ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร ·...

189
ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ระหวางป ..2466-2544 โดย นางสาวอรุณี จําปานิล การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร ·...

Page 1: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2466-2544

โดย นางสาวอรุณี จําปานิล

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอกัษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศึกษา

ภาควชิาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2466-2544

โดย นางสาวอรุณี จําปานิล

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอกัษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศึกษา

ภาควชิาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

HISTORY OF SAM CHUK MARKET COMMUNITY, SUPHANBURI PROVINCE, A.D.1923-2001

By Arunee Jampanil

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

MASTER OF ARTS Department of History

Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY

2007

Page 4: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหการคนควาอิสระเรือ่ง “ ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2466 - 2544 ” เสนอโดย นางสาวอรุณี จําปานิล เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศึกษา

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตงักูร)

คณบดีบัณฑิตวทิยาลัย

วันที่ ..........เดอืน .................... พ.ศ. ........... อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รองศาสตราจารย ยงยุทธ ชูแวน คณะกรรมการตรวจสอบการคนควาอิสระ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย สุภาภรณ จินดามณีโรจน) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ยงยุทธ ชูแวน) ............/......................../..............

Page 5: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

47205214 : สาขาวิชาประวตัิศาสตรศึกษา คําสําคัญ : ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี

อรุณี จําปานิล : ประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2466 - 2544. อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ : รศ. ยงยุทธ ชูแวน. 175 หนา.

การวิจยัคร้ังนีม้ีจุดมุงหมายเพื่อทราบถึงเรื่องราวตาง ๆ เกีย่วกับประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2466 - 2544 เปนสําคัญ

การศึกษาครั้งนี้เปนการประมวลหลักฐานและวิเคราะหหลักฐานเชิงประวัติศาสตร โดยขอมูลหลักฐานที่ใชศึกษามาจาก การศกึษาคนควาขอมูลจากเอกสาร ซ่ึงมีทัง้เอกสารชั้นตน (Primary Sources) และเอกสารชั้นรอง (Secondary Sources) ฯลฯ และการศึกษาภาคสนาม ซ่ึงไดจากการสังเกตการณ สัมภาษณ โดยกลุมเปาหมายเปนผูใหขอมูลในลักษณะของการบอกเลา (Oral History) จากการศึกษาพบวา ชุมชนตลาดสามชุกเปนชุมชนการคาที่มีพัฒนาการทางประวัตศิาสตรมาอยางยาวนานกวา 100 ป ตั้งแตการเปนชุมชนการคาขนาดเล็กประจาํทองถ่ิน พัฒนามาสูการเปนตลาดแหงการคาขายขนาดใหญประจําอําเภอสามชุก โดยพัฒนาการของตลาดสามชุกที่มีมาอยางยาวนานนัน้ สามารถแบงชวงเวลาเปลี่ยนผานของตลาดสามชุกไดเปน 4 ยุค ดวยกนั ดงันี้ 1.ยุคดั้งเดิม (กอนทศวรรษ 2460)

2.ยุคเติบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2) 3.ยุครุงเรือง (หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520) 4.ยุคเสื่อมถอยและปรับตัว (พ.ศ.2530 - ทศวรรษ 2540) โดยผลของการศึกษา แสดงใหเห็นวาตลาดสามชุกเปนชุมชนการคาที่มีความสําคัญและมี

วิวัฒนาการทีน่าสนใจมาตั้งอดีต เพราะไมเพียงแตเปนชุมชนการคามีบทบาทภายในชุมชนเทานัน้ แตชุมชนตลาดสามชุกยังมบีทบาททางการคาภายในลุมน้ําทาจีนและลุมน้ําเจาพระยาอีกดวย ______________________________________________________________________________ ภาควิชาประวตัิศาสตร บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศลิปากร ปการศึกษา 2550 ลายมือช่ือนักศึกษา ............................................................. ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ........................................................

Page 6: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

47205214 : MAJOR : HISTORICAL STUDIES KEY WORD : HISTORY OF SAM CHUK MARKET COMMUNITY, SUPHANBURI

PROVINCE ARUNEE JAMPANIL : HISTORY OF SAM CHUK MARKET COMMUNITY, SUPHANBURI PROVINCE, A.D.1923-2001. AN INDEPENDENT STUDY ADVISOR : ASST. PROF. YONGYUTH CHUWAEN. 175 pp. This research was aimed to study the historical prosperity of Sam Chuk market community in Suphanburi Province during A.D. 1923-1981.

The study was proceeded by collecting evidences and analyzing by historical criteria. All of evidences came from documents that combined with primary and secondary sources and field study which including observation and interview in terms of oral history. From the study, Sam Chuk community was a commercial community with historical evolution over 100 years. A small local market became greater commercial community in Sam Chuk district. Nevertheless, the evolution of Sam Chuk market could be divided into 4 periods as following;

1.Former period (Before B.E. 2460s) 2.Growing period (B.E. 2460s - World war II) 3.Prosperous period (After World war II - B.E. 2520s) 4.Period of declaration and adaptation (B.E. 2530 – 2540s) From the study result, it revealed that Sam Chuk market represented the dynamic market

community and their evolution were interested over past. Not only in own community, Sam Chuk market also played a key roll of well-known market in Thachin and Chaopraya river basin especially in the highest economic growth. Department of History Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007 Student's signature ........................................ An Independent Study Advisor's signature .......................................

Page 7: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

กิตติกรรมประกาศ การคนควาอิสระฉบับนี้สามารถกระทําจนบรรลุความสําเร็จลุลวงไปดวยดี เนื่องจากความอนุเคราะหของบุคคลหลายทาน ไดแก บดิา มารดา พี่สาว พี่ชาย ทีไ่ดใหกําลังใจและทุนทรัพยในการศึกษามาโดยตลอดจนสามารถศึกษาเลาเรียนไดบรรลุผลสําเร็จ ขอกราบขอบพระคุณในความอนุเคราะหของ รองศาสตราจารย ยงยทุธ ชูแวน อยางสูง สําหรับการใหโอกาส คําปรึกษา ใหคําชี้แนะและแนวทางในการทาํโครงการวิจัยประวัติศาสตรทองถ่ิน รวมถึงความกังวลและหวงใยตลอดชวงระยะเวลาในการทาํโครงการวิจัยประวัติศาสตรทองถ่ินของขาพเจา รวมทั้งคณาจารยผูตรวจสอบโครงการวิจัยประวัตศิาสตรทองถ่ินทุกทาน และขอกราบขอบพระคุณคณาจารยภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ของขาพเจาที่ใหกําลังใจตลอดระยะเวลาที่ศึกษา ตลอดจนพี่สาว และพี่ชาย ทีค่อยใหความชวยเหลือในการเก็บขอมูลและเปนกําลังใจใหเสมอมา

ขอขอบคุณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, คุณพิชัย ไมหวาด, คุณสายบัว พัวพลเทพ, คณุศิริ สรหงษ, คุณปรีชา ทวีสุข, เจาหนาทีแ่ขวงการทางสุพรรณบุรีที่ 1, เจาหนาที่โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี, คุณพงษวิน วิชัยรัตน, คณะกรรมพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ และชาวบานในตลาดสามชุกที่เอื้อเฟอขอมูลดวยดีมาตลอด

ขอขอบคุณการวางพื้นฐานวชิาประวัติศาสตรของ รองศาสตราจารย พวงเพชร สุรัตนกวีกุล และคณาจารยภาควิชาประวตัิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ขอขอบคุณ คุณอารยา เรียวโชติสกุล เจาของสถาบันสอนภาษา HOME OF ENGLISH (PHAHOLYOTHIN) พี่ ๆ นอง ๆ และเพือ่นรวมงานทกุคน ที่คอยใหกําลังใจตลอดมา ขอขอบคุณ เพือ่น ๆ (Hist’26, Soc’35, KU’60) ที่คอยกระตุนและคอยใหกําลังใจอยูเสมอ ขอขอบคุณ พี่ ๆ นอง ๆ และเพือ่น ๆ (KU’60) สมาชิกตึกพกัหญิงบุษกร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ทุกคน ทีค่อยใหกําลังใจและความหวงใยมาตลอด ขอขอบคุณ คณะครู พี่ ๆ นอง ๆ และเพื่อน ๆ โรงเรียนสงวนหญิง ทีม่ีกําลังใจใหเสมอ ขอขอบคุณเจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัย สําหรับการตรวจรปูแบบการคนควาอิสระ สุดทาย ขอบกพรองใด ๆ ที่เกิดขึ้นในการคนควาอิสระเลมนี้ ถือเปนความรับผิดชอบของขาพเจาแตเพียงผูเดียว

Page 8: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย ...................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ................................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญภาพ ................................................................................................................................ ญ บทที่ 1 บทนํา ............................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา .................................................................... 1 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ............................................................................................... 3 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา .......................................................... 10 ขอบเขตของการศึกษา ............................................................................................... 11 วิธีการศึกษา ............................................................................................................... 11 แหลงขอมูล ................................................................................................................ 12 ประโยชนที่ไดรับจากการศกึษา ................................................................................. 12 ขอตกลงเบื้องตน …………………………………………………………………… 12 2 สภาพทั่วไปของชุมชนและประวัติความเปนมาของตลาดสามชุก กอนทศวรรษ 2460..... 14

สภาพทั่วไปของชุมชนตลาดสามชุก ............................................................... 14 ประวัติความเปนมาของตลาดสามชุก.............................................................. 20 ความเปนมาของชุมชนการคาสามชุกเดิม…………………...……....... 20 การโยกยายชมุชนการคาสามชุกเดิมมาสูชุมชนปจจุบัน…………........ 32

3 ตลาดสามชุกยคุเติบโต : ทศวรรษ 2460-สงครามโลกครั้งที่ 2 ……................................. 41 ปจจัยทีก่อใหเกิดการเติบโต ............................................................................ 41 การมีทําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย.................................................... 43 การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ............................................... 46 การอพยพของชาวจีน............................................................................ 46 ลักษณะของตลาดสามชุกในยุคเติบโต............................................................ 49

การเติบโตทางกายภาพ.......................................................................... 49 การขยายตวัของการคา…...................................................................... 57

Page 9: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทที่ หนา วิถีชีวิตของชาวตลาดในยุคเติบโต .................................................................. 65 ความสัมพันธของผูคนในตลาด ........................................................... 65 ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และพธีิกรรมตาง ๆ ...................... 67 4 ตลาดสามชุกยคุรุงเรือง : หลังสงครามโลกครั้งที่ 2-ทศวรรษ 2520 ................................ 71 ปจจัยทีก่อใหเกิดการรุงเรือง .......................................................................... 71 การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน................... 72 การคมนาคมสมัยใหม .......................................................................... 76 การเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม ..................................................... 81 ลักษณะของตลาดสามชุกในยุครุงเรือง …...................................................... 84 การขยายตวัทางกายภาพ ...................................................................... 84 การขยายตวัทางการคา ......................................................................... 92 ความเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของชาวตลาดสามชุกในยคุรุงเรือง.................. 95

ความสัมพันธของผูคนในตลาด............................................................ 98 ความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมตาง ๆ........................ 103

5 ตลาดสามชุกยคุเสื่อมถอยและการปรับตัว : ประมาณ พ.ศ.2530-ทศวรรษ 2540….….... 109 ปจจัยที่ทําใหตลาดสามชุกเกิดการเสื่อมถอย……........................................... 109

การปรับปรุงถนนสายสามชกุ-หนองหญาไซ....................................... 110 การเกิดตลาดนัดและหางสรรพสินคา .................................................. 115 การยายสถานที่ราชการไปตั้งอยูในพืน้ที่แหงใหม ..………..….....….. 117 วิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 ............................................. 119

สภาพซบเซาของตลาดสามชุก………………………………….…..……..... 120 ความเสื่อมโทรมทางกายภาพ............................................................... 120 การคาขายที่ถดถอย………………………….................................... 122

การปรับตัวของตลาดสามชุกในยุคเสื่อมถอย……...……..……………........ 123 การทํามาหากนิ……………………………….................................... 123

ความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรม………………....................... 126 การตอสูและอนุรักษ............................................................................ 130

6 บทสรุป .......................................................................................................................... 134 บรรณานุกรม ............................................................................................................................ 140

Page 10: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

หนา ภาคผนวก ................................................................................................................................. 150 ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูล................................... 151 ภาคผนวก ข รายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับบริษัทเดินเรือขนสงสุพรรณฯ ............... 157 ภาคผนวก ค ประวัติของขนุจํานงจนีารักษ กรรมการพเิศษจังหวัดสุพรรณบุรี นายอากรสุรา……………………………............…….....……….. 161 ภาคผนวก ง ตารางความเคลื่อนไหวของราคาสินคาขายปลีก ในป พ.ศ.2523 ................................................................................ 163 ภาคผนวก จ ตารางแสดงความเคลื่อนไหวของราคาสินคาขายปลีก เปรียบเทียบ ป พ.ศ.2523 กบัป พ.ศ.2524 ............................................................ 167 ภาคผนวก ฉ แผนผังแสดงรานคาตาง ๆ ในตลาดสามชุก .................................... 171 ภาคผนวก ช แผนพับนําเทีย่วของตลาดสามชุก ................................................... 172 ภาคผนวก ซ กลอนชาวสามชุก โดย คณุศริิ สรหงษ ............................................ 173 ประวัติผูวจิัย ............................................................................................................................. 175

Page 11: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา 1 ตลาดสามชุกในปจจุบัน……………………………………………...…………..... 15 2 แสดงที่ตั้งชุมชนตลาดสามชุก……………………………………...…………....... 17 3 พิพิธภัณฑบานขุนจํานงจีนารักษ……………………………………...………....... 19 4 รานคาเกาแกที่เปนรานขึ้นชื่อของตลาด……………………………….....…........... 19 5 บริเวณทายาง ในปจจุบนั…………………………………………………….....…. 21 6 แสดงที่ตั้งของชุมชนตาง ๆ ในอดีต…………………………………….....…........ 22 6 แสดงที่ตั้งของชุมชนตาง ๆ ในอดีต (ตอ) ………………………..………..…….... 23 7 “ศาลเจาพอหลักเมืองเกา” ประจําชุมชนสามชุกเดิม สรางขึ้น ในป พ.ศ.2370.......... 24 8 “กระชุก” ภาชนะสานรูปฟกผาตามยาว ใชสอดลงในเกวยีน สําหรับใสขาวเปลือก. 26 9 กระชุกหรือกระชุ ภาชนะสานรูปทรงกลม สําหรับบรรจุของ เชน นุนหรือถาน...... 27 10 “เรือชะลา” หรือ “เรือทรัพยแผนดิน” ตามคําบอกเลาของบรรพบุรุษ……….…..... 28 11 มณฑป และรอยพระพุทธบาทจําลองประดิษฐานในมณฑป ซ่ึงอยูภายในวดัสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี…………….…..………….......... 29 12 การอพยพโยกยายจากชุมชนสามชุกเดิมไปสูบานสามเพ็ง…….……………....….. 35 13 ใบเสร็จคาผูกปในสมัย ร.ศ.125 (พ.ศ.2449) ภาษีทางตรงที่รัฐบ.าลสยาม เก็บจากคนจีนทุก 3 ป สัญลักษณ คือ ปกระเบื้องรอยเชือกผูกติดขอมือ ซ่ึงตองเก็บรักษาติดตวัตลอดเวลา………..……………………………........ 37 14 อาคารที่วาการอําเภอสามชุกในสมัยกอน แตเดิมมีช่ือวา “ที่วาการอําเภอนางบวช”……………….....………………………….....…. 39 15 เสนทางหลักสามสายที่สามารถเดินทางเขามาคาขายยังตลาดสามชุกได ในขณะนัน้………………………………....…………………………......... 45 16 “บานปาสายหยุด” หรือ “อาคารสายหยุด” อาคารหลังแรกที่สรางขึ้น ในตลาดสามชกุ………………………………......………………………… 51 17 บานนายหุย แซเฮง (ขุนจํานงจีนารักษ) สรางขึ้นในป พ.ศ.2459……………....….. 52 18 หลักหมุด สัญลักษณที่บงบอกถึงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของซอย 3,4…………..……. 52 19 โรงเรียนวัดสามชุก หรือโรงเรียนราษฎรวิริยานุกูล สรางขึ้นประมาณป พ.ศ.2472. 53 20 สหกรณไมจํากัดสินใช สรางขึ้นในชวงทศวรรษ 2480…………...…………….... 54

Page 12: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

หนา 21 โรงเรียนนิกรนรราษฎรศึกษาลัย เร่ิมเปดทําการสอนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2480……............................ 54

22 สถานีตํารวจภธูร สรางขึ้นในป พ.ศ.2483……………………...…………….…... 55 23 โรงแรมสําราญรมย โรงแรมแหงแรกของตลาดสามชุก……………………......….. 56 24 โรงแรมอุดมโชค โรงแรมแหงที่สองของตลาดสามชุก…………………...…...….. 56 25 รานขายของชําปานา ซอย 3 ในอดีตเคยเปนที่ตั้งของโรงยาฝน หรือโรงฝนมากอน………………………………………………….......….. 57 26 (ภาพบนดานซาย) หีบ, (ภาพบนดานขวา) เซฟใสเงิน, (ภาพลางดานซายและดานขวา) ตูกระจก หนึ่งในสินคาหลายประเภท ที่มีการนําเขามาขายภายในตลาดสามชุก โดยพอคาชาวจีน…………............ 58 27 การทําไมในสมัยกอน………………………………………………………........... 64 28 (ดานซาย) ศาลเจาพอหลักเมืองสามชุก หรือ “เจี๊ยปงเถากง” และ (ดานขวา) “ปะรํา” สําหรับไหวเจา………………………………….…….... 69 29 พระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัพรอมดวยสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ

เสด็จทรงเปนประธานในพธีิเปดเขื่อนชลมารคพิจารณ เมื่อวันที ่20 กันยายน พ.ศ.2498……………………….……………………. 77

30 ประตูระบายน้าํชลมารคพิจารณ สรางขึ้นในป พ.ศ.2478.………....…..…………... 77 31 ประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ สรางขึ้นในป พ.ศ.2478……………………..….... 78 32 ตั๋วเดนิเรือ หรือใบรับคาบํารุงทางน้ําชลประทาน ราคา 4 บาท 6 บาท 8 บาท และ 10 บาท…………...….……….………..…... 80 33 (ภาพซาย) บริษัทขนสงสุพรรณฯ , (ภาพขวา) เรือโดยสารขนสงสุพรรณฯ แบบสองชั้น…………………………………………….…………….....…. 81 34 โรงสีกลาง สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500……………………………..…….…. 82 35 โรงงานน้ําตาลทรายแหงแรกของภาคตะวนัตก สรางขึ้นในป พ.ศ.2499…….....…. 82 36 ตลาดสามชุกในชวงทศวรรษ 2500……………………………………......………. 85 37 วัดวิมลโภคาราม วัดประจําตลาดสามชุก ซ่ึงสรางขึ้นในป พ.ศ.2490…….………... 86 38 โรงหนังเกา ซอย 4 สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500………....………………….... 87 39 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม เร่ิมทําการเรียนการสอนตั้งแตวนัที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2501………….....… 87

Page 13: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

หนา 40 ที่ทําการไปรษณียโทรเลขสามชุก สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2520……………..... 88 41 บริเวณทาน้ําดานหนาตลาดสามชุก ที่ในอดีตเคยมีถึง 6 ทาดวยกัน……………...… 90 42 รานทําผมสตรี ซอย 2………………………………………………………..……. 91 43 รานทองรูปพรรณ ซอย 3………………………………………………………..… 91 44 ยานพาหุรัด ซอย 4…………………………………………………………..…….. 92 45 อาหารและขนมไทยโบราณ ของขึ้นชื่อในตลาดสามชุก…………………….......… 93 46 ขนมและของเลนโบราณ ที่ไดรับความนยิมเปนอยางมากในชวง กอนทศวรรษ 2520……………………..................……………………...…. 94 47 บริเวณทาเรือแดงในอดีต………………………………………………………..…. 97 48 ตัวอยางหนังทีเ่คยนําเขามาฉายในตลาดสามชุก………………………………….... 98 49 (ดานซาย) ขุนจํานงจีนารกัษ หรือ เถาแกหยุ แซเฮง, (ดานขวา) คณุสุมาลย จีนารักษ หรือ ซ้ิวล้ัง จีนารักษ บุตรสาวคนสุดทองของขุนจํานงจีนารกัษ……………......…………...……. 101 50 สะพานพรประชา สรางขึ้นในป พ.ศ.2508…………………………..…………..... 103 51 การแตงงานของชาวไทยเชือ้สายจีนในตลาดสามชุก…………………………....... 104 52 โรงเจพังมวง อําเภอศรีประจันต จังหวดัสุพรรณบรีุ (ซ่ึงเปนทั้งสถานที่ประกอบพิธีกรรม โรงเจ และสุสานบรรพชนของ คนไทยเชื้อสายจีนในตลาดสามชุก)…………………………..…………..... 105 53 โรงเรียนประจาํชุมชนในเขตอําเภอสามชุก ที่ชาวบานในตลาด

มักนําบุตรหลานของตนเขาไปศึกษาเลาเรยีน…..………………………....... 106 54 โรงเรียนสงวนหญิง โรงเรียนสตรีประจําจงัหวัดสุพรรณบุรี……………….....…... 107 55 โรงเรียนวิทยาศึกษา (ฉงกวงเซี้ยะเจี้ยว) หรือโรงเรียนจีน ประจําจังหวดัสุพรรณบุรี…………………………..……………….............. 107 56 แนวเสนทางเดิมของถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ……………………………… 112 57 แผนที่แนวทางหลวงแผนดนิหมายเลข 3365 (ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ)

ที่ไดรับการปรับปรุงขึ้นในป พ.ศ.2526-2534……………..……………....... 113 58 หางสรรพสินคาอันทันสมัยบริเวณริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340…………… 116 59 สถานที่ราชการตาง ๆ ที่มีการยายไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340…… 118 60 สภาพทรุดโทรมของอาคารบานเรือนในตลาดสามชุกในชวงกอนทศวรรษ 2540… 121

Page 14: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

หนา 61 บรรยากาศน้ําทวมดานหนาตลาดสามชุกและที่วาการอําเภอสามชุก ในป พ.ศ.2538…………………………………………………………........ 123 62 การลดราคาสินคาของพอคาแมคาในตลาดสามชุก ในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา……..…………………………........... 125 63 การปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการคาในตลาดสามชุก…………………………..……. 126 64 วิถีชีวิตของชาวบานในตลาดสามชุก…………….…………………………............ 127 65 บรรยากาศของการแตงงานในตลาดสามชุก ในชวงทศวรรษ 2530 ……….....……. 129 66 การตักบาตรในวันสําคัญตาง ๆ ทางศาสนา ของชาวบานในตลาดสามชกุ ในชวงทศวรรษ 2530...........................................................................……… 129 67 รายการโทรทัศนที่เขามาถายทํารายการเกีย่วกับ “ตลาดสามชุกรอยป”……... …….. 132

Page 15: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา (STATEMENTS AND SIGNIFICANCE OF THE PROBLEM)

เมื่อถามถึงตลาดสามชุก ความรูสึกแรกทีก่ระทบใจก็คอื บรรยากาศเกา ๆ ซ่ึงยังคงอบอวลเหมือนรอคอยเราอยู ตัวตลาดนั้นกวางขวางใหญโตกวาตลาดแหงอ่ืน ๆ หลายแหงในทองถ่ินเดียวกัน จนตองแบงเปนสายเปนซอย หองแถวไมสูงสองชั้นตั้งเรียงรายยาวเหยยีดตดิแมน้าํสุพรรณบุรีเกอืบทุกหองมีลายฉลุประดับประดาไวอยางงดงามดวยลายขนมปงขิง ตรงชองลมบริเวณปายรานเหมือนกันบางตางกันบางแลวแตชางคดิทํา ซ่ึงลายเหลานี้ชวยเพิม่ความคลาสสิกใหแกรานคาเหลือประมาณ ที่สําคัญคือ สภาพทั่วไปในบริเวณตลาดยังสะอาด นาเดิน อีกทั้งยังมีสีสัน มีชีวิตชีวา สังเกตไดจากมีชาวบานเดินผานไปมาอยูเปนระยะ ๆ ไมเงียบเหงาโรยราจนไรผูคน แสดงวาแมโลกจะเปลี่ยนไป ตลาดสามชุกก็ยังไมตาย โดยเฉพาะรานกาแฟโบราณตรงเชิงสะพาน ที่ทุก ๆ เชาจะตองมีคอกาแฟมานั่งแลกเปลี่ยนความคิดผานฉากไอน้ําที่ลอยกรุนขึ้นมาจากหมอตมน้ําบนเตาอยูเสมอ ซ่ึงเปนภาพที่หาดูไดไมงายนักแลวในปจจุบัน

ตลาดสามชุก เปนตลาดเกาแกที่มีพัฒนาการมากวา 100 ป โดยการกอตัวของตลาดสามชุกแหงนี ้มีววิัฒนาการมาจากชุมชนริมน้ําขนาดเล็ก พัฒนามาสูชุมชนการคาที่มีขนาดใหญ และกลายมาเปนตลาดประจําอําเภอไดในที่สุด ตลาดสามชุก เปนเมืองทาที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ เปนสถานที่แลกเปลี่ยนซ้ือขาย เปนจุดพกัพอคาในการลองเรอืข้ึนลงกรุงเทพฯ และเมืองตาง ๆ ในจังหวดัสุพรรณบุรี โดยมีทาจอดเรือรับสงสินคา เรือโดยสาร เรือเมล เรือแดง เรือขนสงสินคา ฯลฯ เปนศูนยรวมจติใจของชุมชนหลายชุมชนในทองถ่ินมาเปนเวลาชานาน เนื่องจากมศีาสนสถานตาง ๆ อยางเชน ศาลเจาพอหลักเมือง และวัด ตั้งอยูในชุมชนและอยูคูชุมชนแหงนี้มาตัง้แตอดีต รวมทั้งยังเปนที่ตั้งของโรงมหรสพ โรงแรม รานคาทองคํา รานถายรูป รานกาแฟ รานขายยาโบราณ รานเสริมสวย ฯลฯ อยางมากมายอีกดวย ดวยเหตนุี้ ตลาดสามชุกจึงกลายเปนแหลงดึงดูดใหผูคนจากตางถ่ินเดินทางเขามาทํามาหากินกนัอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะคนจนีและคนไทยเชื้อสายจีน สถานที่แหงนีจ้ึงกลายเปนทั้งที่อยูอาศัย ที่ทํามาหากิน หลอเล้ียงชีวิตผูคนภายในชุมชนจากรุนสูรุนสืบมา

ปจจุบันแมวาตลาดสามชุกจะเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสแหงการพฒันาที่ถาโถมเขามาอยูทุกขณะ แตบรรยากาศและสภาพทัว่ไปโดยรอบกลับยังคงรักษาสภาพและคงกลิ่นอายเอาไวได

1

Page 16: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

2

ใกลเคียงของเดิมเปนอยางมาก ทั้งนี้เกดิจากการรวมแรงรวมใจของผูคนในชุมชน องคกร และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของในทองถ่ินทีม่ีสวนในการอนุรักษ ฟนฟ ู และพัฒนาชมุชนในลักษณะของ “ตลาดเชิงอนุรักษ” ขึ้นมาอยางตอเนื่อง ทั้งการจัดตั้งพิพิธภัณฑชุมชนที่มีช่ือวา “พิพิธภณัฑบานขุนจํานงคจีนารักษ” ตลอดจนการจดัพิมพเอกสารตาง ๆ เพื่อเผยแพรเร่ืองราวและขอมูลเกี่ยวกับตลาดสามชุก ใหผูคนทั่วไปไดตระหนกัถึงความสําคัญและเปนที่รูจักมากขึน้

อยางไรก็ตาม ถึงแมวาในปจจุบันจะมีความพยายามถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับตลาดสามชุกออกมาอยูบางแลวก็ตาม แตผลงานที่ผานมาสวนใหญยงัคงขาดความชัดเจนในดานประวัติศาสตรอยูมาก และยังไมมีผูใดศกึษาเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนแหงนีใ้นมิติประวัติศาสตรเอาไวอยางจริงจัง ทั้ง ๆ ที่ชุมชนแหงนี้มีความนาสนใจและมีความโดดเดนอยูหลายประการ และยังเปนชุมชนเกาแกที่มีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแตอดีต โดยยังคงปรากฏรองรอยหลักฐานใหไดศึกษาอยูเปนจํานวนมาก ซ่ึงหากไดมีการศึกษาประวัติศาสตรชุมชนทองถ่ินยานตลาดสามชุกขึ้นมาอยางจริงจังแลวนั้น ตลาดแหงนี้คงกลายเปนตลาดเชิงอนุรักษทีม่ีความสมบูรณแบบมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีประวัติศาสตรเปนของตนเอง ที่มองจากชมุชนทองถ่ินออกสูภายนอกอยางแทจริง

สําหรับการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ที่เกี่ยวกบัประวัติศาสตรทองถ่ินนั้น ปจจุบันไดมผูีคนใหความสนใจกนัอยางแพรหลายและเกิดการขยายองคความรูออกไปอยางขวาง 1 แตผลงานศึกษาที่ปรากฏกลับยังมีขอจํากัดอยูมากในการศึกษาบางลักษณะ โดยเฉพาะการศึกษาประวัติศาสตรทองถ่ินที่เปนยานการคาหรือชุมชนตลาดที่ผูศึกษาใหความสนใจเปนพิเศษ เนื่องจากในปจจุบนัมีผลงานปรากฏอยูเพียงไมกี่ช้ินเทานั้น ในขณะที่ชุมชนการคาหรือตลาดหลายแหงไดมีการพัฒนาตัวตลาดใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวหรือตลาดเชิงอนุรักษกนัอยางแพรหลาย แตกลับไมมีประวัติศาสตรเพื่อบอกเลาเรือ่งราวเกีย่วกับชมุชนทองถ่ินของตนออกมาไดวาในอดีตนั้นวาเคยมีตัวตน มีความเปนตัวของตวัเอง หรือลักษณะเฉพาะของตัวเองอยางไร ดังนั้น จึงจาํเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการถายทอดเรื่องราวของชุมชนแหงนี้ผานมิติประวัติศาสตรขึน้มาอยางจริงจัง เพื่อเปนการสรางองคความรูใหมใหกับตลาดเชิงอนุรักษเหลานี้ โดยหนวยพื้นทีศ่ึกษาที่ผูศึกษาสนใจเปนพิเศษ คือ ตลาดสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี เนื่องจากชุมชนแหงนี้ยังขาดองคความรูเกี่ยวกับชุมชนของตนในมิติประวัตศิาสตรอยูมาก และเทาทีม่ีการศึกษาและตีพิมพเผยแพรสวนใหญยงัคงใหภาพตลาด

1 ยงยุทธ ชูแวน, ส่ีทศวรรษของ “ทองถ่ินศึกษา” ในมิตปิระวัติศาสตร : จากภายใตกรอบ

ประวัติศาสตรชาติไทยสูการปลดปลอยและพัฒนาพลังประชาชน (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,2541. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ประวัติศาสตรไทยบนเสนทางการเปลี่ยนแปลง : การประมวลความรูเพื่อการพัฒนาการวจิยัประวัติศาสตรไทย”), 1-40.

Page 17: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

3

สามชุกไดไมคอยชัดเจน ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจึงไดมุงศึกษาเกีย่วกับประวัตคิวามเปนมาของตลาดสามชุก พฒันาการของวถีิชีวิตของตลาดสามชุก ปจจัยตาง ๆ ทีก่อใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ ตลอดจนความสัมพันธระหวางชุมชนตลาดสามชุกกับชุมชนภายนอก ซ่ึงสอดรับกับความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษาในครั้งนี้เปนสาํคัญ เพื่อเปนการขยายองคความรูใหกับทองถ่ินและสังคมไทย ทําใหตลาดสามชุกมีประวัติศาสตรเปนของตนเอง ที่จะสามารถนําไปพัฒนาตนเอง ชุมชน และองคกรตาง ๆ บนพื้นฐานของประวัติศาสตรตอไปได วรรณกรรมที่เก่ียวของ (REVIEW OF RELATED LITERATURE)

จากการสํารวจเอกสาร งานวิจยั และวรรณกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาเรื่องประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก พบวา มีผลงานที่เกี่ยวของอยูพอสมควร ซ่ึงสามารถแบงออกเปน 2 กลุม เพื่อเปนประโยชนตอการศึกษาในครั้งนี้ โดยผลงานกลุมแรก คือ การศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนทองถ่ิน สวนผลงานกลุมที่สอง คือ องคความรูที่เกี่ยวของกับลุมน้ําทาจีนและสามชุก ดังนี้

(1) การศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนทองถิ่น จากการสํารวจงานศึกษาทีเ่กีย่วของกับประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนทองถ่ินนั้น พบวา ไดมีผูใหความสนใจและมีผูทําการศึกษาไวอยูเปนจํานวนมาก โดยผลงานที่ผานมาสวนใหญจะเปนงานศึกษาประเภทประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนหมูบานและประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนลุมน้ําหรือเครือขายชุมชน สวนงานศึกษาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนการคาในลักษณะเดียวกันกับโครงการวิจยันี้ กลับพบวามีเพยีงเล็กนอยเทานัน้

โดยงานศกึษาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนหมูบาน สวนใหญเปนการศกึษาที่อยูภายใตกรอบแนวคดิเศรษฐกิจชุมชน 2 ของ ฉัตรทิพย นาถสุภา เปนหลัก เชน ผลงานวิจยัของ สุวิทย ธีรศาศวตั และคณะ ทีใ่ชหมูบานในภาคอีสานเปนหนวยพืน้ที่ในการศึกษา 3 สําหรับงานศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนลุมน้ําหรือเครือขายชุมชน สวนใหญเปนการศึกษาประวตัิศาสตรเศรษฐกิจของชุมชนลุมน้ําในภาคตาง ๆ โดยผลงานที่ปรากฏมีทั้งประวตัิศาสตรเศรษฐกิจของชุมชน

2 ฉัตรทิพย นาถสุภา, แนวคดิเศรษฐกจิชุมชนขอเสนอทางทฤษฎีในบริบทตางสังคม

(กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชช่ิง, 2544. ที่ระลึกในวาระครอบรอบ 60 ป). 3 สุวิทย ธีรศาศวัต, เศรษฐกจิหมูบานอีสานหาทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ.

2480-2544) : กรณีศึกษาบานวังสวาบ (กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทนุสนับสนุนการวิจัย, 2545).

Page 18: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

4

ลุมน้ําในภาคอสีาน 4 และภาคกลาง 5 เปนตน สวนงานศกึษาเกีย่วกับประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนการคา จากการสํารวจพบวามีเพียงไมกี่ช้ิน เชน “โครงการวิจยัประวัติศาสตรวิถีวัฒนธรรมริมน้ํายานตลาดพลูจากคลองบางหลวงถึงคลองดาน” ของ พวงรอย กลอมเอี้ยง 6 ผลงานวิทยานิพนธ เร่ือง “สภาพเศรษฐกิจของชุมชนบัวใหญ ระหวางป พ.ศ.2474-2506” ของ นภิาพร กุลมาตย 7 และผลงานวิทยานิพนธ เรื่อง “สภาพเศรษฐกิจของชมุชนบานไผ ระหวางป พ.ศ.2476-2506” ของ นิรุบล อ้ึงอารุณยะวี 8 โดยมรีายละเอียดและประเด็นตาง ๆ ที่นาสนใจ ดังนี ้

ผลงานของ พวงรอย กลอมเอี้ยง เปนการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตรชุมชนยานตลาดพลูผานประเด็นเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงในประเด็นเศรษฐกิจนั้น ไดมีการศึกษาถึงสาเหตุและปจจยัตาง ๆ ที่ทําใหตลาดพลูขึ้นสูความเปนศูนยกลางแหงการคาขาย รวมทั้งการขยายตวัทางดานเศรษฐกิจและการคาภายในชุมชน สวนในดานสังคม ไดศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวติและการดํารงอยูของผูคน การตั้งถ่ินฐาน และความสัมพนัธระหวางกลุมชาติพันธุตาง ๆ ในยานตลาดพลู ตลอดจนการใชทรัพยากรและสมบัติสาธารณะที่มีอยูในทองถ่ิน ฯลฯ อยางไรก็ตาม จากการศึกษาทําใหทราบวาผลงานชิ้นนี้ยังคงขาดความชดัเจนอยูบางในบางสวน โดยเฉพาะเนื้อหาในสวนที่เปนสภาพทัว่ไปของชุมชนในแตละชวงเวลา ซ่ึงหากมีการใสขอมูลลงไปใหเห็นวาเหตุการณหรือบรรยากาศตาง ๆ

4 สุวิทย ธีรศาศวัต และคนอื่น ๆ, การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชมุชนลุมแมน้ํา

สงคราม ตั้งแต พ.ศ.2475 จนถึงปจจุบัน (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2530); ชอบ ดีสวนโลก และคนอืน่ ๆ, การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนลุมแมน้ํามลู ตั้งแต พ.ศ.2475 จนถึงปจจุบัน (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2532).

5 เสาวภา พรสิริพงษ, ประวตัิศาสตรทองถ่ินภาคกลางชุมชนลุมน้ํานครชัยศรี : พัฒนาการทางประวัติศาสตร เศรษฐกจิและสังคมวฒันธรรม พลวัตและการทาทาย (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ม.ป.ป.); สุภาภรณ จินดามณโีรจน, ประวัตศิาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน (ม.ป.ท., 2532. งานวิจยัเสนอตอมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532).

6 พวงรอย กลอมเอี้ยง และคนอื่น ๆ , โครงการวิจยัประวัติศาสตรวิถีวัฒนธรรมริมน้ํายานตลาดพลูจากคลองบางหลวงถึงคลองดาน (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทนุสนับสนุนการวิจัย, ม.ป.ป.).

7 นิภาพร กุลมาตย, “สภาพเศรษฐกิจของชมุชนบัวใหญ ระหวางป พ.ศ.2474-2506” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2541)

8 นิรุบล อ้ึงอารุณยะวี, “สภาพเศรษฐกจิของชุมชนบานไผ ระหวางป พ.ศ.2476-2506” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543)

Page 19: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

5

ของทองถ่ินในแตละชวงเวลานั้นเปนอยางไร จะทําใหงานวจิัยช้ินนี้มีความเคลื่อนไหวและไมเปนภาพนิ่งจนเกินไปมากขึ้น

สําหรับงานของ นิภาพร กุลมาตย เปนการศึกษาเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกจิของชุมชนบวัใหญ โดยผานประเด็นศึกษาในดานเศรษฐกจิเปนหลัก มีการแบงการศึกษาออกเปน 3 ชวงดวยกัน โดยในแตละชวงไดมกีารศึกษาถึงปจจัยตาง ๆ ที่กอใหเกิดการผลิตและการคาของผูคนภายในชุมชนบัวใหญ การขยายตัวทางการผลิตและการคาภายในชุมชน ตลอดจนความเสื่อมโทรมลงของชุมชนในที่สุด ฯลฯ สําหรับการนําเสนอผลงานดังกลาว โดยภาพรวมแลวคอนขางมีความนาสนใจ เนื่องจากมีการแบงชวงเวลาในการศึกษาคอนขางชัดเจน ซ่ึงสามารถนําแนวคดิและวิธีการศกึษาเหลานัน้มาประยุกตใชตอการศึกษาได ทั้งในสวนของการกําหนดโครงเรื่อง เนื้อหา และวิธีการนําเสนอผลงาน เปนตน นอกจากนี้ แนวทางสําคัญอยางหนึ่งที่ไดจากงานวิจยัดังกลาวคือ การที่จะศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐกิจของชุมชนทองถ่ินใหไดผลดีนั้นควรตองศึกษาสภาพสังคมและสภาพทั่วไปของทองถ่ินควบคูไปดวย เพื่อสะทอนใหเหน็ภาพของชุมชนนั้น ๆ ออกมาไดอยางสมบูรณมากทีสุ่ด ถึงแมวางานวจิัยช้ินนี้ยังขาดการศึกษาผานประเด็นเศรษฐกิจและสังคมควบคูกันอยูกต็ามที แตถาหากไดมีการศกึษาควบคูกันไปแลวนัน้ ประวัติศาสตรเศรษฐกจิของชุมชนบวัใหญจะกลายเปนประวัติศาสตรทองถ่ินที่มีความชัดเจนและมีความสมบูรณยิ่งขึ้น

สวนผลงานวิจยัของ นิรุบล อ้ึงอารุณยะวี มีความคลายคลึงกับผลงานของ นิภาพร กลุมาตย เปนอยางมาก เพียงแตกตางกันที่ขอบเขตพื้นที่และขอบเขตเวลาที่ใชในการศึกษาเทานั้น โดย นิรุบล อ้ึงอารุณยะว ี ไดทําการศกึษาเกีย่วกับสภาพเศรษฐกิจของชุมชนบานไผผานประเด็นศึกษาทางดานเศรษฐกิจเพียงประเด็นเดียวเชนกัน ดังนั้นความชัดเจนของงานวิจยัช้ินนี้จึงลักษณะทีไ่มแตกตางไปจากงานวิจยัของ นิภาพร กุลมาตย โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของสภาพทั่วไปทางกายภาพและสภาพสังคมของชุมชนทองถ่ินในแตละชวงเวลา ที่ยังคงสะทอนออกมาไดอยางไมเต็มที่ ซ่ึงหากผลงานวิจัยทั้งสองชิ้นนี้มีการศึกษาที่ใหภาพของทองถ่ินผานประเด็นสงัคมควบคูไปกับเศรษฐกิจแลวนั้น ประวตัิศาสตรเศรษฐกิจชุมชนของทั้งสองแหงยอมเกิดความชดัเจนและเห็นถึงความเคล่ือนไหวอยางมีพลวัตเพิ่มขึ้นอยางแนนอน

อาจกลาวไดวา ผลงานศกึษาวิจัยทีเ่กีย่วกับประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนที่ผานมานั้น สวนใหญลวนเปนการศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนในระดับหมูบานและระดับเครือขายชุมชนเปนสําคัญ สวนการศกึษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนในลักษณะของชุมชนตลาดหรือยานการคายังคงมีอยูนอยมาก และยังคงใหภาพของชมุชนการคาที่ไมคอยชัดเจนนกั รวมทั้งยังขาดพลวัตและขาดความเคลือ่นไหวที่สะทอนใหเห็นถึงวถีิชีวิตของผูคนในทองถ่ินอยูมาก อยางไรก็ตาม ถึงแมวางานศึกษาเกี่ยวกับประวตัิศาสตรชุมชนตลาดหรือยานการคาจะยังคงขาดความชัดเจนและยังขาดผูที่

Page 20: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

6

ใหความสนใจอยูมากก็ตามท ี แตผลงานศึกษาที่ผานมาก็ชวยทําใหผูศึกษาไดมแีนวทางในการศึกษาวจิัยตอไปไดในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะในเรื่องของการนําเสนอผลงานวิจยั การแบงประเดน็ในการศึกษา ตลอดจนการวเิคราะหขอมูลตาง ๆ อยางเชนผลงานของ พวงรอย กลอมเอี้ยง และนภิาพร กุลมาตย เปนตน

(2) องคความรูท่ีเก่ียวของกับลุมน้ําทาจีนและสามชุก

2.1 องคความรูเกี่ยวกับสังคมลุมน้ําทาจีน เนื่องจากการศกึษาในครั้งนี้มุงศึกษาประวัตศิาสตรชุมชนตลาดสามชุกเปนสําคัญ

เพราะฉะนั้นในการศึกษาดังกลาวจึงไมอาจละเลยการสํารวจองคความรูเกี่ยวกับสภาพสังคมภายในทองถ่ินหรือภมูิภาคเดยีวกันได โดยตลาดสามชุกนั้นจัดเปนชุมชนหนึ่งที่ตั้งอยูในบริเวณลุมแมน้ําทาจีน เพราะฉะนั้นจึงจําเปนตองศึกษาบรบิทแวดลอมอยางสภาพสังคมของลุมแมน้ําทาจีนประกอบการศกึษาครั้งนี้ดวยเชนกัน

จากการสํารวจผลงานศึกษาและเอกสารที่เกีย่วของ พบวามีผลงานหลายชิ้นที่ไดกลาวถึงสภาพสังคมของลุมแมน้ําทาจีน ตั้งแตชวงปลายพุทธศตวรรษที่ 24-พุทธศตวรรษที่ 25 อยางเชนผลงานของมณฑล คงแถวทอง 9 เร่ือง “เศรษฐกิจขาวและน้ําตาลทรายในลุมน้ําทาจนี พ.ศ.2398-2453” ที่ไดกลาวถึงสภาพทัว่ไปของสังคมลุมน้ําทาจีนในเรื่องของการคาขาวและน้าํตาลทราย ทั้งในชวงกอนและหลังการเปดเสรีทางการคา พ.ศ.2398 การขยายตวัของการผลิตขาวในทองถ่ิน และการลดบาทลงของการผลิตน้ําตาลทรายในลุมน้ําทาจีนภายหลังการเปดเสรีทางการคา พ.ศ.2398 เปนตน นอกจากนี้ ยังมีผลงานที่ศึกษาไวใกลเคยีงกับผลงานของมณฑล คงแถวทอง แตมีการกําหนดชวงเวลาในการศึกษาและรายละเอียดปลีกยอยทีแ่ตกตางกันออกไปในบางประเด็น อยางเชน ผลงานของ สุภาภรณ จินดามณโีรจน ที่ศึกษาเกี่ยวกับ “ประวัติศาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน” 10 โดยไดกลาวถึงสภาพเศรษฐกิจสังคมของชุมชนลุมน้ําทาจีนชวงกอน พ.ศ.2398 จนถึงชวงหลัง พ.ศ.2398 เปนสําคัญ ตั้งแตการเติบโตของอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย, สภาวะของ “ขาว” ในปลายรัชกาลที่ 4, การเติบโตของนายทุนชาวจีน, การขยายตัวของเศรษฐกิจเพื่อการคา ฯลฯ และผลงานของ ธีระ แกวประจันทร เร่ือง “สภาพเศรษฐกิจมณฑลนครชัยศรี พ.ศ.2438-2475”

9 มณฑล คงแถวทอง, “เศรษฐกิจขาวและน้ําตาลทรายในลุมน้ําทาจีน พ.ศ.2398-2453”

(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527), 6-152. 10 สุภาภรณ จนิดามณีโรจน, ประวัติศาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน (ม.ป.ท., 2532.

งานวิจยัเสนอตอมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532).

Page 21: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

7

11 ที่ไดกลาวถึง สภาพทั่วไปของลุมน้ําทาจีนในการเปนที่ตัง้ของเมืองตาง ๆ ในมณฑลแหงนี้ และปจจัยตาง ๆ ทีส่งเสริมในดานเศรษฐกจิ เปนตน

สวนผลงานอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กลาวมาแลวขางตน มักเปนงานศึกษาเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจชนบทในภาคกลาง ซ่ึงจะใหภาพของสังคมลุมน้ําทาจีนในภาพกวาง อยางเชน ผลงานของ สุวิทย ไพทยวัฒน เร่ือง “วิวัฒนาการเศรษฐกจิชนบทในภาคกลางของประเทศไทยระหวาง พ.ศ.2394-2475” 12 โดยไดกลาวถึงสภาพทั่วไปของชนบทภาคกลาง ลักษณะความเปนอยูและสภาพเศรษฐกิจในชนบทกอนการเปดเสรีทางการคาใน พ.ศ.2398 รวมทั้งลักษณะความเปนอยูของราษฎรในทองถ่ิน สภาพเศรษฐกิจของชนบทภายหลังการเปดเสรีทางการคาเทานั้น โดยไมไดกลาวลึกลงไปในสวนที่เปนสังคมลุมน้ําทาจีนมากนัก ผลงานของ ทวีศิลป สืบวัฒนะ เร่ือง “การผลิตและการคาขาวในภาคกลางตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเดจ็พระปกเกลาเจาอยูหวัรัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2411-2475)” 13 โดยไดกลาวถึงนโยบายของรัฐในการผลิตและการคาขาวในภาคกลางของประเทศ ตลอดจนปญหาและวิกฤตการณการขาดแคลนขาวชวง พ.ศ.2462 และผลงานของ ธรรมรักษ จําปา เร่ือง “การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจขาวในภาคกลางกบัผลกระทบตอสังคมไทยชวง พ.ศ.2460-2498” 14 โดยไดกลาวถึง การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจขาวในชวงเวลาตาง ๆ 4 ชวง คือ ชวงที่ 1 ชวงขาวยากหมากแพง วิกฤตการณขาวป พ.ศ.2460-2463, ชวงที่ 2 เศรษฐกิจโลกตกต่ําป พ.ศ.2473, ชวงที่ 3 สงครามโลกครั้งที่ 2 การเขามา

11 ธีระ แกวประจันทร, “สภาพเศรษฐกจิมณฑลนครชัยศรี พ.ศ.2438-2475” (วิทยานพินธ

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2534), 58-148.

12 สุวิทย ไพทยวัฒน, “ววิัฒนาการเศรษฐกิจชนบทในภาคกลางของประเทศไทยระหวาง พ.ศ.2394-2475” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521), 11-266.

13 ทวีศิลป สืบวัฒนะ, “การผลิตและการคาขาวในภาคกลางตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหวัรัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2411-2475)” (วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521), 185-278.

14 ธรรมรักษ จําปา, “การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจขาวในภาคกลางกับผลกระทบตอสังคมไทยชวง พ.ศ.2460-2498” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัตศิาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539), 8-189.

