มีอาการมึนงง

- ขณะขับรถยก อย่ายื�นแขน-เท้าหรือส่วนหนึ�งส่วนใดออกนอกตัวรถ

- ขับขี�ด้วยระมัดระวัง โดยใช้ความเร็วให้เหมาะสม

- เมื�อวิ�งรถเปล่า อย่ายกงาค้างเอาไว้ ต้องลดลงไว้ในระดับตํ�าเสมอ

- ดับเครื�องยนต์ทุกครั�ง เมื�อเลิกใช้งาน

แก้ไขครั�งที� : Rev. 00PROCEDURE

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน

Page 14: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานทาสี หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

ทําการสํารวจลักษณะสภาพพื�นที�หน้างาน ว่าพื�นที�ทํางานเป็นที�โล่งแจ้ง หรือเป็นห้อง สภาพพื�นผิวชิ�นงานเป็นอย่างไร

2 การเตรียมอุปกรณ์สําหรับงานทาสี

- ตัวชิ�นงาน หรือ พื�นที�ทาสี

- ถังสีทาอาคาร

- อุปกรณ์ทาสี เช่น แปลงทาสี ลูกกลิ�งทาสี

- กระดาษทราย เบอร์ต่างๆ

- ผ้า Mesh Sheet หรือ Blue Sheet หรือ ตาข่ายเขียว

- บันไดอลูมิเนียม

- ไม้ หรือ ท่อพีวีซี

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หมวกนิรภัย

- หน้ากากป้องกัน

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น หรือ รองเท้าบู๊ท

- เข็มขัดนิรภัย

- แว่นตานิรภัย

- ถุงมือผ้า หรือ ถุงมือพลาสติก

4 วิธีการปฏิบัติงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดระยะเวลาทํางาน

- นําธงขาวแดงหรือเทปขาวแดง มาล้อมกั�นเขตพื�นที�หรือบริเวณที�ทําการทาสี

- นําผ้า Blue Sheet มาปูรองพื�นก่อนทําการทาสี เพื�อป้องกันสีหกเลอะพื�นหรือชิ�นงาน

- ให้ทําความสะอาดผิวชื�นงานหรือพื�นที�ก่อนทําการทาสี โดยใช้กระดาษทรายหรือเกียงแซะขัดทําความสะอาด

- ทําการคนสีให้เป็นเนื�อเดียวกัน แล้วทําการทาสีชิ�นงานหรือพื�นที� ตามที�ได้รับหมอบหมาย

ระเบียบปฏิบัติงาน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-010

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-010

PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

Page 15: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานทาสี หน้าที� : 2/2

ลําดับ

5 ข้อควรระวัง

- ห้ามมิให้สีกระเด็นเข้าตาโดยเด็ดขาด

- ต้องแน่ใจว่า ไม่มีเชื�อไฟอยู่ในบริเวณใกล้เคียง

- หลังจากทํางานแล้วเสร็จ จะต้องปิดฝาให้แน่นหนา

ระเบียบปฏิบัติงาน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 00

Page 16: ชื อเอกสาร : งานตัดหัวเข็ม วันที เริ มใช้ : 01 /032018 ...eia.onep.go.th/images/monitor/1558691082.pdf · 1.6 นําข้อต่อใน

ชื�อเอกสาร : งานติดตั�งแผ่น PRECAST หน้าที� : 1/2

ลําดับ

1 ตรวจสอบสภาพพื�นที�หน้างาน

ทําการสํารวจลักษณะสภาพพื�นที�หน้างาน และแผนงานติดตั�ง

2 การเตรียมอุปกรณ์สําหรับงานติดตั�งแผน PRECAST

- ตัวชิ�นงานที�จะทําการยก

- ตะขอ และ สลิ�งส่วนประกอบต่าง ฯลฯ พร้อมทําการตรวจสอบการใช้งาน

- วิทยุสื�อสาร ประสานหน่วยงาน

- จุดพื�นที�ติดตั�ง (ตามแบบ)

- ความพร้อม ผู้ควบคุม และผู้ให้สัญญาณ

- อุปกรณ์การเชื�อม ฯลฯ

3 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- หมวกนิรภัย

- หน้ากากป้องกัน

- รองเท้านิรภัย หรือ รองเท้าหุ้มส้น หรือ รองเท้าบู๊ท

- เข็มขัดนิรภัย

- แว่นตานิรภัย

- ถุงมือผ้า หรือ ถุงมือพลาสติก

- อุปกรณ์ป้องกันสะเก็ดไฟ หรือ ถาดรองลูกไฟ

ระเบียบปฏิบัติงาน

ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-011

วันที�เริ�มใช้ : 01/03/2018

ระเบียบปฏิบัติงาน หมายเลข : P-SAF-011

PROCEDURE แก้ไขครั�งที� : Rev. 00