Page 22: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

8

ของกองทัพญ่ีปุน, ชวงที่ 4 ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้ยงัไดกลาวถึงนโยบายทางดานเศรษฐกิจของภาครัฐ ทั้งการสงเสริมการผลิตและการควบคุมการคาขาว เปนตน

จากการสํารวจขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับสังคมลุมน้ําทาจีนพบวา ผลงานศึกษาและงานวิจยัสวนใหญยังคงเปนการศึกษาที่ใหภาพรวมของลุมน้ําทาจีนเปนหลัก ทั้งในเรื่องของการผลิตและการคาขาว การจัดเก็บภาษี การกํากับดแูลโดยภาครัฐในระบบมูลนาย-ไพร และการควบคุมผลิตและการสงออกขาวทั้งในและนอกราชอาณาจกัร ฯลฯ โดยผลงานสวนใหญยังไมมกีารเนนใหเหน็ถึงพัฒนาการของชุมชนหนึ่งชมุชนใดขึ้นมาอยางชัดเจนนกั สวนประโยชนที่ไดรับจากการสํารวจงานศึกษาครั้งนี้ คอืสวนของขอมูลที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปของสังคมลุมน้ําทาจีนเปนสําคญั โดยเฉพาะสภาพการคาและการขยายตวัทางการคาในทองถ่ินในแตละชวงเวลา ซ่ึงสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการกําหนดเงื่อนไขในการศกึษาประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุกในครั้งนี้ตอไปได

2.2 องคความรูเกี่ยวกับสามชุก จากการสํารวจผลงานศึกษาและเอกสารที่เกีย่วของกับสามชุก พบวา มีงานศึกษาที่เกี่ยวกับ

สามชุกอยูพอสมควร โดยผลงานสวนใหญจะเปนประเภทบทความ ทั้งประเภทบทความในวารสารภาษาไทย และบทความทางในหนังสือพิมพ ฯลฯ

สําหรับงานศึกษาประเภทบทความในวารสารภาษาไทย มดีังนี ้อเนก นาวิกมลู. “ตลาดสามชุก.” วารสารสารคด ี12, 211(กันยายน 2545): 18-19. ธิริณ. “100 ป ตลาดสามชุก...100ป ของชุมชนยั่งยนื.” สกุลไทย 51,2642 (มิถุนายน 2548) ธิริณ. “100 ป ตลาดสามชุก...100ป ของชุมชนยั่งยนื.” สกุลไทย 51,2643 (มิถุนายน 2548) โดยบทความทั้งสาม ไดกลาวถึงชุมชนสามชุกในอดตีและปจจุบันอยางคราว ๆ วา เปน

ชุมชนที่เติบโตขึ้นมาจากการแลกเปลี่ยนการคา ตอมาชุมชนสามชุกไดเกดิการหลัง่ไหลของคนจีนเชื้อสายแตจิว๋มากขึ้น ทําใหชุมชนแหงนีข้ยายตวัและกลายเปนตลาดแหงการแลกเปลี่ยนสินคาทางน้ําที่มีความสําคัญและสรางรายไดใหแกเมอืงสุพรรณบุรีเปนอยางมาก ภายหลังการพัฒนาจากภาครัฐไดถาโถมเขาสูทองถ่ินแหงนี้อยางแพรหลาย สงผลใหชุมชนแหงนี้ซบเซาลงไปในที่สุด

สําหรับงานศึกษาประเภทบทความในหนังสือพิมพ มีดังนี้ ชวนชื่น หวนชื่นชม. “100 ป ตลาดสามชุก.” มติชน, 4 กรกฎาคม 2548, 3. ไรชาล. “ตลาดสามชุกรอยป.” กรุงเทพฯวันอาทิตย, 22 พฤษภาคม 2548. โดยบทความทั้งสองนี้ ไดกลาวถึงสภาพทั่วไปของชุมชน ตลอดจนเรื่องราวตาง ๆ ที่

เกี่ยวกับความเปนมาของตลาดและการเปนแหลงทองเที่ยวของตลาดสามชุกในปจจุบนั สําหรับผลงานประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจากประเภทบทความขางตน ไดมีการสอดแทรก

เนื้อหาเกี่ยวกบัสามชุกเอาไวเชนกัน แตสวนใหญมักกลาวถึงชุมชนสามชุกเพียงแคประวัติชุมชน

Page 23: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

9

และสภาพสังคมของชุมชนสามชุกโดยรวมเทานั้น เชน โคลงนิราศสุพรรณ ผลงานของสุนทรภู ที่ไดกลาวถึงสามชุกวาเปนชุมชนแหงหนึ่งทีม่ีความสําคัญทางดานการคามาตั้งแตอดีต โดยมีทาเรอืคาขายไวแลกเปลี่ยนสินคาระหวางชาวกะเหรี่ยงที่มีอาชพีปลูกฝายกับกลุมพอคาที่นาํเครื่องอุปโภค-บริโภค ทําใหเขตสามชกุกลายเปนทาเรือจอดขายฝายที่สําคัญและสรางรายไดใหแกทองถ่ินเปนอยางมาก 15 ซ่ึงผลงานดังกลาวไดสอดคลองกับผลงานชิ้นอื่น ๆ อีกหลายเลม เชน “สุพรรณบุรีในสมัยสุนทรภูและสุพรรณบุรีในสมัยปจจุบนั” 16 , “เมืองสุพรรณบนเสนทางการเปลีย่นแปลงทางประวัติศาสตร พุทธศตวรรษที่ 8 - ตนพุทธศตวรรษที่ 25” 17 , “วิวฒันาการเมืองสุพรรณ:ศึกษาพัฒนาการชุมชนเมืองจากพทุธศตวรรษที่ 6 - ตนพุทธศตวรรษที่ 24” 18, “วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตรเอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดสุพรรณบรีุ” 19 ฯลฯ

สวนผลงานศึกษาประเภทผลงานวิจยัและวิทยานิพนธที่เกี่ยวของกับชมุชนตลาดสามชุกปรากฏวามีเพยีงสองเลมเทานั้น โดยผลงานทั้งสองเลมเปนผลงานวทิยานิพนธของสาขาวิชาอ่ืนที่ไมไดสะทอนภาพของชุมชนตลาดสามชุกในมิติประวตัิศาสตรออกมาแตอยางใด เนื่องจากเปนงานศึกษาในดานสาขาวิชาสถาปตยกรรมและสาขาวิชาพัฒนาชุมชน 20 ที่ใชพื้นที่ของชุมชนตลาด

15 โคลงนิราศสุพรรณ (กรุงเทพฯ:ศิวพร,2512. พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ พันจา

อากาศโทสุรพล สมบัติเจริญ 16 สิงหาคม 2512), 71. 16 สมชาย พุมสอาด, ผูรวบรวม, สุพรรณบุรีในสมัยสุนทรภูและสุพรรณบุรีในสมัย

ปจจุบัน (ม.ป.ท., 2517), 39. 17 วารุณี โอสถารมย, เมืองสุพรรณบนเสนทางการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร พุทธ

ศตวรรษที่ 8 - ตนพุทธศตวรรษที่ 25 (กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2547), 194. 18 วารุณี โอสถารมย, วิวัฒนาการเมืองสุพรรณ :ศึกษาพัฒนาการชุมชนเมืองจากพุทธ

ศตวรรษที่ 6 - ตนพุทธศตวรรษที่ 24 (ม.ป.ท., 2546), 180. 19 วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตรเอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดสุพรรณบรีุ

(กรุงเทพฯ:กรมศิลปากร, 2544. พิมพเนื่องในโอกาสพระบรมราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542) , 59.

20 รุจ รัตนพาห,ุ “แนวทางการอนุรักษและพัฒนาพื้นที่ชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547); อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศกึษาตลาดสามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาพัฒนาชุมชน มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร, 2548).

Page 24: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

10

สามชุกเปนหนวยพื้นทีใ่นการศึกษา ดังนัน้ ผลงานวิจัยและวิทยานิพนธที่เกี่ยวของกับชุมชนตลาดสามชุกในเชิงประวัติศาสตรจึงยังไมมีผูใดไดทําการศึกษาเอาไวอยางจริงจัง

กลาวโดยสรุป จากการสํารวจเอกสาร งานวิจยั และวรรณกรรมตาง ๆ ที่เกีย่วของตอการศึกษาในครั้งนี้ พบวา ผลงานศึกษาวิจยัในกลุมแรกที่เกี่ยวกับประวัติศาสตรชุมชนทองถ่ิน สวนใหญยังคงเปนการศึกษาประวตัิศาสตรชุมชนในระดับหมูบานและระดับเครือขายชมุชนเปนสําคญั สวนการศึกษาประวัติศาสตรชุมชนในลักษณะของชุมชนตลาดหรือยานการคา ยังคงมีอยูนอยมากและยังไมมีงานศึกษาชิน้ใดที่ใหภาพชุมชนทองถ่ินออกมาไดอยางชดัเจนนัก รวมทั้งยังคงขาดพลวตัและขาดความเคลื่อนไหวทีแ่สดงใหเห็นถึงวิถีชีวิตของผูคนในทองถ่ินอยูมาก สวนผลงานกลุมที่สอง องคความรูที่เกี่ยวของกับลุมน้ําทาจนีและสามชุก พบวา ผลงานศึกษาและงานวิจยัที่เกีย่วของสวนใหญยังคงใหภาพของชมุชนสามชุกในลักษณะที่คอนขางแคบและจํากัด อีกทั้งยังเปนการมองจากภายนอกเขาไปยังทองถ่ิน นอกจากนี้ ผลงานสวนใหญยังคงเปนประเภทบทความ ที่จัดทําขึ้นมาเพื่อตอบสนองชุมชนในลักษณะของการสงเสริมการทองเที่ยวเปนสําคัญ แมวาผลงานสวนใหญจะมีการกลาวถึงสามชุกอยูบางในแงประวัติศาสตร ในลักษณะของความเปนชุมชนแหงการคาขายที่มีความเกาแกรวมรอยกวาป นบัตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกลาเจาอยูหัวเปนตนมา แตอยางไรก็ตาม ในรายละเอยีดของความเกาแกของชุมชนแหงนี้ ยังคงขาดการอธิบายที่แสดงใหเหน็ถึงพัฒนาการของชุมชนสามชุกในแตละชวงเวลาอยูมาก โดยเฉพาะพัฒนาการในดานเศรษฐกิจและดานสังคม ตลอดจนวิถีชีวติของผูคนในทองถ่ิน ทําใหองคความรูเกี่ยวกับสามชกุที่ไดรับจากการสํารวจ ไมสามารถนํามาประยุกตใชในงานวิจยัไดอยางเต็มที่นัก ดังนัน้ จึงมีความจาํเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการพฒันาองคความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรสามชุกขึ้นมาอยางจริงจัง เพื่อใหเปนประวัติศาสตรทองถ่ินที่มองจากภายในสูภายนอกอยางแทจริงตอไป ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา (GOAL AND OBJECTIVE)

1.เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาของตลาดสามชุก 2.เพื่อศึกษาปจจัยตางๆ ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอตลาดสามชุก

3.เพื่อศึกษาพฒันาการของวถีิชีวิตความเปนอยูของชุมชนตลาดสามชุก ในชวงปพ.ศ.2466-2544 4.เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางชุมชนตลาดสามชุกกบัชุมชนภายนอก

Page 25: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

11

ขอบเขตของการศึกษา (SCOPE OR DELIMITATION OF THE STUDY) (1) ขอบเขตพืน้ท่ีศึกษา

การศึกษาประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก ไดกาํหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาครอบคลุมบริเวณตวัตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรีุ เปนสําคัญ โดยชุมชนแหงนี้มีผูคนอาศัยอยู ราว 3,000 คน ประมาณ 300-400 หลังคาเรือน สวนใหญเปนชาวไทยเชื้อสายจีนที่อยูอาศัยสืบเนื่องมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

สําหรับขอบเขตพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ นอกจากจะใชตลาดสามชุกเปนหนวยพืน้ที่หลักแลวนั้น ผูศึกษายังไดใชพืน้ที่ศึกษาในเขตทองที่อ่ืน ๆ ซ่ึงอยูในภูมภิาคเดยีวกันกับตลาดสามชุกประกอบการศึกษาในครั้งนี้ดวย เชน พื้นที่บริเวณริมแมน้ําสุพรรณบุรีในเขตอาํเภอเดิมบางนางบวช, เขตอําเภอสามชุก, เขตอําเภอศรปีระจันต, เขตอําเภอเมืองฯ, เขตอําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบรีุ เปนตน เนื่องจากพื้นทีด่ังกลาวเปนพื้นทีใ่กลเคียงกับตลาดสามชุก ดังนั้น จึงมีบทบาทตอการเติบโตและการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจของชมุชนแหงนี้มาตั้งแตอดีต

(2) ขอบเขตเนื้อหา โดยจะทําการศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของตลาดสามชุก ปจจยัตาง ๆ ที่กอใหเกิด

ความเปลี่ยนแปลงตอตลาดสามชุก พัฒนาการของวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนตลาดสามชุก ตั้งแตป พ.ศ.2466-2544 และความสัมพันธระหวางชุมชนตลาดสามชุกกบัชุมชนภายนอก

(3) ขอบเขตเวลา สําหรับขอบเขตเวลาที่ใชศึกษานั้น ผูศึกษาไดกําหนดชวงเวลาตั้งแต พ.ศ.2466-2544 เพราะเปนชวงที่เห็นถึงพัฒนาการของวิถีชีวิตความเปนอยูของผูคนในชุมชนไดอยางชัดเจน โดยเฉพาะในชวง พ.ศ.2466 เปนตนมา เนื่องจากเปนชวงที่มีการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวร สงผลใหเกิดการเติบโตและการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจขึ้นอยางมากมาย โดยเฉพาะในดานอุตสาหกรรมและการบริการ สวนระยะเวลาที่ใชเปนจดุสิ้นสุดในการศึกษาคือ ชวง พ.ศ.2544 เพราะเปนชวงที่ตลาดสามชุกตองประสบกับสภาวะตกต่ําและซบเซาลงจากกระแสแหงการพัฒนาของภาครัฐที่ถาโถมเขามายังทองถ่ินในขณะนั้น วิธีการศึกษา (METHOD OF STUDY) การศึกษาคนควาจะใชวิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Approach) และจะนําเสนอรายงานแบบพรรณนาวิเคราะห (Analytical Descriptive) โดยขอมูลที่ใชศึกษามาจาก

1.การศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสาร ซ่ึงมีทั้งเอกสารชั้นตน (Primary Sources) เชน โคลงนิราศสุพรรณ พระราชหตัถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เอกสารกรมราช

Page 26: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

12

เลขาธิการในสมัยรัชกาลที่ 5-7 ฯลฯ และเอกสารชั้นรอง (Secondary Sources) เชน วิทยานพินธ หนังสือภาษาไทย หนังสือภาษาตางประเทศ บทความ วารสาร เปนตน

2.การศึกษาภาคสนาม ซ่ึงเปนขอมูลที่ไดจากการสังเกตการณ สัมภาษณ โดยกลุมเปาหมายเปนผูใหขอมลูในลักษณะของการบอกเลา (Oral History) เปนสําคัญ แหลงขอมูล 1.หอสมุดวชิรญาณ หอสมุดแหงชาต ิ 2.หอจดหมายเหตุแหงชาต ิ 3.หอสมุดเฉลิมพระเกยีรติ จงัหวัดสุพรรณบุรี 4.สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 5.หอสมุดกลางของมหาวิทยาลัย เชน จฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย, มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยศลิปากร ฯลฯ 6.ขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลรวมสมัยในบริเวณลุมน้าํทาจีน ประโยชนท่ีไดรับจากการศึกษา 1.ทําใหทราบถึงประวัติความเปนมาของตลาดสามชุก

2.ทําใหทราบถึงปจจัยตาง ๆ ที่กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงตอตลาดสามชุก 3.ทําใหทราบถึงพัฒนาการของวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนตลาดสามชุก ในชวงป พ.ศ.

2466-2544 4.ทําใหทราบถึงความสัมพันธระหวางชุมชนตลาดสามชุกกับชุมชนภายนอก 5.ทําใหตลาดสามชุกมีประวัติศาสตรทองถ่ินเปนของตัวเอง ขอตกลงเบื้องตน ชุมชนการคาสามชุกเดิม หมายถึง ชุมชนการคาดั้งเดิมของตลาดสามชุก ซ่ึงตั้งอยูบริเวณทายาง บานสามชุก โดยชุมชนการคาแหงนีไ้ดกอตวัขึ้นจากการเปนชุมชนริมน้ํา และพัฒนาขึ้นเปนชุมชนแหงการแลกเปลี่ยนสินคาของชาวบานในทองถ่ินสามชุกและละแวกใกลเคยีงเรื่อยมา ซ่ึงชวงเวลาของชมุชนการคาสามชุกเดิมนัน้ จะอยูในชวงป พ.ศ.2370 - ป พ.ศ.2439 ชุมชนการคาสามชุก หมายถึง ชุมชนการคาสามชุกเดิมที่ไดมีการอพยพโยกยายเขาสูบานสามเพ็งในป พ.ศ.2439 โดยชุมชนการคาสามชุกไดมีการดําเนินกจิกรรมตาง ๆ ทางการคาขึ้นมาอยางตอเนื่องภายหลังการโยกยายชุมชนเปนตนมา ซ่ึงชมุชนการคาสามชุกในชวงหลังป พ.ศ.2439 -

Page 27: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

13

ป พ.ศ.2466 นั้น ยังคงจัดวาเปน “ชุมชนการคา” มากกวาเปน “ตลาด” เนื่องจากชุมชนการคาแหงนี้ยังขาดความสมบูรณทางการคา โดยเฉพาะสถานที่ประกอบกิจกรรมตาง ๆ การคาในรูปแบบของ “ตลาด” ที่ยังไมมีการกอสรางขึ้นมาอยางถาวร ดังนั้น ในชวงเวลาดังกลาว จึงถือวาชุมชนการคาสามชุกเปนชมุชนการคาพืน้ฐานของตลาดสามชุกเพียงเทานั้น ตลาดสามชุก หมายถึง ชุมชนการคาสามชุกที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเปนตลาด ภายหลังจากการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรในป พ.ศ.2466 ซ่ึงภายหลังจากการพัฒนาชุมชนการคาขึ้นมาเปนตลาด ชุมชนการคาสามชุกไดกลายเปนชุมชนตลาดที่มีวิถีชีวิตในการทํามาหากิน และมกีารดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทางการคาที่มีลักษณะเฉพาะของตลาดปรากฏขึ้นมาอยางชัดเจน ดังนั้น จึงถือวาตลาดสามชกุกลายเปนตลาดที่มีความสมบูรณตั้งแตนัน้เปนตนมา

Page 28: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 2

สภาพทั่วไปของชุมชนและประวัติความเปนมาของตลาดสามชุกกอนทศวรรษ 2460

เนื่องจากชุมชนตลาดสามชุก เปนชุมชนที่มีพัฒนาการมาอยางยาวนานจากอดตีสูปจจุบัน

ดังนั้น ในการศึกษาประวัติศาสตรชุมชนตลาดสามชุก ระหวางป พ.ศ. 2466-2544 จงึจําเปนอยางยิง่ที่จะตองศึกษาถึงภูมิหลังของชุมชนดวยเปนสําคัญ เพื่อสรางความรูความเขาใจใหกบัผูศึกษา สรางองคความรูพื้นฐานใหกับชุมชน และเปนการปทูางไปสูการศึกษาประวตัิศาสตรชุมชนตลาดสามชุกในประเด็นตาง ๆ ตอไป

สําหรับเนื้อหาในบทนี ้ จะศกึษาเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของตลาดสามชุกในปจจุบันและประวัติความเปนมาของตลาดสามชุกในชวงกอนทศวรรษ 2460 โดยในสวนของสภาพทั่วไปของตลาด จะศกึษาถึงลักษณะทีต่ั้ง อาณาเขตติดตอ และบรรยากาศตาง ๆ ภายในตลาดปจจุบัน ฯลฯ สวนประวัติความเปนมาของตลาด จะศกึษาตั้งแตการกอเกิดชุมชนสามชุกเดิมจนพัฒนามาสูตลาดในชวงทศวรรษ 2460 ดังนี้ 2.1 สภาพทั่วไปของชุมชนตลาดสามชุก

“ตลาดสามชุก” เปนตลาดโบราณประจําอําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ที่มีพัฒนาการมากวา 100 ป ซ่ึงในปจจบุันตลาดแหงนี้ยังคงอบอวลและรายลอมไปดวยบรรยากาศเกา ๆ ของอาคารรานคากวา 300-400 หลังคาเรือน ที่มีลักษณะเปนหองแถวไมสองชั้นขนาดใหญ ตั้งเรยีงรายเปนสายเปนซอยอยูริมแมน้ําทาจีนฝงตะวันตก ในเขตเทศบาลตําบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีลักษณะของสถาปตยกรรมและศิลปกรรมอันเกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมไทยและจีนที่ไดรับอิทธิพลมาตั้งแตสมัยพระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวสอดแทรกและปรากฏใหเหน็อยูแทบทุกหลัง ทั้งรูปทรงของอาคารบานเรือน ศิลปะบนกระเบื้องปูพื้นที่ตระการตาไปดวยสีสัน และการประดบัประดาดวยลวดลายไมฉลุทัง้แบบไทยแบบจีนตามสวนตาง ๆ ของบาน อยางเชน ตามแผงประดบัใตหลังคา ชองลม ราวกันตก หนาจั่ว ประตู และหนาตาง เปนตน

นอกจากนี้ ภายในอาคารรานคาแตละหลัง ยังคงมีขาวของเครื่องใชในอดีตอยางมากมาย ที่สวนใหญยังอยูในสภาพที่ใชการไดดแีทบทุกชิ้นและยงัคงถูกจัดวางไวอยางเปนระเบียบ ไมวาจะเปนพัดลม โคมไฟ ตะเกยีง โปะ ตู เตยีง นาฬิกา ตูเย็น จักรยาน ชุดเชีย่นหมาก ชุดน้ําชา เครื่องถวยลายคราม เครื่องลงหิน เครื่องทองเหลือง เครื่องกระเบื้อง ฯลฯ ตลอดจนสินคาหลากหลายชนิดทีเ่คย

14

Page 29: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

15

ทรงคุณคาในอดีต อยางเชน ขนมหมากฝรั่งมวนบุหร่ีตราแมวสีดํา ลูกอมรสโคลา ขนมโกแถมแหวน ของเลนสังกะสี เรือปอกแปก ปนแกป ตุกตาไขลาน ตุกตากระดาษ ลูกโปงวิทยาศาสตร ฯลฯ ก็ไดถูกนํากลบัมาวางขายอยางแพรหลายเชนกัน จนทําใหตลาดสามชุกในปจจุบนัไมเพยีงแตเปนตลาดโบราณที่สามารถคงความเกาแกไดอยางสมบูรณเทานั้น แตตลาดสามชุกในปจจุบันยังเปนเสมือนพิพธิภณัฑของเกาทีค่วรคาแกการอนุรักษเปนอยางยิ่ง

ภาพที่ 1 ตลาดสามชุกในปจจุบัน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 17 มกราคม 2550

ปจจุบันตลาดสามชุกตั้งอยูหางจากตวัเมอืงจังหวดัสุพรรณบุรีประมาณ 35 กิโลเมตร ในเขตเทศบาลตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรีุ โดยตวัตลาดมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ทางดานทิศเหนือของที่วาการอําเภอสามชุกเปนสวนใหญ บนเนื้อที่กวางขวางประมาณ 2 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ตาง ๆ ดงันี้

Page 30: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

16

ทิศเหนือ - มีพื้นที่ติดตอกับบานเรือนและที่ดินของประชาชน ทิศตะวันออก - มีพื้นที่ติดตอกับแมน้ําทาจีน 1 และถัดจากแมน้ําทาจีนออกไปเปน

ทางหลวงแผนดินหมายเลย 340 (สุพรรณบุรี-ชัยนาท) ที่ยาวขนานกับตลาดสามชุกในแนวเหนือ-ใต

ทิศใต - มีพื้นที่ติดตอกับที่วาการอําเภอสามชุกและที่ดินสาธารณะ ซ่ึงเปนลานโลงหนาที่วาการอําเภอ และเปนที่ตั้งของอาคารโรงสูบน้ํา หอประชุม สํานักงานที่ดินหลังเกา สถานีตํารวจทองที่ สวนเฉลิมพระเกียรติ ฯลฯ

ทิศตะวันตก - มีพื้นที่ติดตอกับถนนเลียบคลองชลประทาน ซ่ึงเปนทางหลวงแผนดินหมายเลข 3365 (ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ) เปนตน การเดินทางเขาสูตลาดสามชุกในปจจุบันมอียูดวยกนั 2 ชองทางหลัก คือ ทางบกและทาง

น้ํา โดยทางบกสามารถใชเสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 (สุพรรณบุรี-ชัยนาท) และทางหลวงแผนดินหมายเลข 3365 (ถนนสายสามชกุ-หนองหญาไซ) สวนทางน้ําสามารถลองเรือตามลําน้ํา

1 แมน้ําทาจีน เปนแมน้ําสายหลักที่ไหลผานชุมชนตลาดสามชุก มีตนกําเนดิมาจากการ

ไหลแยกของแมน้ําเจาพระยา ระหวางตําบลทาซุง อําเภอเมืองอุทัยธาน ี กับตําบลหาดทาเสา อําเภอเมืองชัยนาท แลวจึงไหลผานลงมาทางใตผานอําเภอวัดสิงห อําเภอเมืองชัยนาท อําเภอหนัคา จังหวดัชัยนาท เรียกวา “แมน้ํามะขามเฒา” ตอมาไหลผานจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งแตอําเภอเดมิบางนางบวช อําเภอสามชุก อําเภอศรีประจันต อําเภอเมืองสพุรรณบุรี อําเภอบางปลามา และอําเภอสองพี่นอง เรียกวา “แมน้ําสุพรรณบุรี” หลังจากนั้นไหลผานเขาสูจังหวัดนครปฐม ผานอําเภอบางเลน อําเภอนครชัยศรี อําเภอสามพราน เรียกวา “แมน้ํานครชยัศรี” แลวเขาเขตจังหวัดสมุทรสาคร ผานอําเภอกระทุมแบน อําเภอบานแพว อําเภอเมืองสมุทรสาคร เรียกวา “แมน้ําทาจีน” แลวไหลออกทะเลที่อาวไทย โดยมีความยาวทั้งส้ินประมาณ 300 กิโลเมตร ความกวางเฉลี่ย 60 เมตร

สําหรับชวงทีแ่มน้ําทาจนีไหลผานในแตละจังหวัดจะมช่ืีอเรียกที่แตกตางกันไป อยางเชน ผานจังหวัดชัยนาท เรียกวาแมน้ํามะขามเฒา, ผานจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกวาแมน้ําสุพรรณบุรี, ผานจังหวดันครปฐม เรียกวาแมน้ํานครชัยศรี และผานจังหวดัสมุทรสาคร เรียกวาแมน้ําทาจีน เปนตน อยางไรก็ตาม ในทางภูมศิาสตรไดมกีารกําหนดชื่อแมน้ําตามหลักการทางภูมิศาสตรเอาไวเชนกัน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกนั โดยใชช่ือตรงปลายน้ํากอนไหลลงสูอาวไทย ซ่ึงอยูระหวางตําบลหญาแพรกกับตําบลโกรกกราก อําเภอสมทุรสาคร มีช่ือเรียกวา แมน้ําทาจีน ทําใหแมน้ําสายนี้มีช่ือเรียกอยางเปนทางการวา “แมน้ําทาจีน” ตลอดสาย

Page 31: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

17

เจาพระยาจากกรุงเทพมหานครเขาประตูน้าํบานแพน ประตูน้ําบางยีห่น ผานจังหวัดสุพรรณบุรี แลวเขาประตนู้ําโพธ์ิพระยามาสูตลาดสามชุก

ภาพที่ 2 แสดงที่ตั้งชุมชนตลาดสามชุก

ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

สําหรับผูคนที่อาศัยอยูในตลาดสวนใหญเปนชาวไทยเชือ้สายจีน ซ่ึงมีอยูประมาณ 80 % ของจํานวนประชากรที่อาศัยอยูในตลาดทั้งหมด โดยจํานวนประชากรที่อาศัยอยูในตลาดจากสถิติทะเบียนราษฎร ณ เดือนตุลาคม พ.ศ.2547 จํานวน 4,441 แยกเปนชาย 2,097 หญิง 2,344 คน 2 ซ่ึงอยู

2 อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาด สามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548), 50.

ตลาดสามชุก

ท่ีวาการอําเภอสามชุก

แมน้ําทาจีน

.ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3365

N

.

.ทางหลวงแผนดินหมายเลข 340

Page 32: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

18

ในเขตการปกครองของเทศบาลตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ทุกหลังคาเรือน โดยชาวบานในตลาดสามชุกสวนใหญยังคงยึดการคาขายเปนอาชีพหลัก สวนอาชีพเกษตรกรรม รับราชการ รัฐวิสาหกจิ กิจการสวนตัว ฯลฯ จะเปนอาชพีรองลงไป ปจจุบันตลาดสามชุกไดรับการพัฒนาขึ้นเปนแหลงทองเที่ยวประจําจังหวัดสุพรรณบรีุ ในลักษณะของ “ตลาดเชิงอนรัุกษ” หรือ “ตลาดโบราณ” จึงทําใหตลาดสามชุกเริ่มกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง โดยเฉพาะในชวงวนัหยดุสุดสัปดาห วันหยุดนกัขัตฤกษ และชวงเทศกาลตาง ๆ ประจําป ฯลฯ ซ่ึงจะมคีวามคึกคักมากเปนพิเศษ เนื่องจากนกัทองเที่ยวในปจจุบันเริ่มใหความสนใจตอการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเริ่มรูจักตลาดสามชุกผานสื่อตาง ๆ มากขึ้น ประกอบกับตลาดสามชุกเปนตลาดโบราณที่มีเอกลักษณและมีความโดดเดนเฉพาะตวั ทั้งในดานสถาปตยกรรม ดานศิลปกรรม และดานอาหารการกิน ฯลฯ จึงสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวจากทัว่สารทศิไดอยางไมขาดสายเรื่อยมา โดยนักทองเทีย่วสวนใหญที่มักเดินทางเขามาตลาดสามชุกอยูเสมอนั้น มีทั้งเดินทางมาจากกรุงเทพฯ ชัยนาท นครปฐม กาญจนบุรี พระนครศรีอยธุยา อางทอง เปนตน ซ่ึงการหล่ังไหลของนักทองเที่ยวเหลานี้ ไมเพยีงแตสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดโบราณที่ไดรับการกลาวขวญัและเปนที่รูจกัของผูคนทั่วไปอยางกวางขวางในนาม “สามชุก ตลาดรอยป” หรือ “OLD CHINESE MARKET” (ตลาดจีนเกา) เทานั้น แตการหลั่งไหลของนักทองเที่ยวอยางไมขาดสายเชนในปจจุบนัยังสงผลใหตลาดสามชุกสามารถยืนหยดัอยูทามกลางกระแสเศรษฐกจิทีเ่ปลี่ยนแปลงไปไดอยางแข็งแรงและมัน่คงอีกดวย สําหรับการทองเที่ยวของตลาดสามชุกในปจจุบันจะมีอยูดวยกนัสองสวนใหญ โดยสวนแรกจะเปนการเขาชม “พิพิธภัณฑขุนจํานงจีนารักษ” ซ่ึงเปนสวนที่มกีารจัดแสดงเรื่องราวตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวติชุมชน ความเปนอยู ความเคลื่อนไหว ความเจริญ ทั้งทางศิลปกรรมและสถาปตยกรรม ที่เกิดขึน้จากจิตสํานึกของผูคนในตลาดจากอดีตสูปจจบุัน และอีกสวนจะเปนการเขาชมรานคาที่เปน “รานเกา” ขึ้นชื่อของตลาด ซ่ึงชาวบานไดมีการเปดบานตอนรับนักทองเที่ยวใหเขาไปเยีย่มชมขาวของเครื่องใชในอดตี การใชชีวิต การทํามาหากิน และเปนจดุซื้อขายของฝากและของที่ระลึก อยางเชน รานเครื่องหวาย “ศิริทรัพย”, รานนาฬิกาโบราณ “บุญชวยหัตถกิจ”, รานกาแฟทาเรือสง “เจหมวยเล็ก”, รานขาวหอใบบัว “พี่หร่ัง”, รานบะหมี ่“เจ็กอาว”, รานขายยาจีน “ฮกอันโอสถสถาน”, รานถายรูป “ศิลปธรรมชาติ”, รานขายเครื่องใชครัวเรือน “คูเซงฮวด” ฯลฯ ซ่ึงนักทองเที่ยวสามารถเดินทางเขาไปเยีย่มชมพิพิธภัณฑและตัวตลาดไดทกุวัน โดยไมเสียคาบริการแตอยางใด

Page 33: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

19

ภาพที่ 3 พิพิธภัณฑบานขุนจํานงจีนารกัษ ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ภาพที่ 4 รานคาเกาแกทีเ่ปนรานขึ้นชื่อของตลาด ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

Page 34: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

20

2.2 ประวัติความเปนมาของตลาดสามชุกกอนทศวรรษ 2460 “ตลาดสามชุก” เปนตลาดแหงการแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินคาประจําอําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี ที่มีพัฒนาการมาอยางยาวนาน ตั้งแตเปนเพียงชุมชนริมน้ําขนาดเล็กประจําทองถ่ิน พัฒนามาสูชุมชนการคาที่มขีนาดใหญ และกลายมาเปนตลาดประจําอําเภอทีม่ีช่ือเสียงโดงดังไปไกลกวาหลายอําเภอไดในทีสุ่ด ซ่ึงความเปนมาของชุมชนการคาสามชุกในชวงกอนการพัฒนามาสูตลาด สามารถแบงประเด็นได 2 ประเดน็ คือ ความเปนมาของชุมชนการคาสามชุกเดิม และการโยกยายชุมชนการคาสามชุกเดิมมาสูชุมชนปจจุบัน ดังนี ้

2.2.1 ความเปนมาของชุมชนการคาสามชกุเดิม สําหรับความเปนมาของ “ชุมชนการคาสามชุกเดิม” ไดมีการเลาขานตอ ๆ กันมาวา ไดถือ

กําเนิดขึน้คร้ังแรกจากการเปนชุมชนริมน้ําขนาดเล็กประจําทองถ่ิน ซ่ึงตั้งอยูทางทิศใตหางจากตลาดสามชุกในปจจุบันประมาณ 2 กิโลเมตร ในบริเวณ “ทายาง” บานสามชุก ทางฝงตะวนัตกของลําน้ําทาจีน ตรงขามกับวัดสามชุก วัดเกาแกประชุมชนที่สรางขึ้นราวสมัยอยุธยา โดยมีชุมชนริมน้ําอ่ืน ๆ รายรอบมากมาย อยางเชน ชุมชนริมน้ําบานยางสองพีน่อง บานบางแวก บานกระตั้ว บานซัดหอม บานทึง บานบางขวาก บานวงัหิน บานวังหวา บานกลวย บานมวง (พังมวง) บานปูเจา บานไร บานกราง บานใหม ฯลฯ

สวนการกอตวัข้ึนเปนชุมชนการคาของชุมชนสามชุกเดิม ไดเร่ิมตนขึ้นจากการที่ในสมัยกอน ในบริเวณลําน้ําทาจีนตอนบน ตั้งแตเขตสามชุกขึ้นไปจนถึงเขตรอยตอระหวางแมน้ําทาจีนกับแมน้ําเจาพระยาที่ตําบลทาซุง อําเภอเมืองอุทัยธานี กับตําบลหาดทาเสา อําเภอเมืองชัยนาท จะมีหาดทรายตื้นมาก โดยเฉพาะในฤดูแลงน้ําในแมน้ําทาจีนจะแหงขาดตอนจนเรือแพตาง ๆ ไมสามารถสัญจรไปมาไดเลยทเีดียว ดวยเหตนุี้ ชาวเรือหลายรายที่ตองใชลําน้ําทาจีนในการเดินทางไปมา ตองขนถายสินคาลงกองไวกับพื้นที่บริเวณปากทาของชุมชนสามชุกเดิมที่เรียกกันวา “ทายาง” อยูเสมอ เพื่อรอคอยจนกวาแมน้ําในลําน้ําทาจีนเต็มทา จึงจะสามารถเดนิทางตอไปได 3

สําหรับการที่ชาวเรือสวนใหญมักเลือกทีจ่ะหยุดพักชัว่คราวท่ีบริเวณ “ทายาง” อยูเสมอนั้น นอกจากบริเวณ “ทายาง” จะเปนบริเวณหนึ่งทีม่ีสันดอนทรายเกดิขึ้นมากในบริเวณปากทา

3 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 35: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

21

ดานหนาชุมชน จนทําใหเรือแพไมสามารถลองตอไปได ชาวเรือสวนใหญยังเล็งเหน็วาการหยุดพักการเดินทางชัว่คราวที่บริเวณ “ทายาง” ในชวงที่ประสบปญหาจะทําใหตนเองเกิดความปลอดภยัทั้งชีวิตและทรัพยสินมากที่สุด เพราะ “ทายาง” เปนทาน้ําที่มีขนาดใหญโตและกวางขวาง จึงสามารถรองรับเรือสินคาและการขนถายสินคาจํานวนมากได อีกทั้งบริเวณ “ทายาง” เปนบริเวณที่เร่ิมมีผูคนเขาไปตั้งรกรากอยูเปนจํานวนมาก จึงคอนขางมีความปลอดภัยสูงกวาบริเวณอืน่ ๆ ทีย่ังเปนปาเปนดงและยังไมมชุีมชนเขาไปตัง้หลักแหลง ดังนั้น ชาวเรอืสวนใหญจึงเลือกบริเวณ “ทายาง” เปนที่ปกหลักชัว่คราวในทกุ ๆ คร้ังที่ประสบปญหา แมวาในบางครั้งการปกหลักชั่วคราวอาจกินเวลานานแรมเดือนแรมปก็ตาม เพราะชาวเรือสวนใหญตองการสรางความมั่นใจใหไดวา หากเดินทางตอไปจะไมเกิดความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของตนอยางแนนอน เนือ่งจากระยะทางจาก “ทายาง” ขึ้นไปจนถึงเขตรอยตอของแมน้ําทาจีนและแมน้ําเจาพระยาคอนขางไกลมาก ซ่ึงหากเดินทางตอไปในขณะที่แมน้าํทาจีนยังคงมกีารขาดตอนอยูเปนระยะ ๆ ยอมกอใหเกดิความเสียหายเพิ่มมากขึน้ได ดวยเหตนุี้ ชาวเรือหลายรายจึงเลือกที่จะหยุดพกัและขนถายสินคาลงกองไวที่บริเวณ “ทายาง” ในทุกครั้ง ๆ ที่ประสบปญหา และเมื่อเกิดความบอยครั้งเขา บริเวณ “ทายาง” จึงกลายเปนแหลงรวมสินคา ผูคน และเกดิการแลกเปลี่ยนคาขายตามมา จนทําใหชุมชนสามชุกเดิมเริ่มกอตัวขึ้นเปนชุมชนการคาที่มีการแลกเปลี่ยนคาขายขึ้นในที่สุด 4

ภาพที่ 5 บริเวณทายาง ในปจจุบัน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 1 มกราคม 2549

4 หนังสือสวดมนตวัดสามชกุ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2542), 18-19.

Page 36: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

22

ภาพที่ 6 แสดงที่ตั้งของชุมชนตาง ๆ ในอดตี ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

บานสามเพ็ง (ท่ีต้ังของตลาดสามชุกในปจจุบัน)

บานสามชุก (ท่ีต้ังของชุมชนสามชุกเดิม)

เสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 340

แมน้ําทาจีน

. บานโปงแดง

. บานทึง

บานหนองโรง . บานหนองผักนาก . บานวังลึก

. บานบางขวาก

N

. บานซัดหอม

. บานยางสองพี่นอง

. บานกระตั้ว . บานบางแวก

Page 37: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

23

ภาพที่ 6 (ตอ) แสดงที่ตั้งของชุมชนตาง ๆ ในอดีต ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

. บานวังหิน

. บานวังหวา

บานใหม

บานไร .

. บานปูเจา บานมวง (พังมวง) .

บานกลวย .

Page 38: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

24

อยางไรก็ตาม แมวาจะไมทราบแนชัดวาชุมชนสามชุกเดิมเริ่มมฐีานะเปนชุมชนการคาประจําทองถ่ินขึ้นเปนคร้ังแรกเมื่อใด แตในชวงหลังทศวรรษ 2370 เปนตนมา ก็สามารถยืนยันไดวาชุมชนสามชุกเดิมไดกลายเปนชุมชนการคาขึ้นแลวอยางชัดเจน เนื่องจากในชวงป พ.ศ.2370 ไดมีการกอสรางศาลเจาพอหลักเมืองประจําชุมชนการคาขึ้นมาอยางเปนกจิจะลักษณะ เพื่อปกปกรักษาชาวบานที่อาศยัอยูในชุมชนและเพื่อคุมครองชาวบานที่เดินทางเขามาติดตอคาขาย ทําใหชาวบานทั้งในทองถ่ินและตางถ่ินเกดิการรับรูและเขาใจตรงกนัมาโดยตลอดวาชุมชนสามชุกเดิมไดกลายเปนชุมชนการคาประจาํทองถ่ินขึ้นแลวในขณะนัน้ จึงไดมกีารเรียกขานชุมชนสามชุกเดิมวา “ชุมชนการคาสามชุก” ตามชื่อหมูบานสามชุก ซ่ึงเปนทีต่ั้งของชุมชนการคาตั้งแตนัน้เปนตนมา

ภาพที่ 7 “ศาลเจาพอหลักเมอืงเกา” ประจําชุมชนสามชุกเดิม สรางขึ้น ในป พ.ศ.2370 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 1 มกราคม 2549

สําหรับความหมายของคําวา “สามชุก” ซ่ึงมาจากชื่อหมูบานสามชุกนัน้ ไดมีการเลาขานตอ ๆ กันมาหลายนัยยะดวยกัน 5 ดังนี้

5 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 39: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

25

นัยยะแรก มาจากคําวา “กระชุก” หรือ “สีชุก” 6 ภาชนะที่ชาวบานนยิมใชใสส่ิงของในขณะนัน้ ซ่ึงปรากฏหลักฐานในหนังสือสวดมนตวดัสามชุกไววา 7 ในการแลกเปลี่ยนคาขาย ถาหากคราวใดที่พอคาแมคา ไมวาจะเปนชาวเรือ ชาวปา (ลาว ละวา กะเหรี่ยง) และชาวบาน เดินทางมาพบกัน ก็จะซื้อขายแลกเปลีย่นกนัสะดวก แตถาคราวหนึ่งคราวใดที่ตองรอคอยซ่ึงกันและกัน ฝายที่มากอนก็ตองรอและขนถายสินคาลงกองไว หรือไมก็จะนําสินคามาเกบ็ไวในกระชกุหรือสามชุกของตน เพื่อปองกนัขาวของจะเกิดความเสียหาย คร้ังนั้นเลากันวาที่ชุมชนยานนี้บรรดาพวกพอคาแมคาตางนิยมสานกระชุกไวใสสินคาของตนกนัอยางแพรหลายในชวงเวลาที่ตองรอคอยซ้ือขายสินคาระหวางกัน ทัง้การสานกระชุกแบบรูปฟกผาตามยาว เพือ่ใชสอดลงในเกวยีน สําหรบัใสขาวเปลือก นุน และถาน ฯลฯ และการสานกระชุกแบบทรงกลมไวบรรจุส่ิงของ เปนตน ซ่ึงกระชุกทั้งสองลักษณะลวนเรียกวา กระชกุ สีชุก สามชุก กระชุ ไดทั้งสิ้น สงผลใหชาวบานทั้งในทองถ่ินและตางถ่ินพากันเรยีกละแวกนั้นวา “บานกระชุก” หรือ “บานสามชุก” เร่ือยมา

6 ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ไดกลาวถึง กระชุ กระชุก หรือ

สามชุก ไวดังนี้ กระชุ น. ภาชนะสานรูปทรงกลม สําหรับบรรจุของ เชน นุนหรือถาน, กระชุก ก็วา. กระชุก๑ น. ภาชนะสานรูปทรงกลมสูง สําหรับบรรจุของ เชน นุนหรือถาน, กระชุ ก็วา ;

อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเทากับ ๕ สัด, และ ๔ กระชุก เปน ๑ ตะลอง. กระชุก๒ น. ภาชนะสานรูปฟกผาตามยาว ใชสอดลงในเกวียน สําหรับใสขาวเปลือก เปน

ตน, กระชุก ก็เรียก. สามชุก น. ภาชนะสานรูปฟกผาตามยาว ใชสอดลงในเกวียน สําหรับใสขาวเปลือก เปน

ตน, สามชุก ก็เรียก. 7 หนังสือสวดมนตวัดสามชกุ, 18-19.

Page 40: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

26

ภาพที่ 8 “กระชุก” ภาชนะสานรูปฟกผาตามยาว ใชสอดลงในเกวียน สําหรับใสขาวเปลือก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย อาจารยปรีชา ทวีสุข )

Page 41: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

27

ภาพที่ 9 กระชุกหรือกระชุ ภาชนะสานรูปทรงกลม สําหรับบรรจุของ เชน นุนหรือถาน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คุณศิริ สรหงษ)

นัยยะท่ีสอง มาจากการที่ชุมชนยานนี้มีทําเลที่ตั้งอันเปนเสมือนชุมทางการคาที่สามารถติดตอไดถึงสามสายหรือสามแพรงดวยกนั ไดแก ทางเรือจากทิศเหนือสายหนึ่ง ทางเรอืจากทางทิศใตสายหนึ่ง และบรรทุกเกวียนมากจากทศิตะวนัตกอีกสายหนึ่ง ทําใหยานนี้กลายเปนยานที่มีผูคนชุกชุม จนเกิดการผนวกคําระหวาง “สามแพรง” กับ “ชุกชุม” กลายเปนคําวา “สามชุก” ที่ใชเรียกขานทองถ่ินยานนี้นับแตนั้นเปนตนมา ดังปรากฏในหนังสือทองถ่ินสุพรรณบุรี 8 ดังนี ้

จะขอกลาวถึงตํานานยานสามชุก สมัยยุคโบราณกลาวขานวา

ในทองถ่ินนี้มกีระชุกละลานตา นําไมไผในปามาสานกัน ใชใสของหิ้วไปไดทุกที ่ หรือบางทีเรียก “สามชุก” ทุกเขตขัณฑ บางก็วามาจากทางสามแพรงพลัน เมื่อกอนนัน้ขายคามาชุมนุม ทั้งแมคาลูกคามาเต็มยาน รวมสามดานคนถวนทัว่มามัว่สุม เรียก “สามชุก” เพราะสามทางชางชุกชุม ทุกเมืองมุมเรียกขานเนิน่นานมา

8 ศิวกานท ปทมุสูติ, สุนันทา สุนทรประเสริฐ และอรอนงค โชคสกุล, ผูรวบรวม, ตํานาน

ทองถ่ินสุพรรณบุรี (ม.ป.ท., สํานักงานการประถมศึกษาจงัหวัดสุพรรณบุรี, 2534), 109.

Page 42: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

28

นัยยะท่ีสาม มาจากคําวา “สามสีชุก” เนื่องจากในอดีตภายในชุมชนไดมีเรื่องเลาขานตอ ๆ กันมาวา สมยักอนที่บริเวณบานสามชุกไดเคยมีเรือชะลา 9 หรือเรือทรัพยแผนดินเคลื่อนที่ผานไปมาอยูใตดนิ โดยเรือของทรัพยแผนดินลํานี้ชาวบานตางเชื่อกนัวาเปนเรือทีบ่รรทุกเงินบรรทุกทองเอาไวมากมายตักตวงเทาใดก็ไมหมด คร้ังหนึ่งเลากนัวาเรือชะลาไดเคยเคลื่อนผานมาจอดยังบานสามชุกแหงนี ้ เมื่อชาวบานมาพบเขาจึงไดชวยกันนําทรัพยสินทีไ่ดจากเรือลําดังกลาวขึ้นมาใสเกวยีน ซ่ึงมมีากมายถึงสามสีชุกดวยกัน และจากการที่ชาวบานสามารถนําทรัพยสินจากเรือข้ึนมาใสเกวยีนไดถึงสามสีชุกครั้งนั้น จึงเกดิการร่ําลือไปทั่วสาระทิศ และเกิดการเรยีกขานทองถ่ินยานนี้วา “บานสามสีชุก” หรือ “บานสามชุก” นบัแตนั้นเปนตนมา

ภาพที่ 10 “เรือชะลา” หรือ “เรือทรัพยแผนดิน” ตามคําบอกเลาของบรรพบุรุษ ที่มา : ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบบัราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 (กรุงเทพฯ : อักษรเจริญ ทัศน อจท. จํากัด, 2525), ภาพประกอบทายเลม (เรือชนดิตาง ๆ) .

นัยยะท่ีสี่ มาจากคําวา “สาวชุก” มาจากการที่ทองถ่ินแหงนี้มีหญิงสาวมากหรือมีหญิงสาว

ชุก จึงเกิดเรยีกขานวา “บานสาวชุก” หรือ “บานสามชุก” เร่ือยมา และนัยยะสุดทาย มาจากคําวา “เสาชุก” ซ่ึงมาจากการที่ทองถ่ินแหงนี้มเีสาหรือทอนซุงลอยอยูในลําน้ํามากมาย จึงเกิดการเรียก

9 ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดกลาวถึง เรือชะลา ไวดังนี้ ชะลา ๑ น. ช่ือเรือขุดชนิดหนึ่ง ทองแบน เอาซุงทั้งทอนขุดเปนรูปเรือ แตไมตองเบิกอยาง

เรือบางชนิด เชนเรือมาด.

Page 43: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

29

ขานวา “บานเสาชุก” ตอมาไดเกดิการเรียกเพี้ยนจากคําวา “บานเสาชุก” มาเปน “บานสามชุก” ในที่สุด

เนื่องจากชุมชนสามชุกเดิม เปนชุมชนที่มีวัดสามชุกอยูคูชุมชนมาเปนเวลาชานาน (ราว พ.ศ.2300) 10 ชุมชนสามชุกเดมิจึงเปนชุมชนโบราณที่มีการอยูอาศัยของผูคนมาอยางตอเนื่องตั้งแตสมัยอยุธยา โดยกลุมชาติพนัธุดั้งเดิมที่อาศัยอยูในชุมชนมาจนถึงชวงที่เปนชุมชนการคา สันนิษฐานไดวาเปนกลุมคนไทยพืน้เมอืงเปนสวนใหญ เนื่องจากมีการคนพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวของกับคนไทยพืน้เมืองอยางมากมาย ไมวาจะเปนมณฑปและรอยพระพทุธบาทจําลองประดิษฐานในมณฑป พระพุทธรูปหินทราย พระสมยัอยุธยา หงสสัมฤทธิ์ 1 คู และหลวงพอพระธรรมจักรพระพุทธรูปสมัยอูทอง เปนตน สวนกลุมชาติพันธุอ่ืน ๆ อยางเชน กลุมลาว ละวา กะเหรี่ยง และจีน จะเปนกลุมคนที่มีการอพยพเขามาในชวงหลังเกดิชมุชนการคา ตามคําบอกเลาตอ ๆ กันมา เพราะไดปรากฏการเรียกขานชาวบานตามกลุมชาติพันธุมาตั้งแตคร้ังนั้นวา “ชาวบาน” (คนไทย) “ชาวเรือ” (คนจนี) และ “ชาวปา” (คนลาว ละวา กะเหรี่ยง) เปนตน 11

ภาพที่ 11 มณฑป และรอยพระพุทธบาทจําลองประดิษฐานในมณฑป ซ่ึงปรากฏอยูในวัดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 1 มกราคม 2549

10 หนังสือสวดมนตวัดสามชกุ, 13. 11 สัมภาษณ คุณภาค กฤษวงษ, คณะกรรมการวัดบานทึง อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี,

16 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 44: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

30

อยางไรก็ตาม แมวาในชวงหลังทศวรรษ 2370 ชุมสามชุกเดิมจะกลายเปนชุมชนการคาประจําทองถ่ินขึ้นแลวอยางชดัเจน 12 แตสภาพทั่วไปของชมุชนสามชุกเดมิยังคงมีสภาพไมแตกตางไปจากชุมชนริมน้ําอ่ืน ๆ เทาใดนกั เนื่องจากไดมกีารเลาขานตอ ๆ กันมาวา บริเวณชุมชนสามชกุเดิม ยังคงรกรางและถูกปกคลุมไปดวยตนไมสูงใหญอยูอยางหนาแนน ทั้งตนยาง ไผ ตะโก ฝร่ัง มะมวง มะพราว มะพลับ ฯลฯ และยังคงมีสัตวปานอยใหญอาศัยอยูมากมาย ทั้งสุนัข จิ้งจอก เสือปลา นกยูง จระเข กระตายปา ฯลฯ 13

นอกจากนี้ ภายในชุมชนยังมีการตั้งบานเรือนเรียงรายตลอดลําน้ํา ในลักษณะเปนบานไมมุกจากและบานไมมุงแฝก พื้นกระดาน ฝาไมขัดแตะ ทรงไทย ที่มีพื้นที่เพาะปลูกอยูหลังบานแทบทุกหลัง ซ่ึงชาวบานตางยังคงมีวิถีชีวิตแบบพอยังชีพ มีการผลิตเพื่อบริโภคมากกวาเพื่อคาเพื่อขาย จึงทําใหมกีารเพาะปลูกขาวและพืชผลทางการเกษตรเปนอาชีพหลัก และมีการแลกเปลี่ยนคาขายเปนอาชีพรอง โดยสินคาที่ชาวบานและชาวเรือมักนํามาแลกเปลี่ยนคาขายกับชาวปาในขณะนัน้ จะมีทั้งขาว พืชผลทางการเกษตร เครื่องจักรสาน เกลือ ปนู มีด พรา เครื่องประดับ และสินคาจากตางถ่ิน ฯลฯ สวนชาวปาจะนําสินคาประเภท นุน ถาน แร ไมฝาง หนังสัตว ชันชอ น้ํามนัยาง สมุนไพร และฝาย ฯลฯ ดังนั้น สภาพทั่วไปภายในชุมชนการคาระยะแรกจงึยงัไมคอยมีการเปลี่ยนแปลงไปจากชุมชนริมน้ําในลักษณะเดิมเทาใดนัก จนกระทั่งในชวงกอนทศวรรษ 2380 ไมนาน 14 ชุมชนสามชุกเดิมจึงเริ่มมีการเติบโตและเกดิการขยายตวัทางการคาเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากชุมชนสามชุกเดิมเปนชุมชนการคาประจําทองถ่ินเพียงแหงเดียวที่ตั้งอยูในภูมิภาค จึงทาํใหมีชาวบานจากทั่วสารทิศพากันเดินทางเขามาแลกเปลีย่นคาขายกันอยางไมขาดสาย สงผลใหการแลกเปลี่ยนคาขายเกิดความคึกคักมาโดยตลอด ทั้งนี้สังเกตไดจากปริมาณฝายของชาวกะเหรีย่งที่ตากแหงเรียงรายตลอดแนวลํา

12 สุนทรภู, โคลงนิราศสุพรรณ, อางถึงใน โคลงนิราศสุพรรณ, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ: ศิว

พร,2512. พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ พนัจาอากาศโทสุรพล สมบัติเจริญ 16 สิงหาคม 2512), 71.

13 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณนิ่ม จําปานิล, ชาวบานตําบลวังยาง อําเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

14 สมาคมภาษาและหนังสือแหงประเทศไทย, อนุสรณสุนทรภู 200 ป (กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2529), 161.

Page 45: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

31

น้ําทาจีนเพื่อเตรียมไวขายใหกับชาวบานและชาวเรืออยางมากมาย และบรรดาเรือแพนอยใหญของชาวกะเหรีย่ง ละวา ฯลฯ ทีจ่อดเรียงรายตลอดทาน้ําดานหนาชุมชน เปนตน 15 ดังปรากฏในโคลงนิราศสุพรรณ ของสุนทรภู ที่แตงขึ้นเมื่อป พ.ศ.2384 ความตอนหนึ่งวา

ถึงนามสามชุกถา ปาดง เกรี่ยงไรไดฟายลง แลกลํ้า เรือคาทานั้นคง คอยเกรี่ยง เรียงเอย รายจอดทอดทาน้ํา นับฟายขายของฯ

นางเกรี่ยงเสียงเพราะพรอง กหนองกแหนง สาวผูกลูกปดแดง ประดับพรอม คิ้วตานานวลแดง ตลหมอม จอมเอย แคงทูหูยานยอย อยางลวาพาคลายฯ 16

สําหรับความคึกคักทางการคาของชุมชนสามชุกเดิม ยงัคงมีความตอเนื่องตลอดปลายพุทธ

ศตวรรษที่ 24 ตอพุทธศตวรรษที่ 25 เพราะการคาขายไดเกดิการขยายตัวทัว่ราชอาณาจักรภายหลังการเปดเสรีทางการคาในป พ.ศ.2398 เปนตนมา ดังนัน้ จึงทําใหการผลิตเพียงเพื่อยังชพีของชาวบานในชุมชนสามชุกเดิมเกิดการผันแปรไปสูการผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงนิตราอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะการคาขาว เนื่องจากขาวมีราคาดี ดวยเหตุนี ้ ชาวบานจึงเริ่มหนัไปบุกเบิกพื้นที่เพื่อเพาะปลกูขาวเพื่อคาเพื่อขายกันเปนจํานวนมาก ซ่ึงการขยายตัวของการบุกเบิกพื้นที่เพื่อเพาะปลูกขาวของชุมชนสามชุกเดิมนัน้ ไดปรากฏขึ้นอีกครั้งในชวงหลังทศวรรษ 2440 เปนตนมา เนื่องจากรัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนุนชาวนาโดยการลดภาษีเมื่อมกีารบุกเบิกทีใ่หมทั่วราชอาณาจักรภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสวนภูมภิาคในป พ.ศ.2438 ดวยเหตนุี้ จึงทําใหชาวนาจํานวนมากเกิดแรงจูงใจในการเพาะปลูกขาวเพื่อคาเพื่อขายตามการขยายตวัของการคาขาวตลอดลําน้ําทาจีนเรื่อยมา ซ่ึงการขยายตวัของการคาขาวของลุมน้ําทาจีนในขณะนั้นไดปรากฏอยูในรายงานการตรวจราชการมณฑลนครชัยศรีของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ในความตอน

15 รุจ รัตนพาห,ุ “แนวทางการอนุรักษและพฒันาพื้นที่ชุมชนตลาดสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547), 35.

16 สุนทรภู, โคลงนิราศสุพรรณ, 71.

Page 46: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

32

หนึ่งวา “ลําน้ําสุพรรณบุรีขึ้นไปหรือใตเมืองลงมาทําเลผูคนแลการทํามาคาขายบริบูรณ บานเรือนเปนฝากระดานโดยมาก พบเรือขาวขนาดใหญขึ้นมาบรรทุกเขา (ขาว) ตลอดระยะทางประมาณ 200 ลํา เห็นไดวาการคาขายบริบูรณขึ้นมาก” 17 ดังนั้น จึงแสดงใหเห็นวาบรรยากาศของการคาขาวบริเวณชุมชนสามชุกเดิมไดเร่ิมมีการขยายตัวขึ้นแลวอยางชัดเจนตามการขยายตวัของการคาขาวในบริเวณลุมน้ําทาจีนในชวงหลังทศวรรษ 2440 เปนตนมา จนทําใหชาวบานในชุมชนสามชุกเดิมหลายรายเกิดการอพยพโยกยายเขาสูชุมชนแหงใหมตามมาในที่สุด เนือ่งจากชุมชนสามชุกเดิมเริม่มีขอจํากัดในเรือ่งพื้นที่ในการเพาะปลูกขาว จึงทําใหมชีาวบานจากชมุชนสามชุกเดมิอพยพออกจากชุมชนไปสูพืน้ที่แหงใหมทีอ่ยูไมไกลนกัและมีความอดุมสมบูรณมากกวา อยางเชน “บานสามเพ็ง” เปนตน

2.2.2 การโยกยายชุมชนการคาสามชุกเดิมมาสูชุมชนปจจุบัน สําหรับพื้นที่สวนใหญที่ชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมไดมีการอพยพโยกยายเขาไปตั้งถ่ิน

ฐานและทําการเพาะปลูกในชวงหลังทศวรรษ 2440 เปนตนมา จากการเลาขานตอ ๆ กันมา ไดกลาววา บริเวณที่ชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมอพยพเขาไปทาํมาหากินนั้น คือ “บานสามเพ็ง” เพราะบานสามเพ็งมคีวามเหมาะตอการตั้งถ่ินฐานสูงกวาหมูบานอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกนั เนื่องจากในขณะนัน้บานสามเพ็งยังคงเปนปาเปนดงอยูมาก อีกทั้งการตั้งรกรากและอาศยัของผูคนยังคงมีอยูนอย จงึทําใหการจับจองทีด่ินเพื่อกอสรางบานเรือนและขยายการเพาะปลูกในบริเวณบานสามเพ็งสามารถกระทําไดโดยงาย และที่สําคัญบานสามเพ็งยังตั้งอยูใกลกับชุมชนสามชุกเดิมเพยีง 2 กิโลเมตร จึงสะดวกตอการนาํสินคาลงมาคาขาย ดวยเหตนุี้ ชาวบานจากชุมชนสามชกุเดิมจึงอพยพโยกยายเขาสูบานสามเพ็งเรื่อยมา ซ่ึงการอพยพของชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมเขาสูบานสามเพ็งอยางตอเนื่องในขณะนั้น ไดสงผลให “บานสามเพ็ง” คอย ๆ เติบโตขึน้จนกลายเปนชุมชนริมน้ําทีม่ีขนาดใหญ และเปนพืน้ฐานใหกับชุมชนสามชุกในปจจุบนัไดในที่สุด 18

17 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, “กรมหมื่นดํารงฯ ตรวจราชการมณฑลนครไชยศรี

(18 สิงหาคม - 27 ตุลาคม ร.ศ.117),” เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย, ร.5 ม.2.14/9, หอจดหมายเหตแุหงชาติ, อางถึงใน มณฑล คงแถวทอง, “เศรษฐกิจขาวและน้ําตาลทรายในลุมน้ําทาจนี พ.ศ.2398-2453” (วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวตัิศาสตร มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2527), 127.

18 สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

Page 47: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

33

สวนความเปนมาของบานสามเพ็ง ไดมกีารเลาขานตอ ๆ กันมาวา บานสามเพ็งไดมีการกอตัวข้ึนเปนชุมชนอยางชัดเจนมาตั้งแตชวงหลังทศวรรษ 2380 ตามการขยายตวัของชุมชนการคาสามชุกเดิม แตเนื่องจากบริเวณบานสามเพ็งยังคงเปนปาเปนดงอยูมาก จึงทําใหในระยะแรกที่มกีารกอตัวขึ้นเปนชุมชน จึงยังคงมีผูคนเขาไปอยูอาศัยเพยีงเบาบาง ดังปรากฏในโคลงนริาศสุพรรณ ของสุนทรภู ที่แตงขึ้นเมื่อป พ.ศ.2384 19 ความตอนหนึ่งวา

สามเพงเลงสะลางไม ไพรสน

ปาใหญใชเขดคน ขาดบาน รมร่ืนชื่นชมชล ชุมแต แรเอย ปลายวายสายสินสอาน สอาดตื้นพื้นทรายฯ 20

จนกระทั่งเมื่อมีการขยายตวัทางการคาและการเพาะปลกูขาวในชวงหลังทศวรรษ 2440

เปนตนมา 21 กลุมคนตาง ๆ จึงเริ่มอพยพเขาสูบานสามเพ็งเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง จนทําใหบานสามเพ็งเกิดการขยายตัวและเกิดการพัฒนาขึ้นเปนชุมชนริมน้ําที่มีขนาดใหญไดในทีสุ่ด โดยกลุมคนที่อพยพเขาสูบานสามเพ็งตั้งแตทศวรรษ 2380 เปนตนนั้น มีอยูดวยกัน 3 กลุม ไดแก กลุมแรก กลุมเศรษฐีที่อพยพหนีภยัจากโจรผูรายจากบานหนองโรงและบานหนองผักนาก อยางเชน พวกตาสด และตาเชยีร ฯลฯ กลุมท่ีสอง กลุมชาวบานที่เคยอาศยัอยูในชุมชนสามชุกเดิมมากอน ทั้งที่อาศัยอยูบริเวณดานหนาวดัสามชกุ บริเวณชมุชนการคา และบริเวณทองทุงนาที่อยูหางแมน้ําออกไปทางดานตะวันตกและตะวนัออก ฯลฯ และกลุมท่ีสาม กลุมคนที่อพยพโยกยายมาจากทองถ่ินอืน่ โดยกลุมนี้เปนกลุมที่อพยพไปตามกระแสความเจริญ หากชุมชนใดมผูีคนรูจักมากหรือเปนชุมชนที่มีการบอกตอ ๆ กันวาดี คนกลุมนี้ก็พรอมจะอพยพเขาไปทุกเมื่อ ซ่ึงสวนใหญจะเปนกลุมคนจีนที่

สุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

19 สมาคมภาษาและหนังสือแหงประเทศไทย, อนุสรณ สุนทรภู 200 ป, 161. 20 สุนทรภู, โคลงนิราศสุพรรณ, 72. 21 อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาด

สามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี,” 58.

Page 48: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

34

เขามาอยูอาศัยตามชุมชนตาง ๆ ในเขตเมืองสุพรรณบุรีมากอน หรือไมก็เปนกลุมชาวจีนที่อาศยัอยูบนเรือ เปนตน 22

สําหรับการอพยพโยกยายจากชุมชนสามชุกเดิมเขาสูบานสามเพ็งในระยะแรกนั้น ชาวบานตางยังคงเดนิทางเขามาคาขายยังชุมชนสามชุกเดิมอยูเสมอ จนกระทัง่ในชวงกอนป พ.ศ.2439 ไมนาน ชาวบานที่เคยเขามาแลกเปลี่ยนคาขายตางหนัมาทําการคาภายในชุมชนแหงใหมมากขึ้น แทนที่จะเดนิทางเขาไปคาขายยังชุมชนสามชุกเดิมเชนแตกอน เนื่องจากสะดวกสบายตอการคาขายและสะดวกสบายตอการขนสงผลผลิตจากไรนามากกวา จึงทําให “ชุมชนสามเพ็ง” กลายเปนชุมชนการคาประจําทองถ่ินเชนเดยีวกับชุมชนสามชุกเดิมไดในที่สุด และจากการที่ “ชุมชนสามเพ็ง” เปนชุมชนการคาแหงใหมทีต่ั้งทางตอนบนของชุมชนสามชุกเดิม ชุมชนสามเพ็งจึงกลายเปนชุมชนการคาที่ตั้งอยูใกลกับเสนทางเกวยีนของชาวบานและชาวปาไปโดยปริยาย โดยในชวงหลังเกิดชุมชนการคาสามเพ็งไมนาน ชาวบาน ชาวเรือ และชาวปาที่เคยเขามาคาขายยังชมุชนสามชุกเดมิ ตางเริ่มหันมาทําการคากันทีชุ่มชนสามเพ็งกันเปนจํานวนมาก แทนที่จะเดินทางเขาไปคาขายยงัชุมชนสามชุกเดิมเหมือนเชนสมัยกอน ดวยเหตุนี้ จึงทําใหการคาขายของชุมชนสามเพ็งจึงคอย ๆ มีการเติบโตและขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนือ่งตั้งแตนั้นเปนตนมา ในขณะที่ชุมชนสามชุกเดิมกลบัมีการซบเซาลงอยางรวดเรว็ จนทําใหชาวบานหลายรายที่ทํามาคาขายอยูที่ชุมชนสามชุกเดิมตางพากันทยอยออกจากชุมชนสามชุกเดิมมายังชุมชนสามเพ็งกันเปนจํานวนมาก ซ่ึงมากจนทําใหชุมชนสามชุกเดิมตองยุบเลิกลงไปในที่สุด 23

อยางไรก็ตาม แมวาบริเวณที่เปนยานการคาของชุมชนสามชุกเดิมจะถูกยุบเลิกลงไปแลวนั้น แตความเปนชุมชนการคาสามชุกเดิมก็ยังคงมีอยู และยังคงมีการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทางการคาภายในชุมชนการคาแหงใหมที่มีช่ือวา “ชุมชนสามเพ็ง” เร่ือยมา เนื่องจากในป พ.ศ.2439 ไดมีการเคลื่อนยายศาลเจาพอหลักเมืองประจาํชุมชนสามชุกเดิมมายังชุมชนสามเพ็ง โดยไดทาํพิธีอัญเชิญเถาธูปจากศาลเจาพอหลักเมืองหลังเกามาใสกระถางใหมและประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ตาม

22 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม

จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณปราณี สุวรรณวัฒนกิจ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

23 คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก, สืบสานงานศิลป ถ่ินสามชุก (ม.ป.ท., ม.ป.ป.), 6.

Page 49: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

35

ธรรมเนียม ดงันั้น จึงเปนเครื่องยืนยันไดวา ชุมชนการคาสามเพ็งที่เกดิขึ้นในชวงหลังป พ.ศ.2439 เปนตนมา ก็คอื ชุมชนสามชุกเดิมที่มีการอพยพโยกยายมาสูชุมชนการคาสามเพ็งแลวนั่นเอง

ภาพที่ 12 การอพยพโยกยายจากชุมชนสามชุกเดิมไปสูบานสามเพ็ง ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

ภายหลังการโยกยายชุมชนสามชุกเดิมมายังชุมชนสามเพ็ง การเรยีกขานชุมชนแหงนีว้า “ชุมชนสามชุก” ยังคงมีอยูควบคูกับการเรียกขานวา “ชุมชนสามเพ็ง” เร่ือยมา ซ่ึงการเรียกขานชุมชนแหงนี้วา “ชุมชนสามชุก” สวนใหญจะอยูในกลุมคนไทยที่เคยอาศัยอยูในชมุชนสามชุกเดมิมากอน สวนการเรียกขานวา “ชุมชนสามเพ็ง” จะมีเฉพาะในกลุมคนจนีที่เขามาตั้งถ่ินฐานในชุมชนเทานั้น เพราะคนจีนไดมีการเรียกขานกนัมาตั้งแตสมัยที่มีการอพยพเขามาในครั้งแรก ๆ จึงคุนเคยและสามารถออกเสียงไดงายกวา แตเนื่องจากในขณะนั้นชาวบานที่อาศัยอยูในชุมชนมีคนไทยมากกวากลุมคนจีน จึงทําใหการเรียกขานชมุชนแหงนี้วา “ชุมชนสามชุก” กลายเปนคาํที่นิยมใชกัน

. ทางหลวงแผนดินหมายเลข 340

. วัดสามชุก

บึงระหาร

แมน้ําทาจีน

บานสามเพง็ (ท่ีตั้งของชุมชนการคาแหงใหม)

บานสามชุก (ท่ีตั้งของชุมชนสามชุกเดิม)

N

Page 50: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

36

อยางแพรหลายมาโดยตลอด ในขณะที่การเรียกขานชุมชนแหงนี้วา “ชุมชนสามเพ็ง” กลับคอย ๆ ลบเลือนไปในที่สุด 24

สภาพทั่วไปของชุมชนสามชุก ภายหลังจากการโยกยายชุมชนมายงับานสามเพ็งในชวงป พ.ศ.2439 ไดมีการเลาขานตอ ๆ กันมาวา โดยทั่วไปยังคงไมตางไปจากเดิมมากนัก เนื่องจากบริเวณที่ตั้งของชุมชนสามชุกแหงใหมตั้งอยูไมไกลจากชุมชนสามชุกเดิม สภาพทั่วไปของทองถ่ินจึงมีลักษณะคลายคลึงกัน ซ่ึงมีทั้งเปนปาเปนดง พงหญารกสูง ทองทุงนา ไรยาสูบ และสวนผัก สลับกนัไปเปนระยะ ๆ ในขณะที่การตั้งถ่ินฐานบานเรือนยงัคงตั้งอยูริมแมน้ําทาจีนเปนสวนใหญ ในลักษณะของบานไมมุงจากและมุงแฝก ฝาไมขัดแตะ พืน้กระดาน ตั้งอยูเปนหลัง ๆ มีเนื้อที่หางกนัพอประมาณ โดยกลุมคนที่อาศัยอยูในชุมชนการคาสวนมากยังคงเปนคนไทย ที่ยังคงยึดการเพาะปลูกและการคาขายเปนอาชีพหลัก สวนคนจีนจะอาศัยอยูในชุมชนเพียงประปราย โดยคนจีนที่พอมีทุนรอนจะทําการคาขายเล็ก ๆ นอย ๆ อยางเชน ขายของโชหวย รับซื้อขาวเปลือก ฯลฯ แตหากไมมีทุนรอนกจ็ะเขามาทํางานรับจาง กรรมกร กุลี ฯลฯ ในขณะที่คนจีนที่อาศยัอยูรอบนอกจะทํางานอยูในไรยาสูบและสวนผักบริเวณรอบนอกชุมชนเปนสวนใหญ จะหาบผกัเขามาแลกขาวตามบานบางในบางครั้งบางคราว อยางเชน หัวผักกาด ผักกาดดอง หอมดอง เปนตน สวนกลุมลาว ละวา กะเหรีย่ง จะอาศยัอยูในเขตปาและพื้นทีด่อนถัดจากไรนาของชาวบานออกไป โดยจะเดินทางเขามาคาขายกับชาวบานในชุมชนก็ตอเมื่อตองการสิ่งของเครื่องใชที่จําเปนจากชาวบานและชาวเรือเทานัน้ 25 สําหรับพันธะผูกพันของราษฎรภายใตระบบมูลนาย-ไพรของชาวบานในชุมชนสามชุกเดิม ที่มีมาอยางตอเนื่องตั้งแตสมยัอยุธยา ไดส้ินสุดลงในชวงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ

24 สัมภาษณ คุณภาค กฤษวงษ, คณะกรรมการวัดบานทึง อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

, 16 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

25 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 51: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

37

จุลจอมเกลาเจาอยูหวั 26 สงผลใหราษฎรสวนใหญเร่ิมมีอิสระในการทํามาหากินมากขึน้ ในขณะที่ราษฎรชายบางกลุมยังคงตองมีพันธะผูกพนักับสวนกลางตามพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑทหาร ร.ศ.124 เชนเดียวกับราษฎรไทยทั่วไปที่ยงัคงผูกพันกับรัฐอยูในขณะนั้น สวนคนจีนที่อาศัยอยูในชุมชนและยังไมไดแปลงชาต ิ ยังคงตองเสียเงินคาผูกปขอมือจีน หรือเสียคาตางดาวตามเดิม แตถาเปนคนจนีที่แปลงชาติแลวจะตองขึ้นทะเบยีนเชนเดยีวกบัชายไทยตามพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑทหาร พทุธศักราช 2460 ทุกประการ 27

ภาพที่ 13 ใบเสร็จคาผูกปในสมัย ร.ศ.125 (พ.ศ.2449) ภาษีทางตรงที่รัฐบาลสยามเก็บจากคนจนีทุก 3 ป สัญลักษณ คือ ปกระเบื้องรอยเชือกผูกติดขอมือซ่ึงตองเก็บรักษาตดิตัวตลอดเวลา ที่มา : จี วิลเลียม สกินเนอร, สังคมจีนในไทย แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ และ คนอื่น ๆ (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมานษุยศาสตร, 2548).

26 เปรมวิทย ทอแกว, ประวัตศิาสตรไทย : ไทยศึกษา (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดยีนส

โตร, 2543), 77-78. 27 “ราง พ.ร.บ.เกณฑทหาร พ.ศ.2460”, พ.ศ.2460, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6

กระทรวงนครบาล, ร.6น2/64, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

Page 52: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

38

ในดานความเปนอยูภายในชุมชนคอนขางมีความสงบสุขเปนอยางมาก ผูคนในชุมชนมีความรักใครปรองดองกันดี ไมมีการทะเลาะเบะแวงหรอืเบียดซ่ึงกนัและกัน ถึงแมวาสังคมภายนอกจะมีการปลนฆาจากโจรผูรายทั้งในและตางถ่ิน แตชุมชนแหงนี้ก็ไมเคยประสบกบัปญหาดังกลาว นอกจากนี้ ผูคนในชุมชนตางยังคงยึดถือและปฏิบัติตามธรรมเนียมของตนอยางเครงครัด โดยคนไทยยังคงมกีารไปทําบุญ ฟงเทศน ฟงธรรม ฯลฯ ที่วัดสามชุกกันอยูเปนประจํา สวนคนจนีก็จะมีการไหวเจา การถือศีลกินเจ เปนตน โดยในชวงแรกของการโยกยายชุมชน ผูคนทั้งชาวไทยและชาวจีนตางยังคงตองไปประกอบพิธีกรรมที่ศาลเจาพอหลักเมืองเกาที่ชุมชนสามชุกเดมิอยูเสมอ จนกระทั่งในป พ.ศ.2439 ไดมีการเคลื่อนยายศาลเจาพอหลักเมอืงมายังบานสามเพ็งอยางถาวร ประเพณแีละพิธีกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับศาลเจาพอหลักเมืองจงึเกิดขึ้นที่บานสามเพ็งเรื่อยมา อยางเชน งานงิ้ว งานประจําปของศาลเจา เปนตน สวนในดานการคาภายหลังการโยกยายชมุชนสามชุกเดมิมายังบานสามเพ็ง การคาขายภายในชุมชนไดมีทิศทางทีด่ีขึ้นมาโดยตลอด นับตั้งแตมีการปลูกสรางที่วาการอําเภอนางบวชหลังแรกขึ้นที่บานสามเพ็งในป พ.ศ.2441 ในสมัยหมื่นยงพลพาย นายอําเภอคนที่ 3 ของอําเภอนางบวชเปนตนมา เพราะการมีที่วาการอําเภอตั้งอยูในชมุชน ไดทําใหผูคนจากทั่วสารทิศมีการเดินทางเขาออกชุมชนสามชุกกนัอยางไมขาดสาย ทั้งเขามาติดตอราชการ เขามาตั้งถ่ินฐาน และเขามาติดตอคาขาย เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหชุมชนสามชุกเกิดการขยายตวัทางการคามาโดยตลอด ถึงแมวาในชวงป พ.ศ.2457 ในสมัยหลวงปราบประจันตราษฎร (ใหม บุญยบุตร) นายอําเภอคนที่ 10 ของอําเภอนางบวช จะไดมกีารดําเนินการกอสรางอาคารที่วาการอําเภอนางบวชขึ้นใหมอยางถาวรก็ตาม แตการกอสรางก็ไมไดสงผลตอการคาขายแตอยางใด เพราะการคาขายยังคงมีการขยายตวัเพิ่มขึน้อยางตอเนื่อง ดังนั้น ในชวงกอนป พ.ศ.2466 ไมนาน ชุมชนการคาสามชุกจึงสามารถกอสรางตัวตลาดขึ้นมาไดอยางมัน่คง เพื่อรองรับการขยายตวัทางการคาและธรุกิจตาง ๆ ที่กําลังจะเติบโตตามมาไดในที่สุด โดยผูริเร่ิมกอสรางตัวตลาดขึ้นมานัน้ คือ เถาแกหุย แซเฮง 28 และชาวบานในชุมชน นับแตนัน้เปนตนมาชุมชนแหงนี้จึงกลายเปนที่รูจกัของผูคนทั่วไปในนาม “ตลาดสามชุก” ตลาดแหงการแลกเปลี่ยนซ้ือขายประจําอําเภอนางบวชเรื่อยมา

28 คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก, สืบสานงานศิลป ถ่ินสามชุก, 15.

Page 53: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

39

ภาพที่ 14 อาคารที่วาการอําเภอสามชุกในสมัยกอน แตเดิมมีช่ือวา “ที่วาการอําเภอนางบวช” ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) จากที่กลาวมาขางตน เปนรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับภูมหิลังของชุมชน ทั้งสภาพทั่วไปของชุมชนสามชุกในปจจุบนัและประวัติความเปนมาของตลาดสามชุกในชวงกอนทศวรรษ 2460 ซ่ึงกลาวโดยสรุปไดวา “ตลาดสามชุก” เปนตลาดแหงการแลกเปลี่ยนคาขายที่มีพัฒนาการมาตั้งแตอดตี จากชุมชนริมน้ําขนาดเล็กประจําทองถ่ิน พฒันามาสูชุมชนการคาทีม่ีขนาดใหญ และกลายมาเปนตลาดประจําอําเภอไดในที่สุด โดยชุมชนดั้งเดิมของตลาดสามชุกนัน้ ไดเร่ิมกอตัวขึ้นในฐานะชุมชนการคาประจําทองถ่ินสามชุก ประมาณ พ.ศ. 2370 ที่บริเวณทายาง บานสามชุก จนกระทั่งในป พ.ศ.2439 ไดเกิดความเปลีย่นแปลงทางดานการคาภายในชุมชน จึงไดมีการโยกยายชุมชนการคาจากบานสามชกุมายังบานสามเพ็งนับแตนัน้เปนตนมา ซ่ึงภายหลังจากการโยกยายชุมชนมายังบานสามเพ็งแลวนัน้ การคาขายภายในชุมชนเริ่มมีทิศทางที่ดีขึ้นมาโดยตลอด นับตั้งแตมีการปลูกสรางที่วาการอําเภอนางบวชหลังแรกขึ้นที่บานสามเพ็งในป พ.ศ.2441 เปนตนมา เพราะการมีที่วาการอําเภอตั้งอยูในชุมชน ไดทําใหผูคนจากทั่วสารทิศมกีารเดินทางเขาออกชุมชนสามชุกกันอยางไมขาดสาย ทั้งเขามาติดตอราชการ เขามาตั้งถ่ินฐาน และเขามาติดตอคาขาย เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหชุมชนสามชุกเกิดการขยายตวัทางการคามาโดยตลอด ถึงแมวาในชวงป พ.ศ.2457 จะไดมีการดําเนนิการกอสรางอาคารที่วาการอําเภอนางบวชขึ้นใหมอยางถาวรก็ตาม แตการกอสรางก็

Page 54: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

40

ไมไดสงผลตอการคาขายแตอยางใด เพราะการคาขายของชุมชนสามชุกยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้น ในชวงกอนป พ.ศ.2466 ไมนาน ชุมชนการคาสามชุกจึงสามารถกอสรางตัวตลาดขึ้นมาไดอยางมั่นคง เพื่อรองรับการขยายตวัทางการคาและธุรกิจตาง ๆ ทีก่ําลังจะเติบโตตามมาไดในทีสุ่ด โดยผูริเร่ิมกอสรางตัวตลาดขึ้นมานั้น คือ เถาแกหยุ แซเฮง และชาวบานในชุมชน นับแตนัน้เปนตนมาชุมชนแหงนี้จึงกลายเปนที่รูจักของผูคนทั่วไปในนาม “ตลาดสามชุก” ตลาดแหงการแลกเปลี่ยนซ้ือขายประจําอําเภอนางบวชเรื่อยมา ซ่ึงการเติบโตของตลาดในชวงหลังทศวรรษ 2460 เปนตนมานัน้ ไดมีแนวโนมที่ดีขึ้นมาเปนลําดับ ดังจะไดศึกษาในรายละเอียดตอไป

Page 55: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 3

ตลาดสามชุกยคุเติบโต : ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งท่ี 2 ภายหลังการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรในชวงทศวรรษ 2460 ชุมชนการคาสามชุกจึงไดรับการยกฐานะขึ้นเปน “ตลาดสามชุก” ตั้งแตนั้นเปนตนมา ซ่ึงการยกฐานะของตลาดสามชุกในชวงเวลาดังกลาวนั้น ไดทําใหตลาดสามชุกเริ่มมีการขยายตวัทางกายภาพและการคาขึ้นมาอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนการเตบิโตของอาคารบานเรือนภายในชุมชน การเติบโตของสวนราชการและกิจการของเอกชนในละแวกใกลเคยีง และการเติบโตของการคาขาวและถาน เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดประจําอําเภอที่มีขนาดใหญโตกวางขวางและกลายเปนที่รูจักของผูคนทั่วไปเรื่อยมา ซ่ึงการขยายตวัของตลาดในชวงเวลาดงักลาวนั้น ไดเกิดขึ้นจากปจจัยเกื้อหนนุหลายประการ ไดแก การมีทําเลทีต่ั้งที่เหมาะตอการคาขาย การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ และการอพยพของชาวจีน เปนตน สําหรับเนื้อหาในบทนีจ้ะศกึษาเกีย่วกับการเติบโตของตลาดสามชุก ในชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 เปนสําคัญ เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาวนั้น ไดเร่ิมมีเติบโตทางกายภาพและการคาขึ้นกับตลาดสามชุกอยางมากมาย ดงันั้น เพื่อใหเขาใจวาตลาดสามชุกมีการเติบโตและมีการขยายตวัอยางไรบางในชวงเวลาดังกลาว การศึกษาในบทนี้จึงแบงออกเปน 3 ประเดน็ คือ ปจจัยที่กอใหเกิดการเติบโต ลักษณะของตลาดสามชุกในยุคเติบโต และวิถีชีวติของชาวตลาดในยุคเติบโต ดังนี ้ 3.1 ปจจัยท่ีกอใหเกิดการเติบโต นับตั้งแตมกีารเปดเสรีทางการคาในป พ.ศ.2398 เปนตนมา เศรษฐกิจการคาบริเวณลุมน้ําทาจีนไดเร่ิมมีการแปรเปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ มาเปนระบบเศรษฐกิจแบบใชเงินตราอยางแพรหลาย 1 ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากผลพวงของสนธิสัญญาเบาริง (Bowring Treaty) ที่ไดกระทําขึ้นในชวงเวลาดงักลาว ไดทําใหเศรษฐกิจการคาเกิดการขยายตวัขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ

1 สุวิทย ไพทยวัฒน, “ววิัฒนาการเศรษฐกิจชนบทในภาคกลางของประเทศไทยระหวาง

พ.ศ.2398-2475” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521), 160-169.

41

Page 56: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

42

การคาขาว ดวยเหตุนี้ จึงทาํใหชาวบานตางหันมาผลิตขาวเพื่อคาเพื่อขายกันเปนจํานวนมาก จนทําใหระบบเศรษฐกิจเพยีงเพื่อยงัชีพเริ่มถูกแทนที่ดวยระบบเศรษฐกิจแบบใชเงินตราเรื่อยมา 2 อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากการขยายตัวของการคาขาวในลุมน้ําทาจนีแลวนัน้ ยังพบวาการซื้อขายสินคาประเภทอื่น ๆ จากตางชุมชนหรือจากภายนอกลุมน้ําทาจีน และจากภายในลุมน้ําทาจีนออกสูภายนอก ยงัเกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามมาอีกหลายประเภท โดยสินคาที่ไดมีการนําออกไปขาย ไดแก ขาว ปลา ถ่ัว งา หนังสัตว น้ําตาล เขาสัตว ไมไผ เสา ไมกระดาน ฝาง ฯลฯ สวนสินคาจากกรุงเทพฯ และสินคาจากภายนอกที่มกีารนําเขามาขาย ไดแก เสื้อผา ผา กระทะ หมอ น้ําปลา กะป ไมขีด และน้ํามัน ฯลฯ 3 ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหการคาขายบริเวณลุมน้าํทาจีนเริ่มเกดิความคึกคักตั้งแตนั้นเปนตนมา ถึงแมวาในชวงป พ.ศ.2438 จะเกดิการเปลี่ยนแปลงการปกครองสวนภูมภิาคขึน้ทั่วราชอาณาจักรก็ตาม แตเศรษฐกจิการคาขายในบริเวณลุมน้ําทาจนีก็ยังคงเกิดการขยายตวัทางการคาอยูอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการคาขาว เนื่องจากทางภาครัฐไดมีการสนับสนุนและสงเสริมใหราษฎรเขาไปบุกเบิกพืน้ทีเ่พื่อทําการเพาะปลูกขาว เพราะราคาขาวที่ทําการซื้อขายกันในขณะนั้นมีราคาดี จึงทาํใหชาวนาหลายรายเกิดแรงจูงใจในการขยายพืน้ที่เพื่อทาํการเพาะปลูกขาวเพิ่มมากขึน้ ดังนัน้ ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 การปลูกขาวเพื่อคาเพื่อขายในบริเวณลุมน้ําทาจีนจึงเริ่มมีการขยายตวัขึ้นอยางตอเนื่อง จนทําใหชุมชนการคาและตลาดหลายแหงที่ตั้งอยูในบริเวณลุมน้ําทาจีนเริ่มมีการกอตัวขึ้นตามมาอยางมากมาย เพื่อรองรับการขยายตัวของคาขาวในขณะนัน้ อยางเชน ตลาดสามชุก ตลาดเกาหอง ตลาดบางลี่ ตลาดศรีประจันต ตลาดทาพี้เล้ียง ในจังหวดัสุพรรณบุรี, ตลาดวดัสิงห ตลาดปากคลองมะขามเฒา ในจังหวัดชยันาท, ตลาดบางหลวง ตลาดหวยพลู ตลาดงิ้วราย ตลาดองคพระปฐม ตลาดใหม ในจังหวดันครปฐม 4 เปนตน จากสภาพทีก่ลาวมาขางตนลวนมีผลตอการขยายตวัทางกายภาพและการคาของตลาดสามชุกในชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 เปนอยางมาก ซ่ึงการขยายตวัของตลาดสามชุกในชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ไดเกดิขึ้นจากปจจัยเกื้อหนุน 3 ประการ คือ การมีทําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ และการอพยพของชาวจีน

2 พอพันธ อุยยานนท, เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคกลาง (กรุงเทพฯ:สถาบันวิถีทรรศน,

2546), 4-5. 3 สุภาภรณ จนิดามณีโรจน, ประวัติศาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน (ม.ป.ท., 2532.

งานวิจยัเสนอตอมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532), 104-106. 4 เร่ืองเดียวกัน , 108.

Page 57: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

43

3.1.1 การมีทําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย การมีทําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย ถือเปนปจจยัสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเริ่มเกิดการ

ขยายตวัเพิ่มมากขึ้นตลอดชวงทศวรรษ 2460 จนถึงชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากทําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย ไดเอือ้อํานวยใหการคาขายของตลาดสามชุกมีโอกาสทางการคามากเปนพิเศษ โดยทําเลที่ตั้งของตลาดสามชุกที่เหมาะตอการคาขายในขณะนัน้ มีอยูดวยกัน 2 ประการ คือ การมีทําเลที่อยูในจดุที่สามารถนําเรือเขาไปเทียบทาไดสะดวกกวาชุมชนการคาอ่ืน ๆ และการมีทําเลทีต่ั้งที่อยูในจุดเชื่อมตอของชุมชนตาง ๆ ดังนี้

ประการแรก การมีทําเลที่ตั้งที่อยูในจุดทีส่ามารถนําเรือเขาไปเทียบทาไดสะดวก กวาชุมชนการคาอ่ืน ๆ จากการที่ตวัตลาดสามชุกตั้งอยูในจุดที่สามารถนําเรือเขาไปเทียบทาไดสะดวกกวาชุมชนอ่ืน ๆ ถือเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเริ่มมีการขยายตัวเพิ่มมากขึน้ เพราะการมีทําเลที่ตั้งที่สามารถเขาถึงไดงาย ยอมทําใหโอกาสทางการคามีมากกวาชุมชนการคาใด ๆ ในละแวกเดียวกัน โดยทําเลที่ตั้งของตลาดสามชุกในขณะนั้น ถือไดวาเปนทําเลแหงหนึ่งที่มีความเหมาะสมตอการทํามาคาขายเปนอยางมาก เนื่องจากบริเวณทาน้ําดานหนาตลาดสามชุก มีลักษณะเปนหาดทรายตื้น ๆ จนมองเหน็สัตวน้ํานอยใหญวายไปมาอยูบนพื้นทราย อีกทั้งยังเปนหาดทรายที่มีความลาดยาวตลอดทาน้ํา ดังนั้น จึงเอื้ออํานวยใหการนําเรือสินคาเขามาเทียบทายังตลาดสามชุกเปนไปโดยงายดายและสะดวกกวาชมุชนการคาอ่ืน ๆ 5 ซ่ึงลักษณะดังกลาวนัน้ ไดปรากฏสอดคลองกับโคลงนิราศสุพรรณ ของสุนทรภู ที่แตงขึ้นเมื่อป พ.ศ.2384 6 ดังความตอนหนึ่งวา

สามเพงเลงสะลางไม ไพรสน ปาใหญใชเขดคน ขาดบาน รมร่ืนชื่นชมชล ชุมแต แรเอย ปลายวายสายสินสอาน สะอาดตื้นพืน้ทรายฯ

5 สัมภาษณ คุณยงยุทธ เขียวอมร, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

6 สมาคมภาษาและหนังสือแหงประเทศไทย, อนุสรณ สุนทรภู 200 ป (กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2529), 161.

Page 58: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

44

ปลาชนางควางแควงวาย ลายแล เล่ือมเล่ือมเลตุกแก กดิบกเดี้ย ไขฉะนางอยางฝกแค เขียวฉอุม ชุมเอย สรอยซากากดเพลี้ย พลานน้ําคล่ําทางฯ ไอบาอาปากกวาง หางแดง ซิวสูบสีเสียดแซง แซกซอน กรีมกรายวายเวียรรแวง รวังมาย หมายเอย ฝกดาบปลาบเปลือยหลอน แฉลบหวายสายสินธุฯ ปลาตะเพียนเวียรวายเคลา คลอเรือ เกล็จเคลือบเหลือบเหลืองเหลือ เล่ือมพรอย ปลาเสือมุงเหมือนเสือ สายโบก กโชกแฮ หางไกใชหางชอย ชแลมหวายรายเรียงฯ นานาปลาน้ําถ่ิน หินทราย ชมเลนเหนปลาดหลาย เล็กนอย ทางเปลี่ยวเทีย่วถึงปลาย น้ําเลา เจาเอย บนบกนกกระเตนกระตอย ตางรองซองเสียงฯ 7 ดวยเหตนุี้ จึงทําใหมีชาวบานทั้งในทองถ่ินและตางถ่ินจาํนวนมาก เลือกที่จะเดิน

ทางเขามาติดตอคาขายกับตลาดสามชุกอยางไมขาดสายเรือ่ยมา โดยเฉพาะชาวบานที่อาศัยอยูตามลําน้ําทาจีนตอนบน อยางเชน ชาวบานจากบานยางสองพี่นอง บานบางแวก บานกระตั้ว บานซดัหอม บานทึง บานบางขวาก บานวังหิน บานวังหวา บานกลวย บานมวง (พังมวง) บานปูเจา บานไร บานกราง บานใหม เปนตน ดังนั้น การทีต่ัวตลาดสามชกุตั้งอยูในจุดทีส่ามารถนําเรือเขาไปเทียบทาไดสะดวกกวาชุมชนอื่น ๆ จึงถือเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่ง ที่ทําใหตลาดสามชุกเริ่มมีการเติบโตขึ้นตลอดชวงหลังทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2

ประการที่สอง การมีทําเลที่ตั้งที่อยูในจุดเชือ่มตอของชุมชนตาง ๆ จากการที่ตลาด

7 สุนทรภู, โคลงนิราศสุพรรณ, อางถึงใน โคลงนิราศสุพรรณ, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ: ศิว

พร,2512. พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ พนัจาอากาศโทสุรพล สมบัติเจริญ 16 สิงหาคม 2512), 72-73.

Page 59: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

45

สามชุกเปนตลาดที่ตั้งอยูที่บานสามเพ็ง หมูบานที่มีลักษณะเสมือนจุดเชือ่มตอของชุมชนตาง ๆ จึงทําใหตวัตลาดสามชุกมีลักษณะเสมือนจุดเชื่อมตอของชุมชนตาง ๆ ไปดวย 8 โดยจดุเชื่อมตอของชุมชนแหงนี ้ มีเสนทางที่สามารถเดินทางเขาออกชุมชนตลาดสามชุกไปยังชุมชนอ่ืน ๆ และจากชุมชนอื่น ๆ มายังตลาดสามชุกไดถึงสามเสนทางดวยกนั 9 ไดแก ถนนสายบานหนองโรง-ชัฎหวาย ถนนสายบานหนองผักนาก-บานขังขอม (คลองขอม) และลําคลองโปงแดง-ลําน้ําทาจีน (แมน้าํสุพรรณบุรี) เปนตน ดังนัน้ ผูคนที่อาศัยอยูในละแวกใกลเคียงกับตลาดและผูคนที่อาศัยอยูในเขตตาง ๆ ที่หางไกลออกไปทางแถบตะวนัตกของตลาด อยางเชน ดอนเจดีย ดานชาง และหนองหญาไซ ฯลฯ จึงนิยมใชเสนทางดังกลาวในการเดินทางเขามาติดตอคาขายกันที่ตลาดสามชุกกันเปนจํานวนมาก ซ่ึงในขณะนั้นพบวาการเดินทางเขามาติดตอคาขายยังตลาดสามชุกโดยใชเสนทางดังกลาวมีมากกวาชุมชนการคาใด ๆ ในภมูิภาคเดยีวกัน เพราะเสนทางที่เขาถึงตัวตลาดสามชุกไมคดเคี้ยววกวนเทากับชุมชนการคาแหงอ่ืน อีกทั้งยังสามารถเขาถึงไดงาย ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหการคาขายภายในตลาดสามชุกเริ่มเกิดการขยายตัวขึ้นมาโดยตลอด

ภาพที ่15 เสนทางหลักสามสายที่สามารถเดินทางเขามาคาขายยังตลาดสามชุกไดในขณะนั้น ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

8 กฤตยา เสริมสุข, ประวัติตลาดสามชุก (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา) 9 รุจ รัตนพาห,ุ “แนวทางการอนุรักษและพฒันาพื้นที่ชุมชนตลาดสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547), 35.

. ลําคลองโปงแดง-ลําน้ําทาจีน

. ถนนสายบานหนองโรง-ชัฏหวาย

. บานหนองผักนาก-บานขังขอม . ตลาดสามชุก

Page 60: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

46

3.1.2 การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ จากการที่ตลาดสามชุกเปนชมุชนการคาทีม่ีที่วาการอําเภอนางบวชเปนศูนยกลางของทางราชการตั้งอยูในละแวกใกลเคียงกับชุมชนมาตั้งแตป พ.ศ.2441 จึงทาํใหชุมชนการคาแหงนี้เร่ิมมีการเดินทางเขาออกของผูคนอยางไมขาดสาย เพราะชาวบานทั้งในชมุชนและตางถ่ินที่เดินทางเขามาติดตอราชการ ณ ที่วาการอําเภอนางบวช สวนใหญมักเดนิทางเขามาติดตอคาขายกับชุมชนการคาแหงนีด้วย เนื่องจากตั้งอยูในละแวกเดยีวกัน ดงันั้น ในชวงทศวรรษ 2460 ชุมชนการคาสามชุกจึงสามารถกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรเพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนและการคาขึ้นมาไดในทีสุ่ด 10 ภายหลังการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวร ตลาดสามชุกยังคงมีการหลั่งไหลของผูคนอยางตอเนื่อง เพราะการมีทําเลที่ตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ ไดทําใหชาวบานตางยังคงเขามาจับจองพื้นที่เพื่อใชในการคาขาย เขามาตั้งรกราก เขามาติดตอราชการ และปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานกันเปนจํานวนมาก จนทําใหตลาดสามชุกกลายเปนยานการคาและเปนศนูยรวมของผูคนประจําทองถ่ินไปโดยปริยาย นอกจากนี ้ ในชวงเวลาดังกลาวยังพบวาการที่ตวัตลาดสามชุกตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ ยังมีสวนผลักดันใหหนวยงานราชการอื่น ๆ มีการเติบโตตามมาอีกดวย อยางเชน สหกรณไมจาํกัดสินใช สุขศาลา ไปรษณยีโทรเลข สํานักงานทีด่ิน โรงเรียน สถานีตํารวจภูธร ฯลฯ ซ่ึงการเติบโตของหนวยงานราชการตาง ๆ เหลานี ้ลวนสงผลใหตลาดสามชุกเริ่มมีการขยายตวัทางการคาเพิ่มมากขึ้น เพราะผูคนที่เดินทางเขามาติดตอคาขาย สวนหนึง่มาจากการเขามาติดตอราชการในละแวกใกลเคียงกับตลาดแหงนี้ ดังนั้น การที่ตลาดสามชุกตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ จึงถือเปนปจจยัสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเริ่มเกิดการขยายตวัตลอดชวงหลังทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 ดวยเชนกัน 3.1.3 การอพยพของชาวจีน

การอพยพของชาวจีนเขาสูตลาดสามชุก ไดปรากฏขึ้นอยางชัดเจนในป พ.ศ.2439 เปนตนมา ซ่ึงสอดคลองกับคําบอกเลาของคนในสมัยกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่วา การอพยพของชาวจนีเขาสูตลาดสามชุกมีอยูดวยกัน 3 กลุมใหญ โดย กลุมแรก เปนกลุมคนจีนที่เคยอาศัยอยูในชุมชนสามชุกเดิม ซ่ึงไดมีการอพยพเขาสูบานสามเพ็งภายหลังการยุบตัวลงของชุมชนสามชุกเดิม อยางเชน “ยายหนอ” ชาวจีนที่เคยเปดรานขายทองอยูบริเวณหนาวัดสามชุก เปนตน กลุมท่ีสอง เปนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนที่อพยพเขามาภายหลังจากโรงงานน้ําตาลในมณฑลนครชัยศรียุบเลิก

10 กฤตยา เสริมสุข, ประวัติอําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรีุ (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัด

สําเนา)

Page 61: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

47

ลงหลายแหงในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั 11 โดยชาวจีนกลุมนี้ไดมีการอพยพโยกยายเขาสูแหลงทํากินแหงใหมและกระจดักระจายอยูตามทองถ่ินตาง ๆ บริเวณลุมน้ําทาจีนตอนบนมากอน หลังจากนั้นจึงไดอพยพเขาสูตลาดสามชุกในชวงเวลาตอมา 12 และ กลุมท่ีสาม เปนกลุมชาวจนีที่มักอพยพโยกยายเขาไปตัง้ถ่ินฐานอยูตามชุมชนและทองถ่ินตาง ๆ ตามกระแสความเจริญ โดยสวนใหญจะเปนชาวจนีที่อาศัยอยูในลุมน้ําทาจีนและในเขตตัวเมืองสุพรรณบุรีมาตั้งแตสมัยตนรัตนโกสินทร หรือไมก็เปนชาวไทยเชือ้สายจีนที่บรรพบุรุษของพวกเขาเหลานั้นไดเขามาแตงงานอยูกินกับคนไทยตั้งแตสมยัแรก ๆ ที่มีการอพยพเขามา อยางเชน ขนุจํานงจนีารักษ หรือ นายหยุ แซเฮง ซ่ึงขุนจํานงจนีารักษเปนชาวไทยเชื้อสายจีนที่ไดเขามาตั้งถ่ินฐานอยูในตลาดสามชุกกอนทีจ่ะมีการกอสรางตัวตลาด โดยเปนบตุรของนายแมว แซเฮง ชาวจีนแตจิ๋วที่อพยพมาจากซัวเถา และนางนวม ซ่ึงเปนคนไทย แตเดิมขุนจํานงจีนารักษเคยอาศัยอยูกับบดิาและมารดา ณ บานเรือนแพรมิฝงลําน้ําสุพรรณบุรี ใกลกบัวัดโพธิ์คอย ตําบลทาระหัด อําเภอเมอืงฯ จังหวัดสุพรรณบุรี ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกลาเจาอยูหวั จนกระทั่งไดสมรสกับนางกุยเฮง แซเจ็ง เปนบุตรสาวนายอากรเลง แซเจ็ง เจาของโรงสีที่ตลาดทาชาง อําเภอเดิมบางนางบวช จึงไดแยกออกมาทํากิจการโรงเหลาและโรงยาฝนที่ตลาดสามชุกเรื่อยมา 13 อยางไรก็ตาม แมวาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนจะมีการอพยพเขาสูทองถ่ินตาง ๆ ในแถบลุมน้ําทาจีนตอนบน โดยเฉพาะในเขตมณฑลนครชัยศรีเพิ่มมากขึ้นก็ตาม แตการเขามาตั้งถ่ินฐานในตัวตลาดสามชกุกลับพบวายงัคงมีไมมาก เนื่องจากชาวจนีและชาวไทยเชื้อสายจีนที่อพยพเขามาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 มักตั้งถ่ินฐานอยูตามทองไร

11 มณฑล คงแถวทอง, “เศรษฐกิจขาวและน้ําตาลทรายในลุมแมน้ําทาจีน พ.ศ.2398-2453”

(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527), 17.

12 มัลลิกา เรืองระพี, “บทบาทของชาวจีนในดานเศรษฐกจิ สังคม และศลิปกรรมไทย สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทร ” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518), 62.

13 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุมาลย จีนารักษ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 62: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

48

ทองนาบริเวณรอบ ๆ ตลาดสามชุกเปนสวนใหญ เพื่อทาํการเพาะปลูก ทําไร และเลี้ยงสัตว ฯลฯ เพราะยังไมมทีุนรอนมากนกัที่จะเขามายดึจับอาชีพคาขายภายในตลาดไดอยางคนไทย จนกระทั่งเมื่อมีการสะสมทุนรอนไดมาก เมื่อนั้นจึงจะเขามาเปดรานขายของภายในตลาด ตามแบบอยางของชาวจีนอพยพทั่วไป ดงัเชนคํากลาวของ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทีไ่ดกลาวถึงวิธีการของชาวจีนอพยพที่เขามามีบทบาทในการคาขายในประเทศไทยวา “...วิธีการหากินของจนีนอกตามที่สังเกตมา เมื่อมาถึงก็เที่ยวรับจางเปนลูกแรง ทํางานโดยลําพังตวั ทํางานหาเงนิไดแลวมักกลับออกไปเสียสวนหนึ่ง บางคนหาเงินทนุในชั้นตนได คิดจะทํามาหากินยืดยาวตอไปในเมืองนี้ จึงเอาทุนนั้นไปเสง (เสง) รานขายของ” 14 ดังนั้น ชาวจีนอพยพสวนใหญที่เดินทางเขามาลงหลักปกฐานในทองถ่ินสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงนิยมตั้งถ่ินฐานอยูตามทองไรทองนาที่อยูหางตัวตลาดสามชกุออกไป ในขณะที่บางพวกที่พอมีทนุรอนก็จะเขามาคาขายอยูในตลาด อยางเชน พอคาคนกลาง พอคาปลีก พอคายอย เปนตน 15

สําหรับการอพยพของชาวจนีและชาวไทยเชื้อสายจีนในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แมวายังมีไมมากเทากับในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แตบรรดาชาวจีนอพยพเหลานี้ก็ไดเร่ิมเขามามีบทบาทตอการคาขายภายในตลาดเพิ่มมากขึ้น อยางเชน การเปนแรงงานในการผลิตพืชผลทางการเกษตรเพื่อปอนเขาสูตลาด การเปนผูซ้ือ พอคาคนกลาง พอคายอย พอคาปลีก ฯลฯ และที่สําคัญ ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวจีนอพยพยังเปนผูนําระบบที่ใชในการแลกเปลี่ยนสินคาที่ดีขึ้นกวาเดิมมาใชในตลาดอีกดวย โดยชาวจีนไดนําระบบ “ถัง” เขามาใชตวงสนิคาแทนการใชกระชุกและกระบุงในการชั่ง ตวง วัด ในแบบเกา ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกเริ่มมีการเติบโตและมีอัตราในการแลกเปลี่ยนซ้ือขายที่แนนอน เที่ยงตรง และอยูในบรรทัดฐานทีสั่งคมการคาสวนใหญพึงกระทําตัง้แตนั้นเปนตนมา จนทาํใหระบบเงินตราเริ่มเปนทีแ่พรหลายภายในตลาดและทําใหชาวบานทัง้ในทองถ่ินและตางถ่ินเกิดแรงจูงใจทีจ่ะเขามาติดตอคาขายกับตลาดสามชุกตามมาในที่สุด

14 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, “หนังสือกราบบังคมทูลของกรมพระยาดํารงรา

ชานุภาพเกี่ยวกับการเก็บเงินคาแรงจีน ร.ศ.128,” เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย, ร.5 ม.28.2/43, หอจดหมายเหตุแหงชาติ, อางถึงใน ตวน ลีเซิง และ คนอื่น ๆ, บทบาทของชาวไทยเชื้อสายจีนตอการพัฒนาเศรษฐกจิในภูมภิาคตะวนัตก:ศึกษากรณีจังหวัดนครปฐม (ม.ป.ท.:สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศลิปากร, 2540), 46.

15 ฉัตรทิพย นาถสุภา, เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต, พิมพคร้ังที่ 4 (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสรางสรรค, 2540, 46.

Page 63: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

49

ดังนั้น อาจกลาวไดวาการมทีําเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ และการอพยพของชาวจีน ลวนเปนปจจยัสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเริ่มมกีารขยายตวัทางกายภาพและการคาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนอยางมาก จนทําใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดประจําอําเภอที่เร่ิมเปนที่รูจักและเริ่มมีผูคนใหความสนใจอยางกวางตั้งแตนั้นเปนตนมา ซ่ึงลักษณะของตลาดสามชุกในยุคเติบโตนั้นมีทิศทางที่นาสนใจ ดังนี ้

3.2 ลักษณะของตลาดสามชกุในยุคเติบโต ในชวงหลังทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 สภาพทั่วไปของทองถ่ินตาง ๆ ทั้งในตลาดสามชุกและบริเวณโดยรอบตลาดไดเริ่มมีการเติบโตขึ้นมามาก ซ่ึงคนที่มีชีวิตอยูในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดกลาววา 16 สภาพทัว่ไปของทองถ่ินตาง ๆ ทั้งในตลาดสามชุกและบริเวณโดยรอบตลาดในชวงหลังทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 ไดเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซ่ึงแตเดิมทองถ่ินสามชุกยังคงเปนปาเปนดงที่มีความรกชัฏอยูทั่วบริเวณ แตในชวงหลังทศวรรษ 2460 เปนตนมา ชาวบานไดเร่ิมมีการบุกเบิกพื้นที่เพื่อทาํการเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในบริเวณฝงตะวนัตกและทางฝงตะวนัออกของแมน้ําทาจนี ดวยเหตนุี้ จึงทําใหพืชเศรษฐกิจหลากหลายชนิด ที่สามารถเพาะปลูกหมุนเวยีนสับเปลี่ยนกันไปตามฤดูกาลปรากฏอยูทุกพื้นทีใ่นบริเวณใกลเคยีงตลาดสามชุกเรื่อยมา จนทาํใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่ถูกรายลอมไปดวยทองทุงนาสลับกับสวนผักและไรออยอยูเปนระยะ ๆ 17 ในขณะที่สภาพทั่วไปภายในตลาดสามชุกและละแวกใกลเคียงก็ไดเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงเชนกัน โดยสวนใหญจะเปนการเติบโตทางดานกายภาพ และการเติบโตทางดานการคา ซ่ึงทั้งหมดมีความเปลี่ยนแปลงไปในทศิทางที่นาสนใจ ดังนี ้ 3.2.1 การเติบโตทางกายภาพ สําหรับการเตบิโตทางกายภาพภายในตลาดสามชุกและละแวกใกลเคียงในชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 จะมีอยูดวยกนั 2 ลักษณะ คือ การเติบโตของอาคารบานเรือน และการเติบโตของสวนราชการและกิจการเอกชน เปนตน ซ่ึงการเติบโตทางกายภาพในชวงเวลาดงักลาว

16 สัมภาษณ คณุศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี, 27

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกขฺวีโร, พระภกิษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

17 “เร่ือง รายงานกรมชลประทานไดชวยเหลือชาวนาในมณฑลตาง ๆ,” 15-20 กุมภาพันธ พ.ศ.2472, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ, ร.7กษ.1/1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

Page 64: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

50

นั้น ไดสงผลใหตลาดสามชกุกลายเปนตลาดขึ้นมาอยางมั่นคง จนมีผูคนเริ่มรูจักในฐานะ “ตลาดสามชุก” อยางกวางขวาง และพากนัเดนิทางเขามาติดตอคาขายกับตลาดสามชุกตั้งแตนั้นเปนตนมา จากการศึกษาวิเคราะหทางดานสถาปตยกรรม ทําใหนาเชื่อถือไดวา การเติบโตของอาคารบานเรือนภายในตลาดสามชกุจะเริ่มตนขึ้นในซอย 2 และซอย 1 เปนสวนใหญ สวนอาคารบานเรือนในซอย 3 และซอย 4 จะเกิดขึ้นทหีลังในชวงเวลาไลเล่ียกัน โดยอาคารบานเรือนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น จะมีอยูดวยกัน 4 ซอย กอสรางแลวเสร็จประมาณป พ.ศ.2466 อาคารบานเรือนสวนใหญจะมลัีกษณะเปนอาคารหลังเดี่ยว ๆ หรือไมก็เปนอาคารเรือนแถวไมที่มีการผสมผสานกับเรือนเครื่องผูกที่มีอาณาบริเวณในแตละหลัง ซ่ึงทั้งหมดจะมีงานศิลปกรรมอันเกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมที่ไดรับอิทธิพลในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวัปรากฏอยูตามอาคารบานเรือนอยางโดดเดนและเปนเอกลักษณ โดยเฉพาะลวดลายฉลุไมที่เรียกวา “ลายขนมปงขิง” ที่มีถึง 19 ลาย ที่ปรากฏอยูตามสวนตาง ๆ ของอาคารบานเรือน อยางเชน ชองลม ราวกันตก หนาตาง ประตู แผงประดับใตหลังคา เปนตน 18 สําหรับอาคารหลังแรกที่เกดิขึ้นในตลาดสามชุกนั้น คือ อาคารสายหยุด หรือ “บานปาสายหยดุ” ซ่ึงตั้งอยูในซอย 2 เปนอาคารไมสองชั้น สวนอาคารอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นตามมา ไดแก บานยายหนอ บานยายพลัด บานนายสมุด บานนางเตียบ บานนายถม บานนายอุย และบานนายหยุ แซเฮง (ขุนจํานงจีนารักษ) ฯลฯ โดยกรรมสิทธิ์ของอาคารบานเรือนในซอย 1 และ ซอย 2 สวนใหญจะเปนของเถาแกรายใหญที่เขามาบกุเบิกตลาด สวนที่ดินจะเปนกรรมสิทธิ์ของที่ราชพัสดุหรือทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ซ่ึงจะตองเสียคาเชาใหกับราชพัสดุตามสัญญาเชาปตอป โดยอัตราคาเชาที่ดินในขณะนัน้อยูที่ประมาณปละ 2 บาท (ปจจุบันคาเชาประมาณปละ 2,000 บาท) ซ่ึงเจาของกรรมสิทธิ์ของอาคารบานเรือนในบริเวณซอย 1 และหองแถวริมน้ําในขณะนั้น คือ เถาแกเบีย้ว แซเจ็ง เจาของกรรมสิทธของอาคารบานเรือนในบริเวณซอย 2 คือ เถาแกหยุ แซเฮง (ขนุจาํนงจีนารักษ) สวนกรรมสิทธิ์ของที่ดินและบานเรือนในซอย 3 และซอย 4 คือ เถาแกเนีย้ม แซโคว โดยเถาแกเนี้ยมไดสรางอาคารบานเรือนถัดจากพืน้ทีร่าชพัสดุในซอย 2 ออกไปอีก 2 ซอย กลายเปนซอย 3 และ ซอย 4 ในชวงกอนป พ.ศ.2466 ไมนาน ซ่ึงบานเรือนแตละหลังในซอย 3 และซอย 4 จะมีสัญลักษณที่เรยีกวา “หลักหมุด” ปรากฏอยูบนถนนหนาบานในทกุ ๆ หลัง เพื่อบงบอกถึงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน โดยในแตละหลักหมดุจะมีหมายเลขกํากับอยู ในขณะที่ซอย 1 และ ซอย 2 จะไมมี เพราะเปนทีด่ินของราชพสัดุ

18 รุจ รัตนพาห,ุ “แนวทางการอนุรักษและพฒันาพื้นที่ชุมชนตลาดสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี,” 1-38.

Page 65: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

51

สวนการตอเตมิอาคารบานเรือนใหมีพืน้ที่ใชงานเพิ่มมากขึ้นนั้น จะเกิดขึ้นในชวงหลังป พ.ศ.2466 เปนตนมา โดยสวนใหญจะเปนการตอเติมอาคารบานเรือนในหลาย ๆ ลักษณะ อยางเชน การตอเติมอาคารบานเรือนเพิ่มเขาไปในพืน้ที่บางสวนทีย่ังไมมีการปลกูสรางอาคาร การปรับสภาพบานเรือนจากบานชั้นเดยีวมาเปนบานสองชั้น การตอเติมหองหรืออาคารแทรกเขาไประหวางสองอาคารที่ตั้งหางกัน และการกั้นหองหรือขยายหองใหกวางขวางกวาเดมิเพื่อเปนประโยชนตอการใชสอยมากขึ้น ฯลฯ ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหอาคารบานเรือนภายในตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมนาน จึงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากอาคารหลังเดี่ยวหรืออาคารเรือนแถวไมที่มีการผสมผสานกับเรือนเครือ่งผูกที่มีอาณาบริเวณ กลายมาเปนอาคารรานคาที่มีลักษณะทอดยาวติดตอกันเปนสายเปนซอยตัง้แตนั้นเปนตนมา 19

ภาพที่ 16 “บานปาสายหยุด” หรือ “อาคารสายหยดุ” อาคารหลังแรกที่สรางขึ้นในตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2550

19 สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุมาลย จีนารักษ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 66: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

52

ภาพที่ 17 บานนายหุย แซเฮง (ขุนจํานงจนีารักษ) สรางขึ้นในป พ.ศ.2459 ที่มา : สุภาภรณ จินดามณีโรจน, ประวตัิศาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน (ม.ป.ท., 2532. งานวิจยัเสนอตอมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532), 139.

ภาพที่ 18 หลักหมุด สัญลักษณที่บงบอกถงึกรรมสิทธิ์ในที่ดินของซอย 3,4 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2550 สําหรับการเตบิโตของสวนราชการและกจิการของเอกชนในตลาดและละแวกใกลเคียง ไดเกิดขึ้นหลายแหงเชนกนั โดยสวนราชการจะมีการเติบโตไลเรียงกันมาตั้งแตหลังทศวรรษ 2460 -

Page 67: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

53

สงครามโลกครั้งที่ 2 อยางเชน สํานักงานของไปรษณยีโทรเลข ซ่ึงเปนสํานักงานที่ตั้งอยูในตลาดโดยการเชาหองในซอย 2 , สํานักงานทีด่ิน ซ่ึงเปนสํานักงานที่ตั้งอยูใตทีว่าการอําเภอ, สุขศาลา เปนอาคารพยาบาลประจําตลาดที่ตั้งอยูชายน้ําบริเวณดานหนาที่วาการอําเภอ, โรงเรียนวัดสามชุก หรือ โรงเรียนราษฎรวิริยานกุูล เปนโรงเรียนประถมหลังแรกของอําเภอ ซ่ึงตั้งอยูบริเวณวดัสามชุก สรางขึ้นประมาณป พ.ศ.2472 ผูริเริ่มสรางคือ พระมหาสุมน โอภาสี เจาอาวาสวัดสามชกุ, สหกรณไมจํากัดสินใช เปนอาคารกูยืมเงินเพื่อการเกษตรที่ตั้งอยูหลังที่วาการอําเภอ สรางขึ้นในชวงทศวรรษ 2480 20, โรงเรียนนิกรนรราษฎรศึกษาลัย ตัง้อยูทางฝงตะวันตกของแมน้ําทาจีนบริเวณตลาดสามชกุ เร่ิมเปดทําการสอนเมื่อวันที1่0 พฤษภาคม พ.ศ.2480 สรางขึ้นดวยเงินงบประมาณ 1,000 บาท รวมกับเงินบริจาคของขาราชการ พอคา ประชาชนชาวตลาดสามชุก จํานวน 2,925 บาท สรางเปนอาคารไม 2 ช้ัน 6 หองเรียน, และสถานีตํารวจภูธร ตั้งอยูริมแมน้ําทาจีนฝงตะวันตกในบริเวณตลาดสามชกุ สรางขึ้นในป พ.ศ.2483 โดยมี ร.ต.ท.โกศล ศุภมงคล เปนหัวหนาสถานคีนแรก 21 เปนตน

ภาพที่ 19 โรงเรียนวดัสามชกุ หรือ โรงเรียนราษฎรวิริยานุกูล สรางขึ้นประมาณป พ.ศ.2472 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

20 สํานักงานพาณิชยจงัหวัดสพุรรณบุรี, ขอมูลการตลาดจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2523-2524

(สุพรรณบุรี:ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 33.

21 ประวัติสถานตีํารวจภูธรอําเภอสามชุก [Online], accessed 5 January 2007. Available from http://www.samcuk.police7.go.th/

โรงเรียนวัดสามชุก

วัดสามชุก

Page 68: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

54

ภาพที่ 20 สหกรณไมจํากัดสินใช สรางขึ้นในชวงทศวรรษ 2480 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ภาพที ่21 โรงเรียนนกิรนรราษฎรศึกษาลัย เร่ิมเปดทําการสอนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2480 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

Page 69: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

55

ภาพที่ 22 สถานีตํารวจภูธร สรางขึ้นในป พ.ศ.2483 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) สวนการเติบโตของกิจการเอกชนนอกเหนือกิจการรานคาทั่วไป จะเกิดขึ้นในชวงหลังทศวรรษ 2470 เปนสวนใหญ อยางเชน โรงแรม โรงเหลาและโรงยาฝน ฯลฯ ซ่ึงทั้งหมดจะตั้งอยูในตัวตลาดสามชกุ โดยโรงแรมในตลาดสามชุกมีอยูดวยกนั 2 แหง แหงแรก คือ โรงแรมสําราญรมย ของ ลุงสําราญ กล่ินหอมหวล เปนโรงแรมแหงแรกที่เกดิขึ้นในตลาด สวนแหงที่สอง คือ โรงแรมอุดมโชค ของ นายพิศษิฎ สิริภิญโญ (แปะซิม) 22 โดยทั้งสองโรงแรมเปนอาคารไม 2 ช้ัน ตั้งอยูในซอย 2 ซ่ึงถูกสรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2470 โดยในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงแรมสําราญรมย คิดคาบริการ 12 บาท ตอคืน สวนโรงแรมอุดมโชค คิดคาบริการ 22 บาทตอคืน สําหรับกิจการโรงเหลาและโรงยาฝน จะตัง้อยูในซอย 2 ซอย 3 และซอย 4 ของตลาดสามชุก โดยกจิการโรงเหลาและโรงยาฝนไดมีขึ้นเปนครั้งแรกภายหลงัจาก เถาแกหยุ แซเฮง ไดรับบรรดาศักดิ์เปนขุนจํานงจีนารักษ กรรมการพิเศษประจําจังหวดัสุพรรณบุรี นายอากรสุรา ในป พ.ศ.2474 โดยโรงเหลาและโรงยาฝนแหงแรกของตลาดนั้น จะอยูที่บานขุนจํานงจนีารักษในซอย 2 ตอมากิจการโรงเหลาและโรงยาฝนเกดิการเติบโต ขุนจํานงจีนารักษจึงไดตั้งโรงเหลาและโรงยาฝนเพิ่มขึ้นอีก 2 โรง ในบริเวณซอย 3 และ ซอย 4 โดยกจิการโรงเหลาและโรงฝนในซอย 3 จะตั้งอยูบริเวณรานขายของชําปานาในปจจุบนั สวนโรงเหลาและโรงฝนในซอย 4 ไมปรากฏแนชัดวาอยูใน

22 คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก, สืบสานงานศิลป ถ่ินสามชุก (ม.ป.ท., ม.ป.ป.), 27.

Page 70: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

56

บริเวณใด หลังจากนั้นจึงปดกิจการโรงเหลาและโรงยาฝนแหงแรกลง เนื่องจากตองการใชบานเปนสถานที่ติดตอราชการ จึงทําใหกิจการโรงเหลาและโรงยาฝนที่มีอยูในตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เหลือเพยีง 2 แหง เร่ือยมา

ภาพที่ 23 โรงแรมสําราญรมย โรงแรมแหงแรกของตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที ่

ภาพที ่24 โรงแรมอุดมโชค โรงแรมแหงทีส่องของตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที ่

Page 71: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

57

ภาพที่ 25 รานขายของชําปานา ซอย 3 ในอดีตเคยเปนที่ตั้งของโรงยาฝนหรือโรงฝนมากอน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที ่ 3.2.2 การขยายตัวของการคา ภายหลังจากการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรในชวงทศวรรษ 2460 การคาขายไดเร่ิมมีการขยายตวัเพิม่ขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้สังเกตไดจากการนําสินคาหลากหลายชนดิเขามาขายจากตางถ่ิน โดยสินคาที่สามารถขนขึ้นมาขายบนฝงไดก็จะนํามาขึ้นที่ทาน้ําบริเวณหัวตลาดในซอย 1 และซอย 2 เชน น้าํมันกาด น้ํามนัยาง ไมขีดไฟ ถวยโถโอชาม เสื้อผา ของโชหวย ฯลฯ แตถาเปนสินคาที่ไมสามารถนําขึ้นมาบนฝงไดก็จะทําการคาขายกันบนเรือและรองเรียกลูกคากนับนเรือ ถาลูกคาคนใดสนใจจึงจะขนขึ้นไปใหบนฝง อยางเชน หีบ ตู เปนตน โดยพอคาชาวจีนจะนําตูบรรทุกใสเรือลําเรียงเขามาขาย โดยขนมาครั้งละ 20 กวาตู ราคาตูละประมาณ 18 บาท จะรองเรียกลูกคาวา “ตูซ้ัวโอย ตูซ้ัวโอย ” ทุกครั้งที่นําตูเขามาขายยังตลาด หากขายไดกจ็ะขนตูขึ้นบนฝงแลวติดกระจกใหลูกคา แตถาขายไมไดก็ตองรอคอยลูกคาอยูบนเรือและอยูอาศัยกนับนเรือ หรือไมก็ตองนําสินคาลองตามลําน้ําไปขายยังชุมชนอ่ืน ๆ ตอไป 23

23 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 72: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

58

ภาพที่ 26 (ภาพบนดานซาย) หีบ, (ภาพบนดานขวา) เซฟใสเงิน, (ภาพลางดานซายและดานขวา) ตูกระจก หนึ่งในสินคาหลายประเภท ที่มีการนําเขามาขายภายในตลาดสามชุก โดยพอคาชาวจีน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คุณศิริ สรหงษ)

อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากการนําสินคาหลากหลายประเภทเขามาคาขายภายในชุมชนมากขึ้นแลวนัน้ สินคาบางชนิดที่มีการคาขายกันตามปรกติยังมีการเติบโตทางดานการคาและการผลิตเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดอกีดวย โดยเฉพาะขาวและถาน ซ่ึงสอดคลองกับคํากลอนของคุณศิริ สรหงษ ทีไ่ดบรรยายถึงความรุงเรืองของการคาขาวและถานของตลาดสามชุกในชวงหลังเกิดตลาดไว โดยไดปรากฏอยูในพพิิธภณัฑขุนจํานงจีนารักษ ในป พ.ศ.2545 ดังนี้ 24

24 ประวัติศาสตรเมืองสามชุก [Online], accessed 21 August 2006. Available from http://www.lek-prapai.org/samchuk 3.html

Page 73: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

59

บานยายมีตาผูอยูขางใต ถัดขึ้นไปถึงบานตารื่นจั่น เจียวจาวขายของกันพัลวนั ทั้งถานทั้งขาวอยูมากม ีเปนถานเปนขาวมาถึงทา ตีราคาถานขาวกันอึ่งมี ่หยุดพักลงจากเกวยีนมาทนัท ี สูบบุหร่ีนั่งพักกายสบายอารมณ ปลดแอกปลดเกวยีนเอาควายออก ไลลงกรอกกินน้ํากันขรม ผูคนอาบน้ําสบายคลายอารมณ เสียงขรมเบิกบานสําราญใจ

เนื่องจากในขณะนั้นพื้นทีต่าง ๆ ในเขตตลาดสามชุกและทองถ่ินโดยรอบ เปนพื้นที่ที่

เหมาะตอการเพาะปลูกขาวมาเปนเวลาชานาน ประกอบกับในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ขาวยังคงเปนสินคาหลักที่ตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศมีความตองการสูง ดังนัน้ ขาวจึงเปนสินคาหลักที่มกีารผลิตเพื่อคาเพื่อขายอยางแพรหลายเรื่อยมา ดวยเหตุนี้ จึงทําใหการคาขาวของตลาดสามชุกมีแตการขยายตัวเกดิขึ้นมาโดยตลอด ตั้งแตชวงหลังทศวรรษ 2460 จนถึงสงครามโลกคร้ังที่ 2 โดยการซื้อขายขาวเปลือกและขาวสารในขณะนั้นจะกระทํากันที่ตลาดสามชุกเปนสวนใหญ เพราะเปนจุดแลกเปลี่ยนรับซื้อประจําทองถ่ิน โดยเฉพาะบริเวณทาน้ํา ซอย 2 ซ่ึงจะมีชาวนาในทองถ่ินและละแวกใกลเคียงจํานวนมากมักนําขาวที่ผลิตไดบรรทุกใสเกวียนเขามาขายใหกับพอคาแมคาทีม่ารอรับซื้ออยูเสมอ ซ่ึงจะมทีั้งขาวเปลือกและขาวสาร โดยการซื้อขายขาวสารนั้นจะเปนกลุมพอคาแมคาที่เปดรานขายขาวสารอยูในตลาดสามชุกเปนสวนใหญ สวนการซื้อขายขาวเปลือกจะเปนกลุมพอคาชาวจีนที่อาศยัอยูบนเรือ ที่เขามารับซื้อแลวนําไปขายใหกับโรงสีขาวในบริเวณเมืองสุพรรณบุรีตออีกทอด

สําหรับการขยายตัวของการคาขาวในตลาดสามชุกนั้น ไดเกดิขึ้นพรอม ๆ กับการขยายตวัของการคาขาวในจังหวัดสพุรรณบุรีมาตั้งแตทศวรรษ 2460 เนื่องจากทางตลาดสามชุกไดมีการปรับราคาในการซื้อขายขาวใหเปนไปตามกลไกของตลาดกลางประจําจังหวัดสุพรรณบรีุมาโดยตลอด นับตั้งแตมกีารกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวร (ดังตารางที่ 1 ) ดังนั้น จึงทําใหมีผูซ้ือผูขายจํานวนมากพากันหล่ังไหลเขามาซื้อขายขาวกับตลาดสามชุกอยางไมขาดสาย เพราะตางมีความมั่นใจวาการคาขาวกับตลาดแหงนีจ้ะมีความเที่ยงตรงและไดความยุติธรรมอยางแนนอน ถึงแมวาในบางครัง้การซื้อขายขาวจะมีการปรับราคาขึ้นลงบางก็ตาม

Page 74: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

60

ตารางที่ 1 บญัชีราคาขาวเปลือกในจังหวดัสุพรรณบุรี ระหวางป พ.ศ.2457-2473

ป พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. พ.ศ.2457

(เกวียนละ) 35 31 31 33 33 36 38 36 35 33 36 35

พ.ศ.2458 35 28 29 26 24 25 24 24 31 35 35 31 พ.ศ.2459 39 35 26 37 35 33 33 34 35 39 40 39 พ.ศ.2465 33 33 34 - - 39 36 38 42 38 37 30 พ.ศ.2470 47 48 - - - 51 54 45 44 44 40 47 พ.ศ.2472 47 - - - - 63 61 62 71 66 63 56 พ.ศ.2473 - - - - - 57 57 51 49 39 30 28

ที่มา : “พิจารณาเรื่องเขา (ขาว) (พ.ศ.2473),” เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงพาณิชยและการคมนาคม, ร.7พ7/14, หอจดหมายเหตแุหงชาติ.

อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากการกําหนดราคาในการซื้อขายขาวใหเปนไปตามราคากลางของจังหวดัสุพรรณบุรีแลวนั้น การมีโรงสีขาวเกิดขึ้นหลายแหงในจังหวัดสุพรรณบรีุ ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังมีสวนชวยใหการคาขาวในตลาดสามชุกเกิดการเติบโตมากยิ่งขึ้นอกีดวย เพราะการมีโรงสีขาวมาก ยอมทําใหความตองการขาวจากตลาดเพื่อปอนเขาสูโรงสีมีมากขึ้นตาม ดังนั้น ความคึกคักของการคาขาวภายในตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงสัมพันธกับขอมูลตัวเลขโรงสีที่เพิ่มขึ้นในบริเวณมณฑลนครชัยศรีและเมืองสุพรรณบุรีเปนอยางมาก ดังตารางที่ 2 และตารางที่ 3 เปนตน

Page 75: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

61

ตารางที่ 2 สถิติโรงสีขาวใน 7 มณฑล ของท่ีราบภาคกลาง (สํารวจ พ.ศ.2464-2472)

มณฑล จังหวัด ตั้งกอนป พ.ศ.2451/ โรง

ตั้งป พ.ศ.2451-2462/ โรง

ตั้งป พ.ศ.2463-2472/

โรง

ยอดรวมในจังหวัด

รวมท้ังสิ้นในมณฑล

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ นนทบุรี มีนบุรี พระประแดง

- - - - -

57 3 5 1 -

9 12 16 14 11

66 15 21 15 11

128 อยุธยา อยุธยา

สระบุร ีลพบุรี อางทอง ปทุมธานี สิงหบุร ีธัญญบุรี

- - - - - - -

26 - 2 4 4 - 1

36 25 21 15 7 8 7

62 25 23 19 11 8 8

156 ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา

ชลบุรี ปราจีนบุรี นครนายก

- - - -

8 1 - -

25 26 12 10

33 27 12 10

82 นครชัยศรี นครปฐม

สุพรรณบุรี สมุทรสาคร

- - -

5 16 3

42 17 13

47 33 16

96 ราชบุร ี ราชบุร ี

เพชรบุรี สมุทรสงคราม กาญจนบุรี

- 1 - -

1 2 1 -

43 15 17 2

44 18 18 2

82 นครสวรรค นครสวรรค

อุทัยธานี ชัยนาท กําแพงเพชร ตาก

- - - - -

3 - - - -

16 12 9 3 3

19 12 9 3 3

46 พิษณุโลก พิษณุโลก

พิจิตร อุตรดิตถ สุโขทัย สวรรคโลก

- - - - -

1 - - - 1

7 16 6 2 -

8 16 6 2 1

33 รวม 1 623

ที่มา : ถนอม ตะนา, “กิจการโรงสีขาวในที่ราบภาคกลางของประเทศไทย พ.ศ.2401-2481” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527), 45-46.

Page 76: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

62

ตารางที่ 3 โรงสีขาวในเมืองสุพรรณบุรีกอนป พ.ศ.2472

ชื่อโรงส ี ชื่อเจาของ ท่ีตั้ง

ปท่ีเปด ชนิดเครื่อง

กําลังเครื่อง/แรงมา

จํานวนขาว ท่ีสีไดตอ

1 ช.ม./หาบ ตําบล อําเภอ

1.หลีฮวด 2.เจริญพาณิชย 3.หยงฮงลง 4.โรงสีตําบลตาลเสี้ยน 5.โรงสีตําบลศรีจันต 6.โรงสีตําบลบานไร 7.โรงสีตําบลบานคอย 8.บั้นกิม 9.ฮั้วเฮง 10.ฮะเฮงเส็ง 11.ซุนฮะฮวด 12.สุพรรณเจริญผล 13.อรุณบุญโพธ์ิ 14.เซงเองหลี 15.ดํารงวงศสุวรรณ 16.เซงฮวด 17.พานิชเจริญผล 18.งี่เส็ง 19.กิระศิร ิ20.บัญญะกิจวิเศษ 21.งวนเซ็ง 22.ดํารงวงศสุวรรณ 23.ราษฎรบํารุง 24.ฮะเซงหลง 25.หงวนหลี 26.โรงสีบานบวน 27.ดอนมะสัง 28.หลีเซงเฮง 29.นิยมสามัคคี 30.โรงสีตําบลบานกุม 31.ฮวงฮะจุยจ่ัน 32.สามทับ 33.สมิงสมปองบํารุงสังขรัตน

นายเลงและหุนสวน นายฮวดและหุนสวน นายเย็น นายผองและหุนสวน นายเทียน หลวงอนุกูล นายให นายใช นายกิมซุย นายพัก นายคํา นายทู นายถมยา นายฮกหลี นายทองดี นายมุยเฮง นายยิมฮวด นายชุนล้ัง นายสังวาลย นายออน นายทองสุข นายฉาย นายจวน นายไล นายจุยยิน นายพริ้ง นายกรุง นายแพน นายพริ้ง นายเยี่ยม นายฮองเหนง นายเอม นายกรุง

เขาพระ เขาชาง สามชุก

ศรีประจันต ศรีประจันต บานไร บานคอย ศาลาขาว ทับตีเหล็ก โพธ์ิพระยา ทาพี่เลี้ยง พิหารแดง รั้วใหญ ตล่ิงชัน

บางปลามา บานแพก ตะฆา

ปาพฤกษ บางใหญ องครักษ ไผกองดิน จระเขใหญ วัดโบสถ บางปลามา บางปลามา หัวโพ หัวโพ บางลี่ บางลี่ บานกุม

บางตะเคียน จระเขสัมพัน ยุงทะลาย

เดิมบาง เดิมบาง นางบวช

ศรีประจันต ศรีประจันต ศรีประจันต ศรีประจันต ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง ทาพี่เลี้ยง บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา บางปลามา สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง สองพี่นอง จระเขสัมพัน จระเขสัมพัน

2471 2467

- -

2465 -

2470 2467 2462 2471 2471 2468 2468 2470 2459 2461 2464 2466 2458

- 2466 2469 2468

- - - - - - - -

2465 2467

กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ กลไฟ ยนตร กลไฟ ยนตร กลไฟ

12 25 24 32 36 36 36 30 32 32 32 28 36 36 20 30 24 25 20 25 25 20 25 20 16 16 16 16 16 20 20 12 28

6 10 10 9

19 16 16 12 12 12 11 8

15 15 10 12 10 10 10 10 10 9

10 7 5 5 5 5 5 8 7 3

15

ที่มา : ธีระ แกวประจนัทร, “สภาพเศรษฐกจิมณฑลนครชยัศรี พ.ศ.2438-2475” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ, 2534), 210-212.

Page 77: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

63

สําหรับ “ถาน” ถือเปนสินคาอีกประเภททีม่ีการซื้อขายกนัในชุมชนมาตั้งแตอดีต เนื่องจากในขณะนัน้พืน้ที่สวนใหญทั้งในเขตบานสามเพ็งและบริเวณใกลเคียงยังคงเปนปาเปนดงอยูมาก การตัดไมเพื่อนํามาเผาถานยงัคงสามารถทํากันไดอยางเสรีและไมผิดกฎหมาย โดยในขณะนัน้หนาที่ในการคาถานสวนใหญยังคงจํากัดอยูเฉพาะชาวกะเหรี่ยงและละวาที่อาศัยอยูในพื้นที่ปา จนกระทั่งในชวงป พ.ศ.2475 เปนตนมา เมื่อเกิดการสัมปทานปาไมเกดิขึ้นทั่วราชอาณาจักร การคาถานจึงไมจํากดัเฉพาะชาวกะเหรีย่งและละวาเชนเดิมอีกตอไป เพราะผูคนที่อาศัยอยูในทองถ่ินและตางถ่ินตางเริ่มเขามาขออนุญาตทําไมเพื่อนาํมาแปรรูปและนํามาเผาถานเพิ่มมากขึ้น 25 อยางเชน ในชวงทศวรรษ 2480 ที่ปรากฏวามีโรงเล่ือยเกิดขึ้นทางดานทิศใตของตลาดสามชุก โดยผูควบคุมกิจการคือผูจัดการชาวพมา ฯลฯ ดังนั้น จึงแสดงใหเหน็วาการทําไมและการเผาถานขายในบริเวณทองถ่ินสามชุกจึงเริ่มเปนทีแ่พรหลายมากขึ้นนับตั้งแตมกีารสัมปทานปาไมทั่วราชอาณาจักรในป พ.ศ.2475 เปนตนมา 26 โดยไมที่ไดรับอนุญาตใหตัดไปทําถานไดนั้นมเีพียงไมกี่ชนิด เชน ไมจกิ ไมแจ ไมตะโก 27 เปนตน ดังนัน้ การขยายตวัทางการคาของตลาดสามชุกในชวงหลังการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวร จึงมกัพบเหน็ขาวและถานกลายเปนสินคาหลักที่มีการคาขายอยางแพรหลายควบคูกันมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม แมวาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลาดสามชุกจะเปนพืน้ที่หนึ่งที่มีเจาหนาที่จากสวนกลางเขามาดูแลและควบคุมในเรือ่งของการคาขายก็ตาม เนื่องจากตลาดสามชุกเริ่มกลายเปนยานการคาที่มีขนาดใหญโตและมีผูคนพลุกพลาน แตตลาดสามชุกก็ไมไดรับผลกระทบจากสภาวการณดังกลาวมากมายนัก เนื่องจากทางภาครัฐไดเขามามีบทบาทตอการคาขายภายในตลาดเพียงชวงระยะเวลาสั้น ๆ อยางเชน การกําหนดมาตรการในการใชคูปองแทนเงนิสดในการซื้อขายสินคาภายในตลาดในชวงสงคราม และการควบคุมการซื้อขายสินคาบางรายการเปนพิเศษ

25 ประวัติกรมปาไม 2439-2514 กรมปาไมกระทรวงเกษตร (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., ม.ป.ป.),

48-49. 26 กฤตยา เสริมสุข, สามชุก บานเรา (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา) 27 สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม

จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณปราณี สุวรรณวัฒนกิจ. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

Page 78: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

64

อยางเชน น้ํามันกาด ไมขดีไฟ ขาวสาร เสื้อผา น้ําตาลปบ เปนตน 28 ซ่ึงพอผานพนจากชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปไดไมนาน บรรยากาศของการคาขายภายในตลาดสามชุกก็ไดกลับมาสูสภาวการณปรกติ และมีแนวโนมที่จะขยายตวัเพิ่มมากขึ้นตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา

ภาพที่ 27 การทําไมในสมัยกอน ท่ีมา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นท่ี (เอ้ือเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ดังนั้น อาจกลาวไดวา ภายหลังจากการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรในชวงทศวรรษ 2460 ตลาดสามชุกไดกลายเปนตลาดที่เริ่มมีการขยายตวัทางกายภาพและการคาขึ้นมาอยางตอเนื่อง จนทําใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดประจําอําเภอที่มีผูคนทั่วไปรูจกักันอยางกวางขวางเรื่อยมา อยางไรก็ตาม แมวาลักษณะทั่วไปของตลาดในชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 จะมีความเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป แตวิถีชีวิตของชาวตลาดสามชุกยังคงมีการสืบเนื่องจากชวงกอนหนาเปนอยางมาก ซ่ึงวิถีชีวิตและความเปนอยูของผูคนในตลาดในชวงหลังทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 มีทิศทางที่นาสนใจ ดงันี้

28 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 79: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

65

3.3 วิถีชีวิตของชาวตลาดในยุคเติบโต สําหรับวิถีชีวติของชาวตลาดสามชุกในยคุเติบโต ถึงแมวาจะเริ่มมีหลายสิ่งหลายอยางเริ่มมี

การเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป แตสภาพวิถีชีวติของชาวบานในตลาดสวนใหญยังคงมีการสืบเนื่องจากในชวงกอนทศวรรษ 2460 โดยเฉพาะในดานความสัมพนัธของผูคนในตลาด และดานความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ ซ่ึงมีความสอดคลองตามคําบอกเลาของคนในสมัยนั้น ดังนี้

3.3.1 ความสัมพันธของผูคนในตลาด ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลาดสามชุกยังคงเปนตลาดที่มีผูคนหลากหลายกลุมชาติ

พันธุเขามาปฏิสัมพันธและเขามาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก เนื่องจากตลาดสามชุกเปนหนึ่งในตลาดประจําทองถ่ินเพียงไมกี่แหงที่ชาวบานจําเปนตองเดินทางเขามาติดตอคาขายอยูเสมอ ดังนั้น จึงทําใหมีชาวบานหลากหลายกลุมชาติพันธุปรากฏอยูในตลาดแหงนี้มาโดยตลอด ตั้งแตทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 อยางเชน ชาวจีน ชาวกะเหรี่ยง และชาวละวา เปนตน สวนกลุมเชื้อชาติลาวท่ีเคยเดนิทางเขามาติดตอคาขายและเขามาตั้งรกรากภายในชุมชนในชวงกอนเกดิตลาด สันนิษฐานไดวา ชาวลาวถูกกลืนเปนคนไทยแลวโดยสมบูรณ เพราะไมปรากฏขอมูลของการอยูอาศัยในลุมน้ําทาจีนอยางชดัเจน และทีสํ่าคัญคนไทยและคนลาวแบงแยกกันไดยากเพราะมภีาษาและวัฒนธรรมคลายคลึงกันมาก ดังนั้น หากกลาวถึงคนไทยที่อาศัยอยูในตลาดสามชุกตั้งแตทศวรรษ 2460 เปนตนมา จึงหมายรวมถึงคนลาวไปโดยปริยาย 29

อยางไรก็ตาม แมวากลุมชาติพันธุตาง ๆ จะปรากฏอยูในตลาดสามชุกอยูเปนจํานวนมากก็ตาม แตการเขามาตั้งถ่ินฐานและการเขามาอยูอาศัยภายในตลาด จะจํากัดเฉพาะกลุมคนไทย คนจนี และคนไทยเชือ้สายจีนเทานัน้ เนื่องจากกลุมคนในบางกลุมชาติพันธุ อยางเชน ชาวกะเหรีย่ง และชาวละวา ยังคงตองการรักษาความเปนกลุมชาติพันธุของตนเอาไวเชนเดิมและไมคุนเคยกับการใชชีวิตอยูในตลาด จงึไดมกีารอพยพโยกยายเขาไปตั้งถ่ินฐานอยูในพื้นทีท่ี่หางไกลชุมชนหรือถอยรนเขาสูเขตปากันเกือบหมดตัง้แตมีการกอสรางตัวตลาดขึน้มาอยางถาวร เพื่อไมใหวฒันธรรมของตนตองถูกกลืนไป แตในขณะเดียวกันชาวปาเหลานี้กย็ังคงมีการเดินทางเขามาติดตอคาขายกับชาวบานในตลาดอยูเสมอ เพื่อนําสินคาจากปาเขามาขายและเขามาซื้อหาแลกเปลี่ยนสินคาที่จาํเปนจากตลาดกลับไปใชสอยเชนกนั ดวยเหตนุี้ จึงทาํใหกลุมคนที่เขามาตั้งรกรากและอยูอาศัยในตลาดในกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น มีอยูดวยกนัเพยีง 3 กลุม คือ กลุมคนไทย กลุมคนไทยเชื้อสายจีน และกลุม

29 ตวน ลีเซิง และ คนอื่น ๆ, บทบาทของชาวไทยเชื้อสายจีนตอการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคตะวนัตก:ศึกษากรณจีังหวดันครปฐม, 40.

Page 80: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

66

คนจีน เปนตน โดยกลุมคนที่อาศัยอยูเปนจํานวนมากในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปนกลุมคนไทย ในขณะทีก่ลุมคนจนีและกลุมคนไทยเชื้อสายจนียังคงมีไมมากนัก เพราะยังคงอาศัยอยูรอบตลาดเปนสวนใหญ สําหรับความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังคงมีลักษณะของการเกื้อกูลกันอยูคอนขางสูง ถึงแมวาในขณะนั้นจะเริ่มมีคนจีนและคนไทยเชื้อสายจีนอพยพเขาสูตลาดสามชุกแลวก็ตาม แตความสัมพนัธระหวางผูคนในตลาดกับผูคนที่เขามาอยูอาศัยใหมกเ็ปนไปโดยราบรื่น โดยที่ไมมีการกระทบกระทัง่ระหวางกลุมชาติพันธุแตอยางใด เพราะตลาดสามชุกเปนตลาดที่รักความสงบ ดังนั้น ความเกื้อกูลและความเอื้ออาทรของชาวบานในตลาดจึงมีใหแกกันอยูเสมอและพรอมที่จะเผื่อแผไปยังผูคนทีอ่พยพมาอยูใหมตลอดเวลา อยางเชน หากชาวจีนอพยพคนใด ตองการหาที่พักและตองการหางานทํา ก็จะใหที่พักอาศัยและใหงานทํา, หากบานไหนเกีย่วขาว กจ็ะชวยเหลือกันลงแขกเกีย่วขาว, หากบานไหนมงีานบุญ ก็จะชวยเหลือกันโดยการเอาแรงในงานบุญตาง ๆ , หากบานไหนขัดสนเรื่องการกินการอยูและเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ ก็จะมีการแบงปนขาวของและใหหยิบยืมเงนิแกกนั ฯลฯ ดวยเหตนุี้ จึงทําใหตลาดสามชกุในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีแตความสงบสุขมาโดยตลอด จนทําใหปญหาโจรผูราย ปญหาอาชญากรรม และปญหาการทะเลาะเบาะแวงอยางรนุแรง ฯลฯ แทบจะไมปรากฏขึน้กับตลาดแหงนี้เลยทีเดยีว สวนความสัมพันธระหวางตลาดสามชุกกบัชุมชนอื่น ๆ นอกเหนือจาการติดตอคาขายแลวนั้น การถอยทถีอยอาศัยและการรวมแรงรวมใจกันระหวางชุมชน ยังถือเปนอีกสิ่งหนึ่งที่ชาวบานในตลาดสามชุกกบัชุมชนอื่น ๆ ยังคงมีใหแกกันมาโดยตลอด โดยการรวมแรงรวมใจกนัระหวางตลาดสามชุกกับชุมชนอ่ืน ๆ นัน้ สวนใหญจะเปนการเดนิทางเขามาชวยงานกันตามวาระและโอกาสที่จดัขึน้ในตลาดหรือในทองถ่ิน อยางเชน งานแตงงาน งานบวชนาค งานศพ งานศาลเจาพอหลักเมือง งานทอดกฐนิ งานทอดผาปา งานฉลองอุโบสถ ฯลฯ ซ่ึงชาวบานจะเกณฑคนในชุมชนหรือไมกจ็ะนําส่ิงของที่หาไดในทองถ่ินบรรทุกใสเกวยีนและเรือเขาไปชวยงานอยูเสมอ แตในขณะเดยีวกนัหากชุมชนใดที่ตั้งอยูไกลมากจนไมสามารถเดินทางเขาไปชวยงานไดสะดวก ชาวบานก็สงตัวแทนเพื่อนําเงินทีไ่ดจากการเรี่ยไรภายในชุมชนหรือส่ิงของที่จําเปนตอการจัดงานเขาไปชวยเหลือแทน โดยส่ิงของที่ชาวบานมักนิยมนํามาชวยงานในขณะนั้นจะมีทั้ง ขาวสาร มะพราว กลวย ออย หมู เปด ไก เปนตน ดังนั้น ความสัมพันธระหวางตลาดสามชุกกับชุมชนอืน่ ๆ ในชวงกอนสงครามโลกคร้ังที่ 2 จึงเปนไปในลักษณะของการพึ่งพาอาศัยและการถอยทีถอยอาศัยคอนขางสูงตลอดมา สําหรับความสัมพันธระหวางผูคนในชุมชนกับรัฐ สวนใหญเปนความสัมพันธในลักษณะของผูเชาที่ดินกับเจาของที่ดนิ โดยชาวบานในตลาดมฐีานะเปนผูเชา สวนทางภาครัฐมีฐานะเปน

Page 81: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

67

เจาของที่ดิน เนื่องจากในชวงหลังป พ.ศ.2441 เปนตนมา ทางภาครัฐไดกําหนดวา บริเวณซอย 1 และซอย 2 ของตลาดสามชุก เปนที่ราชพสัดุ เพราะบริเวณดังกลาวเปนพื้นที่สวนหนึ่งของที่วาการอําเภอ ดังนัน้ การที่ชาวบานจะเขามาอยูอาศัยหรือเขามาสรางบานเรือนในบริเวณดังกลาว จึงจําเปนตองเสียคาเชาตามอัตราที่ทางภาครัฐกําหนดตามกฎหมายตลอดมา ซ่ึงในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ทางภาครัฐไดกาํหนดอัตราในการเชาที่ดินในอัตรา 2 ตอป ดวยเหตุนี้ จึงทําใหความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกบัรัฐในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนไปในลักษณะของผูเชาและเจาของที่ดินมาโดยตลอด 30 สวนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกเหนือจากการที่ทางภาครัฐไดเขามาควบคุมดูแลในดานการคาแลวนั้น ทางภาครัฐยังไดมกีารอํานวยความสะดวกตาง ๆ และมีการตรวจตราความสงบเรียบรอยภายในตลาดและทองถ่ินอีกดวย โดยเฉพาะในการใชเครื่องบินและเฮลิคอปเตอรบินสํารวจและลาดตระเวนไปมาในบริเวณตลาดและทองถ่ินในชวงสงคราม และการประกาศใหราษฎรดับไฟหรือหามจุดไฟในยามค่ําคืนเพือ่ไมใหกลายเปนจุดยุทธศาสตร เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกจึงรอดพนจากภาวะสงครามและไมไดรับผลกระทบตอภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 แตอยางใด 31 3.3.2 ความเชือ่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมตาง ๆ

ตลาดสามชุกเปนตลาดที่มีความเชื่อและมคีวามศรัทธาตอศาลเจาพอหลักเมืองประจาํชุมชนเปนอยางมาก เพราะศาลเจาพอหลักเมืองเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยูคูชุมชนมาตั้งแตอดตีและถูกสรางขึ้นโดยบรรพบุรุษ ดวยเหตุนี้ จึงทําใหชาวบานที่อาศัยอยูในตลาดมีความเชื่อและมีความศรัทธาตอศาลเจาพอหลักเมอืงประจําชุมชนมาโดยตลอด โดยความเชือ่ความศรัทธาที่มีตอศาลเจาพอหลักเมืองนั้น ไดปรากฏขึ้นครั้งแรกในสมยัที่ตลาดสามชุกยังเปนชุมชนสามชุกเดิม โดยเกิดจากชาวบานในชุมชนที่ไดรวมแรงรวมใจกันสรางศาลเจาพอหลักเมืองประจําชุมชนขึ้นในป พ.ศ.2370 ซ่ึงสรางขึ้นจากไม

30 สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณวิบูลย จึงเจริญสุขยิ่ง, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

31 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณนิ่ม จําปานิล, ชาวบานตําบลวังยาง อําเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

Page 82: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

68

ชัยพฤกษทั้งหลังตามแบบอยางของสถาปตยกรรมไทยสมัยกอน เพื่อใหชาวบานในทองถ่ินและตางถ่ินไดเขามาเคารพกราบไหวเมื่อเดินทางเขามาคาขาย ดวยเหตนุี้ จึงทําใหศาลเจาพอหลักเมืองกลายเปนสิ่งศกัดิ์สิทธิ์ที่อยูคูชุมชนตั้งแตนัน้เปนตนมา อยางไรก็ตาม แมวาในชวงป พ.ศ.2439 ชุมชนสามชุกเดิมจะไดมีการโยกยายไปสูบานสามเพ็งก็ตาม แตชาวบานในชุมชนก็ไดชวยกันทําพธีิยายศาลเจาพอหลักเมืองประจําชุมชนตามมาดวย ดังนั้น จึงแสดงใหเห็นวาชาวบานยังคงมีความรกัความผูกพันตอศาลเจาพอหลักเมืองหลังนีเ้สมอมา สวนการทําพิธียายศาลเจาพอหลักเมืองหลักเกามาตั้งยังพื้นทีแ่หงใหมในขณะนั้น สันนิษฐานวาเปนการเคลื่อนยายในลักษณะทีไ่มตองมีการรื้อถอนศาลเจาพอหลักเมืองหลังเกาออกแตอยางใด เพราะในขณะนัน้ พบวา ภายหลังจากการทําพิธีสรางศาลเจาพอหลักเมืองมาสรางขึ้นใหมที่บานสามเพ็ง ศาลเจาพอหลักเมืองหลังเกาที่บานสามชุกยังคงปรากฏอยูเชนเดิมและยงัมิไดถูกร้ือถอน ดังนั้น ลักษณะของการยายศาลเจาพอหลักเมืองตามธรรมเนียมโบราณ จึงเปนการสรางศาลเจาพอหลักเมืองขึ้นใหมในชุมชนที่มีการโยกยาย หลังจากนั้นจึงอัญเชิญเถาธูปจากศาลเจาพอหลักเมืองหลังเกามาใสกระถางใหมและประกอบพธีิกรรมตาง ๆ ตามธรรมเนียม จึงถือเปนอนัเสร็จสิ้นพิธี โดยที่ไมตองมีการรื้อศาลเกาออก

อยางไรก็ตาม ความเชื่อความศรัทธาเกี่ยวกับศาลเจาพอหลักเมืองภายในชุมชนแหงนี้ยังคงมีอยูอยางตอเนื่องและยังคงฝงรากลึกในชมุชนอยูเสมอ โดยเฉพาะในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากชาวบานไดมีการสรางศาลเจาพอหลักเมืองหลังใหมขึ้นในป พ.ศ.2467 ภายหลังการกอสรางตัวตลาดสามชุกขึ้นมาอยางเปนกจิจะลักษณะ โดยมีช่ือวา “ศาลเจาพอหลักเมืองสามชุก” หรือ “เจี๊ยปงเถากง” แมวาการสรางศาลเจาพอหลักเมืองในครัง้นี้จะมวีัฒนธรรมและประเพณีบางอยางเปลี่ยนแปลงไปบางก็ตาม เนื่องจากไดมีการผสมผสานวัฒนธรรมจีนเขาไปในการกอสรางและการประกอบพิธีกรรม แตความรักความศรัทธาของชาวบานในชุมชนที่มีตอศาลเจาพอหลักเมืองก็ไมไดลดนอยถอยลงไปเลย และที่สําคัญการกอสรางศาลเจาพอหลักเมืองในครัง้นี้ ยังไดเพิ่มแรงศรัทธาและสรางความสัมพันธระหวางชาวไทยและชาวจีนใหแนนแฟนยิ่งขึ้นอกีดวย เนื่องจากศาลเจาพอหลักเมืองหลังนี้เปนเสมือนส่ิงศักดิ์สิทธิ์ของคนทั้งสองวัฒนธรรม ดังนั้น จึงทําใหชาวจนีและชาวไทยทีอ่าศัยอยูในทองถ่ินและละแวกใกลเคยีง พากันเดนิทางเขามาเคารพสักการะกนัอยางไมขาดสายมาโดยตลอด จนทําใหบริเวณทาน้ําดานหนาศาลเจาแนนขนัดไปดวยผูคนจํานวนมากเลยทีเดยีว

สวนในดานขนบธรรมเนียมประเพณ ี และพิธีกรรมตาง ๆ ทั้งคนไทย คนจีน และคนไทยเชื้อสายจีน ตางยังคงยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีของตนอยูสม่ําเสมอ ทั้งการทาํบุญ ตักบาตร ฟงเทศน ฟงธรรม ถือศีลกินเจ ไหวเจา การแตงงาน การบวชนาค การฝงศพ เปนตน ถึงแมวาในชวงเวลาดังกลาววฒันธรรมบางอยางจะไดเกิดการผสมผสานและเกิดการยอมรับระหวางกลุมชาติพันธุ

Page 83: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

69

บางแลวก็ตาม โดยเฉพาะการยอมรับวัฒนธรรมจีน อยางเชน การสรางศาลเจาพอหลักเมืองขึ้นใหมโดยนําวัฒนธรรมจีนเขามาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย, การแตงงานระหวางคนไทยกับคนจีน โดยมีประเพณจีีนเปนหลัก, คนไทยบางกลุมยอมรับวัฒนธรรมสูบฝน, คนไทยบางคนหันมากนิเจและไหวเจา ฯลฯ ซ่ึงในขณะเดยีวกันก็พบวามีชาวจีนบางกลุมเริ่มมีการยอมรับวัฒนธรรมไทยเชนกัน อยางเชน การไหวพระสวดมนต, การตักบาตร, การเขาวัดฟงเทศนฟงธรรม, การประกอบพิธีกรรมในการเผาศพแทนการฝง, การบวชนาค, การโกนจุก ฯลฯ โดยทั้งสองวัฒนธรรมสามารถยอมรับและผสมผสานวัฒนธรรมของกันและกันไดอยางกลมกลืนโดยที่ไมเกิดความแตกแยกหรือแตกตางขึ้นในชุมชนแตอยางใด 32

ภาพที่ 28 (ดานซาย) ศาลเจาพอหลักเมืองสามชุก หรือ “เจี๊ยปงเถากง” และ (ดานขวา) “ปะรํา” สําหรับไหวเจา ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที ่

จากที่กลาวมาขางตน เปนรายละเอียดเกีย่วกับตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ซ่ึงกลาวโดยสรุปไดวา ภายหลังการกอสรางตัวตลาดขึ้นมาอยางถาวรในชวงทศวรรษ 2460 ตลาดสามชุกไดกลายเปนตลาดที่เริ่มมีการขยายตัวทางการคาและกายภาพขึ้นมาอยางมั่นคง ซ่ึงการขยายตวัของตลาดในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ไดเกดิขึ้นจากปจจัยเกื้อหนนุหลายประการ

32 ปรีชา ทวีสุข, ความคิดเหน็ของคนตลาดสามชุก (ม.ป.ท., ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา).

Page 84: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

70

ไดแก การมีทาํเลที่ตั้งที่เหมาะตอการคาขาย การตั้งอยูใกลศูนยกลางของทางราชการ และการอพยพของคนจีน เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีขนาดใหญโตและมีผูคนรูจักกันอยางกวางขวางตั้งแตนั้นเปนตนมา อยางไรก็ตาม แมวาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 การผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงินตราจะไดเขามามีบทบาทตอตลาดสามชุกแลวก็ตาม แตการผลิตจากภายนอกก็ไมไดแยกอออกจากสังคมพึ่งพาอาศัยอยางชัดเจนนัก อีกทั้งสภาพวิถีชีวิตของชาวตลาดยังมีการสบืเนื่องจากในชวงกอนหนา ดังนั้น ลักษณะของตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเปนไปในลักษณะของการผสมผสานระหวางการเปนสังคมดั้งเดิมที่มีการพึง่พาอาศัยกนัอยูคอนขางสูง ควบคูไปกบัการผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงินตราที่มีความพรอมในการเติบโตและขยายตัว จนทําใหตลาดสามชุกเริ่มมีการเติบโตทางกายภาพและการคาขึ้นอยางมั่นคง และมีการขยายตวัขึ้นอยางรวดเร็วในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ดังจะศึกษาในรายละเอียดตอไป

Page 85: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 4

ตลาดสามชุกยคุรุงเรือง : หลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 - ทศวรรษ 2520 จากการเติบโตของตลาดสามชุกในชวงหลังทศวรรษ 2460 เปนตนมา สงผลใหตลาดสามชุกกลายเริ่มกลายเปนยานการคาที่มีผูคนรูจักกนัอยางกวางขวาง ในฐานะตลาดประจําอําเภอที่อุดมไปดวยสินคามากมายหลากหลายชนิด ทั้งสินคาที่สามารถหาไดในทองถ่ิน สินคานําเขาจากกรุงเทพฯและสินคาจากตางถิ่น ฯลฯ ที่นับวันตลาดแหงนี้ยิ่งมแีตการขยายตัวและทวีความรุงเรืองเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ซ่ึงความรุงเรืองที่เกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาวนัน้ สืบเนื่องมาจากปจจยัเกื้อหนุนหลายประการ ไดแก การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน การคมนาคมสมัยใหม และการเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกไมเพียงแตเปนที่รูจกัเฉพาะภายในลุมน้ําทาจีนเทานัน้ แตตลาดสามชุกยังมีช่ือเสียงโดงดงัไปไกลยังตางลุมน้าํอีกดวย ดังนั้น เนื้อหาในบทนี้จึงเปนการศึกษาเกี่ยวกับความรุงเรืองของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนสาํคัญ เนื่องจากในชวงเวลาดงักลาวนั้น ไดเกิดความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ขึ้นกับตลาดสามชุกอยางมากมาย ทั้งการขยายตวัของตลาด การขยายตวัของสวนราชการและกจิการเอกชน และการขยายตวัของการคาขาย โดยเนื้อหาในบทนี้ไดแบงการศึกษาออกเปน 3 ประเด็น คอื ปจจัยทีก่อใหเกิดการรุงเรือง ลักษณะของตลาดสามชุกในยุครุงเรือง และวิถีชีวติของชาวตลาดในชวงทีต่ลาดเกิดการขยายตวั ซ่ึงมีรายละเอียดตางๆ ดังนี้ 4.1 ปจจัยท่ีกอใหเกิดการรุงเรือง แมวาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เศรษฐกิจการคาภายในประเทศจะไดรับผลกระทบเปนอันมากจากภาวะเงนิเฟอในระดบัสูง จนทําใหรายไดที่แทจริงของประชากรลดลงไปเปนอยางมาก โดยเฉพาะชาวนาที่ผลิตขาวเพื่อการสงออก เนื่องจากทางภาครัฐไดพยายามรักษาระดับราคาสินคาในเมืองเพื่อไมใหคาครองชีพถีบตัวสูงขึ้นดวยการทาํใหราคาขาวต่าํลง หามสงออกขาวในชวงสงคราม และเก็บภาษีขาวสงออกขาวในระดับสูงในระยะหลังสงคราม 1 แตอยางไรก็ตาม ภาพรวม

1 พอพันธ อุยยานนท, เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคกลาง (กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน,

2546), 51-52.

71

Page 86: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

72

ของเศรษฐกิจการคาภายในลุมน้ําทาจีนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะการคาขาว กลับไมไดรับผลกระทบจากภาวะดังกลาวมากนกั เพราะเศรษฐกิจการคาภายในลุมน้ําทาจีนคอนขางมีเอกเทศและมีเสถียรภาพสูง เนื่องจากตั้งอยูหางไกลจากเมืองหลวงมาก และที่สําคัญการคาขาวในบริเวณลุมน้ําทาจีนยังคงสามารถปอนเขาสูโรงสีประจําทองถ่ินได ดงันั้น ตลาดทีท่ําการคาขาวในบริเวณลุมน้ําทาจีนจึงยังคงสามารถทําการคาไดตามปรกติ และยังคงมีแนวโนมที่จะขยายตัวมาโดยตลอดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ซ่ึงแนวโนมในการขยายตวัของตลาดหลายแหงในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น นอกเหนือจากการคาขาวเปนหลักแลว ตลาดหลายแหงยังไดมีการนําสินคาหลากหลายชนิดเขามาขายภายในตลาดกนัเปนจํานวนมากอีกดวย โดยเฉพาะสินคาอันเปนที่ขึ้นชื่อของตลาดและสนิคาชั้นนําจากตางถ่ิน ซ่ึงสินคาเหลานี้มักเปนที่ดึงดูดและเปนที่ตองการของผูคนที่เดินทางเขามาติดตอคาขายเปนอยางมาก จนทําใหผูคนจากทั่วสารทิศพากันหล่ังไหลเขามาติดตอคาขายมาโดยตลอด ดวยเหตุนี้ จงึทําใหตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา จงึมักพบเหน็ตลาดหลายแหงในบริเวณลุมน้าํทาจีนเกดิการขยายตวัขึ้นอยางรวดเร็ว อยางเชน ตลาดสามชุก ตลาดเกาหอง ตลาดบางลี่ ตลาดศรีประจันต เปนตน จากสภาพทีก่ลาวมาขางตน ลวนสงผลใหตลาดสามชุกเกิดการขยายตัวขึ้นมาอยางรวดเร็วในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดวยเชนกัน ซ่ึงการขยายตัวของตลาดในชวงเวลาดังกลาวนัน้ ไดเกิดขึ้นจากปจจัยเกื้อหนนุ 3 ประการ ไดแก การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน การคมนาคมสมัยใหม และการเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ซ่ึงสอดคลองกับคําบอกเลาของคนในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนี ้ 4.1.1 การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน จากการอพยพของชาวจีนละลอกใหมในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ไดสงผลใหตลาดสามชกุเกิดการขยายตัวขึ้นอยางมากมาย เนื่องจากชาวจนีอพยพละลอกใหมเหลานี้ไดเขามามีบทบาทตอการคาขายภายในตลาด ทั้งในฐานะผูผลิต ผูคาผูขาย ผูบริโภค ผูขยายเครือขายทางการคาเพิ่มมากขึ้น โดยชาวจีนที่มกีารอพยพเขาสูตลาดสามชุกละลอกใหมในชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 นั้น มีอยูดวยกนั 3 กลุม 2 ไดแก

2 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณเจหมิ่น แซเหล่ียง, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 1 มกราคม 2551.

Page 87: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

73

กลุมแรก ชาวจีนทีเ่คยทํางานในโรงสีขาว สําหรับชาวจีนกลุมนี้จะเปนกลุมที่เคยทํางานอยูในโรงสีขาวมากอน ตอมาเมื่อมีการสะสมทุนรอนจนสามารถตั้งตัวได ประกอบกบัมีชองทางในการทํามาหากินในตลาด จึงไดเขามาอยูอาศยัในตลาดและทํามาคาขายเรื่อยมา โดยชาวจีนกลุมนี้มกัเติบโตมาจากการเปนหลงจูหรือผูจัดการโรงสี ชางเครื่อง และกุลี 3 เปนตน กลุมที่สอง ชาวจีนทีเ่คยอาศยักันอยูบนเรือและทําการคาอยูบนเรือมากอน โดยชาวจีนกลุมนี้เมื่อสามารถกอรางสรางตัวไดจากการคาขายบนเรือ จึงจะเขามาตั้งรกรากและเปดรานคาขายในตลาด อยางเชน ครอบครัวของคุณปราณี สุวรรณกิจ เปนตน ซ่ึงคุณปราณีไดเลาใหฟงวา ทั้งบิดาและมารดาของคุณปราณีเปนชาวจนีทั้งคู ไดเขามาทํามาหากนิอยูในเมืองไทยโดยการรับซื้อขาวเปลือกสงโรงสีขาวมาตั้งแตคุณปราณยีังไมเกดิ โดยการลองเรือรับซื้อขาวเปลือกขาวสารตามชุมชนการคาตาง ๆ ขึ้นเหนอืลองใตไปทั่ว จนกระทั่งมาลงหลักปกฐานอยางถาวรไดที่ตลาดสามชุกในขณะที่คุณปราณีอายุได 10 กวาขวบ หลังจากนัน้ทางครอบครัวจึงคอย ๆ สะสมทุนรอนทีละเล็กทีละนอยจากการคาขาวอยูบนเรือ และในที่สุดในป พ.ศ.2519 ก็สามารถยายครอบครัวเขามาเปดรานคาอยูในตลาดสามชุกได โดยครอบครัวของคุณปราณีไดเขามาเชาหองในซอย 5 แลวเปดรานขายขาวสาร เตา กระถาง เกลือ ฯลฯ ทีม่ีช่ือวา “รานชิ้งจิรารุวัฒน” เร่ือยมาจนปจจุบัน นอกจากนี ้คุณปราณียงัเลาใหฟงอีกวา ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การคาขายคอนขางจะคลองตัว จึงทําใหมีชาวจีนหลายรายที่เคยคาขายอยูบนเรือเชนเดยีวกับครอบครัวของตน ตางทยอยเขามาอาศัยอยูในตลาดกนัเปนจํานวนมาก ซ่ึงมีทั้งเขามาในชวงกอนทศวรรษ 2510 และในเขามาในชวงเวลาเดียวกัน จนทาํใหอาคารรานคาที่เปดใหเชาในบริเวณซอย 5 และซอยตาง ๆ ถูกจับจองจนเกือบหมด ภายในตลาดจงึมีชาวจีนหนาใหม ๆ อยูหลายครอบครัว ที่เริ่มเขามามีบทบาททางการคาตั้งแตนั้นเปนตนมา 4 กลุมที่สาม ชาวจีนที่มกีารอพยพโยกยายเขามาจากตางถ่ิน โดยกลุมนี้มอียูดวยกนั 4 ประเภท ไดแก ประเภทแรก เขามาจากการแตงงาน ซ่ึงชาวจีนกลุมนีม้ีทั้งชาวจีนจากตางถ่ินที่เขามาแตงงานกับชาวบานในตลาดสามชุก และคูสามีภรรยาชาวจีนทีเ่พิ่งแตงงานแลวเขามาสรางครอบครัวในตลาดสามชุก อยางเชน นายเต็กเหม็ง แซจงั และนางหงึง่หงษ แซเอี๊ยะ คูสามีภรรยาชาวจีน เจาของรานศิลปธรรมชาติ ที่อพยพเขามาตั้งรกรากในตลาดสามชุกในป พ.ศ.2493 ภายหลัง

3 ธีระ แกวประจันทร, “สภาพเศรษฐกจิมณฑลนครชัยศรี พ.ศ.2438-2475” (วิทยานพินธ

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ, 2534), 142-143. 4 สัมภาษณ คณุปราณี สุวรรณวัฒนกิจ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดั

สุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

Page 88: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

74

การแตงงานในป พ.ศ.2492 ฯลฯ ประเภทท่ี 2 เขามาจากการแสวงหาที่ทํากินแหงใหม ซ่ึงชาวจีนกลุมนี้เปนชาวจีนที่มีหลักแหลงในการทํามาหากินอยูแลวในชวงกอนหนา แตอาจจะเปนเพราะการทํามาคาขายในแหลงเดิมเกดิความไมคลองตัว ประกอบกับในขณะนัน้มีการบอกเลาตอ ๆ กันวาตลาดสามชุกเปนแหลงที่มีการทํามาคาขายดี จึงทําใหชาวจีนกลุมนีพ้ากันอพยพโยกยายเขามายงัตลาดสามชุกเรื่อยมา อยางเชน นายเสี่ยง แซเตีย และนางมาปอจู แซอ๊ึง สองสามีภรรยาชาวจนีแตจิ๋ว ที่อพยพมาจากบานแพน คลองเจาเจ็ด พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปดรานขายยาที่มีช่ือวา “ฮกอันโอสถสถาน” และนายเต็กเซ็ง เจริญจามีกร ที่อพยพมาจากบานแพน จังหวดัพระนครศรอียุธยา ในป พ.ศ.2522 เพื่อเปดรานทําเคียวทีม่ีช่ือวา “ราน ซ. เจริญ” 5 ฯลฯ ประเภทท่ี 3 เขามาจากการหนีโจรผูรายในทองถ่ินอื่น เนื่องจากในขณะนั้นอํานาจของกฎหมายยังคงไมสามารถคุมครองชาวบานในรอดพนจากโจรผูรายไดในทุกพืน้ที่ จึงทําใหมีชาวจีนทีพ่อมีฐานะบางคน เร่ิมหวั่นเกรงทรัพยสินและชีวิตของตนจะเกดิความสูญเสียเพราะปญหาโจรผูรายในทองถ่ิน จึงไดมีการอพยพโยกยายเขาสูตลาดสามชุกเพื่อความอยูรอดตั้งแตนัน้เปนตนมา อยางเชน นายสุข สองสงวนวงษ (ฮิ้น แซเลา) เจาของรานขายยาสมุนไพรจนีและไทย “ฮกงวนตึ๊ง” ชาวจีนจากอําเภอเดิมบางนางบวช ซ่ึงไดอพยพเขาสูตลาดสามชุกในป พ.ศ.2490 เพราะกลัวจะถูกโจรจับตัวไปเรียกคาไถ ในชวงที่เปดรานขายยาอยูที่อําเภอเดิมบางนางบวช 6 ฯลฯ และประเภทท่ี 4 เขามาจากการหนีภัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อาคารบานเรือนที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จะเปนจุดทีไ่ดรับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยตรง เนื่องจากเปนจุดยุทธศาสตร จนทําใหไมสามารถอยูอาศัยและทํามาหากินไดตามปรกติ ดวยเหตนุี้ จึงทําใหมชีาวจีนหลายรายที่อาศัยอยูในบริเวณดังกลาวพากนัอพยพโยกยายหนีภยัสงครามเขามาอยูอาศัยในตลาดสามชุกตั้งแตนั้นเปนตนมา อยางเชน ครอบครัวของเจหมิ่น แซเหล่ียง เปนตน ซ่ึงเจหมิ่นไดเลาใหฟงวา ในสมยัสงครามโลกคร้ังที่ 2 นั้น มีชาวจีนพากนัอพยพเขาสูตลาดสามชุกกนัเปนจํานวนมาก ทั้งหนีโจรผูราย แตงงาน หาแหลงทํากนิใหม และก็มีชาวจีนจํานวนไมนอยที่เขามาจากการหนีภยัสงครามเชนเดยีวกบัครอบครัวของตน เพราะในขณะนั้นเครือ่งบินทิ้งระเบดิจนบานเรือนเกิดไฟรกุไหมเสียหายจนไมสามารถอยูอาศัยได ดวยเหตุนี้ ทั้งบิดามารดาของตนจึงพาครอบครัวอพยพจากบางลาํพูเขามาอาศัย

5 คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก, สืบสานงานศิลป ถ่ินสามชุก (ม.ป.ท., ม.ป.ป.), 35. 6 เร่ืองเดียวกัน, 34.

Page 89: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

75

อยูในตลาดสามชุก พรอม ๆ กับชาวจนีอีกหลายครอบครัว ในขณะที่ตนมีอายุไดเพียง 4 ขวบ หลังจากนัน้จึงไดเปดรานขายทองอยูในซอย 4 โดยมีช่ือวา “เหล่ียงมีล้ี” เร่ือยมา 7 สําหรับการอพยพของชาวจนีละลอกใหมในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ลวนมบีทบาททําใหการคาขายภายในตลาดสามชุกเกิดการขยายตวัเปนอยางมาก เนือ่งจากชาวจีนเปนกลุมคนทีม่ีความชํานาญทางการคา มีความอดทน และมีชองทางในการทํามาหากินที่กวางขวางมากอนที่จะมีการอพยพเขาสูตลาดสามชุก เพราะตองอพยพโยกยายไปทํามาหากนิตามทองถ่ินตาง ๆ จนกวาจะลงหลักปกฐานได จึงทาํใหชาวจีนอพยพมีความเชี่ยวชาญและมีเครือขายทางการคาคอนขางมาก จนกระทั่งเมื่อมีการอพยพโยกยายเขามายังตลาดสามชกุ เครือขายทางการคาของชาวจีนอพยพเหลานี้กย็ังคงมีอยู และยังคงมีการติดตอคาขายระหวางกนัเรื่อยมา ถึงแมวาจะไดมกีารโยกยายเขามาตั้งรกรากอยูในตลาดสามชุกแลวก็ตาม ดังนั้น ในการอพยพของชาวจีนเขาสูตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา จึงเทากับเปนการนําพาเครือขายทางการคาเขาสูตลาดสามชุกเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงมากจนทําใหเครือขายทางการคาของตลาดสามชุกมีไปไกลยังตางลุมน้ํา โดยเฉพาะตามจังหวัดตาง ๆ ในบริเวณลุมน้าํเจาพระยาและลุมน้ําแมกลอง อยางเชน กรุงเทพฯ พระนครศรีอยธุยา นครปฐม นครสวรรค และราชบุรี เปนตน อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากชาวจีนอพยพละลอกใหมที่เขามามีบทบาทตอการคาขายในตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แลวนัน้ ยังพบวามีชาวจีนอพยพในชวงกอนหนา ที่สามารถกาวขึ้นมาเปนเจาของตลาดและเจาของซอย ยงัไดเขามีบทบาทตอตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกดวย อยางเชน เถาแกเบีย้ว แซเจง็ เจาของอาคารซอย 1 และหองแถวริมน้ํา, เถาแกหยุ แซเฮง (ขุนจํานงจีนารักษ) เจาของอาคารซอย 2 และพื้นทีริ่มน้ําหนาศาลเจา และเถาแกเนี้ยม แซโคว เจาของพืน้ที่ซอย 3,4 และพื้นที่ริมน้ําบางสวน เปนตน โดยสวนใหญไดเขามามีบทบาทในฐานะผูควบคุมดแูลกิจการรานคาในอาณาเขตของตน ทั้งการเปดพื้นทีใ่หบรรดาพอคาแมคาทั้งหลายเชาที่เพื่อทําการคาขาย การสนับสนุนและสงเสริมการคาขายสินคาทั้งในอําเภอและตางอําเภอ รวมไปถึงการกอสรางอาคารรานคาเพิ่มเติมเพือ่รองรับการขยายตวัทางการคา ฯลฯ จนทําใหตลาดสามชุกเกิดการขยายตวัขึ้นอยางตอเนื่อง ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา จนถึงทศวรรษ 2520 ดังนั้น การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน จึงถือเปนปจจยัที่เกื้อหนนุสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเกิดความรุงเรืองในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา

7 สัมภาษณ คณุเจหมิ่น แซเหล่ียง, ชาวบานในตลาดสามชกุ อําเภอสามชกุ จังหวัด

สุพรรณบุรี, 1 มกราคม 2551.

Page 90: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

76

เพราะชาวจีนอพยพละลอกใหมและชาวจนีอพยพในชวงกอนหนา ไมเพียงทาํใหตลาดสามชุกมีเครือขายทางการคาภายในลุมน้ําทาจีนเทานั้น แตยังทําใหตลาดสามชุกมีเครือขายโยงใยไปตามจังหวดัตาง ๆ ในลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้าํแมกลองอีกดวย อยางเชน พระนครศรีอยธุยา นครปฐม นครสวรรค ราชบุรี และกรุงเทพฯ เปนตน 4.1.2 การคมนาคมสมัยใหม

สําหรับการคมนาคมสมัยใหมที่เกิดขึ้นอยางแพรหลายในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ เปนผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาแหลงน้ําของกรมทดน้ําหรือกรมชลประทานในบริเวณลุมน้ําทาจีนที่มีมาตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โดยโครงการตาง ๆ ที่สงผลใหการคมนาคมทางน้ําภายในลุมน้าํทาจีนเกดิการขยายตวัเพิ่มขึน้นั้น มีอยูดวยกันหลายโครงการ ไดแก โครงการกอสรางประตูระบายน้ําโพธ์ิพระยา ตําบลโพธิ์พระยา อําเภอเมืองฯ จังหวดัสุพรรณบุรี ที่สรางขึ้นในป พ.ศ.2464 แลวเสร็จในป พ.ศ.2509 ซ่ึงเปนโครงการชลประทานแหงแรกของแมน้ําสุพรรณบุรี, โครงการกอสรางประตูระบายน้ําชลมารคพิจารณและประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ สรางขึ้นในป พ.ศ.2478 และโครงการประตูระบายน้ําพระยาบรรลือ และโครงการประตูระบายน้าํเจาเจ็ด - บางยี่หน ในป พ.ศ.2482 เปนตน 8 แตโครงการกอสรางประตูระบายน้ําชลมารคพิจารณและประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ ที่สรางขึ้นในป พ.ศ.2478 ถือเปนหนึ่งในหลายโครงการที่มีความสําคัญตอการคมนาคมทางน้ําและการเกษตรกรรมของชาวบานในบริเวณลุมน้าํทาจีนมากเปนพิเศษ เพราะโครงการดังกลาวเกดิขึ้นจากการวางโครงการชลประทานแมน้ําสุพรรณบุรีทั้งลําน้ํา ของนายเซอรธอมัส วอรด ที่เสนอไวเมื่อป พ.ศ.2478 เพื่อชวยเหลือชาวบานในทองถ่ินในเรื่องของการชลประทาน การระบายน้ํา การปองกนัน้ําทวม การเก็บกักน้ํา การจัดรูปที่ดิน และการคมนาคมทางน้ํา ฯลฯ 9 ดังนั้น โครงการดังกลาวจึงสงผลใหการคมนาคมทางน้ําและการผลิตพชืผลทางการเกษตรภายในลุมน้ําทาจีนเกดิการขยายตัวควบคูกันมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา

8 “เร่ืองประกาศใชพระราชบญัญัติรักษาคลองและเก็บคาธรรมเนียมเรือผานประตูน้ํา,” 16-22 มกราคม พ.ศ.2468, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.2/3, หอจดหมายเหตแุหงชาติ., “เร่ืองประกาศใชพระราชบัญญัติรักษาคลองและกฎเสนาบดีเร่ืองเก็บคาธรรมเนียมเรือผานประตูน้ํา,” 16-22 มกราคม พ.ศ.2468, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.2/4, หอจดหมายแหงชาติ.

9 สัมภาษณ คุณทเวช บุญลือ, หัวหนาฝายชางกลโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549.

Page 91: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

77

ภาพที่ 29 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพรอมดวยสมเดจ็พระนางเจาพระบรมราชินีนาถ เสด็จทรง เปนประธานในพิธีเปดเขื่อนชลมารคพิจารณ เมื่อวนัที ่20 กันยายน พ.ศ.2498 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ภาพที่ 30 ประตูระบายน้ําชลมารคพิจารณ สรางขึ้นในป พ.ศ.2478 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 6 มกราคม 2550

Page 92: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

78

ภาพที ่31 ประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ สรางขึ้นในป พ.ศ.2478 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) ภายหลังการกอสรางประตูระบายน้าํชลมารคพิจารณและประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณเปนตนมา การคมนาคมทางน้ําภายในลุมน้าํทาจีนจึงเกิดการขยายตวัเพิม่ขึ้นอยางขีดสุด เพราะการเดินทางเขาออกลุมน้ําทาจีนสามารถกระทําไดโดยงายและสะดวกขึ้น ดังนั้น ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา บริเวณลาํน้ําทาจีนจึงคลาคล่ําไปดวยเรือนอยใหญอยางไมขาดสายมาโดยตลอด ซ่ึงมีทั้งเรือบรรทุกขาวเปลือก เรือบรรทุกทราย เรือโยง เรือเมล เรือแดง เรือบริษทัขนสงสุพรรณฯ เรือยนต เรือปอด ๆ เรือพาย เรือสําปน เรือกลไฟ ฯลฯ ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณมีรายไดจากการขายตั๋วเดินเรืออยูเปนจาํนวนมากตั้งแตนัน้เปนตนมา 10 จากการสอบถาม คุณพิชัย ไมหวาด คณะกรรมการตลาดสามชุกเชิงอนุรักษและอดีตชางฝมือสนามชั้น 2 ของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก ซ่ึงเคยทําหนาที่ขายตั๋วเดินเรือมากอน ทําใหทราบวารายไดที่ทางประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ หรือที่ชาวบานเรียกกันวา “อางเรือ” ไดรับในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในราว พ.ศ.2490 นั้น มีมากมายถึง 3,000 บาทตอวันเลย

10 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549.

Page 93: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

79

ทีเดียว เนื่องจากในขณะนั้นการเดินทางเขาออกประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณจะตองเสียเงินคาตัว๋เดินเรือหรือคาบํารุงทางน้ําชลประทานดวยกันทุกลํา โดยคิดตามน้ําหนักเรือ ในขณะที่ราคาตั๋วเดินเรือสมัยกอนมีราคาเพียง 4 บาท 6 บาท 8 บาท และ10 บาท จึงทําใหเฉล่ียแลววนั ๆ หนึ่ง จะตองมีเรือนอยใหญเดินทางผานเขาออกประตูเรือสัญจรแหงนีไ้มนอยกวาสามรอยลํา 11 ดังนั้น การเกิดประตูน้ําและประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณในบริเวณลุมน้ําทาจีน จึงถือเปนปจจัยสําคัญที่ทาํใหการคมนาคมทางน้ําในบริเวณลุมน้ําทาจนีเกิดการขยายตัวมาโดยตลอด จนทําใหตลาดหลายแหงที่ตั้งอยูในบริเวณลุมน้ําทาจีน โดยเฉพาะตลาดสามชุก เกดิการขยายตวัตามมาดวย ทั้งนี้เปนเพราะการเดินทางเขาออกลุมน้ําทาจีนโดยใชประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณในขณะนัน้ ยอมตองผานทาน้ําบริเวณดานหนาตลาดสามชุก ประกอบกับการเดนิทางเขาออกประตูเรือสัญจรชลมารคพิจารณ จะตองจอดรอเพื่อสลับผานประตูเรือสัญจร จึงทําใหตลาดสามชุกกลายเปนจดุหนึ่งในการพกัเรือที่ขึ้นลองในบริเวณลําน้ําทาจนีเรื่อยมา ดวยเหตนุี้ จึงทาํใหบริเวณทาน้ําดานหนาตลาดจึงมีแตความคึกคักเกดิขึ้น จนสงผลใหการคาขายและอาคารบานเรือนภายในตลาดเกิดการขยายตัวขึน้อยางรวดเร็วในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปจนถึงทศวรรษ 2520 12 อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากการพัฒนาแหลงน้ําของกรมชลประทานในบริเวณลุมน้าํทาจีนที่มีมาตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจนทําใหตลาดสามชุกเกดิการขยายตัวเพิ่มขึ้นแลวนัน้ การเติบโตของธุรกิจที่เกีย่วของกับการเดินเรือในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นตามการขยายตัวของการคมนาคมทางน้ําในชวงเวลาดังกลาว อยางเชน บริษัทเดินเรือขนสงสุพรรณฯ ฯลฯ ยังสงผลใหตลาดสามชกุยิ่งเกิดการเฟองฟูเพิ่มขึ้นอกีดวย ทั้งนี้เปนเพราะบริษทัเดินเรือขนสงสุพรรณฯ มีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหบริการรับสงลูกคาที่ตองการสัญจรไปมาภายในลุมน้ําทาจีนและบรกิารลูกคาที่ตองการใชลําน้ําทาจีนเปนเสนทางในการสัญจรไปมาระหวางลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้ําแมกลอง ฯลฯ ดังนั้น การเติบโตของบริษัทเดินเรือขนสงสุพรรณฯ จึงเอื้ออํานวยใหการคมนาคมทางน้ําในบริเวณลุมน้ําทาจนีเริ่มกลายเปนที่แพรหลายมาโดยตลอด อีกทั้งยังชวยใหการเดินทางจากชุมชนตาง ๆ มายังตลาดสามชุก และจากตลาดสามชุกไปยังชุมชนตาง ๆ สามารถกระทําไดโดยงายและสะดวกขึ้น เนื่องจากมีเรือโดยสารไวคอยบริการรบัสงลูกคาและสัมภาระอยูเปนประจําทั้งไปและกลับ ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนยานที่มีผูคนพลุกพลานและมีผูคนจากตางถิ่นเดินทางเขาออกอยางไมขาดสาย และในที่สุดตลาดสามชุกก็

11 สัมภาษณ คณุพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม

2549. 12 ชุมพล อักพันธานนท, สามชุกตลาดรอยป (นครปฐม: สํานักพิมพไปทาํไม, 2550).

Page 94: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

80

สามารถขยายเครือขายทางการคาออกไปไกลทั้งในลุมน้าํทาจีนและตางลุมน้ําไดอยางมากมายตั้งแตนั้นเปนตนมา 13

ภาพที่ 32 ตัว๋เดินเรือ หรือใบรับคาบํารุงทางน้ําชลประทาน ราคา 4 บาท 6 บาท 8 บาท และ 10 บาท ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คุณสิริโฉม แจงประจกัษ พนกังานธรุการชั้น 3 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก), 28 ธันวาคม 2549

13 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

Page 95: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

81

ภาพที่ 33 (ภาพซาย) บริษัทขนสงสุพรรณฯ , (ภาพขวา) เรือโดยสารขนสงสุพรรณฯ แบบสองชั้น ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) 4.1.3 การเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่เร่ิมมีการเตบิโตขึ้นในละแวกใกลเคยีงกับตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมานั้น มีอยูดวยกนั 2 ประเภท ไดแก โรงสีขาวและโรงงานน้ําตาล โดยโรงสีขาวจะ มีอยูดวยกัน 3 โรง ไดแก โรงสีบน โรงสีกลาง และโรงสีลาง ซ่ึงทั้งหมดถูกสรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500 เปนโรงสีขาวที่มีขนาดใหญ ตั้งอยูในยานชุมชน และมีความทันสมัยกวาโรงสีขาวในสมัยเดียวกัน สวนโรงงานน้ําตาล จะมีอยูดวยกัน 1 แหง กอตั้งขึ้นในป พ.ศ.2499 ที่บานบางขวาก ตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี ซ่ึงเปนโรงงานผลิตน้ําตาลทรายขาวพิเศษแหงแรกของภาคตะวันตก และเปนโรงงานที่มีขนาดใหญเปนอันดับ 5 ของเอเชีย 14

14 ชุมพล อักพันธานนท. สามชุกตลาดรอยป.

Page 96: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

82

ภาพที่ 34 โรงสีกลาง สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ภาพที่ 35 โรงงานน้ําตาลทรายแหงแรกของภาคตะวันตก สรางขึ้นในป พ.ศ.2499 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

. ท่ีวาการอําเภอสามชุก . แมน้ําทาจีน . ตลาดสามชุก

. โรงสีกลาง

Page 97: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

83

จากการเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม อยางเชน โรงสีขาวและโรงงานน้ําตาลแหงแรกของภาคตะวันตกในชวงทศวรรษ 2500 ไดสงผลใหตลาดสามชุกเกิดความรุงเรืองและเกิดการขยายตวัทางการคามากขึ้นเชนกัน ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากผลผลิตตาง ๆ ที่ปอนเขาสูโรงสีและโรงงานน้ําตาลในขณะนั้น ยังคงตองผานกระบวนการในการซื้อขายภายในตลาดสามชุกเปนหลัก จึงทําใหผูคนตางหลั่งไหลเขาสูตลาดสามชุกอยางไมขาดสายเรื่อยมา ไมวาจะเปนการเดนิทางเขามาซื้อขายโดยตรงระหวางพอคาแมคาที่ตลาด และการเขามาซื้อขายโดยการโอนเงินหรือการชําระเงินผานทางธนาคาร เปนตน เพราะการซื้อขายแตละครั้ง ยอมมีจํานวนเงินที่คอนขางมากและมหาศาล การใชเงินสดในทกุ ๆ คร้ังที่มีการซื้อขายกัน จึงทําใหการคาขายเกดิความไมสะดวกขึ้นได ประกอบกับในขณะนัน้ตลาดสามชุกเปนยานการคาที่มีธนาคารตั้งอยู บรรดาผูซ้ือผูขายหลายรายจําเปนตองพึ่งบริการจากธนาคารในตลาดเพื่อดําเนินธุรกรรมทางการเงินรวมกนั ซ่ึงการขอรับบริการทางการเงินจากธนาคารในขณะนั้น มมีากจนทําใหธนาคารหลายแหงเริ่มเขามาเปดทําการอยูหลายสาขาภายในตลาดแหงนี ้อยางเชน ธนาคารนครหลวง ธนาคารเอเชีย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ และธนาคารศรีนคร ฯลฯ 15 ซ่ึงทั้งหมดไดเติบโตขึน้ในชวงหลังป พ.ศ.2499 เปนตนมา ดังนั้น การเขามาของโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหงในชวงทศวรรษ 2500 จึงถือเปนปจจัยสําคัญที่ใหการคาขายภายในตลาดสามชุกเกิดความคึกคักและเกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก เนื่องจากโรงสขีาวในยานการคาสามชุกเปนโรงสีขาวที่มีขนาดใหญและตั้งอยูในยานชุมชน ชาวบานจึงสามารถซื้อขายและขนสงสินคากันไดสะดวกกวาโรงสีหลายแหงที่ตั้งหางไกลออกไป ประกอบกับในขณะนั้นโรงงานน้ําตาลที่เกิดขึ้นในละแวกใกลเคียงกบัตลาดสามชุกเปนโรงงานน้ําตาลทรายแหงแรกของภาคตะวันตกและเปนโรงงานที่มีขนาดใหญเปนอันดับ 5 ของเอเชีย โรงงานน้ําตาลแหงนี้จึงสามารถรับซื้อผลิตจากชาวไรในปริมาณมากได จึงทําใหชาวไรหลายรายที่อาศัยอยูตามภมูิภาคตาง ๆ ในแถบตะวนัตก เกิดแรงจูงใจในการเขามาติดตอคาขายผลผลิตกันเปนจํานวนมาก จนทําใหตลอดชวงหลังทศวรรษ 2500 เปนตนมา ตลาดสามชุกจึงเกดิการหล่ังไหลของผูคนเขาสูตลาดอยางตอเนื่อง ทั้งการเดินทางเขามาติดตอซ้ือขายวัตถุดิบที่ปอนเขาสูโรงสีและโรงงานน้ําตาล และการเขามาติดตอขอรับบริการทางดานการเงนิจากทางธนาคารภายในตลาด

15 สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28

กันยายน 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549.

Page 98: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

84

สามชุก ไมวาจะเปนการกูยมืเงิน การฝากถอน การโอนเงิน และการขึ้นเช็คกับทางธนาคาร เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกเกดิความรุงเรืองและเกิดการขยายตัวทางการคาอยางตอเนื่องตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา

จากที่กลาวมาขางตน ไมวาจะเปนการอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน การคมนาคมสมัยใหม และการเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม ลวนเปนปจจัยสําคัญที่ทาํใหตลาดสามชุกเกิดการขยายตวัทางกายภาพและการคาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งส้ิน ซ่ึงปจจัยตาง ๆ เหลานี้ ไดสงผลใหลักษณะของตลาดสามชุกในยุคเติบโต มีทิศทางที่นาสนใจ ดังนี ้ 4.2 ลักษณะของตลาดสามชกุในยุครุงเรือง สําหรับสภาพทั่วไปของทองถ่ินตาง ๆ โดยรอบบริเวณตลาดสามชกุในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นั้น ไดเกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางมากมาย ทั้งการขยายเนื้อในการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร การขยายตัวของการคมนาคมทางน้ํา การขยายตวัของการคา และการขยายตัวของอาคารบานเรือน โรงสี และโรงงานตาง ๆ บริเวณริมแมน้ําทาจีน เปนตน 16 ในขณะที่สภาพทั่วไปภายในตัวตลาดก็ไดเกิดการเปลีย่นแปลงขึ้นไปในทิศทางที่นาสนใจเชนกัน 4.2.1 การขยายตัวทางกายภาพ การขยายตวัทางกายภาพของตลาดสามชุกและละแวกใกลเคียงในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 จะมีอยูดวยกนัหลายดาน อยางเชน การขยายตัวของอาคารบานเรือน และการขยายตวัของสวนราชการ สถาบันสงฆ กิจการเอกชน เปนตน ซ่ึงการขยายตวัทางกายภาพในชวงเวลาดงักลาวนั้น ไดสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีขนาดใหญโตกวางขวาง เปนตลาดที่มช่ืีอเสียงโดงดังไปไกลกวาหลายอําเภอ และเปนตลาดที่เปนเสมือนศูนยรวมผูคน สินคา สวนราชการ แหลงบันเทิง และการคมนาคมทางน้ํา ฯลฯ ไดในที่สุด

16 สํานักงานพาณิชยจงัหวัดสพุรรณบุรี, ขอมูลการตลาดจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2523-2524

(สุพรรณบุรี:ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 27.

Page 99: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

85

ภาพที่ 36 ตลาดสามชุกในชวงทศวรรษ 2500 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) สําหรับการขยายตัวของอาคารบานเรือนภายในตลาดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 สวนใหญจะเปนการกอสรางอาคารบานเรือนขึ้นใหมและการตอเติมอาคารภายในตลาดใหมีพืน้ที่ใชงานมากขึน้เปนสําคัญ ซ่ึงการกอสรางอาคารบานเรือนขึ้นใหม จะเปนการกอสรางอาคารบานเรือนขึ้นใหมในบริเวณซอย 5 โดยมีนายเจริญ สถาปตานนทเปนเจาของ ในขณะที่การตอเติมอาคารบานเรือนใหมพีื้นที่ใชงานมากขึ้น จะเกดิขึ้นกับอาคารบานเรือนในบริเวณซอย 1 - 4 อยูตลอดเวลา ตั้งแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 เปนตนมา ดังนั้น อาณาเขตของตลาดสามชุกในชวงกอนทศวรรษ 2520 จึงมีอยูดวยกันทั้งส้ิน 5 ซอย คือ ซอย 1 ซอย 2 ซอย 3 ซอย 4 และซอย 5 สวนการขยายตัวของสวนราชการ สถาบันสงฆ และกจิการเอกชน ในชวงกอนทศวรรษ 2520 ก็ไดมีเพิม่ขึ้นอยางแพรหลายเชนกัน โดยสวนใหญไดมีการกอสรางขึ้นในชวงทศวรรษ 2490 เปนตนมา ไดแก วดัวิมลโภคาราม วัดประจําตลาดสามชุก ซ่ึงสรางขึ้นในป พ.ศ.2490, สํานักงานที่ดิน สถานีอนามัยสามชุก ธนาคารนครหลวง ธนาคารเอเชีย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารศรีนคร สรางขึ้นในชวงหลังทศวรรษ 2490 , โรงหนัง ซอย 4 และโรงหนัง ซอย 5 สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500, โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม โรงเรียนสหศึกษาแหงแรก

. ตลาดสามชุก

. ท่ีวาการอําเภอสามชุก

แมน้ําทาจีน

Page 100: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

86

ในอําเภอสามชุก เร่ิมทําการเรียนการสอนตั้งแตวนัที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2501, ทีท่ําการไปรษณียโทรเลขสามชุก และหองสมุดประชาชน สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2520 เปนตน 17

ภาพที่ 37 วดัวิมลโภคาราม วัดประจําตลาดสามชุก ซ่ึงสรางขึ้นในป พ.ศ.2490 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

17 สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28

กันยายน 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณนิตยา ศรีสมบูรณ, อาจารยโรงเรียนประทีปศึกษา อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 14 กุมภาพันธ 2550; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 15 กุมภาพันธ 2550.

Page 101: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

87

ภาพที่ 38 โรงหนังเกา ซอย 4 สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2500 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่

ภาพที่ 39 โรงเรียนสามชุกรตันโภคาราม เร่ิมทําการเรียนการสอนตั้งแตวนัที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

โรงหนังเกา ซอย 4 .

Page 102: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

88

ภาพที่ 40 ที่ทาํการไปรษณยีโทรเลขสามชุก สรางขึ้นประมาณทศวรรษ 2520 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากการขยายตัวของอาคารบานเรือน สวนราชการ สถาบันสงฆ และกิจการเอกชนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 แลวนัน้ บริเวณทาน้ําตรงหัวตลาด และรานคาตาง ๆ ภายในตลาดยังไดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอกีดวย ซ่ึงทาน้ําตรงหัวตลาดทีเ่คยใชในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น จะมีเพียง 3 ทา คือ ทาที่ 1 (ซอย 1), ทาที่ 2 (ซอย 2) และทาที่ 3 (ดานหนาศาลเจา) แตในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา กลับมีการขยายตวัเพิ่มขึน้ถึง 6 ทาดวยกัน โดยในแตละทาจะมีหนาที่แตกตางกันไป ดงันี้ ทาที่ 1 บริเวณซอย 1 เปนทาเรือแท็กซี่ ทาที่ 2 บริเวณซอย 2 เปนทาเรือสง ทานี้ผูขายสงสินคาไมวาจะเปนอุปโภคบริโภคจําพวกของโชหวยหรือสินคาที่จําเปนในชวีิตประจําวันทกุชนิดมักมาจอดทานี้ เพื่อจดัสงสินคาไปใหรานคาในตลาดหรือไปรับคาํส่ังซ้ือสินคาของรานคาในตลาด สวนใหญตองรอจอดคางคืนรอจนกวาจะคาขายเสร็จ กอนที่จะขึ้นไปขายตอยังตอนบนของแมน้ําทาจีน อยางเชน ตลาดประตูน้ํา ตลาดบานทงึ ตลาดนางบวช ตลาดทาชาง ตลาดหันคา หรือตลาดสามงาม-ทาสามโบสถ เปนตน ทาที่ 3 บริเวณตรงหนาศาลเจาพอหลักเมืองสามชุก เปนทาเรือสีแดงเลือดหมูของบริษัท สุพรรณฯ ขนสง จํากัด หรือทาเรือบริษัท ซ่ึงทานี้จะพิเศษกวาทุกทา เพราะจะมีโปะสําหรับขายตัว๋โดยสาร และสถานที่ขนถายสินคาคอนขางมั่นคงและแข็งแรง

Page 103: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

89

ทาที่ 4 บริเวณปลายสุดของซอยที่ 3 เปนทาเรือแดง ทาที่ 5 บริเวณปลายซอยที่ 4 เปนทาเรือรับจาง เชน เรือหางยาว เรือแทก็ซี่ อาจมีบางครั้งที่เปนเรือขนสงสินคาเขามาจอด ทาที่ 6 บริเวณบริเวณซอย 5 เปนทาถานของนายเจริญ หรือที่เรียกกนัวา “ทานายเจริญ” เปนทาที่ขนสงสินคาหนักหรือใชเวลาในการขนสงนาน เชน เกลือ เครื่องปนดินเผา โอง น้ําปลา มะพราว ถาน ขาว เปนตน (ดังภาพที่ 41) สวนรานคาตาง ๆ ภายในตลาดที่เกดิการขยายตวั สวนใหญจะเปนในลักษณะของการรวมกลุมเปนยานการคายอยข้ึน อยางเชน ยานไหนทําอะไรสวนใหญก็จะทําอยางนัน้ หรือไมยานไหนคาขายอะไรสวนใหญกจ็ะคาขายเชนนั้น เปนตน โดยในชวงเวลาดังกลาว พบวา มีรานคาหลายรานไดทําการคาขายในลักษณะเดียวกนัและตั้งอยูในละแวกเดียวกันหลายแหง ซ่ึงสามารถแบงประเภทรานคาและลักษณะรานคาในชวงเวลาดังกลาว ไดดังนี้ 18 ซอย 1 เปนยานการคาขายที่มีการผสมผสานหลากหลายปะปนกัน ไมวาจะเปนรานอาหาร รานขายเครื่องดื่ม รานขายของเลน ฯลฯ ทําใหถนนเสนนี้เปนพื้นที่การคาที่มีความพลุกพลานมากเปนพิเศษ ซอย 2 เปนพื้นทีก่ิจกรรมการคาที่ใหความรูสึกของการพักผอน อยางเชน รานทําผมสตรี โรงแรม ฯลฯ เพียงไมกี่ราน นอกนั้นเปนพืน้ที่พักอาศยัเปนสวนใหญ ซอย 3 เปนซอยที่มีรานคาประเภทเครื่องใชไฟฟา รานยาจีนโบราณ และรานทองรูปพรรณ เปนตน ซอย 4 เปนยานพาหุรัดหรือบางลําพขูองตลาดสามชุก ซ่ึงมีทั้งรานตัดเย็บเสื้อผา และรานผาสําเร็จรูป เปนตน ซอย 5 เปนการคาในรูปแบบเกี่ยวกับการเกษตรกรรม ตัง้แตเครื่องมือเครื่องใช จนถึงสินคาเกษตรแปรรูปตาง ๆ

18 กฤตยา เสริมสุข, สามชุก บานเรา (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา)

Page 104: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

. ทาที่

6 . ทา

ที่ 4

. ทาที่

5 . ทา

ที่ 1

. ทาที่

2 . ทา

ที่ 3

ภาพท

ี่ 41 บ

ริเวณท

าน้ําดานหน

าตลาดส

ามชุก

ที่ในอ

ดตีเคยม

ีถึง 6 ท

าดวยกัน

ที่ม

า : ภาพถ

ายจากก

ารสํารวจพ

ื้นที่, 17

มกราคม

2550

90

Page 105: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

91

ภาพที่ 42 รานทําผมสตรี ซอย 2 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2550

ภาพที่ 43 รานทองรูปพรรณ ซอย 3 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2550

Page 106: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

92

ภาพที่ 44 ยานพาหุรัด ซอย 4 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2550 ดังนั้น อาจกลาวไดวาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 ตลาดสามชุกจึงมีแตการขยายตวัเกดิขึ้นมาโดยตลอด โดยเฉพาะการขยายตวัทางกายภาพภายในตลาดและละแวกใกลเคียง ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีขนาดใหญโตกวางขวาง เปนตลาดที่มีช่ือเสียงโดงดังไปไกลกวาหลายอําเภอ และเปนตลาดที่เปนเสมือนศูนยรวมผูคน สินคา สวนราชการ แหลงบันเทิง และการคมนาคมทางน้ําเรื่อยมา เชนเดยีวกับในดานการคาที่มีการขยายตวัออกไปอยางมากมายเชนกัน 4.2.2 การขยายตัวทางการคา แมวาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปนชวงที่เพิ่งผานพนจากสงครามก็ตาม แตตลาดสามชุกก็ไมไดรับผลกระทบจากสภาวการณดังกลาวมากมายนกั เนื่องจากทางภาครัฐไดเขามามีบทบาทตอการคาขายภายในตลาดเพียงชวงระยะเวลาสั้น ๆ อยางเชน การกําหนดมาตรการในการใชคูปองแทนเงินสดในการซื้อขายสินคาภายในตลาดในชวงสงคราม และการควบคุมการซื้อขายสินคาบางรายการเปนพิเศษ อยางเชน น้ํามนักาด ไมขดีไฟ ขาวสาร เสื้อผา น้ําตาลปบ เปนตน 19 ซ่ึง

19 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 107: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

93

พอผานพนจากชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปไดไมนาน บรรยากาศของการคาขายภายในตลาดสามชุกก็ไดกลับมาสูสภาวการณปรกต ิ และมีแนวโนมที่จะขยายตวัเพิ่มมากขึ้นตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา สําหรับการขยายตัวทางการคาภายในตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นอกเหนือจากการขยายตัวของการคาขาวและออยเปนหลักแลวนั้น ตลาดสามชุกยงัเกิดการขยายตวัทางการคาในสินคาประเภทอื่น ๆ ตามมาดวย โดยเฉพาะสินคาอันเปนที่ขึ้นชื่อของตลาด และสินคาชั้นนําจากตางถ่ิน เนื่องจากในขณะนัน้สินคาอันเปนที่ขึ้นชื่อของตลาดและสินคาช้ันนําจากตางถิ่น มักเปนทีเ่ล่ืองลือและไดรับความนยิมจากผูคนทั่วไปอยางแพรหลาย เพราะเปนสินคาแปลกใหมประจําตลาด ดังนั้น จึงสามารถดึงดูดผูคนใหเขามาจับจายซ้ือขายสินคาไดเปนอยางมาก โดยสินคาอันเปนที่ขึ้นชื่อในตลาดในขณะนัน้ ไดแก อาหารและขนมไทยสูตรดั้งเดิม เครื่องดื่ม เครื่องมือทางการเกษตร พืชผลทางการเกษตร และเครื่องจักรสาน ฯลฯ สวนสินคาชัน้นําจากตางถ่ิน ไดแก เส้ือผา ขนม ของเลน เครื่องใชไฟฟา ทองคํา มันแกว แตงโม และของโชหวย เปนตน

ภาพที่ 45 อาหารและขนมไทยโบราณ ของขึ้นชื่อในตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2551

Page 108: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

94

ภาพที่ 46 ขนมและของเลนโบราณ ที่ไดรับความนิยมเปนอยางมากในชวงกอนทศวรรษ 2520 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2551 อยางไรก็ตาม ในการขยายตวัทางการคาของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นอกเหนือจากการนําสินคาอันเปนที่ขึ้นชื่อของตลาดและการนําสินคาชั้นนําจากตางถ่ินเขามาขายในตลาดแลวนัน้ การอพยพชาวจีนและการมีเซลลแมนจากตางถ่ินเขามาคาขายภายในตลาดยังมีสวนทําใหตลาดสามชุกเกิดการขยายตวัทางการคาเพิ่มมากขึ้นอีกดวย ทั้งนี้เปนเพราะชาวจีนอพยพและเซลลแมนจะเปนกลุมคนที่มีชองทางและมีเครือขายทางการคาคอนขางมาก ดังนัน้ จึงมักเปนกลุมทีม่ีบทบาทในการนําสินคาจากตลาดสามชุกออกไปคาและนําสินคาจากตางถ่ินเขามาขายมาโดยตลอดตั้งแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงทศวรรษ 2520 โดยสินคาที่ชาวจีนและเซลลแมนมักนําออกไปคาและนําเขามาขายนั้น ไดแก เสื้อผา น้ํามันกาด น้ํามันเบนซิน พืชผลทางการเกษตร เครื่องจักรสาน อาหาร ขนม ของเลน เครื่องใชไฟฟา และของโชหวย เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกเกดิการขยายตวัทางการคาขึ้นอยางรวดเร็ว และมีเครือขายทางการคาโยงใยไปทั่วลุมทาจนีและตางลุมน้ําอยางมากมายตั้งแตนั้นเปนตนมา โดยเฉพาะตามตลาดตาง ๆ ในจังหวดัสุพรรณบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สิงหบุรี อางทอง ชัยนาท เปนตน สวนความเคลือ่นไหวของราคาสินคาประเภทตาง ๆ ภายในตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มาแลวนั้น ไดมกีารปรับราคาขึ้นลงตามราคากลางของจังหวดัสุพรรณบุรีอยางตอเนื่อง ตามคาเงินบาททีเ่ปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงราคาสินคาที่ทําการซื้อขายกันในตลาดสามชุกสวนใหญ จะมีทิศทางในการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึน้ในทกุ ๆ ป โดยมีคณะกรรมการสวนจังหวัดสุพรรณบุรีเปนผูปรับราคา (ดังภาคผนวก ง) แตอยางไรก็ตาม ราคาสินคาที่มีการปรับราคาเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ป ก็

Page 109: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

95

ไมไดสงผลใหการคาขายภายในตลาดที่กําลังเกิดการขยายตัวไดรับผลกระทบเทาใดนัก เพราะชาวบานสวนใหญยังคงมีกําลังซ้ือ และที่สําคัญราคาสินคาที่มีการปรับเพิ่มขึ้นมีราคาไมสูงมากจนเกนิไป ดังนั้น รานคาหลายรานจึงยังคงมีรายไดและมกีําไรจากการคาขายอยูตามปรกติ อยางเชน รานขายทองในซอย 3 ที่ขายทองไดวันละเปนหมื่น ๆ บาท ในขณะที่ราคาทองในขณะนัน้มีราคาบาทละ 360 บาท 20 เปนตน ดังนั้น อาจกลาวไดวาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ตลาดสามชุกไดเกดิความเปลี่ยนแปลงและเกิดการขยายตัวทางกายภาพและการคาขึ้นอยางมากมาย ซ่ึงการขยายตวัทางกายภาพและการคาในชวงเวลาดังกลาว ไมเพียงแตจะทําใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีขนาดใหญโตกวางขวางและอดุมไปดวยสินคาหลากหลายชนิดเทานั้น เพราะตลาดสามชุกยังกลายเปนตลาดที่มีช่ือเสียงโดงดังไปไกลกวาหลายอาํเภอและหลายจังหวัดอกีดวย ดวยเหตุนี ้ จึงทาํใหวิถีชีวิตและความเปนอยูของชาวบานในตลาดมีทศิทางที่ดีขึ้นมาโดยตลอดตั้งแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 โดยวิถีชีวติและความเปนอยูของชาวบานในชวงที่ตลาดเกดิการขยายตวั มีความเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่นาสนใจ ดังนี ้ 4.3 ความเปลี่ยนแปลงของวถิีชีวิตของชาวตลาดสามชุกในยุครุงเรือง สําหรับวิถีชีวติของชาวบานในตลาดสามชกุในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นั้น สวนใหญลวนมวีิถีชีวิตและความเปนอยูที่ดีขึน้กวาเดิมเปนอยางมาก โดยเฉพาะคนจีนและคนไทยเชือ้สายจีนที่อพยพเขามาตั้งรกรากอยูในตลาด เนื่องจากในขณะนัน้การคาขายเกิดการขยายตวั จึงทําใหคนจีนและคนไทยเชื้อสายจีนจํานวนมากมีโอกาสทางการคาเพิ่มขึน้และสามารถกอรางสรางตัวจนเปนเจาของกิจการไดอยางคนไทย ในขณะทีพ่อคาแมคาคนไทยหลายรายกลับเริ่มหางหายจากการคาขายและลดบทบาททางการคาลงในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา เนื่องจากเล็งเห็นวาความเชีย่วชาญและความชํานาญในการคาขายเริ่มไมคลองตัวเทากับคนจีนและคนไทยเชื้อสายจีน และที่สําคัญในชวงป พ.ศ.2499 โรงงานน้ําตาลแหงแรกของตะวนัตกไดเกิดขึ้นในละแวกใกลเคียงกับตลาดสามชุก จึงทําใหพอคาแมคาคนไทยหันไปทําไรออยกันอยางแพรหลาย

20 สัมภาษณ คณุพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพฒันาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสพุรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุมาลย จีนารักษ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

Page 110: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

96

เพราะรายไดดกีวา ดวยเหตุนี้ จึงทําใหชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยูในตลาดเริ่มมีวถีิชีวิตและความเปนอยูที่ดีขึน้มาโดยตลอด และกลายเปนคนกลุมใหมที่เริ่มมีบทบาททางการคาแทนที่คนไทยตั้งแตนั้นเปนตนมา 21 สวนวิถีชีวิตและความเปนอยูของชาวตลาดโดยทัว่ไป ถึงแมวาไดมีการเปลี่ยนกลุมผูคาจากกลุมคนไทยมาเปนกลุมคนจนีและคนไทยเชื้อสายจีนเปนสวนใหญ แตลักษณะของการคาขายทั่วไปกย็ังคงดาํเนินไปตามปรกติ โดยในขณะนั้นยังคงพบเห็นพอคาแมคาคนไทยและคนจนีตางสาละวนกับการทํามาคาขายของตนอยูเสมอ จนทําใหมแีตเสียงดังเซ็งแซดวยสําเนียงสุพรรณฯ จนี ไทย อยูเต็มไปหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณทาน้ําดานหนาตลาดทัง้ 6 ทา ที่มักจะมีความคึกคกัอยูตลอดเวลาและมักจะคลาคล่ําไปดวยผูคนมากกวาบริเวณใด ๆ ในชวงเวลาเดยีวกัน เนื่องจากเปนจุดคาขาย และเปนจุดขนถายสินคาและผูคน อยางเชน บริเวณทาน้าํหนาศาลเจาหรือทาเรือบริษัทฯ เปนตน ซ่ึงทานี้เปนทาหลักที่ความเจริญจากกรุงเทพฯ จะมาถึง โดยเฉพาะเวลาประมาณสิบเอ็ดโมงคร่ึงไมเกินบายโมงของทุกวนั เรือสองชั้นสีแดงเลือดหมทูี่เรียกกนัวา “เรือบริษัทฯ” จะออกจากทาเตียนรอนแรมมาถึงตลาดสามชุก จึงทําใหเห็นผูโดยสารทั้งที่เปนชาวสามชุก กรุงเทพฯ และที่มาจากที่อ่ืน ๆ ตางเดินกนัขวกัไขวและหอบขาวของพะรุงพะรังอยูเต็มทาน้ําเสมอ ในขณะที่สินคาใหม ๆ ที่เพิ่งออกวางตลาดในกรุงเทพฯ ก็จะถูกนํามากับเรอืบริษัทดังกลาวดวยเชนกัน อยางเชน ผัก ผลไม ดอกไมจากทาเตยีน เฟอรนิเจอร แปง ขาวสาร น้ําตาล ของทะเล เครื่องสูบน้ํา เมล็ดพันธุพชื วัสดุกอสราง หนังสือ แบบเรียน และอ่ืน ๆ อีกจิปาถะ ไมเวนแมแตของเด็กเลนอยางฉลากจับเบอรและขนมเด็ก เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหทาน้ําดานหนาศาลเจากลายเปนจดุหนึง่ที่มีความคึกคักมาโดยตลอด โดยเฉพาะในชวงเวลาที่เรือบริษัทฯ เขามาเทียบทาในทุก ๆ คร้ัง 22

21 สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุมาลย จีนารักษ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณชูหงษ แซแต, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คณุสายบวั พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 15 กุมภาพันธ 2550.

22 กฤตยา เสริมสุข, สามชุก ลมหายใจแหงอดีต (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา)

Page 111: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

97

ภาพที่ 47 บริเวณทาเรือแดงในอดีต ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) นอกจากนี้ การที่ชาวบานในตลาดสามชุกเริ่มมีฐานะและมีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้นในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ยังสงผลใหชาวบานสามารถจับจายใชสอยสินคาฟุมเฟอยตาง ๆ ไดอยางมากมายอีกดวย อยางเชน เสื้อผา เครื่องใชไฟฟา ทองคํา เปนตน และในขณะเดยีวกนัก็สามารถสรรหาความบันเทิงจากโรงหนัง โรงเหลา โรงยาฝน ที่ตั้งอยูในตลาดไดตลอดเวลาเชนกนั โดยเฉพาะโรงหนัง ซ่ึงชาวบานจะใหความสนใจมากเปนพิเศษ เพราะเปนสิ่งแปลกใหมประจําตลาด เนื่องจากในสมัยนั้นหากบานไหนที่ยังไมมีโทรทัศนดูและยังไมมีวิทยใุช สวนใหญก็จะหาความสําราญจากการดูหนังในตลาดแทน และที่สําคัญหนังแตละเรื่องที่นํามาฉายในโรงนั้น มักเปนเร่ืองที่กําลังไดรับความนิยมและรวมสมัย อยางเชน เร่ืองหงสเหิร จฬุาตรีคูณ อินทรีแดง เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงมีผูคนเฝารอดูและเฝาติดตามกันเปนจํานวนมาก จนทําใหการคาขายภายในตลาดเกิดความคึกคักตามมาในที่สุด 23

23 สัมภาษณ คุณจินดา พรหมโชติ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 15 กุมภาพันธ 2550; สัมภาษณ คุณเจหมิ่น แซเหล่ียง, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 1 มกราคม 2551.

Page 112: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

98

ภาพที่ 48 ตวัอยางหนังทีเ่คยนําเขามาฉายในตลาดสามชกุ ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 16 กุมภาพันธ 2551 สวนในดานความสัมพันธของผูคนในตลาดและในดานความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณ ีและพิธีกรรมตาง ๆ ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ถึงแมวาอาจจะมบีางสิ่งบางอยางเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงไปบางตามการขยายตัวของตลาดสามชุก แตนัน่ก็ไมไดทําใหความสัมพันธของผูคนในตลาดและเอกลกัษณของตลาดสามชุกถูกลบเลือนลงไป เพราะในชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 - ทศวรรษ 2520 ความสัมพนัธของผูคนในตลาดและเอกลักษณของตลาดสามชุกยังคงปรากฏอยูและยังคงสะทอนออกมาผานความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม และพิธีกรรมตาง ๆ อยูเสมอ ซ่ึงความสัมพันธของผูคนในตลาด และความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ ของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น มีเอกลักษณและความนาสนใจ ดงันี้ 4.3.1 ความสัมพันธของผูคนในตลาด สําหรับความสัมพันธของผูคนในตลาดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 มีอยูดวยกนั 3 ลักษณะ คือ ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาด ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกับทองถ่ินอื่น และความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกบัสวนกลาง เปนตน

ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาด สําหรับความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปน

Page 113: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

99

ตนมานั้น แมวาผูคนสวนใหญยังคงอยูรวมกันเหมือนพี่เหมือนนอง มอีะไรก็พึ่งพาอาศัยกัน มีความเกื้อกูล มีความรักใครปรองดอง และมีความรักความสามคัคี ฯลฯ แตความสัมพันธของผูคนก็ไดเร่ิมมีการแปรเปลี่ยนไปเปนความสัมพันธในเชิงธุรกิจมากขึน้ เนื่องจากผูคนในตลาดเริ่มมีหลากหลายกลุมหลากหลายประเภท และในขณะเดียวกนัเงนิตราก็เร่ิมเขามามีบทบาทตอความสัมพันธของผูคนในตลาด ดวยเหตนุี้ จึงทําใหความสนิทแนบแนนในลักษณะเชนเดิม จึงเริ่มกลายเปนความหางเหินเขามา ซ่ึงแตเดิมเคยมีทัง้การลดแลกแจกแถมและการแบงปน แตในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมานัน้ อาจเห็นภาพเหลานั้นลดนอยลงไป เพราะความสัมพนัธในลักษณะเดิมเริ่มกลายเปนความสัมพันธในลักษณะผูซ้ือผูขายขึ้นมาอยางชัดเจน

อยางไรก็ตาม แมวาความสัมพันธของผูคนในตลาดจะเริม่กลายเปนความสัมพันธ ในเชิงธุรกิจมากขึ้น แตความสัมพันธอันดีของผูคนในตลาดก็ยังคงมใีหแกกันอยูเสมอ ไมวาจะเปนคนไทย คนจนี หรือคนไทยเชื้อสายจนีกต็าม โดยบุคคลสําคัญทานหนึ่งที่คอยสรางความสัมพนัธอันดีใหเกดิขึ้นในตลาดนั้น ไดแก เถาแกหุย แซเฮง หรือ ขุนจํานงจนีารักษ (กรมการพิเศษจังหวัดสุพรรณบุรี นายอากรสุรา ) เนื่องจากทานเปนผูนําชมุชนในระดับทองถ่ินที่มีผูคนนับถือมากและเปนคนไทยเชือ้สายจีนที่มีมนุษยสัมพนัธสูง ดังนั้น ทานจึงสามารถดูแล ควบคุม ใหความชวยเหลือ และเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางคนไทยและคนจีนภายในตลาดมาโดยตลอด ซ่ึงคุณสุมาลย จนีารักษ บุตรสาวของขุนจํานงจีนารักษ ไดเลาถึงบิดาของตนใหฟงวา “บานชั้นสามของเตี่ยเปนศูนยกลางสําคญัของชุมชน ตอนกลางวันจะมีคนสูงอายมุานั่งคุยนอนคุยกันเสมอ เตี่ยเปนคนใจดมีีเมตตา ไมถือตัว เขากับคนไดทุกเพศทุกวยั ใครมเีร่ืองเดือดรอนก็จะมาปรกึษาเตี่ย เตีย่จะใหคําแนะนําที่ถูกตอง บางทกี็ใหเงินชวยเหลือ เตี่ยจึงเปนที่รักของผูคนในตลาดเปนอยางมาก” 24 ดังนั้น จึงเปนเครื่องยืนยนัไดอยางหนึ่งวาตลาดสามชุกยงัคงมีความสงบสุขได เพราะสวนหนึ่งเกิดจากขุนจํานงจนีารักษ ผูคอยประสานความสัมพันธของผูคนในตลาดใหเกิดขึน้อยูตลอดเวลานั่นเอง นอกจากนี้ คําบอกเลาของคุณสุมาลย จีนารักษ ที่กลาวถึงขุนจํานงจีนารักษ ยังไดสอดคลองกับคําบอกเลาของชาวบานในตลาดที่ไดเคยสัมผัส เคยใกลชิด และเคยไดรับความชวยเหลือเกื้อกูลจากทานขุนมากอนอีกหลายทาน ซ่ึงปรากฏอยูในหนังสือประจําพิพิธภัณฑขุนจํานงจีนารักษ เร่ือง “ความคิดเหน็ของคนตลาดสามชุกหนังสือ” ที่เรียบเรียงขึ้นโดยอาจารย ปรีชา ทวีสุข 25 ดังนี ้

24 สัมภาษณ คณุสุมาลย จีนารักษ, ชาวบานในตลาดสามชกุ อําเภอสามชกุ จังหวัด

สุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549. 25 ปรีชา ทวีสุข, ความคิดเหน็ของคนตลาดสามชุก (ม.ป.ท., ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา).

Page 114: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

100

ทานขุนเปนคนโอบออมอารี ชอบชวยเหลือคนยากคนจน มีเมตตา ใครมีเรื่องขัดแยงกันไปปรึกษาทาน ทานจะตัดสินอยางยุติธรรมเสมอ ทานเปนคนดีมีคนนับถือมาก จะไดรับเชิญใหเปนประธานในงานแตงงานเสมอ กอนจะเสียชีวิต ทานสั่งลูกหลายไมใหไลผูเชาบานเดิมใหเขาอยูตอไป หามเรียกแปะเจี๊ยะใหม ทานเปนคนดีสมกับตําแหนงทานขุน

(จินตนา สุธีสมิทธ)

ขุนจํานงเปนคนใจดี ชวยเหลอืคนที่เดือดรอน มีคนนับหนาถือตายกยองมาก คนจีนจะเรียกทานวา“ซาเลาเถาลอ” คือ อยูตําแหนงบานสามชั้น ทานเปนคนดีมีเมตตา เอื้อเฟอเผื่อแผใหท่ีพักพิงช่ัวคราวแกคนที่อพยพมาแลวยังไมมีท่ีอยู ท้ังคนไทยและคนจีน เปนคนรักความยุติธรรม ตรงไปตรงมา เปนผูทําใหพิธีตาง ๆ ตามประเพณีจีนของตลาดอยูเสมอ ทานเปนคนดีท่ีนายกยอง

(พิพัฒน โฆษิตวีรวัฒน)

ขุนจํานงเปนคนดีมาก โอบออมอารี ใครขอความชวยเหลอือะไรในทางที่ถูกที่ควรก็จะได ทุกคนยกใหเปน“ตั่วเถาลอ”(เถาแกใหญ) ของตลาด เปนคนกวางขวาง มีคนรูจักทุกอําเภอ ใครทะเลาะวิวาทกันจะตัดสินอยางยุติธรรม

(ธนา สุวรรณาสน)

ดังนั้น จึงแสดงใหเห็นวาความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดที่นอกเหนือไปจากความสัมพันธในเชิงธุรกิจแลวนั้น ผูคนสวนใหญยังอยูรวมกันเหมือนพี่เหมือนนอง มีอะไรก็พึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน มีความเกื้อกูลกัน มคีวามรักความสามัคคี หากบานไหนมปีญหาทุกขรอนก็สามารถมาปรึกษาหารือกนัได ไมวาจะเปนเรื่องเงินเรื่องทอง เร่ืองการงาน หรือแมแตกระทั่งเรื่องครอบครัว เปนตน โดยมีบคุคลสําคัญ อยางเชน ขุนจํานงจีนารักษ ฯลฯ เปนเสมือนผูนําชุมชนและเปนผูกระชับความสัมพันธของผูคนในตลาดใหคงอยูเสมอมา

Page 115: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

101

ภาพที่ 49 (ดานซาย) ขุนจํานงจีนารักษ หรือ เถาแกหุย แซเฮง, (ดานขวา) คณุสุมาลย จีนารักษ หรือ ซ้ิวล้ัง จีนารักษ บุตรสาวคนสุดทองของขุนจํานงจนีารักษ ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 26 ธันวาคม 2549 ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกับทองถ่ินอื่น สําหรับความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกับทองถ่ินอืน่ สวนใหญยังคงเปนไปในเรื่องของการคาขาย การรวมแรงรวมใจ และการใหความชวยเหลือเปนสําคัญ เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาวนัน้ ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดสามชุกกับทองถ่ินอื่นยังคงมีความใกลชิดกันอยู เพราะตางยังคงมีความผกูพันในดานการคาและความสัมพันธในระบบเครือญาติ ดวยเหตนุี้ จงึทําใหการรวมแรงรวมใจและการใหความชวยเหลือกันระหวางชุมชนจงึยังคงเกิดขึน้ไดโดยงาย อยางเชน การรวมแรงรวมใจในการกอสรางวัดวิมลโภคาราม วัดประจําตลาดสามชุก ขึน้ในป พ.ศ.2490 เปนตน ที่ชาวบานทัง้ในตลาดและชาวบานจากตางถ่ินตางใหความรวมมือรวมใจ จนทําใหการกอสรางแลวเสร็จโดยใชเวลาเพียงไมนาน อยางไรกต็าม แมวาในขณะนัน้ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดสามชุกกับทองถ่ินอื่น จะเริม่แปรเปลี่ยนไปเปนความสมัพันธในเชิงธุรกิจมากขึ้น แตความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกับทองถ่ินอื่นก็ยังคงมีความแนบแนนและยังคงมีการขยายตวั

Page 116: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

102

เพิ่มขึ้นโดยตลอด ทั้งนี้สังเกตไดจากการมีเครือขายทางการคาโยงใยไปทั่วลุมน้ําทาจีนและตางลุมน้ําอยางมากมายของตลาดสามชุก โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา 26 ความสัมพันธระหวางผูคนในตลาดกับสวนกลาง สําหรับความสัมพันธระหวางผูคนกับสวนกลาง สวนใหญจะเปนในเรื่องของการใหความชวยเหลือ การสงเสริมการคา การอํานวยความสะดวก และการพัฒนาตลาดเปนสําคัญ อยางเชน การจัดทําแพขึน้ทีท่าน้ําทั้ง 6 ทา โดยสุขาภิบาลสามชุก เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับชาวบานเมื่อเดนิทางเขามาตดิตอคาขายกับตลาดสามชุก, การตัดถนนเพื่อเขาสูตลาด โดยกรมทางหลวงและกรมเรงรัดพัฒนาชนบท (รพช.) เพื่อขยายเสนทางในการคมนาคมอีกหนึง่ชองทาง, การสรางสะพานพรประชา ในป พ.ศ.2508 โดยนายอําเภอสมพร กล่ินพงษา เพื่อใชขามไปมาระหวางสองฟากฝงแทนการใชเรือขามฟากในการเขามาติดตอคาขาย, การสนับสนุนและสงเสริมในมีการคาขายสินคาประจําทองถ่ินและสินคาขึ้นชื่อในตลาด ดวยการบอกเลาและการเชิญชวน เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกเกิดการขยายตัวควบคูกันมาโดยตลอด ทั้งในเรื่องของการคาขายและในเรื่องของการพัฒนาชุมชน เปนตน 27

26 สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณปราณี สุวรรณวัฒนกิจ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549.

27 สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549.

Page 117: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

103

ภาพที่ 50 สะพานพรประชา สรางขึ้นในป พ.ศ.2508 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) 4.3.2 ความเชือ่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมตาง ๆ เนื่องจากในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชุมชนตลาดสามชุกเริ่มมคีนจีนและคนไทยเชื้อสายจีนขาอยูอาศัยมากขึ้น ดงันั้น การดําเนินชีวิตตามความเชื่อ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี และตามพิธีกรรมตางๆ ของผูคนในตลาด จึงเริ่มไดรับการผสมผสานจากวัฒนธรรมจนีเขาสูชุมชนมากขึ้น แมวาในขณะนั้นทั้งคนไทยและคนจีนตางยังคงยึดถือและปฏิบัติตามจารีตประเพณีของตนอยางเครงครัด แตเมื่อทั้งสองวัฒนธรรมไดเกิดการอยูรวมกันมาเปนเวลานาน ยอมทําใหวฒันธรรมตาง ๆ เร่ิมมีการดูดกลืนไปไดเชนกนั โดยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมจีนที่ไดรับการผสมผสานทางวัฒนธรรมขึ้นแลวในขณะนัน้ ไดแก วัฒนธรรมการแตงงาน วัฒนธรรมการแตงกาย และวัฒนธรรมการกิน เปนตน

Page 118: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

104

ภาพที่ 51 การแตงงานของชาวไทยเชื้อสายจีนในตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) สําหรับความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมตาง ๆ ที่คนจีนสวนใหญยังคงมีการยึดถือและยังคงมีการปฏิบัติตามอยางเครงครัด ไดแก การถือศีลกินเจ การไหวเจา การฝงศพ และการกราบไหวบรรพบุรุษ เปนตน เนื่องจากคนจีนที่อาศัยอยูในตลาดสวนใหญยังคงนยิมเดินทางไปประกอบพิธีกรรมตามความเชือ่ ตามประเพณีวัฒนธรรมกันที่โรงเจพังมวง อําเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี และวดักํามะเชียร อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อยูเสมอ เพราะสถานที่ทั้งสองแหงตั้งอยูไมไกลจากตลาดสามชุกมากนกั จึงสะดวกตอการดินทางไปประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อดังกลาว ทําใหความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม และพิธีกรรมตาง ๆ ของคนจีนยังคงดํารงเสมอมา ในขณะที่คนไทยกย็ังคงรักษาขนบธรรมประเพณ ี และวัฒนธรรมอันดีงามของไทยไวไดดวยดีเชนกนั ทั้งการทําบุญตักบาตร การฟงเทศนฟงธรรม การไหวพระสวดมนต การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เปนตน เพราะคนไทยมีวดัประจําชุมชน อยางเชน วัดสามชุก และวดัวิมลโภคาราม เปนศูนยรวมจิตใจและเปนสถานที่ในการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ จึงทําใหประเพณีวัฒนธรรม และพิธีกรรมตาง ๆ ของคนไทยยังคงอยูคูคนไทยในตลาดสามชุกสืบมา

Page 119: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

105

ภาพที่ 52 โรงเจพังมวง อําเภอศรีประจันต จังหวดัสุพรรณบุรี (ซ่ึงเปนทั้งสถานที่ประกอบพิธีกรรม โรงเจ และสุสานบรรพชนของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดสามชุก) ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 6 มกราคม 2550

สวนในดานความเชื่อ ความศรัทธา และคานิยม ทั้งคนจนีและคนไทยตางยังคงมีความเชื่อและยังคงมีความศรัทธารวมกันเกีย่วกับศาลเจาพอหลักเมืองประจําชุมชนอยูเสมอ ในขณะที่คานิยมสวนตัวของคนไทยและคนจีนสวนใหญกไ็ดเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมยัเชนกนั โดยเฉพาะคานิยมในเรื่องของการศึกษาเลาเรียนของบุตรหลาน ซ่ึงในขณะนั้นทั้งคนไทยและคนจีนตางมีคานยิมตรงกันวาการศึกษาเปนสิ่งทีสํ่าคัญอยางหนึ่งของชีวิต เพราะการศึกษาเลาเรียนของบุตรหลานยอมนําพาความเจรญิมาสูบุตรหลานและมาสูครอบครัวของตนไดในภายภาคหนา ถึงแมวาจะยากดีมีจนแคไหนคนจีนและคนไทยหลายครอบครัวก็จะมุงมัน่และพยายามที่จะสงบุตรหลานของตนใหไดศึกษาเลาเรียนในโรงเรียนด ี ๆ เมื่อบุตรหลานของตนมีอายุถึงเกณฑ ไมวาจะเปนการศึกษาในโรงเรียนประจาํชุมชนในเขตอําเภอสามชุก อยางเชน โรงเรียนวดัสามชุก โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม โรงเรียนอนุบาลสมเด็จพระวันรัต โรงเรียนประทีปศึกษา ฯลฯ และการศึกษาในโรงเรียนประจําจังหวดั อยางเชน โรงเรียนสงวนหญิง โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย และโรงเรียนวิทยาศึกษา (ฉงกวงเซี้ยะเจี้ยว) ฯลฯ ไปจนถึงการนําพาบุตรหลานมานั่งเรียนภาษาจีนขั้นตนกันที่บานขุนจํานงจี

Page 120: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

106

นารักษ ในกรณีที่บุตรหลานยังเล็กมากหรือไมก็ตองการเรียนรูภาษาจีนเอาไวเชนเดียวกับบรรพบุรุษ 28 เปนตน

ภาพที่ 53 โรงเรียนประจําชมุชนในเขตอําเภอสามชุก ทีช่าวบานในตลาดมักนําบุตรหลานของตน เขาไปศึกษาเลาเรียน ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 14 กุมภาพันธ 2550

28 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยนิตยา ศรีสมบูรณ, อาจารยโรงเรียนประทีปศึกษา อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 14 กุมภาพันธ 2550.

โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม

โรงเรียนประทีปศึกษา โรงเรียนอนุบาลสมเด็จพระวันรัต

โรงเรียนวัดสามชุก

Page 121: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

107

ภาพที่ 54 โรงเรียนสงวนหญิง โรงเรียนสตรีประจําจังหวัดสุพรรณบุรี ที่มา : กรมศิลปากร, สุพรรณบุรีเมื่อวนัวาน (กรุงเทพฯ : รุงศิลปการพิมพ, 2545. จัดพิมพเปนที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ป หอจดหมายเหตุแหงชาติ), 34.

ภาพที่ 55 โรงเรียนวทิยาศกึษา (ฉงกวงเซีย้ะเจี้ยว) หรือโรงเรียนจีนประจําจังหวดัสุพรรณบุรี ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 14 กุมภาพันธ 2551

Page 122: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

108

จากที่กลาวมาขางตน เปนรายละเอียดเกีย่วกับตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 ซ่ึงในชวงเวลาดังกลาว ถือเปนชวงทีท่ําใหตลาดสามชุกเกิดขยายตัวและเกิดความรุงเรืองอยางขีดสุด เนื่องจากตลาดสามชุกไดเกดิการขยายตัวและเกิดความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ขึ้นอยางมากมาย โดยเฉพาะการขยายตวัทางกายภาพและการคา ไมวาจะเปนการขยายตวัของอาคารบานเรือนในซอย 5 การขยายตัวของสวนราชการและกจิการเอกชน การขยายตัวของการคาขาวและออย ฯลฯ ซ่ึงการขยายตวัทางกายภาพและการคาในชวงเวลาดงักลาวนั้นไดเกิดขึ้นจากปจจัยเกื้อหนนุหลายประการ ไดแก การอพยพของชาวจีนละลอกใหมและบทบาทของชาวจีน การคมนาคมสมัยใหม และการเขามาของโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีความมั่นคง มีช่ือเสียงโดงดังไปไกลยังตางลุมน้ํา และอุดมดวยสินคาหลากหลายชนิดเรื่อยมา สําหรับลักษณะของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นั้น แมวายังคงมีลักษณะของการเปนสังคมพึ่งพาอาศัยกนัอยูภายในชุมชน แตการพึ่งพาอาศัยก็ไดแยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางชดัเจน เนื่องจากบทบาทและหนาที่ของผูผลิตและผูคาเริ่มแบงแยกกนัอยางเดนชดั ในขณะที่การพึ่งพาอาศัยและความสมัพันธของผูคนในตลาดก็ไดเร่ิมแปรเปลี่ยนมาเปนความสัมพันธในเชิงธุรกิจมากขึ้น เนื่องจากเงินตราไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชวีิตของผูคนในตลาด ดังนั้น ลักษณะของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2เปนตนมา จึงเปนการพึ่งพาอาศัยที่แยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางชดัเจน โดยมีความสัมพันธเชิงธุรกิจเขามาแทนที่ความสมัพันธแบบผสมผสานในลักษณะดั้งเดิมเรือ่ยมา อยางไรก็ตาม แมวาตลาดสามชุกจะกลายเปนสังคมพึ่งพาอาศัย ที่แยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางเดนชดัและความสัมพันธของผูคนในตลาดจะเริ่มแปรเปลี่ยนไปสูความสัมพันธในเชิงธุรกิจมากขึ้น แตบรรยากาศในการคาขายและความเจริญรุงเรืองของตลาดสามชุกก็ยังคงมีอยูอยางตอเนื่องตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 จนสงผลใหทางภาครัฐเริ่มตระหนกัและเริ่มมีมาตรการในการพัฒนาตลาดสามชุกและทองถ่ินใกลเคียงตามมาอยางมากมาย เพื่อใหสอดคลองกับการขยายตัวของตลาดที่มีขึน้อยูทกุขณะ ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา ความเจริญตาง ๆ จึงเริ่มถาโถมเขาสูตลาดสามชุกอยางไมขาดสาย ทั้งการพฒันาสิ่งสาธารณูปโภคตาง ๆ และการพฒันาการคมนาคมทางบก เปนตน ซ่ึงมากจนทําใหตลาดสามชุกเริ่มเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอีกครั้งในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา

Page 123: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 5

ตลาดสามชุกยคุเสื่อมถอยและการปรับตัว : ประมาณ พ.ศ.2530 - ทศวรรษ 2540

จากการขยายตวัของชุมชนและการคาของตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา ไมเพียงแตทําใหตลาดสามชกุกลายเปนตลาดที่มีเครือขายการคาโยงใยไปทั่วลุมน้ําทาจีนและตางลุมน้ําอยางกวางขวางเทานัน้ แตตลาดสามชุกยังกลายเปนตลาดทีม่ีความเจริญรุงเรืองและมีความเพียบพรอมไปดวยสินคา แหลงบันเทิง แหลงบริการ สถานที่ราชการ และกจิการเอกชนอยางมากมายอีกดวย ดังนั้น ในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา ตลาดสามชุกจึงกลายเปนตลาดที่เปนทั้งศูนยกลางทางการคา สวนราชการ และการคมนาคมไปโดยปริยาย จนทําใหทางภาครัฐเริ่มมีมาตรการในการเรงรัดพัฒนาทองถ่ินในบริเวณตลาดสามชุกและละแวกใกลเคยีงขึ้นตามมาอยางจริงจัง เพื่อใหสอดคลองกับขยายตวัของการคาของตลาดในขณะนัน้เรื่อยมา

สําหรับการพัฒนาตลาดและทองถ่ินในชวงหลัง พ.ศ. 2530 เปนตนมานั้น ไดเกดิขึ้นจากหลายหนวยงานดวยกนั อยางเชน สุขาภบิาลสามชุก สํานักงานจังหวัดสุพรรณบุรี กรมทางหลวง ฯลฯ จนทําใหความเจริญตาง ๆ เร่ิมถาโถมเขาสูตลาดสามชุกและทองถ่ินอยางไมขาดสายมาโดยตลอด แตอยางไรก็ตาม ในการพัฒนาตลาดและทองถ่ินในชวงเวลาดังกลาว ไมเพยีงแตนําพาความเจริญตางๆ เขาสูตลาดและทองถ่ินเพียงเทานั้น เพราะในทางกลับกันการพัฒนาตลาดและทองถ่ินยังนํามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางดานการคาและทางกายภาพอีกดวย เนื่องจากการพัฒนาไดทาํใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทางการคาของตลาดสามชุกเริ่มลดนอยถอยลงไปจากเดิม และในที่สุดตลาดสามชุกที่เคยรุงเรืองอยางขีดสุดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็คอย ๆ ซบเซาลงอยางรวดเร็ว จนเกือบจะตองมีการรื้อถอนลงในชวงเวลาตอมา

จากสถานการณดังกลาวไดทําใหตลาดสามชุกเกิดการเสื่อมถอยลงอยางตอเนื่องในชวงหลัง พ.ศ.2530 จนทําใหผูคนในตลาดตองมีการปรับตัวเพื่อความอยูรอดกันอยางมากมายในหลายลักษณะ ซ่ึงเราสามารถทําความเขาใจตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 - ทศวรรษ 2540 เปนตนมา โดยการพจิารณาประเดน็ตาง ๆ เปนลําดับไป ดังนี ้

5.1 ปจจัยท่ีทําใหตลาดสามชกุเกิดการเสื่อมถอย สําหรับสภาพเศรษฐกิจการคาภายในลุมน้ําทาจีนในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา ยังคงมีการขยายตวัทางการคาเกิดขึน้อยางตอเนื่อง นับตั้งแตมกีารพัฒนาระบบชลประทาน การพัฒนาสิ่ง

109

Page 124: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

110

สาธารณูปโภคตาง ๆ และการพัฒนาการคมนาคมขนสงทางบกเปนตนมา ดังนั้น ชาวบานจึงยังคงสามารถทําการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรเพื่อการสงออกไดในปริมาณที่มากและหลากหลายชนิดเพิ่มขึ้นได อีกทั้งยังสามารถเพาะปลูกสลับสับเปลี่ยนหมนุเวียนกันไปไดตามฤดูกาล อยางเชน ถ่ัวลิสง มันสําปะหลัง พริก มะเขือ ฟก แฟง แตงราน ขาวโพด ออย กลวย หนอไมฝร่ัง ฯลฯ 1 ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหคุณภาพชีวิตของชาวบานและเศรษฐกิจการคาในบริเวณลุมน้ําทาจีนมีแนวโนมที่ดีขึ้นมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม แมวาในชวงหลัง พ.ศ.2530 การพัฒนาประเทศในดานสาธารณูปโภคตาง ๆ และการคมนาคมทางบก จะสงผลใหกบัชุมชนการคาหลายแหงไมสามารถทํามาคาขายกันไดตามปรกติก็ตาม แตภาพรวมของเศรษฐกิจการคาในบริเวณลุมน้ําทาจีนในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา ยังถือวาอยูในสภาวการณทีด่ี และทีสํ่าคัญชุมชนการคาหลายแหงยังคงสามารถลงทุนทําการคาขนาดใหญได เนื่องจากเครอืขายทางการคาในบริเวณลุมน้ําทาจีนยังคงมีเสถียรภาพมาก จนกระทั่งเมื่อเกิดปญหาการผันผวนทางเศรษฐกิจทัว่ประเทศในป พ.ศ.2540 เปนตนมา เมื่อนั้นเศรษฐกิจการคาตามชุมชนการคาตาง ๆ ในบริเวณลุมน้ําทาจีนจึงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงขามมาโดยตลอด ทั้งการคาขายเกิดภาวะชะงักงัน การลงทุนเกิดการชะลอตัว สินคามีราคาสูงขึ้น เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดหลายแหงที่เร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงการคาเกิดขึ้นในชวงหลัง พ.ศ.2530 ยิ่งเกิดความซบเซาลงอยางรวดเรว็ จนเกือบจะตองปดกิจการลงในที่สุด อยางเชน ตลาดสามชุก เปนตน 2 สําหรับการเสื่อมถอยของตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา เกิดจากปจจัยอยางนอย 4 ประการ คือ การปรับปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ การเกิดตลาดนดัและหางสรรพสินคา การยายที่ทําการราชการไปตั้งอยูในที่แหงใหม และการเกิดวกิฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 ดังนี้

5.1.1 การปรับปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ เปนถนนสายดั้งเดมิของชาวบานที่อาศัยอยูในภมูิภาค

ตะวนัตกของเมืองสุพรรณบุรีมาตั้งแตอดีต อยางเชน ในเขตหนองหญาไซ ดานชาง ดอนเจดยี และสามชุก เปนตน โดยถนนสายนี้ไดพฒันามาจากเสนทางเดินเทาและเสนทางเกวยีนของชาวบานในทองถ่ินในสมัยกอนที่เคยใชเดินทางไปมาหาสูกันระหวางชุมชนและใชลําเลียงสินคาเขามาคาขาย

1 กฤตยา เสริมสุข, สามชุก บานเรา (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.). (เอกสารอัดสําเนา) 2 พอพันธ อุยยานนท, เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคกลาง (กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน,

2546), 190-259.

Page 125: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

111

ยังตลาดสามชุก ซ่ึงไดรับการปรับปรุงและพัฒนาขึ้นคร้ังแรกในป พ.ศ.2523 3 หลังจากนั้นจึงมีช่ือวา “ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ” ตั้งแตนัน้เปนตนมา

ในระยะแรกของการปรับปรุง ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซมีจุดเริ่มตนที่ กม. 0+000 ตั้งแตคันคลองชลประทานที่บานสามชุก ตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ส้ินสุดที่บานหนองหญาไซ ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวดัสุพรรณบุรี ระยะทางของเสนทางสายนีจ้ึงมีความยาวทั้งส้ิน 19+500 กม. ซ่ึงไดมีการกอสรางและพัฒนาถนนขึ้นเปนคร้ังแรกตามโครงการของสํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบทเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2523 แลวเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม พ.ศ.2524 (ดังภาพที ่57) หลังจากนั้นในป พ.ศ.2526 ถนนสายสามชุก - หนองหญาไซ จึงไดมีการขยายเสนทางเพิ่มเติมและไดมกีารปรับปรุงถนนขึ้นใหมเปนการลาดยางตลอดสาย 4 โดยไดมีการเชื่อมตอเสนทางจากจดุเริม่ตนที่ กม. 0+000 บริเวณคันคลองชลประทานที่บานสามชุก ตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี มายังแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 (อําเภอสามชุก) ซ่ึงใชระยะเวลาในการปรับปรุงตั้งแตป พ.ศ.2526-2534 จึงทําใหถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ มีระยะทางตั้งแตแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ไปจนถึงบานหนองหญาไซ ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบรีุ เร่ือยมา โดยในขณะนั้นถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ มีหนวยงานทีรั่บผิดชอบที่แตกตางกันไป 5 ดังนี ้

1.กรมทางหลวง จากแยกทางหลวงหมายเลข 340 (อําเภอสามชุก) - ขามแมน้ําทาจีน ระยะทาง 0.500 กม. 2.กรมชลประทาน ชวงผานอําเภอสามชุก ระยะทาง 1.500 กม.

3.รพช.จาก อําเภอสามชุก - อําเภอหนองหญาไซ ระยะทาง 19 กม. 4.กรมโยธาธิการ จากอําเภอหนองหญาไซ - บานหนองอีพัง ระยะทาง 14 กม. เนื่องจากในขณะนัน้ ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซเปนถนนสายหลักที่สามารถเชื่อมตอ

ระหวางอําเภอตาง ๆ ในภูมภิาคตะวันตกกับจังหวัดชยันาทและจังหวดัอางทองได จึงทําใหในชวงป พ.ศ.2536-2539 ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซจึงไดรับการบูรณะและซอมแซมใหมอีกครั้ง กอนที่

3 สัมภาษณ คณุวนัเพ็ญ คนลํ้า, เจาหนาทีบ่ริหารงานสถิติ 5 แขวงการทางสุพรรณบุรีที่ 1

สํานักงานทางหลวงที่ 10, 27 ธันวาคม 2549. 4 สํานักทางหลวงที่ 10 สุพรรณบุรี, “หนังสือที่ คค 0609/14364 เร่ือง ขอมอบโอนทางให

กรมทางหลวง เพื่อบูรณะปรบัปรุงใหเปนทางลาดยาง,” 30 มิถุนายน 2530. 5 สํานักทางหลวงที่ 10 สุพรรณบุรี, “หนังสือที่ คค 0616/2/11/2631 เร่ือง ขอรับมอบ

เสนทางของกรมชลประทานเพื่อกอสราง,” 8 ธันวาคม 2535.

Page 126: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

112

จะมีการสงมอบใหกรมทางหลวงเปนผูดแูลเสนทางทั้งสาย และกลายมาเปนทางหลวงแผนดินหมายเลข 3365 ที่มีระยะทางตั้งแตแยกทางหลวงแผนดนิหมายเลข 340 (อําเภอสามชุก) บรรจบทางหลวงแผนดินหมายเลข 3230 (บานหนองอีพัง) เร่ือยมาจนปจจุบนั 6

ภาพที่ 56 แนวเสนทางเดิมของถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ ที่มา : ภาพถายทางอากาศโดยโปรแกรม Kh.google.com, 9 June 2007.

6 สํานักทางหลวงที่ 10 สุพรรณบุรี, “หนังสือที่ คค 0634/2/ส.3/3170 เร่ือง รับมอบทางสาย

สามชุก-หนองหญาไซ,” 13 กันยายน 2539.

จุดสิ้นสุดท่ีบานหนองหญาไซ

จุดเริ่มตนท่ีคันคลองชลประทานบานสามชุก

N

ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ

. . . . ตลาดสามชุก

แมน้ําทาจีน .

Page 127: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

113

ภาพที่ 57 แผนที่แนวทางหลวงแผนดนิหมายเลข 3365 (ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ) ที่ไดรับการปรับปรุงขึ้นในป พ.ศ.2526-2534 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย แขวงการทางสุพรรณบุรีที่ 1)

สําหรับการกอสราง ปรับปรุง และบูรณะถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ ที่มีมาอยางตอเนื่องตั้งแตปพ.ศ.2523-2539 นั้น ไดสงผลใหชาวบานที่อาศัยอยูในทองถ่ินและละแวกใกลเคียงไดรับผลกระทบกันเปนจํานวนมาก เนื่องจากการกอสรางคอนขางยืดเยื้อและกินเวลานาน จึงทําใหชาวบานที่เคยเขามาจับจายซ้ือขายสินคาไมสามารถเดินทางเขาออกตลาดไดสะดวกอีกตอไป ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหชาวบานที่เคยเขามาติดตอคาขายกับตลาดสามชุกหลายรายพากนัหดหาย และหลายรายเริ่มหันไปทําการคากับตลาดแหงอ่ืนแทนที่ตัง้แตนั้นเปนตนมา แมวาในขณะนั้นตลาดหลายแหงอาจมีระยะทางไกลกวาตลาดสามชุกอยูมากหรือไมบางแหงก็เพิ่งเปนตลาดเปดใหมก็ตาม แตชาวบานสวนใหญกเ็ร่ิมใหความสนใจและหันไปติดตอคาขายกับตลาดเหลานั้นอยูเปนจํานวนมาก อยางเชน ตลาดในเขตอําเภอดานชางที่ไดกอตวัขึ้นภายหลังการยกฐานะอําเภอดานชางในวันที่

จุดสิ้นสุดที ่แยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 3230

N

จุดเร่ิมตนใหมที ่แยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 340

*

ถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ หรือ ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3365

. . .

*

* ตลาดสามชุก

(จุดเร่ิมตนเดมิ ที่ กม. 0+000)

Page 128: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

114

13 กรกฎาคม พ.ศ.2524 7 และตลาดในเขตกิ่งอําเภอหนองหญาไซที่ไดกอตัวขึน้ภายหลังการรวมตําบล 4 ตําบล คือ ตําบลหนองหญาไซ ตําบลหนองโพธิ์ ตําบลหนองราชวัตร และตําบลแจงงาม จัดตั้งขึ้นเปนกิง่อําเภอหนองหญาไซในป พ.ศ.2526 เปนตน

สวนผลกระทบที่ชาวบานในตลาดไดรับในขณะนั้น หลายทานไดกลาวเปนเสยีงเดยีวกันวา ตั้งแตมีการปรบัปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ เศรษฐกิจการคาภายในตลาดซบเซามาโดยตลอด เนื่องจากชาวบานที่เคยอาศัยเสนทางดังกลาวในการเดินทางเขามาติดตอคาขายยังตลาดสามชุก อยางเชน ชาวบานในภูมภิาคตะวนัตก ฯลฯ ไมจําเปนตองเดนิทางเขามาคาขายยังตลาดสามชุกอีก เพราะมีตลาดเกิดใหมหลายแหงรองรบัการคาขายอยูเปนจํานวนมาก และที่สําคัญชาวบานหลายรายยังมองวาในสภาวการณที่มีแตการกอสรางและการปรับปรุงถนนหนทางที่กนิเวลายาวนาน ยอมทําใหการเดินทางเขาออกชุมชนไมราบร่ืน เพราะผิวถนนที่เปนหลุมเปนบอหลายจุด หากเปรียบเทียบกับสภาพถนนจากหนองหญาไซไปอําเภอเมอืงสุพรรณบุรี หรือจากหนองหญาไซไปอําเภอดานชางที่มีผิวถนนอยูในสภาพที่ดีกวา ดังนั้น เมื่อมีทางเลือกอื่นที่สะดวกสบายกวาและปลอดภยัตอทรัพยสิน ชาวบานเหลานั้นจึงเลือกที่จะคาขายและซื้อสินคาจากตลาดแหงอ่ืนเร่ือยมา 8 อยางเชนคําบอกเลาจาก คุณพิพัฒน โฆษิตวีรวฒัน ที่ไดกลาวไววา

“ถนนจากอําเภอหนองหญาไซมาตลาดสามชุกไมไดพัฒนาเลย ปลอยไวเปนลูกรัง

นานเปนสิบ ๆ ป อีหลุกขลุกขลักกวาจะเดินทางมาได แตกลับไปพัฒนาถนนจากอําเภอดอน

7 สรุปผลการดําเนินงานของเครือขายวัฒนธรรมในจังหวดัสุพรรณบุรี ประจําป 2545 (ม.ป.ท., 2545), 35-79.

8 สัมภาษณ คุณสมชาย หงษสุพรรณ, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 กันยายน 2549; สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณบุญเลิศ ทองนิล, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพิชัย ไมหวาด, คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณชูหงษ แซแต, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ พระสมุหใส ติกฺขวีโร, พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 6 มกราคม 2550.

Page 129: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

115

เจดียไปหนองหญาไซ คนทางหนองหญาไซก็ไปอําเภอดอนเจดีย หรอืไมก็เขาจังหวัดไปเลย ไมผานมาทางสามชุก เพราะถนนทางเสนนั้นเปนลาดยาง ทําใหเปนความเคยชินของคนอําเภอหนองหญาไซเกือบ 20 ปท่ีอาศัยการเดินทางเสนนั้น ซึ่งตนไดเคยถามคนหนองหญาไซวาทําไมไมมาสามชุก เขาก็ตอบวา ข้ีเกียจลางรถ ไมอยากใหรถพงั เพราะวากวาจะเดินทางมาถึงสามชุกก็ 20 กิโล ไกล ไมมาดีกวา นี่ละคือสาเหตุหลักที่ทําใหตลาดสามชุกซบเซาลงไปในที่สุด” 9

ดังนั้น ในการปรับปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ จึงถือเปนปจจัยสําคัญที่ทาํใหการ

คาขายภายในตลาดสามชุกเกิดความซบเซาลงไปเปนอยางมาก ถึงแมวาการพัฒนาดงักลาวจะนําพาความเจริญเขาสูทองถ่ินก็ตาม แตการพฒันาก็กนิเวลานานและยืดเยือ้ จึงทําใหผูที่เคยใชเสนทางดังกลาวในการเดินทางเขาออกชุมชนเพื่อซ้ือขายสินคาและลําเลียงสินคามายังตลาด ตางหันไปติดตอซ้ือขายกับตลาดอื่นแทน อยางเชน ตลาดนัด และหางสรรพสินคาเกิดใหม เปนตน ดวยเหตนุี ้จึงสงผลใหตลาดสามชุกคอย ๆ ซบเซาลงและรางราผูคนตั้งแตนั้นเปนตนมา

5.1.2 การเกิดตลาดนัดและหางสรรพสินคา การเขามาของตลาดนัดสินคาราคาถูกที่เขาถึงชุมชนตาง ๆ ในเขตอําเภอสามชุก นับเปน

แหลงการคาสําคัญแหงใหมที่จูงใจผูซ้ือสินคาในทองถ่ินเปนอยางมาก โดยสินคาที่นํามาขายสวนใหญมักเปนสินคาราคาถูกทุกชนิด ตั้งแตพชืผัก ผลไม เนือ้สัตว เครื่องเทศ เครื่องปรุงรสตาง ๆ ฯลฯ ตลอดจนเครื่องใชในชวีิตประจําวนั ตั้งแตสบู ยาสีฟน ผงซักฟอก ทีว่างขายใหซ้ือหาเหมือนตลาดขนาดยอมแหงหนึ่งเลยทีเดียว โดยตลาดนัดที่กอตวัขึ้นยุคแรก ๆ ในเขตสามชุกนัน้ มีขึ้นในชวงทศวรรษ 2540 โดยจะตั้งอยูในเขตเทศบาลตําบลสามชุกเปนสวนใหญ มีอยูดวยกนัทั้งหมด 4 แหง ตั้งสลับหมุนเวียนไปตามแหลงตาง ๆ ทุกเขตพืน้ที่ของเทศบาลที่เปนแหลงชมุชนหรือยานที่อยูอาศัย ซ่ึงการเกิดตลาดนดัถือเปนปญหาสําคัญที่เกิดขึ้นกับตลาดสามชุกเปนอยางมาก เพราะการเกิดตลาดนัดตามชุมชนตาง ๆ ยอมทําใหลูกคาขาประจําและขาจรที่เขามาจับจายสินคาในตลาดลดนอยถอยลง เพราะลูกคาเหลานัน้ตางขยับขยายออกไปเปนลูกคาขาประจําของตลาดนัดมากขึ้น ซ่ึงมากจนทําใหพอคาแมคาในตลาดหลายรายขาดรายไดและตองหันไปยึดจบัอาชีพอ่ืนแทน หรือไมกห็ันไปทําอาชีพเสริมควบคูไปกบัการคาขายของตนจึงจะพออยูรอดไดเร่ือยมา

9 อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาด

สามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี (วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548), 63.

Page 130: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

116

นอกจากนี้ การตองเผชิญกับหางสรรพสินคาจากตางประเทศขนาดใหญ อยางเชน แม็คโคร (MAKRO) และโลตัส (LOTUS) ที่เติบโตขึ้นในชวงหลังทศวรรษ 2540 ซ่ึงมีการขายสินคาทั้งปลีกและสง รวมทั้งยังมีการบรกิารสินคาและศูนยอาหารอันทันสมัยไวโดยยุทธศาสตรการคาอยูบริเวณริมถนนทางหลวงหมายเลข 340 ในเขตอําเภอเมือง จังหวดัสุพรรณบุรี ที่ครอบคลุมอาณาเขตจังหวดัสุพรรณบุรีและชุมชนใกลเคียงหรือรอบนอก ก็เปนอีกตัวแปรสําคัญที่ทําใหตลาดสามชุกเกิดความซบเซาลงอยางรวดเร็ว ซ่ึงไมแตกตางไปจากการเกิดตลาดนัดขึ้นในชุมชนเทาใดนัก เพราะหางสรรพสินคาอันทันสมัยใหมทั้งสองแหงนี้ เปนคูแขงที่มีความพรั่งพรอม ทั้งเงินทุน สินคา และบริการ ถึงแมวาจะไมไดตั้งอยูในบริเวณใกลเคียงกับตลาดสามชุกก็ตาม แตดวยการที่เปนแหลงรวมสินคาที่มีความครบครันภายใตอาคารติดแอรโกหรูที่มคีวามเพยีบพรอมทั้งปริมาณสินคา คุณภาพ และการบรกิารก็สามารถดึงดูดผูคนจากทัว่สาระทิศใหเขาไปเลือกซื้อสินคาไดเปนอยางดี เพราะหางสรรพสินคาอันทันสมัยเหลานี้เปนทางเลือกใหมแกผูบริโภคที่ตองการความสะดวกสบาย ที่สามารถเลือกซ้ือสินคาทั้งปลีกและสงในปริมาณที่ไมจาํกัด โดยที่ราคาสินคาเกือบทุกชนิดกไ็มแตกตางไปจากทองตลาดเทาใดนัก และดวยเหตุนี ้ ตลาดสามชุกจึงไรหนทางสูดวยประการทั้งปวง จนทําใหรานคาภายในตลาดหลายรานเกือบตองปดกิจการลงกันเลยทเีดียว เพราะสูคูแขงอยางตลาดนัดและหางสรรพสินคาขนาดใหญที่คาปลีกและสงในทองถ่ินไมไหว และที่สําคัญผูคนที่เคยเปนลูกคาขาประจาํก็หันไปซื้อขายกับยานการคาแหงใหมเหลานั้นกันเกือบหมด จนทําใหตลาดที่เคยคึกคักกลับเงียบเหงาและรางราผูคนไปในที่สุด

ภาพที่ 58 หางสรรพสินคาอันทันสมัยบริเวณริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่,14 กุมภาพันธ 2550

แม็คโคร (MAKRO) โลตัส (LOTUS)

Page 131: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

117

5.1.3 การยายสถานที่ราชการไปตั้งอยูในพืน้ที่แหงใหม จากการพัฒนาประเทศที่มีขึ้นอยางตอเนื่องตลอดชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา ไดทําใหการคมนาคมทางบกกลายเปนสิ่งหนึ่งทีท่างภาครัฐไดมีมาตรการในการพัฒนาและปรับปรุงมาโดยตลอด โดยเฉพาะในชวงทศวรรษ 2530-2540 ที่มีการกอสรางและปรับปรุงเสนทางสายหลัก เชื่อมตอระหวางภาคเหนือ ภาคใต และกรุงเทพฯ ใหกลายเปนถนน 4 เลน อยางเชน ทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ที่ผานจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งแตอําเภอบางปลามา - เมืองสุพรรณ - ศรีประจันต - สามชุก - เดมิบางนางบวช เปนตน ซ่ึงการขยายตวัของเสนทางคมนาคมทางบกสายดังกลาว ไดสงผลใหสถานที่ราชการหลายแหงในเขตจงัหวัดสุพรรณบุรีเกิดการโยกยายไปตั้งอยูริมถนนสายดังกลาวจํานวนมาก โดยเฉพาะสถานที่ราชการที่เคยตั้งอยูในละแวกใกลเคียงกับตลาดสามชุก อยางเชน สถานีตํารวจภูธรอําเภอสามชุก เปนตน ที่แตเดิมจะตั้งอยูบริเวณริมฝงแมน้ําทาจีนละแวกใกลเคียงกับตลาด ตอมาเมื่อทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 เกิดการขยายตัว จึงไดมกีารโยกยายไปตั้งสถานีตํารวจขึ้นใหมริมทางหลวงสายดังกลาว เนือ่งจากทางสถานีตํารวจภูธรไดเล็งเห็นถึงความสะดวกในการปฏิบัติหนาที่และปองกันเหตุดวนเหตุรายตาง ๆ และที่สําคัญทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 เปนทางหลวงระหวางจังหวัด ในกรณีทีม่ีเหตุดวนเหตรุายก็จะสามารถใหความชวยเหลือไดทันทวงที ประกอบกับบริเวณที่ตั้งแหงใหมมีเนื้อที่กวางขวางประชาชนสามารถเดินทางเขามาไดโดยงาย จึงเปนเหตุจูงใจในการโยกยายมาตั้งในบริเวณดังกลาวในครั้งนั้นเร่ือยมา 10 นอกจากนี้ ในชวงเวลาดังกลาวยังพบวามีสถานที่ราชการอีกหลายแหงในละแวกใกลเคียงตลาดสามชุกไดมีการยายสํานักงานมาตั้งอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ดวยเชนกนั เพื่อความสะดวกสบายในการเขามาติดตอขอรับบริการ ไดแก สํานักงานที่ดินจังหวัดสพุรรณบุรี สาขาสามชุก ที่แตเดิมตั้งอยูริมแมน้ําทาจนีติดกับสถานีตาํรวจภูธรในละแวกใกลเคียงกับตลาดสามชุก ตอมาไดยายไปอยูบริเวณตําบลยานยาว ริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 และสํานักงานประถมศึกษาอําเภอสามชุก แตเดิมตั้งอยูใตถุนที่วาการอําเภอสามชุก ตอมาไดยายไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดิน 340 เปนตน สําหรับการโยกยายสถานที่ราชการไปตั้งยงัพื้นที่แหงใหมริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 หลายแหงนั้น ไดสงผลกระทบโดยตรงตอการคาขายภายในตลาดสามชุกเปนอยางมาก เพราะการโยกยายสถานที่ราชการออกไปเทากับทําใหจํานวนผูซ้ือสินคาในตลาดลดลงไปดวย เนื่องจากผูซ้ือสินคาในตลาดสามชุก สวนหนึง่ก็คือขาราชการที่อยูในหนวยงานและผูเขามาติดตอราชการ

10 ชุมพล อักพนัธานนท, สามชุกตลาดรอยป (นครปฐม: สํานักพิมพไปทําไม, 2550).

Page 132: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

118

เหลานั้นนัน่เอง ทั้งนี้สังเกตไดจากเหตกุารณเมื่อคร้ังที่ทางอําเภอสามชุกมีโครงการจะยายที่วาการอําเภอออกไปตั้งยังพื้นทีแ่หงใหมตามสถานที่ราชการหลายแหงที่ไดมกีารโยกยายในชวงกอนหนา แตชาวบานในตลาดไดมีการขอรองตอทางอําเภอใหคงที่วาการอําเภอสามชุกเอาไวทีเ่ดิม เพราะไดเล็งเห็นวาหากมีการยายทีว่าการอําเภอออกไปตลาดสามชุกคงจะลมสลายลงอยางแนนอน ทําใหทายที่สุดทางอาํเภอจึงยอมระงับการโยกยายที่วาการอําเภอสามชุกลงในชวงเวลาตอมา เพราะหวั่นเกรงวาชาวบานจะขาดรายไดมากไปกวาเดิม จึงทําใหทีว่าการอําเภอสามชุกยังคงตั้งอยูบริเวณตลาดสามชุกมาจนปจจุบัน 11

ภาพที่ 59 สถานที่ราชการตาง ๆ ที่มีการยายไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 14 กุมภาพันธ 2550

11 สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณวรรณฑณี รัตนบรรพจ, เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 14 กุมภาพันธ 2550.

สถานีตํารวจภูธรอําเภอสามชุก สํานักงานที่ดินจังหวัดสุพรรณบุรี สาขาสามชุก

สํานักงานประถมศึกษาอําเภอสามชุก

Page 133: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

119

ดังนั้น การมสีถานที่ราชการหรือหนวยงานของทางราชการตั้งอยูในละแวกใกลเคียงตลาด

จึงถือเปนสิ่งสําคัญตอตลาดสามชุกเปนอยางมาก เพราะจะชวยใหตลาดสามชุกยังคงมีการเคล่ือนไหวของผูคนอยูสม่ําเสมอ แตในทางตรงกันขามถาหากตองมีการโยกยายสถานที่ราชการออกไปจากตลาดจนหมด บรรยากาศของการคาขายที่มแีตความคึกคกัเชนเดิมคงไมสามารถเกิดขึ้นไดอีกตอไป 5.1.4 วิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540

จากวกิฤตการณทางเศรษฐกจิที่เกิดขึน้กับประเทศไทยในป พ.ศ.2540 ไดสงผลใหความตกต่ําทางเศรษฐกิจแผขยายไปทั่วประเทศ เนื่องจากระบบเงินไหลเวียนภายในประเทศไรสภาพคลอง สงผลใหผูคนที่เคยออกมาจับจายซื้อขาวซื้อของในตลาดสามชกุซึ่งในขณะนัน้มีนอยรายอยูแลวยิ่งมนีอยรายข้ึนไปอีก เพราะตองการประหยดัคาใชจายใหมากที่สุดตามสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ตลาดสามชุกที่ซบเซาในชวงกอนหนากย็ิ่งเงียบเหงาจนรางไรผูคน จากที่เคยนับเงนิไดวนัละเปนกอบเปนกํากลบันับจํานวนคนที่เขามาซื้อของในตลาดแทบไมได ซ่ึงสอดคลองตามคําบอกเลาของชาวบานหลายทาน อยางเชน คุณสําราญ กลาหาญ เปนตน ซ่ึงไดเลาใหฟงวา “..หลัง ๆ ที่หนักที่สุดก็โลตัสเขามาตั้ง แลวยังมีตลาดนัดเขามาอีก แตแยที่สุดเปนชวงป 40 ที่เศรษฐกิจแยมาก ๆ 5-6 ป สําหรับคนเปนแมคาทรมานนะ เคยขายไดแลวมาเงียบ เคยคลุกเงินทุกวัน” 12 ซ่ึงบรรยากาศของการคาขายภายในตลาดสามชุกในชวงเวลาดังกลาวนัน้ ไดเปนไปตามที่คุณสําราญ กลาหาญ ไดกลาวไวทุกประการ เพราะภายหลังจากเกดิวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 เปนตนมา ความซบเซาของการคาขายภายในตลาดยิง่เพิ่มความยากที่จะทําใหตลาดสามชุกสามารถฟนกลับคืนเชนดังแตกอนไดอีก และทีสํ่าคัญความซบเซาของตลาดสามชุกยังมสีวนสําคัญที่ทําใหราชพัสดุ ซ่ึงเปนเจาของทีด่ินในตลาด มีนโยบายไลร้ืออาคารภายในตลาดเพื่อสรางอาคารพาณชิยแบบใหมขึ้นมาแทนที่ในครั้งนั้นดวย นั่นยอมแสดงใหเห็นวาในชวงทีเ่กิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 ตลาดสามชุกที่เคยรุงเรืองในอดีตแหงนี้ไมสามารถฝาวิกฤตการณดังกลาวใหรอดพนไปได ซํ้ายังเกือบตองลมสลายลงเลยทีเดียว ถึงแมวาในเวลาตอมานโยบายของทางสวนราชพัสดุจะถกูระงับลงไปดวยประชามติของชาวบานในตลาดก็ตาม แตผลพวงของวกิฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 ก็ยังคงเปนปจจยัสําคัญอีกประการที่ทําใหตลาดสามชุกซบเซาความลงอยางตอเนื่องตลอดชวงหลังป พ.ศ.2540 เปนตนมา

12 อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาด

สามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี,” 64.

Page 134: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

120

จากที่กลาวมาขางตน ไมวาจะเปนการปรับปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ การเกิดตลาดนัดและหางสรรพสินคา การเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 และการยายที่ทําการราชการไปตั้งอยูในทีแ่หงใหม ลวนเปนปจจัยที่ทําใหตลาดสามชุกเกิดการซบเซาทางการคาและเกิดความเสื่อมโทรมทางกายภาพในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมาแทบทัง้ส้ิน ซ่ึงปจจัยตาง ๆ เหลานี้ ไดสงผลใหลักษณะของตลาดสามชุกในยคุเสื่อมถอยและปรับตัว เร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตาง ๆ อยางมากมาย จนทําใหตลาดสามชุกที่เคยรุงเรืองเกือบจะตองมีการรื้อถอนลงไปในที่สุด โดยลักษณะของตลาดสามชุกในยุคเสื่อมถอยและปรับตัวมีลักษณะตาง ๆ ดังนี ้

5.2 สภาพซบเซาของตลาดสามชุก สําหรับสภาพทั่วไปของตลาดสามชุกในยุคเสื่อมถอยนั้น มีอยูดวยกัน 2 ลักษณะ คือ ความเสื่อมโทรมทางกายภาพ และการคาขายที่ถดถอย ซ่ึงทั้งหมดลวนเกิดขึ้นจากปจจัยตาง ๆ ที่ทําใหตลาดสามชุกเกิดซบเซาลงอยางตอเนื่องทั้งส้ิน โดยลักษณะทั่วไปของตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมานั้น มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางมากมาย ดังนี้ 5.2.1 ความเสื่อมโทรมทางกายภาพ ภายหลังจากการพัฒนาทองถ่ินจากทางภาครัฐในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา ไดสงผลใหสภาพทั่วไปทางกายภาพของตลาดสามชุกและละแวกใกลเคียงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการเติบโตของอาคารบานเรือนและสวนราชการในละแวกใกลเคียงกับตลาดสามชุก เนื่องจากในขณะนัน้การคมนาคมทางบกเริ่มเกดิการขยายตัว อาคารบานเรือนของผูคนและสวนราชการจงึเกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามมาดวย อยางเชน การกอสรางอาคารบานเรือนและสวนราชการตามริมถนนสายตาง ๆ ในละแวกใกลเคยีงกับตลาดสามชุก การกอสรางอาคารและตึกในบริเวณรอบ ๆ ตัวตลาด และการกอสรางตลาดสดที่มีช่ือวา “ตลาดปาจ”ู ทางดานตะวนัตกของตลาดสามชุก เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่รายลอมไปดวยอาคารบานเรือนและรานคาที่เปนตกึเปนอาคารตัง้แตนั้นเปนตนมา 13 อยางไรก็ตาม แมวาในขณะนัน้การเตบิโตของอาคารบานเรือนในละแวกใกลเคียงจะเริ่มขยายตวัเพิ่มมากขึ้นก็ตาม แตในทางตรงกันขามอาคารบานเรือนภายในตวัตลาดสวนใหญก็เริ่มมีการทรุดโทรมลงไปเปนอยางมากเชนกนั เพราะอาคารบานเรือนในตลาดสามชกุแทบทุกหลังคา

13 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549.

Page 135: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

121

เรือนเปนอาคารไมที่มีอายุการใชงานมากกวาหลายสิบป ดังนั้น จึงมแีตการผุผังและผุกรอนปรากฏใหเห็นอยูตลอดเวลา ประกอบกับในชวงเวลาดังกลาวชาวบานในตลาดสวนใหญมักใหความสําคญักับการคาขายมากกวาการซอมแซมปรับปรุงอาคารบานเรือนของตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหสภาพทั่วไปของตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 เปนตนมา จึงมีแตความเกาแกและทรุดโทรมมาโดยตลอด จนในที่สุดทางราชพัสดุเกือบจะตองประกาศรื้อถอนอาคารบานเรือนเหลานัน้ลงเพื่อสรางเปนอาคารพาณิชยรูปแบบใหม เพราะหวั่นเกรงวาจะเกดิความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินเลยทีเดียว 14

ภาพที่ 60 สภาพทรุดโทรมของอาคารบานเรือนในตลาดสามชุกในชวงกอนทศวรรษ 2540 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

14 ชุมพล อักพนัธานนท, สามชุกตลาดรอยป.

Page 136: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

122

5.2.2 การคาขายที่ถดถอย สําหรับในดานการคา ภายหลังจากการพฒันาที่ถาโถมเขาสูตลาดสามชุกและสภาพเศรษฐกิจทีเ่ปลี่ยนแปลงไปในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมา ไดสงผลใหการคาขายภายในตลาดสามชุกเกิดการถดถอยลงเชนกัน โดยราคาสินคาที่ทําการซื้อขายกันในตลาดในขณะนั้น ยังคงมีการปรับราคาขึ้นลงตามราคากลางของทางจังหวัดสุพรรณบุรีแทบทุกรายการ ตามสภาวการณและสภาพเศรษฐกจิที่เปลี่ยนแปลงไปในทุก ๆ ป นับตั้งแตป พ.ศ.2523 เปนตนมา อยางเชน ขาวสาร, ปลาชอนสด, หัวหอมแหง, หัวกระเทยีมแหง, ปูนซีเมนต (ตราเสือ) ถุง 50 กิโลกรัม, พริกขี้หนูสด (พริกหอม), ยางรถยนตบรรทุก 10 ลอ ขนาด 8.25-20 ฯลฯ (ภาคผนวก ง-จ) ซ่ึงราคาสินคาสวนใหญไดมีการถีบตัวสูงขึ้นอยางเหน็ไดชัด จนทําใหชาวบานเกดิการร่ํารองกนัโดยถวนหนาวา “ของแพง” และไมสามารถจับจายซ้ือขายสินคาฟุมเฟอยไดเชนเดิมอีกตอไป 15 อยางไรก็ตาม ถึงแมวาในชวงเทศกาลหรอืวันสําคัญตาง ๆ อยางเชน วนัโกน วนัปใหม ตรุษจีน เกณฑทหาร และงานศาลเจาพอหลักเมืองประจําป ฯลฯ ยังเปนชวงที่สามารถเรียกลูกคาใหเขามาจับจายเลือกซื้อสินคาในตลาดไดอยูบางก็ตาม แตในชวงเวลาดังกลาวกเ็ปนเพียงชวงเวลาสั้น ๆ ที่บรรดาพอคาแมคาพอจะทํามาคาขายได ดังนั้น ภาพรวมของการคาขายในตลาดสามชุกในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมา จึงอยูในสภาวการณทีย่่ําแยมาโดยตลอด เนื่องจากการคาขายภายในตลาดไดเกดิการเสื่อมถอยลงอยางรวดเรว็ จนทําใหเครือขายทางการคาที่เคยมีอยูอยางมากมายในอดีตเริ่มลดนอยถอยลงตามมาดวย ประกอบกับในชวงทศวรรษ 2540 ไดเกดิวกิฤตการณน้ําทวมในป พ.ศ.2538 และปญหาวิกฤตการณทางเศรษฐกิจป พ.ศ.2540 ยิ่งทําใหลูกคาที่เคยเขามาจับจายใชสอยในตลาดหันไปซื้อหาสินคาจากตลาดนัดราคาถูกกวากันเปนจํานวนมาก ทําใหบรรดาพอคาแมคาในตลาดสามชุกไมสามารถนิ่งเฉยตอไปได ตางจึงพยายามงัดกลยุทธตาง ๆ เพื่อความอยูรอดในขณะนัน้ อยางเชน การนําสินคาออกมาวางหนารานเพือ่จูงใจลูกคา การจัดรานใหมเพื่อใหโดดเดนสะดุดตา และการลดราคา เปนตน แตอยางไรก็ตาม การคาขายภายในตลาดขณะนัน้ยังคงไมสามารถแขงขันกับตลาดขางนอกไดมากมายนัก เพราะกําลังในการแขงขันมีนอย และที่สําคัญสภาพเศรษฐกจิการคาและสภาพทัว่ไปของตลาดในขณะนั้นไมเอื้ออํานวย จึงทําใหตลาดสามชุก

15 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณปราณี สุวรรณวัฒนกิจ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

Page 137: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

123

เกิดความเงียบเหงาและซบเซาลงเรื่อยมา 16 จนทําใหชาวบานตองมีการปรับตัวเพื่อความอยูรอดในที่สุด

ภาพที่ 61 บรรยากาศน้ําทวมดานหนาตลาดสามชุกและที่วาการอําเภอสามชุกในป พ.ศ.2538 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) 5.3 การปรับตวัของชาวบานในตลาดในยคุเสื่อมถอย ภายหลังจากการเสื่อมโทรมทางกายภาพและการถดถอยทางการคาในชวงหลังป พ.ศ.2523 เปนตนมา ไดสงผลใหชาวบานในตลาดสามชุกตองมีการปรับตัวอยางมากมาย ทั้งในดานการทํามาหากิน ความสมัพันธและวัฒนธรรม และการตอสูและอนุรักษ เปนตน จนทําใหวิถีชีวิตของชาวบานมีความเปลี่ยนแปลงไปในทศิทางตาง ๆ ดังนี้ 5.3.1 การทํามาหากิน สําหรับการทํามาหากินของชาวบานในชวงที่ตลาดซบเซาลงในป พ.ศ.2530 นอกเหนอืจากการทํามาคาขายเปนหลัก ชาวบานหลายรายที่พอมีที่ดนิทํากินอยูนอกตลาดยังไดทาํการเพาะปลูก

16 อมรา จันทรมานะ, “กระบวนการตดิตอส่ือสารภายในชุมชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาดสามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี,” 65.

Page 138: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

124

พืชผลทางการเกษตรเพื่อเปนอาชีพเสริมอีกดวย เนื่องจากรายไดจากการทํามาคาขายเพียงอยางเดยีวไมเพียงพอตอการดํารงชีวิตอีกตอไป โดยสวนใหญจะทําการเพาะปลูกขาว ออย พืชผัก ผลไม ดอกไม เปนตน ในขณะทีช่าวบานในตลาดที่ไมมีรายไดเสริมก็ไดเร่ิมมีการปรับกลยุทธทางการคาเพื่อความอยูรอดเรื่อยมา ไมวาจะเปนการนําสินคาออกมาวางหนารานเพื่อจูงใจลกูคา การจัดรานใหมเพื่อใหโดดเดนสะดดุตา และการลดราคาสินคา เปนตน ซ่ึงการปรับตัวในการทํามาหากินของชาวบานในตลาดในชวงหลังป พ.ศ.2530 นั้น ไดสอดคลองกับคําบอกเลาของคุณสายบัว พัวพลเทพ เจาของรานบญุชวยหตัถกิจ และชาวบานในตลาดอีกหลายทาน 17 ซ่ึงไดเลาใหฟงวา ในสมัยที่การคาขายซบเซา ชาวบานในตลาดไดมีการปรบักลยุทธทางการคาอยางมากมาย ทั้งการนําสินคาออกมาวางหนารานเพื่อจูงใจลูกคา การจัดรานใหมเพื่อใหโดดเดนสะดุดตา และการลดราคาสินคา อยางเชน รานขายนาฬิกาบญุชวยหตัถกิจ ที่ไดมีการนาํนาฬิกาโบราณมาจัดโชวหนาราน และนํานาฬิกาสมยัใหมออกมาวางขาย เพื่อดึงดดูลูกคา และรานขายเสื้อผาของนายบุก หรือ นายฝุก แซเลา (พรหมโชติ) บิดาของคุณจนิดา พรหมโชติ เจาของรานไพศาลสมบัติ ทีไ่ดมีการลดราคาเสื้อผาในชวงเทศกาลปใหม เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหรานคาหลายรานที่ไดมีการปรับกลยุทธทางการคาเริ่มมีเงินทุนหมนุเวยีนและไมตองปดกิจการลงแตอยางใด อยางไรก็ตาม แมวาชาวบานจะมกีารปรับกลยุทธทางการคาใหมหลายลักษณะเพื่อใหรอดพนจากความซบเซาทางการคา แตภาพรวมการคาขายภายในตลาดในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมาก็ยังคงไมกระเตื้องมากนกั เพราะในชวงเวลาดังกลาวยังคงพบวาชาวบานตางยงัคงรอคอยลูกคา และรอคอยใหตลาดกลับมาคึกคักอีกครั้งภายใตบรรยากาศเงียบเหงาและรางราผูคนอยูตลอดเวลา ดังคําสัมภาษณของบุคคลทานหนึ่งทีแ่สดงความคิดเหน็เกี่ยวตลาดสามชุกในยุคซบเซาในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมา ในงาน “การแลกเปลี่ยนการสรุปบทเรียนตลาดสามชุกรวมกับคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก” ณ ลานโพ วันที่ 17 ธันวาคม 2549 เวลา 13.00-15.00 น. ความตอนหนึ่งวา

“ เงียบเหงาเลย เรียกวานอนขาย แยมากเลยละถึงขนาดที่เรียกวา โคมาเลยละ อยางเชน ตรงบริเวณตลาดเถาแกเบี้ยวก็รกรงุรังมาก มีของกองเรียกวาเปนรังหนู การคาแมกระทั่งเสาร-อาทิตยไมมีเลย ปดตาย เปนท่ีเก็บของ มีรานเจกอาว รานปาเหวียง แตใครมานั่งกินก็เรียกได

17 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณชูหงษ แซแต, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณจินดา พรหมโชติ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

Page 139: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

125

วาดูไมจืดละ หยากไยเต็มไปหมด เอาแคบริเวณตรงนี้ (ลานโพปจจุบัน) แตกอนก็เหมือนปารกมาก มีตนไมตนหญาเต็มไปหมด ตรงตนโพนี่เปนที่ท้ิงศาลเจาผุ ๆ พัง ๆ ของชาวบาน” 18

ดังนั้น จึงแสดงใหเห็นวา ถึงแมในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมา ชาวบานในตลาดสามชุกจะมีการปรับกลยุทธทางการคาในลักษณะตาง ๆ แลวก็ตาม แตบรรยากาศของการคาขายภายในตลาดกไ็มไดกระเตื้องขึ้นไปกวาเดมิ อีกทั้งยงัความซบเซาอยางคงเกิดขึน้อยางตอเนื่องมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2530 จนถึงป พ.ศ.2543 จนทําใหชาวบานหลายรายเริ่มหันไปประกอบอาชพีอ่ืนและบางรายตองปดกจิการลงในที่สุด

ภาพที่ 62 การลดราคาสินคาของพอคาแมคาในตลาดสามชุก ในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 6 เมษายน 2551

18 ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ และคนอื่น ๆ , ยานตลาดรอยปสามชุก กับกลไกชุมชนในมติิการอนุรักษ (ม.ป.ท., 2550), 20.

Page 140: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

126

ภาพที่ 63 การปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการคาในตลาดสามชุก ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่, 14 กุมภาพันธ 2550 5.3.2 ความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรม สําหรับความสัมพันธของผูคนในตลาดไดเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสแหงการพัฒนาและกระแสแหงความผันผวนทางเศรษฐกิจเชนกัน ทั้งนี้เปนเพราะตลาดสามชุกเคยเปนศูนยกลางทางการคาทางน้ํามาหลายทศวรรษ จึงทําใหตลาดสามชุกเปนตลาดที่มคีวามเปนสังคมเมืองคอนขางสูง การสั่งสมวัฒนธรรมความเปนเมืองจึงคอย ๆ กอและฝงลึกผานการประกอบอาชีพคาขายของชาวบานภายในตลาด ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหความสัมพันธของคนที่อาศัยอยูในชุมชนไมเกาะเกี่ยวกนันกั แมวาภายในชุมชนตลาดสามชุกจะมีวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมจีนที่มีการผสมผสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันก็ตาม แตพวกเขาเหลานั้นกไ็มไดมาจากตระกลูหรือแซเดียวกัน เพราะภายในตลาดยังประกอบไปดวยตระกลูมากมาย ที่ตางคนตางอพยพโยกยายมาจากถิ่นตาง ๆ เพื่อที่จะมาคาขาย สรางรายได เพื่อความอยูรอดของชีวติตนเองหรือครอบครัว ดังนั้น การติดตอสัมพันธของผูคนภายในชุมชนตลาดสามชุกในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา จึงมีลักษณะของการรูจักกนัเพยีงผิวเผินและเปนทางการไปตามสถานภาพของตนเองเทานั้น

Page 141: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท
Page 142: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

128

มาก จนทําใหการคาขายและรวมแรงรวมใจระหวางชุมชนที่เคยมีอยางเต็มเปยมกเ็ร่ิมลดนอยถอยลงไปโดยปริยาย สวนความสัมพันธของชาวบานในตลาดกบัสวนกลาง ถึงแมวายังคงดําเนินตอไปตามปรกติ ในฐานะเจาของที่ดินกับผูเชาที่ดิน แตในชวงทศวรรษ 2540 เปนตนมา กลับพบวาไดเกิดปญหากระทบกระทัง่ระหวางกันอยูบอยครั้ง จนทําใหความสัมพันธระหวางชาวบานกับสวนกลางเริ่มแปรเปลี่ยนไปเปนการตอสูและการเรียกรองมาโดยตลอด โดยเฉพาะปญหาการโยกยายที่วาการอําเภอสามชุกไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 และปญหาการไลร้ืออาคารบานเรือนในซอย 1 และซอย 2 เพือ่สรางเปนอาคารพาณิชยใหม เปนตน 20 สําหรับความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมตาง ๆ ของชาวบานในชุมชนตลาดสามชุกในชวงหลัง พ.ศ.2530 ไดเร่ิมมีหลายสิ่งหลายอยางเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยเฉพาะความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณ ีและพธีิกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคนจีนและคนไทยเชื้อสายจนี เนื่องจากคนจนีและคนไทยเชื้อสายจีนที่เขามาอยูในตลาดไดเกิดการผสมผสานและเกิดการยอมรับวัฒนธรรมไทยมากขึ้น ประกอบกับคนจนีที่อาศัยอยูในตลาดสวนใหญมักแตงงานอยูกินกับคนไทย ดังนั้น เมื่อมบีุตรหลาน จึงมักเลือกที่จะใหบุตรหลานของตนใชชีวิตอยูภายใตกรอบของวัฒนธรรมไทย เนื่องจากเปนวัฒนธรรมของสังคมสวนใหญ ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหวัฒนธรรมและประเพณีบางอยางที่เคยเครงครัดของคนจีนเริ่มสอดแทรกและผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยเรื่อยมา อยางเชน การไหวเจา การกินเจ การไหวพระจันทร การกราบไหวบรรพบุรุษ การฝงศพ และการจัดงานประจําปศาลเจาพอหลักเมือง เปนตน สวนขนบธรรมเนียมประเพณีและพิธีกรรมตาง ๆ ของไทย ก็ไดมหีลายประเพณีถูกจัดขึ้นตามความเหมาะสมของวาระและโอกาสเชนกัน โดยขนบธรรมเนียมประเพณแีละพิธีกรรมตาง ๆ ที่ยังคงยึดถือและปฏิบัติสืบมานั้น ไดแก ขนบธรรมเนียมประเพณแีละพิธีกรรมทางศาสนา อยางเชน

20 สัมภาษณ คุณสายบัว พัวพลเทพ, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณชูหงษ แซแต, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 28 ธันวาคม 2549.

Page 143: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

129

การบวช การแตงงาน การเผาศพ ฯลฯ และขนบธรรมเนียมประเพณแีละพิธีกรรมตามวันสําคัญทางศาสนา อยางเชน การทําบุญตักบาตร การเวียนเทียน การแหเทยีน การลอยกระทง เปนตน

ภาพที่ 65 บรรยากาศของการแตงงานในตลาดสามชุก ในชวงทศวรรษ 2530 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

ภาพที่ 66 การตักบาตรในวนัสําคัญทางศาสนาของชาวบานในตลาดสามชุก ในชวงทศวรรษ 2530 ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ)

Page 144: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

130

5.3.3 การตอสูและอนุรักษ สําหรับการตอสูและการอนุรักษของชาวบานในตลาดสามชุกไดปรากฏขึ้นอยางชัดเจนภายหลังจากที่ชาวบานในตลาดและสวนกลางไดเกิดปญหาขัดแยงระหวางกันเรื่อยมา โดยปญหาความขัดแยงระหวางชาวบานในตลาดกับสวนกลางนั้นไดปรากฏขึ้นในชวงทศวรรษ 2540 ทั้งปญหาการโตแยงในเรื่องการโยกยายทีว่าการอําเภอสามชุกไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 และปญหาการโตแยงระหวางชาวบานกับกรมธนารักษในเรื่องของการไลร้ืออาคารเรือนแถวไมในบริเวณซอย 1 และซอย 2 เปนตน ซ่ึงปญหาการโตแยงในกรณกีารโยกยายทีว่าการอําเภอสามชุกไปตั้งอยูริมทางหลวงแผนดนิหมายเลข 340 ตามการขยายตัวของการคมนาคมทางบกนั้น ไดทําใหชาวบานเกิดการรวมตัวกนัขึน้เพื่อเรียกรองตอทางอําเภอใหคงที่วาการอาํเภอสามชุกเอาไวที่เดิม เพราะไมเชนนั้นตลาดสามชุกตองปดตัวลงอยางแนนอน เนื่องจากที่วาการอําเภอเปนสวนสําคญัที่ทําใหผูคนเขามาจับจายใชสอย ซ่ึงทายที่สุดก็ไดขอยุติทีว่า ทางอําเภอยอมระงับการโยกยายที่วาการอําเภอสามชุกลง เพราะการเรียกรองของชาวบานและการหวั่นเกรงวาชาวบานจะขาดรายไดมากไปกวาเดิม ดวยเหตุนี้ จึงทําใหที่วาการอําเภอสามชุกยังคงตัง้อยูที่เดิมเรื่อยมาจนปจจุบนั21 สวนปญหาโตแยงระหวางชาวบานกับกรมธนารักษในกรณีของการไลร้ืออาคารแถวไมในซอย 1 และซอย 2 นั้น ไดเกิดขึ้นจากการที่กรมธนารักษ หรือราชพัสดุ ซ่ึงเปนเจาของที่ดินมีแนวคิดที่จะทําการรื้อถอนอาคารเรือนแถวไมในซอย 1 และซอย 2 ทีเ่ปนทีด่ินของกรมธนารักษออก เพื่อสรางอาคารคอนกรีตใหมัน่คงถาวร โดยคาดหวังวาการสรางอาคารสามารถเก็บคาเชาเพิ่มจากผูเชาได ดวยเหตุนี ้จึงทําใหประเด็นดังกลาวกลายเปนปญหาความขัดแยงภายในพื้นที่บางสวนของตลาดสามชุกเรื่อยมา ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการมีแนวคดิในการอนุรักษและพัฒนาที่ไมตรงกัน ระหวางหนวยงานเจาของที่ดินกับชาวบานที่มีสัญญาเชาอยู จากความคิดเห็นที่ไมตรงกันนี้เองไดกอใหเกดิความไมมั่นคงและไมมั่นใจในการปรับปรุงสภาพแวดลอมของตลาดสามชุก เนื่องจากไมมีความชัดเจนในแนวทางการดําเนนิการเรื่องสิทธิในการเชาของหนวยงานเจาของที่ดิน เพราะการรื้อเรือนแถวไมเปนนโยบายทีก่ําหนดออกมาหลายป ทําใหชาวบานเกิดความกังวล และเกดิความ

21 สัมภาษณ คุณพงษวิน ชัยวิรัตน, ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ, 25

ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณสุนิภา เหลืองศรีดี, ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 25 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ อาจารยกฤตยา เสริมสุข, อาจารย 2 ระดับ 7 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี, 26 ธันวาคม 2549; สัมภาษณ คุณศิริ สรหงษ, ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี, 27 ธันวาคม 2549.

Page 145: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

131

หวาดระแวงในความมั่นคงทางดานที่อยูอาศัยของตัวเอง 22 จนกระทั่งในกลางป พ.ศ.2544 คุณสุรพล จินดาอนิทร ทายาทราน “กิ่งทองพาณิชย” ไดมีจดหมายเชิงขอคําปรึกษาไปยงั ดร.สมเกียรต ิออนวิมล ซ่ึงในขณะนั้นดํารงตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาและเปนบุตรหลานของชาวตลาดสามชุก จึงไดแนวคิดวาควรอนุรักษใหตลาดสามชุกเปนแหลงการเรียนรูที่ใหประชาชนทัว่ไปไดเหน็คุณคาและความสําคญัทางประวัตศิาสตร สถาปตยกรรม วัฒนธรรมดั้งเดมิ และเปนแหลงทองเที่ยวทีจ่ะนําไปสูการกระตุนใหเศรษฐกิจดีขึน้ได ดงันั้น จึงไดมกีารนัดหมายใหมีการประชมุของชาวตลาดสามชุก และจดัตั้งใหมีคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษขึ้นในป พ.ศ.2544 เปนตนมา โดยคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกในขณะนัน้ คือ ดร.สมเกียรติ ออนวิมล เปนประธานกรรมการ และชาวบานในตลาดสามชุกเปนคณะกรรมการและผูดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ในการอนุรักษตลาด ดวยเหตุนี้ จึงทําใหปญหาตาง ๆ ระหวางชาวบานกับกรมธนารักษเร่ิมคลี่คลายลงตั้งแตนั้นเปนตนมา 23 สําหรับการดําเนินการอนุรักษตลาดสามชุกในระยะแรกนั้น ไดเร่ิมตนขึ้นจากการรณรงคชักชวนชาวบานในตลาดในลุกขึ้นมาทําความสะอาดตลาดหนาบานของตน โดยคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษเปนผูควบคุมดูแลและประสานงานในการพัฒนาตลาด และมีเทศบาลเปนผูอํานวยความสะดวก ตลอดจนจัดหาอุปกรณในการทําความสะอาดตาง ๆ แมวาโดยภาพรวมหลายบานจะยังไมออกมารวมมือดวยดนีัก แตผลของการทําความสะอาด ก็ทําใหตลาดสามชุกมีความโดดเดนและสะดุดตามากขึ้น จนสามารถเรียกลูกคากลุมเดิมใหเขามาซื้อขายสินคาภายในตลาดไดในระดับหนึง่ 24 นอกจากนี้ ในการอนุรักษตลาดสามชุกยังไดมีการขยายผลไปสูการจัดใหมีเวทีรวมระหวางเทศบาลกับชาวชุมชนตลาดในชวงเวลาตอมาอีกดวย ซ่ึงเปนการประชมุออกแบบทางเดินริมแมน้ําที่ทางเทศบาลสามชุกไดมีการปรับงบประมาณอุดหนุน พรอมทั้งมีการประชุมโครงการ “ปลุกบาน” ใหกลายเปน “พิพิธภัณฑชุมชน” เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวในกับตลาด ภายใตโครงการพัฒนาตลาดใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ในลักษณะของ “ตลาดโบราณ” โดยมีพิพิธภัณฑขุนจํานงจีนารักษ และ “พพิิธภัณฑตลาดที่มีชีวิต” หรือ “บานพูดได” เปนตัวถายทอดเรื่องราวเกีย่วกับชุมชน เพือ่

22 ณัฐวุฒ ิ อัศวโกวิทวงศ และคนอื่น ๆ , ยานตลาดรอยปสามชุก กับกลไกชุมชนในมติิการ

อนุรักษ (ม.ป.ท., 2550), 22. 23 ชุมพล อักพนัธานนท, สามชุกตลาดรอยป. 24 สุวัตน คงแปน, “เมืองนาอยู ชุมชนนาอยู,” วารสารชุมชนไท 4,14(กรกฎาคม 2547) :

19-24.

Page 146: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

132

ดึงดูดลูกคาใหไดเขามาสัมผัสบรรยากาศเกา ๆ เขามาศึกษาหาความรู และเขามาจับจายซ้ือขายสินคาในตลาดเชนเดิม ฯลฯ ซ่ึงทางตลาดไดมกีารหนุนเสริมในการประชาสัมพันธของสื่ออยางมากมาย ทั้งที่ผานโครงการฯ และสื่อเอกชนอื่น ๆ ทั้งวิทยุ โทรทศัน และบทความในหนังสือพิมพ เพื่อชวยบอกเลาถึงความสวยงามทางดานสถาปตยกรรมของตลาดสามชุก, “บานขุนจํานงจีนารักษ”, ความเปนมาของตลาดรอยป และอาหารอรอยที่สามชุก เปนตน ดวยเหตุนี ้ จึงสงผลใหตลอดชวงหลังป พ.ศ.2545 เปนตนมา การอนุรักษและพฒันาตลาดสามชุก จึงเริ่มประสบผลสําเร็จและปรากฏเปนรูปธรรมมากขึ้น ทั้งนี้สังเกตไดจากการมีชีวิตชีวาของตลาด และการหลั่งไหลของนักทองเที่ยว เปนตน จนทําใหตลาดสามชุกสามารถยืนหยดัไดอีกครั้ง โดยไมตองถูกร้ือถอนลงแตอยางใด

ภาพที่ 67 รายการโทรทัศนที่เขามาถายทํารายการเกีย่วกบั “ตลาดสามชุกรอยป” ที่มา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นที่ (เอื้อเฟอโดย คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ) จากที่กลาวมาขางตน เปนรายละเอียดเกีย่วกับตลาดสามชุกในชวงหลังป พ.ศ.2530 - ทศวรรษ 2540 ซ่ึงเปนชวงที่ตลาดสามชุกเกิดความเปลีย่นแปลงตาง ๆ อยางมากมาย ทั้งในดานการคาขายและวิถีชีวิต ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการพัฒนาการคมนาคมทางบกที่ถาโถมอยูทุกขณะและความ

Page 147: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

133

ผันผวนของเศรษฐกิจในชวงเวลาดังกลาว อยางเชน การปรับปรุงถนนสายสามชกุ-หนองหญาไซ การเกิดตลาดนัดและหางสรรพสินคา วิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 และการยายสถานที่ราชการไปตั้งอยูในพืน้ที่แหงใหม เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่เงียบเหงาและรางราผูคนมาโดยตลอด จนทําใหรานคาหลายรานมีอันตองยบุเลิกกิจการลงและบางรานก็มีการโยกยายออกไปหาทําเลการคาแหงใหมที่สามารถคาขายไดดกีวาเรื่อยมา ในขณะที่บางรานที่ยังคงยืนหยดัทาํการคาขายอยูก็หาทางออกดวยการหาที่ทางขางนอกตลาดเพื่อทําการเพาะปลูกเปนอาชีพเสริมทดแทนรายไดที่เสียไปหรือไมก็มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการคาใหม อยางเชน การจัดรานใหมใหโดดเดนสะดุดตา การเอาสินคาออกมาวางหนารานเพื่อจูงใจลูกคา และการลดราคา เปนตน อยางไรก็ตาม ในการปรับกลยุทธดังกลาวกไ็มไดชวยทาํใหการคาขายเกิดการกระเตื้องขึ้นมากนัก เพราะในขณะนัน้ภายในตลาดสามชุกยังคงปรากฏภาพของการรอคอยอยูแทบทุกหลังคาเรือน จนกระทั่งในป พ.ศ.2543 เมื่อทางราชพัสดุไดมีนโยบายไรร้ืออาคารเกาภายในตลาดเพื่อสรางอาคารพานิชข้ึนใหม ทางตลาดและชาวบานจึงไดมกีารปรับกลยุทธทางการคารวมกันทั้งตลาดขึ้นอีกครั้ง เพื่อไมใหตลาดเกาตองถูกร้ือถอนออกไป หลังจากนั้นจึงไดเกดิโครงการพัฒนาตลาดใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ในลักษณะของ “ตลาดโบราณ” โดยมีพพิิธภัณฑขนุจํานงจีนารักษและรานคาในตลาดเปนสถานทีถ่ายทอดเรื่องราวเกีย่วกับชุมชนใหผูคนทัว่ไปไดรับรู สงผลใหในชวงหลังป พ.ศ.2545 เปนตนมา ประชาชนจึงเริ่มรูจักตลาดสามชุกมากขึ้น เนื่องจากไดมกีารหนุนเสริมในเรื่องของการประชาสัมพันธของสื่อ ทั้งวิทยุ โทรทัศน และบทความในหนังสือพิมพ ฯลฯ สงผลใหเศรษฐกิจการคาภายในตลาดเริ่มมีทิศทางที่ดีขึ้นมาโดยตลอด จนทําใหตลาดสามชุกเริ่มคึกคักและกลับมามชีีวิตชีวาอกีครั้งในที่สุด โดยไมตองถูกร้ือถอนลงแตอยางใด

Page 148: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

บทท่ี 6 บทสรุป

“ตลาดสามชุก” เปนตลาดโบราณประจําอําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ที่มีพัฒนาการมากวา 100 ป ในอดีตตลาดแหงนี้เคยมีบทบาทและมีความสําคัญตอจังหวัดสุพรรณบรีุเปนอยางมาก ในฐานะตลาดประจําอําเภอที่นํารายไดเขาสูจังหวัดสุพรรณบุรีอยางมหาศาล อีกทั้งยังเปนศนูยกลางของการคมนาคมทางน้ําที่มีขนาดใหญประจําภูมิภาคในยุคที่การสัญจรทางน้ําเฟองฟูอีกดวย

ปจจุบันตลาดสามชุกยังคงอบอวลและรายลอมไปดวยบรรยากาศเกา ๆ ของอาคารรานคากวา 300-400 หลังคาเรือน ที่มีลักษณะเปนหองแถวไมสองชั้นขนาดใหญ ตั้งเรยีงรายเปนสายเปนซอยอยูริมแมน้ําทาจีนฝงตะวันตก ในเขตเทศบาลตําบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีลักษณะของสถาปตยกรรมและศิลปกรรมอันเกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมไทยและจนีที่ไดรับอิทธิพลมาตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวัสอดแทรกและปรากฏใหเหน็อยูแทบทุกหลัง ทั้งรูปทรงของอาคารบานเรือน ศิลปะบนกระเบื้องปูพื้นที่ตระการตาไปดวยสีสัน และการประดับประดาดวยลวดลายไมฉลุทั้งแบบไทยแบบจนีตามสวนตาง ๆ ของบาน อยางเชน ตามแผงประดับใตหลังคา ชองลม ราวกันตก หนาจั่ว ประตู และหนาตาง เปนตน

นอกจากนี้ ภายในอาคารรานคาแตละหลัง ยังคงมีขาวของเครื่องใชในอดีตอยางมากมาย ที่สวนใหญยังอยูในสภาพที่ใชการไดดแีทบทุกชิ้นและยงัคงถูกจัดวางไวอยางเปนระเบียบ ไมวาจะเปนพัดลม โคมไฟ ตะเกยีง ตู เตียง โตะไม โตะหนิ เกาอ้ี นาฬกิา ตูเย็น จักรยาน ฯลฯ อีกทั้งยังมีสินคาหลากหลายชนิดที่เคยทรงคุณคาในอดีต อยางเชน ขนมหมากฝรั่งมวนบุหร่ีตราแมวสีดํา ลูกอมรสโคลา ขนมโกแถมแหวน ของเลนสงักะสี เรือปอกแปก ปนแกป ตุกตาไขลาน ตุกตากระดาษ ลูกโปงวิทยาศาสตร ฯลฯ ถูกนํากลับมาวางขายอยางแพรหลายเชนกัน จนทําใหตลาดสามชุกในปจจุบันไมเพียงแตเปนตลาดโบราณที่สามารถคงความเกาแกไดอยางสมบูรณเทานั้น แตตลาดสามชุกในปจจุบนัยังเปนเสมือนพิพิธภณัฑของเกาที่ควรคาแกการอนรัุกษเปนอยางยิ่ง

สําหรับความเปนมาของตลาดสามชุกนั้น แตเดิมไดเร่ิมตนขึ้นจากการเปนชุมชนริมน้ําที่บริเวณทายาง ณ บานสามชกุ ทางฝงตะวนัตกของแมน้าํทาจีน ตรงกนัขามวัดสามชุก โดยในระยะแรกเริ่มของการกอเกิดชุมชนก็คลาย ๆ กับการกอตัวของชุมชนริมน้ําทัว่ไป แตเนื่องจากสภาพที่ตั้งของชุมชนมีความพิเศษและเอื้ออํานวยตอการเกิดกจิกรรมทางการคามากกวาชุมชนอ่ืน ๆ จึงทําใหชุมชนสามชุกเดิมสามารถพัฒนาจนกลายเปนชุมชนริมน้าํที่มีการติดตอคาขายในชวงเวลาตอมา

134

Page 149: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

135

อยางไรก็ตาม ถึงแมจะไมทราบแนชัดวาชมุชนการคาแหงนี้กอกําเนิดขึน้เมื่อใด แตในชวงป พ.ศ.2370 ก็สามารถยืนยันไดวาชุมชนแหงนี้ไดมีการรวมตัวขึ้นแลวอยางชัดเจน เนือ่งจากชาวบานในชุมชนไดมกีารสรางศาลเจาพอหลักเมือง อันเปนศนูยรวมจิตใจและเปนศาสนสถานขึ้นในชุมชน จึงแสดงใหเหน็วาในชวงเวลาดังกลาวชาวบานทั้งในทองถ่ินและตางถิ่นเองตางก็ไดรับรูและเขาใจตรงกันแลววาในบริเวณดังกลาวไดกลายเปนยานแหงการแลกเปลี่ยนสินคาประจําทองถ่ินขึ้นแลวในขณะนัน้ จนเกิดการเรียกขานชุมชนการคาแหงนีว้า “สามชุก” ตามชื่อ “หมูบานสามชุก” อันเปนที่ตั้งของชุมชนขึ้นมาในที่สุด

สภาพทั่วไปของชุมชนการคาสามชุกในระยะแรก แมวายังไมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากชุมชนริมน้ําในลักษณะเดิมเทาใดนกั แตในชวงหลังทศวรรษ 2380 เปนตนมา ชุมชนสามชุกเดิมกไ็ดเร่ิมมีการขยายตัวทางการคาเพิ่มมากขึ้น ทัง้นี้เปนเพราะชุมชนการคาสามชุกเปนชุมชนการคาประจาํทองถ่ินเพียงแหงเดยีวที่ตั้งอยูในภูมภิาค ดังนั้น ชาวบานจากทัว่สารทิศจึงพากันเดนิทางเขามาแลกเปลี่ยนคาขายกันอยางไมขาดสายเรื่อยมา

สําหรับความคึกคักทางการคาของชุมชนสามชุกเดิม ยงัคงมีความตอเนื่องตลอดปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ตอพุทธศตวรรษที่ 25 เพราะการคาขายไดเกดิการขยายตัวทัว่ราชอาณาจักรภายหลังการเปดเสรีทางการคาในป พ.ศ.2398 เปนตนมา ดังนัน้ จึงทําใหการผลิตเพียงเพื่อยังชีพของชาวบานในชุมชนสามชุกเดิมเกิดการผันแปรไปสูการผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงินตราอยางรวดเรว็ โดยเฉพาะการคาขาว เนื่องจากขาวมีราคาดี ดวยเหตนุี้ ชาวบานจึงเริ่มหันไปบกุเบิกพืน้ที่เพื่อเพาะปลูกขาวเพื่อคาเพื่อขายกันเปนจํานวนมาก ซ่ึงการขยายตวัของการบุกเบิกพืน้ที่เพื่อเพาะปลูกขาวของชุมชนสามชุกเดิมนัน้ ไดปรากฏขึน้อีกครั้งในชวงหลังทศวรรษ 2440 เปนตนมา เนื่องจากรัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนนุชาวนาโดยการลดภาษีเมื่อมีการบุกเบิกทีใ่หมทัว่ราชอาณาจักรภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสวนภูมภิาคในป พ.ศ.2438 ดวยเหตนุี้ จึงทําใหชาวนาจํานวนมากเกิดแรงจูงใจในการเพาะปลูกขาวเพื่อคาเพื่อขายตามการขยายตวัของการคาขาวตลอดลําน้ําทาจีนเรื่อยมา จนทําใหชาวบานในชุมชนสามชุกเดิมหลายรายเกดิการอพยพโยกยายเขาสูชุมชนแหงใหมตามมาในที่สุด เนื่องจากชุมชนสามชกุเดิมเริ่มมีขอจํากัดในเรื่องพื้นที่ในการเพาะปลูกขาว จงึทําใหมีชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมอพยพออกจากชุมชนไปสูพืน้ทีแ่หงใหมที่อยูไมไกลนักและมีความอุดมสมบูรณมากกวา อยางเชน “บานสามเพ็ง” เปนตน เพราะสภาพทั่วไปของบานสามเพ็งในขณะนัน้ มีความเหมาะตอการตั้งถ่ินฐานสูงกวาหมูบานอืน่ ๆ ในภูมภิาคเดียวกัน เนื่องจากบานสามเพ็งยังคงเปนปาเปนดงอยูมาก อีกทั้งการตั้งรกรากและอาศัยของผูคนยังคงมีอยูนอย จึงทําใหการจับจองที่ดินเพื่อกอสรางบานเรือนและขยายการเพาะปลูกในบริเวณบานสามเพ็งสามารถกระทําไดโดยงาย และที่สําคัญบานสามเพ็งยังตั้งอยูใกลกับชุมชนสามชุกเดิมเพยีง 2 กิโลเมตร จึงสะดวกตอ

Page 150: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

136

การนําสินคาลงมาคาขาย ดวยเหตุนี้ ชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมจงึอพยพโยกยายเขาสูบานสามเพ็งเรื่อยมา ซ่ึงการอพยพของชาวบานจากชุมชนสามชุกเดิมเขาสูบานสามเพ็งอยางตอเนือ่งในขณะนัน้ ไดสงผลให “บานสามเพ็ง” คอย ๆ เติบโตขึ้นจนกลายเปนชมุชนริมน้ําที่มขีนาดใหญ และเปนพื้นฐานใหกับชุมชนสามชุกในปจจุบนัไดในที่สุด

สวนการอพยพโยกยายจากชุมชนสามชุกเดิมเขาสูบานสามเพ็งในระยะแรกนั้น ชาวบานตางยังคงเดนิทางเขามาคาขายยังชุมชนสามชุกเดิมอยูเสมอ จนกระทัง่ในชวงกอนป พ.ศ.2439 ไมนาน ชาวบานที่เคยเขามาแลกเปลี่ยนคาขายตางหันมาทําการคาภายในชุมชนของตนมากขึ้น แทนที่จะเดนิทางเขาไปคาขายยังชมุชนสามชุกเดมิเชนแตกอน เนื่องจากสะดวกสบายตอการคาขายและสะดวกสบายตอการขนสงผลผลิตจากไรนามากกวา จึงทําให “ชุมชนสามเพ็ง” กลายเปนชุมชนการคาประจําทองถ่ินเชนเดยีวกับชุมชนสามชุกเดิมไดในที่สุด และจากการที่ “ชุมชนสามเพ็ง” เปนชุมชนการคาแหงใหมทีต่ั้งทางตอนบนของชุมชนสามชุกเดิม ชุมชนสามเพ็งจึงกลายเปนชุมชนการคาที่ตั้งอยูใกลกับเสนทางเกวยีนของชาวบานและชาวปาไปโดยปริยาย โดยในชวงหลังเกิดชุมชนการคาสามเพ็งไมนาน ชาวบาน ชาวเรือ และชาวปาที่เคยเขามาคาขายยังชมุชนสามชุกเดมิ ตางเริ่มหันมาทําการคากันทีชุ่มชนสามเพ็งกันเปนจํานวนมาก แทนที่จะเดินทางเขาไปคาขายยังชุมชนสามชุกเดิมเหมือนเชนสมัยกอน สงผลใหการคาขายของชุมชนสามเพ็งเกดิการเติบโตและขยายตวัขึ้นมาอยางรวดเรว็ ในขณะที่ชุมชนสามชุกเดิมกลับคอย ๆ ซบเซาลงอยางตอเนื่อง จนทําใหชาวบานหลายรายที่ทํามาคาขายอยูที่ชุมชนสามชุกเดิมตางพากันทยอยออกจากชุมชนสามชุกเดิมมายังชุมชนสามเพ็งกันเปนจาํนวนมาก ซ่ึงมากจนทําใหชุมชนสามชุกเดิมซบเซาลงและตองยุบเลิกลงไปในเวลาตอมา

อยางไรก็ตาม แมวาบริเวณที่เปนยานการคาของชุมชนสามชุกเดิมจะถูกยุบเลิกลงไปแลวนั้น แตความเปนชุมชนการคาสามชุกเดิมก็ยังคงมีอยู และยังคงมีการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทางการคาภายในชุมชนการคาแหงใหมที่มีช่ือวา “ชุมชนสามเพ็ง” เร่ือยมา เนื่องจากในป พ.ศ.2439 ไดมีการเคลื่อนยายศาลเจาพอหลักเมืองประจําชุมชนสามชุกเดิมมายังชุมชนสามเพ็ง โดยไดทําพิธีอัญเชิญเถาธูปจากศาลเจาพอหลักเมืองหลังเกามาใสกระถางใหมและประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ตามธรรมเนียม ดังนั้น จึงเปนเครื่องยืนยันไดวา ชุมชนการคาสามเพ็งที่เกดิขึ้นในชวงหลังป พ.ศ.2439 เปนตนมา ก็คอื ชุมชนสามชุกเดิมที่มีการอพยพโยกยายมาสูชุมชนการคาสามเพ็งแลวนั่นเอง ภายหลังการโยกยายชุมชนสามชุกเดิมมายังบานสามเพง็ การคาขายภายในชุมชนเริ่มมีทิศทางที่ดีขึ้นมาโดยตลอด นับตั้งแตมกีารปลูกสรางที่วาการอําเภอนางบวชหลังแรกขึ้นที่บานสามเพ็งในป พ.ศ.2441 เปนตนมา เพราะการมีที่วาการอําเภอตั้งอยูในชุมชน ไดทําใหผูคนจากทัว่สารทิศมีการเดินทางเขาออกชุมชนสามชุกกันอยางไมขาดสาย ทั้งเขามาติดตอราชการ เขามาตั้งถ่ินฐาน

Page 151: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

137

และเขามาติดตอคาขาย เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหชุมชนสามชกุเกิดการขยายตัวทางการคามาโดยตลอด ถึงแมวาในชวงป พ.ศ.2457 จะไดมีการดําเนนิการกอสรางอาคารที่วาการอําเภอนางบวชขึ้นใหมอยางถาวรก็ตาม แตการกอสรางก็ไมไดสงผลตอการคาขายแตอยางใด เพราะการคาขายของชุมชนสามชุกยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้น ในชวงกอนป พ.ศ.2466 ไมนาน ชุมชนการคาสามชุกจึงสามารถกอสรางตัวตลาดขึ้นมาไดอยางมั่นคง เพื่อรองรับการขยายตวัทางการคาและธุรกิจตาง ๆ ที่กาํลังจะเติบโตตามมาไดในทีสุ่ด โดยผูริเร่ิมกอสรางตัวตลาดขึ้นมานั้น คอื เถาแกหยุ แซเฮง และชาวบานในชุมชน นับแตนั้นเปนตนมาชุมชนแหงนีจ้ึงกลายเปนที่รูจักของผูคนทั่วไปในนาม “ตลาดสามชุก” ตลาดแหงการแลกเปลี่ยนซ้ือขายประจําอําเภอนางบวชเรื่อยมา จากการกอสรางตัวตลาดสามชุกขึ้นมาอยางถาวรในชวงทศวรรษ 2460 ไดทําใหชุมชนการคาสามชุกไดรับการยกฐานะขึ้นเปน “ตลาดสามชุก” ตั้งแตนั้นเปนตนมา ซ่ึงการยกฐานะของตลาดสามชุกในชวงเวลาดังกลาวนั้น ไดทาํใหตลาดสามชุกเริ่มมีการขยายตวัทางกายภาพและการคาขึ้นมาอยางตอเนื่องในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมวาจะเปนการเติบโตของอาคารบานเรือนภายในชุมชน การเติบโตของสวนราชการและกิจการของเอกชนในละแวกใกลเคยีง และการเติบโตของการคาขาวและถาน เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดประจําอําเภอที่มีขนาดใหญโตกวางขวางและกลายเปนที่รูจกัของผูคนทั่วไปเรื่อยมา

อยางไรก็ตาม แมวาในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 การผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงินตราจะไดเขามามีบทบาทตอตลาดสามชุกแลวก็ตาม แตการผลิตจากภายนอกก็ไมไดแยกอออกจากสังคมพึ่งพาอาศัยอยางชัดเจนนัก อีกทั้งสภาพวิถีชีวิตของชาวตลาดยังมีการสบืเนื่องจากในชวงกอนหนา ดังนั้น ลักษณะของตลาดสามชุกในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเปนไปในลกัษณะของการผสมผสานระหวางการเปนสังคมดั้งเดิมที่มีการพึง่พาอาศัยกนัอยูคอนขางสูง ควบคูไปกบัการผลิตเพื่อคาเพื่อขายภายใตระบบเงินตราที่มีความพรอมในการเติบโตและขยายตัว จนทําใหตลาดสามชุกเริ่มมีการเติบโตทางกายภาพและการคาขึ้นอยางมั่นคงตลอดชวงทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้งที่ 2 และมีการขยายตวัขึ้นอยางรวดเรว็ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา สําหรับตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 ถือเปนชวงที่ตลาดสามชุกเกิดขยายตัวและเกิดความรุงเรืองอยางขีดสุด เนื่องจากตลาดสามชุกไดเกดิการขยายตวัและเกิดความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ขึ้นอยางมากมาย โดยเฉพาะการขยายตัวทางกายภาพและการคา ไมวาจะเปนการขยายตัวของอาคารบานเรือนในซอย 5 การขยายตัวของสวนราชการและกิจการเอกชน การขยายตวัของการคาขาวและออย ฯลฯ ดวยเหตุนี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่มีความมั่นคง มช่ืีอเสียงโดงดังไปไกลยังตางลุมน้ํา และอุดมดวยสินคาหลากหลายชนิดเรื่อยมา

Page 152: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

138

สวนลักษณะของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 นัน้ แมวายังคงมีลักษณะของการเปนสังคมพึ่งพาอาศัยกันอยูภายในชุมชน แตการพึ่งพาอาศัยก็ไดแยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางชัดเจน เนื่องจากบทบาทและหนาที่ของผูผลิตและผูคาเริ่มแบงแยกกนัอยางเดนชดั ในขณะที่การพึ่งพาอาศัยและความสัมพันธของผูคนในตลาดกไ็ดเร่ิมแปรเปลี่ยนมาเปนความสัมพันธในเชิงธุรกิจมากขึ้น เนื่องจากเงินตราไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชวีิตของผูคนในตลาด ดังนัน้ ลักษณะของตลาดสามชุกในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2เปนตนมา จงึเปนการพึ่งพาอาศัยที่แยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางชัดเจน โดยมีความสัมพันธเชิงธุรกิจเขามาแทนที่ความสมัพันธแบบผสมผสานในลักษณะดั้งเดิมมาโดยตลอด

อยางไรก็ตาม แมวาตลาดสามชุกจะกลายเปนสังคมพึ่งพาอาศัย ที่แยกออกจากสังคมการผลิตจากภายนอกอยางเดนชดัและความสัมพันธของผูคนในตลาดจะเริ่มแปรเปลี่ยนไปสูความสัมพันธในเชิงธุรกิจมากขึ้น แตบรรยากาศในการคาขายและความเจริญรุงเรืองของตลาดสามชุกก็ยังคงมีอยูอยางตอเนื่องตลอดชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - ทศวรรษ 2520 จนสงผลใหทางภาครัฐเริ่มตระหนกัและเริ่มมีมาตรการในการพัฒนาตลาดสามชุกและทองถ่ินใกลเคียงตามมาอยางมากมาย เพื่อใหสอดคลองกับการขยายตัวของตลาดที่มีขึ้นอยูทุกขณะ ทั้งการพัฒนาสิ่งสาธารณูปโภคตาง ๆ และการพัฒนาการคมนาคมทางบก เปนตน แตอยางไรก็ตาม ในการพฒันาของภาครัฐในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา กลับไมไดนําพาแตความเจริญเขาสูตลาดสามชุกเทานั้น เพราะในทางกลับกนัการพัฒนายงันํามาซึ่งความถดถอยทางดานการคาและความเสื่อมโทรมทางกายภาพอกีดวย เนื่องจากการพัฒนาไดทําใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทางการคาของตลาดสามชุกเริ่มลดนอยถอยลงไปจากเดิม จนทาํใหทายที่สุดตลาดสามชุกที่เคยรุงเรืองอยางขีดสุดในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กลับคอย ๆ ซบเซาลงอยางรวดเรว็และเกือบจะตองมีการรื้อถอน ลงเลยทีเดียว

สําหรับความเสื่อมถอยของตลาดสามชุกในชวงหลังป พ.ศ.2530 เปนตนมา ไดเกดิขึ้นจากปจจัยหลายประการ ไดแก การปรับปรุงถนนสายสามชุก-หนองหญาไซ การเกิดตลาดนดัและหางสรรพสินคา การยายสถานที่ราชการไปตั้งอยูในพืน้ที่แหงใหม และการเกดิวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 เปนตน ดวยเหตนุี้ จึงสงผลใหตลาดสามชุกกลายเปนตลาดที่เงียบเหงาและรางราผูคนมาโดยตลอด จนทําใหรานคาหลายรานมีอันตองยบุเลิกกิจการลงและบางรานก็มีการโยกยายออกไปหาทําเลการคาแหงใหมทีส่ามารถคาขายไดดีกวาเรื่อยมา ในขณะทีบ่างรานที่ยังคงยืนหยัดทําการคาขายอยูกห็าทางออกดวยการหาที่ทางขางนอกตลาดเพื่อทาํการเพาะปลูกเปนอาชีพเสริมทดแทนรายไดที่เสียไปหรือไมก็มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการคาใหม อยางเชน การจดัรานใหมใหโดดเดนสะดุดตา การเอาสินคาออกมาวางหนารานเพื่อจูงใจลกูคา และการลดราคา เปนตน

Page 153: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

139

อยางไรก็ตาม ในการปรบักลยุทธดังกลาวก็ไมไดชวยทําใหการคาขายเกิดการกระเตื้องขึ้นมากนัก เพราะในขณะนั้นภายในตลาดสามชุกยังคงปรากฏภาพของการรอคอยอยูแทบทุกหลังคาเรือน จนกระทั่งในป พ.ศ.2543 เมื่อทางราชพัสดุไดมีนโยบายไรร้ืออาคารเกาภายในตลาดเพื่อสรางอาคารพานิชข้ึนใหม ทางตลาดและชาวบานจึงไดมีการปรับกลยุทธทางการคารวมกันทั้งตลาดขึ้นอีกครั้ง เพื่อไมใหตลาดเกาตองถูกร้ือถอนออกไป หลังจากนัน้จึงไดเกิดโครงการพัฒนาตลาดใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ในลักษณะของ “ตลาดโบราณ” โดยมีพิพิธภัณฑขุนจํานงจีนารักษและรานคาในตลาดเปนสถานที่ถายทอดเรื่องราวเกีย่วกับชุมชนใหผูคนทั่วไปไดรับรู สงผลใหในชวงหลังป พ.ศ.2545 เปนตนมา ประชาชนจึงเริ่มรูจักตลาดสามชกุมากขึ้น เนื่องจากไดมกีารหนุนเสริมในเรื่องของการประชาสัมพันธของสื่อ ทั้งวิทยุ โทรทัศน และบทความในหนังสือพิมพ ฯลฯ ดวยเหตนุี ้จงึสงผลใหเศรษฐกิจการคาภายในตลาดเริ่มมีทิศทางที่ดีขึ้นมาโดยตลอด จนทําใหตลาดสามชุกเริม่กลับมาคึกคักและมีชีวิตชีวาอีกครั้งโดยไมตองถูกร้ือถอนลงแตอยางใด

ดังนั้น อาจกลาวไดวาตลาดสามชุกเปนตลาดที่มีพัฒนาการมาอยางยาวนาน และเปนตลาดที่มีความนาสนใจแหงหนึ่งของลุมน้ําทาจีนเลยทีเดียว เนื่องจากเปนตลาดทีก่อตัวขึ้นจากการเปนชุมชนริมแมน้าํทาจีนขนาดเล็ก ที่สามารถพัฒนาจนกลายเปนชุมชนการคา และตลาดประจําอําเภอที่มีขนาดใหญได แมวาในชวงหลังทศวรรษ 2520 เปนตนมา จะถูกกระแสแหงการพฒันาและการผันผวนทางเศรษฐกิจถาโถมอยูทุกขณะก็ตาม แตตลาดสามชุกก็สามารถยนืหยดัมาไดจนปจจุบัน และในขณะเดยีวกนัการตอสูของชาวบานในตลาดก็ไดสงผลใหชาวบานเกิดความสํานึกในการตอสูและยืนหยัดทีจ่ะอนุรักษตลาดสามชุกใหคงอยูสืบมาจนปจจบุันอีกดวย

สําหรับการศึกษาประวตัิศาสตรชุมชนที่ยานการคาและตลาดในยุคปจจบุัน พบวา ยังคงมีขอจํากัดอยูมาก ในขณะทีต่ลาดหลายแหงไดพยายามพฒันาใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวในลักษณะ “ตลาดเชิงอนรัุกษ” อยางแพรหลายในปจจุบัน ดังนัน้ ในชวงที่ “ตลาดโบราณ” หลายแหงกาํลังไดรับการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนรัุกษ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใหความสําคัญตอการศึกษาชุมชนในมิติประวตัิศาสตรมากขึ้น เพื่อใหตลาดที่กําลังมีการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวเชงิอนุรักษสามารถใชเปนแนวทางเรียนรูและศกึษาประวัติความเปนมาของชุมชน จนสามารถถายทอดเร่ืองราวตาง ๆ เกี่ยวกับชุมชนออกสูสาธารณชนได มากกวาจะทําให “ตลาดโบราณ” กลายเปนจุดขายตามกระแสการทองเที่ยวเชิงอนุรักษอยางในปจจุบันเพียงอยางเดยีว นอกจากนี ้ ในการศึกษาประวัติศาสตรชุมชนที่มีลักษณะเปนตลาดนั้น ควรศึกษาชุมชนในดานอื่น ๆ ควบคูกันไปดวย อยางเชน ดานภูมิปญญา วฒันธรรม วิถีชีวิต และศิลปะ ฯลฯ เพื่อเปนการขยายองคความรูใหกับการศึกษาประวัติศาสตรชุมชน และรองรบัการพัฒนาตลาดเชิงอนุรักษในทิศทางตาง ๆ ตอไป

Page 154: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

140

บรรณานุกรม เอกสารชั้นตน หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6 กระทรวงนครบาล. ร.6น.2/24. “เร่ือง รางพ.ร.บ. เกณฑทหาร พ.ศ.2460.” พ.ศ.2460. ________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.1/1. “เร่ือง

รายงานกรมชลประทานไดชวยเหลือชาวนาในมณฑลตาง ๆ.” 15-20 กุมภาพนัธ พ.ศ.2472.

________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.2/3. “เร่ือง ประกาศใชพระราชบัญญัติรักษาคลองและเกบ็คาธรรมเนียมเรือผานประตูน้ํา.” 16-22 มกราคม พ.ศ.2468.

________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.2/4. “เร่ือง ประกาศใชพระราชบัญญัติรักษาคลองและกฎเสนาบดีเร่ืองเก็บคาธรรมเนียมเรือผานประตูน้ํา.” 16-22 มกราคม พ.ศ.2468.

________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงเกษตราธิการ. ร.7กษ.6/3. “เร่ือง การ ออกโฉนดหรอืหนังสือสําคัญสําหรับปาฝน.”

________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ. ร.7ค.2/4. “เร่ือง แกไขพระราชบัญญัติฝน.” 13 กรกฎาคม-27 สิงหาคม พ.ศ.2472.

________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงพาณิชยและคมนาคม. ร.7พ.9/2. “เร่ือง พระราชบัญญัติสหกรณ.” 18 เมษายน - 21 มิถุนายน พ.ศ.2471. หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงพาณิชยและคมนาคม.

ร.7พ.7/14. “เรื่อง รายงานราคาขาวเปลือก.” 11 กุมภาพันธ - 15 มีนาคม พ.ศ.2472. ________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงมหาดไทย. ร.7ม.26.5/108. “เรื่อง ขาวน.ส.พ.เกีย่วกับการคาขาว.” 15 ธันวาคม-7 กุมภาพนัธ พ.ศ.2471. ________ . เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงมหาดไทย. ร.7ม.26.53/9. “เร่ือง จังหวดัสุพรรณบุรี.” 2 พฤษภาคม พ.ศ.2471-16 พฤศจกิายน พ.ศ.2472. สํานักทางหลวงที่ 10 สุพรรณบุรี. “หนังสือที่ คค 0634/2/ส.3/3170 เร่ือง รับมอบทางสายสามชุก-

หนองหญาไซ.” 13 กันยายน 2539. ________ . “หนังสือที่ คค 0609/14364 เร่ือง ขอมอบโอนทางใหกรมทางหลวง เพื่อบูรณะ ปรับปรุงใหเปนทางลาดยาง.” 30 มิถุนายน 2530.

Page 155: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

141

สํานักทางหลวงที่ 10 สุพรรณบุรี. “หนังสือที่ คค 0616/2/11/2631 เร่ือง ขอรับมอบเสนทางของ กรมชลประทานเพื่อกอสราง.” 8 ธันวาคม 2535. เอกสารชั้นตนที่ตีพิมพแลว ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. เอกสารตรวจราชการเมืองนครไชยศรี. พระนคร : คุรุสภา, 2511. (พิมพในงานฌาปนกจิศพหมอมลําดวน ดิศกุล ณ อยุธยา 22 กรกฎาคม 2511). สาระสังเขปเอกสารจดหมายเหตุ จ. สุพรรณบุรี ร.5-ร.7. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2546. เอกสารชั้นรอง

วิทยานิพนธ กนิษฐา ไทเตชะวัฒน. บทบาทของขุนนางไทยเชื้อสายจนีในประเทศไทยในสมยัรัชกาลที่ 3 ถึง

รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร (พ.ศ.2367-2453).” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ , 2534.

ถนอม ตะนา. “กิจการโรงสีขาวในที่ราบภาคกลางของประเทศไทย พ.ศ.2401-2481.” วิทยานพินธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527.

ทวีศิลป สืบวฒันะ. “การผลิตและการคาขาวในภาคกลางตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเดจ็พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2411-2475) .” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลยั จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521.

นิภาพร กุลมาตย. “สภาพเศรษฐกิจของชมุชนบัวใหญ ระหวางป พ.ศ.2474-2506.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2541.

นิรุบล อ้ึงอารุณยะวี. “สภาพเศรษฐกิจของชุมชนบานไผ ระหวางป พ.ศ.2476-2506.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543.

นิวัตร ตันไพศาล. “บทบาทชาวจีนในหัวเมอืงชายฝงทะเลตะวนัตก พ.ศ.2411-2475.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ, 2534.

ทิพยรัตน วานิชชา. “การปรับปรุงทองถ่ินทุรกันดารโดยรัฐบาลสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต พ.ศ.2501-2506.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2521.

Page 156: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

142

ธีระ แกวประจันทร. “สภาพเศรษฐกิจมณฑลนครชัยศรี พ.ศ.2438-2475.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ, 2534.

ธรรมรักษ จําปา. “การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจขาวในภาคกลางกับผลกระทบตอสังคมไทยชวง พ.ศ.2460-2498.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.

มัลลิกา เรืองระพี. “บทบาทของชาวจีนในดานเศรษฐกิจ สังคม และศิลปกรรมไทย สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518.

มณฑล คงแถวทอง. “เศรษฐกิจขาวและน้าํตาลทรายในลุมน้ําทาจีน พ.ศ.2398-2453.” วิทยานพินธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527.

รุจ รัตนพาหุ. “แนวทางการอนุรักษและพฒันาพื้นที่ชุมชนตลาดสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.

วิยะดา ทองมติร. “การใชแรงงานชาวจนีในสังคมไทย พ.ศ.2325-2453.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชยีตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527.

สุภาภรณ จรัลพัฒน. “ภาษฝีนกับนโยบายดานการคลังของรัฐบาลไทย พ.ศ.2367-2468.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2523)

สุวิทย ไพทยวัฒน. “วิวัฒนาการเศรษฐกจิชนบทในภาคกลางของประเทศไทยระหวาง พ.ศ.2398- 2475.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย, 2521.

สุนทรีย อาสะไวย. “การพัฒนาระบบชลประทานในประเทศไทย ตัง้แต พ.ศ.2431-2493. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521.

สุนทร หิรัญวงษ. “เร่ืองราวจังหวดัสุพรรณบุรีกอน พ.ศ.2310.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2512. อมรา จันทรมานะ. “กระบวนการติดตอส่ือสารภายในชมุชนเขมแข็ง : กรณีศึกษาตลาด

สามชุก ตําบลสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548.

Page 157: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

143

หนังสือภาษาไทย กมล จันทรสร. อิทธิพลของชาวจีนโพนทะเลและบทบาทของคนจีนในประเทศไทยสมัยปจจบุนั.

พระนคร:โอเดียนสโตร, 2506. ขจัดภยั บุรุษพัฒน. ชาวจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแพรพิทยา, 2517. คนจีน 200 ป ภายใตพระบรมโพธิสมภาร. กรุงเทพฯ: ศิริชัยการพิมพ, 2526. คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก. สืบสานงานศิลป ถ่ินสามชุก. ม.ป.ท., ม.ป.ป.. โคลงนิราศสุพรรณ. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: ศิวพร,2512. (พิมพเปนอนสุรณในงานฌาปนกิจศพ พันจาอากาศโทสุรพล สมบัติเจริญ 16 สิงหาคม 2512). จี วิลเลียม สกินเนอร. สังคมจีนในไทย. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ และ คนอืน่ ๆ. กรุงเทพฯ:

มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมานษุยศาสตร, 2548. ฉัตรทิพย นาถสุภา. เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสรางสรรค

, 2540. _______. แนวคิดเศรษฐกจิชมุชนขอเสนอทางทฤษฎีในบริบทตางสังคม. กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพบัลิชช่ิง, 2544. (ที่ระลึกในวาระครอบรอบ 60 ป). ฉัตรทิพย นาถสุภา และพรพิไล เลิศวิชา. วัฒนธรรมหมูบานไทย. พมิพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสรางสรรค, 2541. ชอบ ดีสวนโลก และคนอืน่ ๆ. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนลุมแมน้ํามลู ตั้งแต พ.ศ.

2475 จนถึงปจจุบัน. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2532. ชัย เรืองศิลป. ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ.2352-2453 ดานเศรษฐกิจ. พระนคร: มูลนิธิโครงการ ตําราสังคมศาสตรและมานษุยศาสตร, 2522. ชุมพล อักพันธานนท. สามชุกตลาดรอยป. นครปฐม: สํานักพิมพไปทาํไม, 2550. ไชยยงค ชูชาติ และโสภิต ทองปาน. เศรษฐกิจการคาขาวของไทย. พระนคร: สํานักพิมพ แพรพิทยา, 2503. ซิม วีระไวทยะ, ผูแปล. การสํารวจเศรษฐกิจในชนบทแหงสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตําราสังคมศาสตรและมานษุยศาสตร, 2525. ณรงค พวงพศิ. นโยบายเกีย่วกับการศึกษาของคนจีนในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ

พระปกเกลาเจาอยูหวั. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2518. ณัฐวฒุิ อัศวโกวิทวงศ และคนอื่น ๆ . ยานตลาดรอยปสามชุก กับกลไกชุมชนในมติิการอนุรักษ. ม.ป.ท., 2550.

Page 158: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

144

ตรึงใจ บูรณสมภพ และคนอื่น ๆ . โครงการรักษาเอกลกัษณของสถาปตยกรรมทองถ่ินและ ส่ิงแวดลอมเพือ่ดึงดูดนกัทองเที่ยว จ.สุพรรณบุรี. ม.ป.ท., ม.ป.ป..

ตวน ลีเซิง และ คนอื่น ๆ. บทบาทของชาวไทยเชื้อสายจนีตอการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค ตะวนัตก: ศึกษากรณจีังหวดันครปฐม . ม.ป.ท.: สถาบันวิจัยและพฒันามหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.

ธัญญารัตน อติชาติ และสุวทิย ธีรศาศวัต. เศรษฐกิจหมูบานอีสานหาทศวรรษหลังสงครามโลก คร้ังที่ 2 (พ.ศ.2488-2543) : กรณีศึกษาบานโนนมวง. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทนุสนับสนุนการวิจัย, 2544.

นิวัฒน ฉิมพาลี. รายงานการศึกษาชุมชนระดับหมูบานในเขตลุมแมน้ําทาจีน. ม.ป.ท.: ภาควิชา มานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยัศิลปากร, 2528.

_______. พัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคม และการเคลื่อนยายของประชากรในเขต อ.นครชัยศรี จ. นครปฐม. ม.ป.ท.: สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศลิปากร, 2536.

บัวพันธ พรหมพักพิง. เศรษฐกิจหมูบานอสีานหาทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 : กรณีศึกษา บานทา. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนบัสนุนการวจิยั, 2545.

ประพิณ ออกเวหา. หนังสืออานประกอบชุดบานเมืองของเราสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ บรรณกิจ, 2542.

ประวัติกรมปาไม 2439-2514 กรมปาไมกระทรวงเกษตร. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., ม.ป.ป.. เปรมวิทย ทอแกว. ประวตัิศาสตรไทย : ไทยศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2543. พรภิรมย เอีย่มธรรม และ คนอื่น ๆ , ผูแปล. สังคมชนบทและภาคเศรษฐกิจขาวของไทย พ.ศ.

2423-2473. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมชาติ, 2530. พวงรอย กลอมเอี้ยง และคนอื่น ๆ . โครงการวิจยัประวตัิศาสตรวิถีวฒันธรรมริมน้ํายานตลาดพล ู

จากคลองบางหลวงถึงคลองดาน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ม.ป.ป.. พลกูล อังกินนัท. บทบาทชาวจีนในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั. ม.ป.ท.: วิทยาลัยวชิาการประสานมิตร, 2515. พอพันธ อุยยานนท. เศรษฐกจิชุมชนหมูบานภาคกลาง. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน, 2546. มนัส โอภากลุ. ประวัติศาสตรและโบราณคดีเมืองสุพรรณบุรี. กรุงเทพ : จินดาสาสนการพิมพ, 2524.

Page 159: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

145

ยงยุทธ ชูแวน. ส่ีทศวรรษของ “ทองถ่ินศึกษา” ในมิติประวัติศาสตร : จากภายใตกรอบ ประวัติศาสตรชาติไทยสูการปลดปลอยและพัฒนาพลังประชาชน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,2541. (เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ประวัติศาสตรไทยบนเสนทางการเปลี่ยนแปลง : การประมวลความรูเพื่อการพัฒนาการวจิัยประวัติศาสตรไทย”).

วัฒนธรรม พฒันาการทางประวัติศาสตรเอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2544. (พิมพเนื่องในโอกาสพระบรมราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

วารุณี โอสถารมย. เมืองสุพรรณบนเสนทางการเปลี่ยนแปลงทางประวตัิศาสตร พุทธศตวรรษที่ 8 – ตนพุทธศตวรรษที่ 25. กรุงเทพฯ:สํานักพมิพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2547.

________. วิวฒันาการเมืองสุพรรณ :ศึกษาพัฒนาการชมุชนเมืองจากพุทธศตวรรษที่ 6 – ตนพุทธ ศตวรรษที่ 24. ม.ป.ท., 2546.

วิทยากร เชียงกูล. การเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบทภาคกลาง : ผลจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ ทุนนิยม 2503-2523. ม.ป.ท.,2525.

วิลาส โพธิสาร และสุวิทย ธีรศาศวัต. เศรษฐกิจหมูบานอีสานหาทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ.2488-2543) : กรณีศกึษาบานตระแสง. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2544.

ศิวกานท ปทมุสูติ, สุนันทา สุนทรประเสริฐ และอรอนงค โชคสกุล, ผูรวบรวม. ตํานานทองถ่ิน สุพรรณบุรี. ม.ป.ท. : สํานักงานการประถมศึกษาจังหวดัสุพรรณบุรี, 2534.

สมชาย พุมสอาด, ผูรวบรวม. สุพรรณบุรีในสมัยสุนทรภูและสุพรรณบุรีในสมัยปจจุบัน. ม.ป.ท., 2517.

สมาคมภาษาและหนังสือแหงประเทศไทย. อนุสรณสุนทรภู 200 ป. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ , 2529).

สวาท เสนาณรงค. ภูมิศาสตรประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ, 2519. สรุปผลการดําเนินงานของเครือขายวัฒนธรรมในจังหวัดสุพรรณบุรี ประจําป 2545. ม.ป.ท., 2545. สุวิทย ธีรศาศวัต. เศรษฐกิจหมูบานอีสานหาทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ.2480-2544) :

กรณีศึกษาบานวังสวาบ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย, 2545. สุวิทย ธีรศาศวัต และคนอืน่ ๆ. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนลุมแมน้ําสงคราม ตั้งแต

พ.ศ.2475 จนถึงปจจุบัน. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาติ, 2530.

Page 160: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

146

สํานักงานประถมศึกษาจังหวดัสุพรรณบุรี. นิทานพื้นบานเมืองสุพรรณบุรี. สุพรรณบุรี: ม.ป.ท., 2531.

สํานักงานพาณิชยจงัหวัดสพุรรณบุรี. ขอมูลการตลาดจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2523-2524. สุพรรณบุรี: ม.ป.ท.,ม.ป.ป..

เสาวภา พรสิริพงษ. ประวตัศิาสตรทองถ่ินภาคกลางชุมชนลุมน้ํานครชัยศรี: พัฒนาการทาง ประวัติศาสตรเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม พลวัตและการทาทาย. ม.ป.ท.: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ม.ป.ป..

สุภาภรณ จินดามณีโรจน. ประวัติศาสตรสังคมของชุมชนในลุมน้ําทาจีน. ม.ป.ท., 2532. (งานวจิยั เสนอตอศูนยมหาวิทยาลัยศลิปากร, 2532).

สุภางค จันทวานิช และ คนอื่น ๆ. ชาวจีนแตจิว๋ในประเทศไทยและในภูมิลําเนาเดมิที่เฉาซัน สมัยที่หนึ่ง ทาเรือจางหลิน (2310-2393). กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศกึษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534.

หนังสือสวดมนตวัดสามชกุ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพมหาจฬุาลงกรณราชวทิยาลัย, 2542. อมาตยกุล.เร่ืองจังหวดัสุพรรณบุรี.กรุงเทพฯ: ม.ป.ป.. (พมิพเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิง ศพนาวา อากาศโททแกลว สกลนันท ณ เมรุวดัมกุฎกษัตริยาราม, 19 มีนาคม , 2513). เอนก นาวิกมลู, เยือนยานรานตลาด. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน, 2548.

บทความ ชวนชื่น หวนชื่นชม. “100 ป ตลาดสามชุก.” มติชน, 4 กรกฎาคม 2548. ธิริณ. “100 ป ตลาดสามชุก...100ป ของชุมชนยั่งยนื.” สกุลไทย 51,2642 (มิถุนายน 2548) ธิริณ. “100 ป ตลาดสามชุก...100ป ของชุมชนยั่งยนื.” สกุลไทย 51,2643 (มิถุนายน 2548) นันทนา ตนัตเิวสส. “ชุมชนชาวจีนในราชอาณาจักรสยาม.” วารสารศิลปากร 33,1 (2536): 74-80. “เปดบานประตูบานขุนจีนารักษ อานวันวาน 100 ป เมืองสามชุก” [online]. Accessed 13 June

2006. Available From http://www.KAPOOK.com ประวัติศาสตรตลาดสามชุก [online]. Accessed 12 February 2008. Available from

http://www.samchuk.in.th/ ประวัติศาสตรเมืองสามชุก [online]. Accessed 21 August 2006. Available from

http://www.lek-prapai.org/samchuk 3.html ประวัติสถานตีํารวจภูธรอําเภอสามชุก [online]. Accessed 5 January 2007. Available from

http://www.samcuk.police7.go.th/

Page 161: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

147

โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม [online]. Accessed 5 January 2007. Available from http://school.obec.go.th/asomdej/3historyschool.html.

โรงเรียนอนุบาลสมเด็จพระวันรัต [online]. Accessed 5 January 2007. Available from http://school.obec.go.th/asomdej/3historyschool.html.

ไรชาล. “ตลาดสามชุกรอยป.” กรุงเทพฯวันอาทิตย, 22 พฤษภาคม 2548. ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล. “ควบคุมชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทรกอนการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.

2535-2435.” ศิลปวัฒนธรรม 13,4 (2535): 180-198. “สามชุก” [online]. Accessed 12 June 2006. Available From http://www.tv5.co.th/ สุธน ศรีหิรัญ. “ประวัติศาสตรเศรษฐกิจลุมแมน้ํานครชยัศรี.” วารสารธรรมศาสตร 4,3(2518). สุวัฒน คงแปน. “ตลาดสามชุก ตลาดมีชีวติ พิพิธภัณฑมชีีวา” มองผานสายตา รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม

[online]. Accessed 12 June 2005. Available From http://www.manager.co.th/ อเนก นาวิกมลู. “ตลาดสามชุก.” วารสารสารคด ี12, 211(กันยายน 2545): 18-19. เอกสารอัดสําเนา กฤตยา เสริมสุข. ประวัติอําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรีุ. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. ประวัติตลาดสามชุก. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. สามชุก ลมหายใจแหงอดีต. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. พิพิธภัณฑ/การดําเนินงานสามชุก 100 ป. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. ประวัติอําเภอสามชุก (โดยยอ). ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. ภาพเกาเลาขานตาํนานสามชุก. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ________. ความเปนมาของโครงการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสาร

อัดสําเนา) ________. สามชุก บานเรา. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) ปรีชา ทวีสุข. ความคิดเหน็ของคนตลาดสามชุก. ม.ป.ท., ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา) พระศรีธวัชเมธี . “ชนกลุมนอยเมืองสุพรรณบุรีกับเอกสารโบราณ.” บรรยายพิเศษในโครงการ

เผยแพรความรูเร่ืองการอนุรักษเอกสารโบราณแกบุคลากรที่เกี่ยวของในภูมภิาค คร้ังที่ 2 ภาคกลาง, 17 มีนาคม 2548. (อัดสําเนา)

พุทธสมาคมสุพรรณบุรี. โฉมหนาสุพรรณบุรี. ม.ป.ท.,2535. (เอกสารอัดสําเนา)

Page 162: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

148

หนังสือภาษาตางประเทศ Napharat Maneeret. The Tae Chew Chinese languages of Nakhon Pathom. Bangkok:Silpakorn

University, 1983. Ingrame, James C. The Economic Change in Thailand 1850-1970. California : Standford

University Press, 1971. สัมภาษณ กฤตยา เสริมสุข. อาจารยโรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 29 กันยายน 2549. คมกฤช ทีวะเวช. หวัหนาฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบชลประทาน โครงการสงน้ําและ

บํารุงรักษาสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 26 ธันวาคม 2549. จินดา พรหมโชติ. ชาวบานในตลาดสามชกุ อําเภอสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี. สัมภาษณ, 28 ธันวาคม 2549. เจหมิ่น แซเหล่ียง.ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี. สัมภาษณ, 1 มกราคม 2551. ชูหงษ แซแต. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 28 ธันวาคม 2549. ทเวช บุญลือ. หัวหนาฝายชางกล โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี.

สัมภาษณ, 26 ธันวาคม 2549. นิตยา ศรีสมบูรณ. อาจารยโรงเรียนประทีปศึกษา อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรีุ. สัมภาษณ, 14 กุมภาพนัธ 2550. นิ่ม จําปานิล. ชาวบานตําบลวังยาง อําเภอศรีประจันต จงัหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 27 ธันวาคม 2549. บุญเลิศ ทองนิล. ชาวบานตาํบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 27 ธันวาคม 2549. ปราณี สุวรรณวัฒนกิจ. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ,

28 ธันวาคม 2549. ปรีชา ทวีสุข. คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ. สัมภาษณ, 29 กันยายน 2549. พงษวนิ ชัยวิรัตน. ประธานกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ. สัมภาษณ, 28 กันยายน 2549. พิชัย ไมหวาด. คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนรัุกษ. สัมภาษณ, 28 ธันวาคม 2549.

Page 163: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

149

ภาค กฤษวงษ. คณะกรรมการวัดบานทึง อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 16 กันยายน 2549. ยงยุทธ เขียวอมร. คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ. สัมภาษณ, 28 กันยายน 2549. วรรณฑณี รัตนบรรพจ. เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัด

สุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 14 กมุภาพันธ 2550. วันเพ็ญ คนลํ้า. เจาหนาที่บริหารงานสถิติ 5 แขวงการทางสุพรรณบุรีที่ 1. สัมภาษณ, 27 ธันวาคม

พ.ศ.2549. วิบูลย จึงเจริญสุขยิ่ง. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 28 ธันวาคม 2549. ศิริ สรหงษ. ชาวบานตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 27 ธันวาคม

2549. สมชาย หงษสุพรรณ. คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ. สัมภาษณ, 28 กันยายน 2549. สันทนา ลอยจินดารัตน. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ,

28 ธันวาคม 2549. สายบัว พวัพลเทพ. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 25 ธันวาคม 2549. ________. ชาวบานในตลาดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 15 กุมภาพนัธ

2550. สิริโฉม แจงประจักษ. พนกังานธุรการชั้น 3โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาสามชุก จงัหวัด

สุพรรณบุรี. สัมภาษณ, 28 ธันวาคม 2549. สุนิภา เหลืองศรีดี. ชาวบานในตลาดสามชกุ อําเภอสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี. สัมภาษณ, 25 ธันวาคม 2549. สุมาลย จีนารักษ. ชาวบานในตลาดสามชกุ อําเภอสามชุก จังหวัดสพุรรณบุรี. สัมภาษณ, 26 ธันวาคม 2549. สุริยา ชํานาญศิลป. เจาหนาที่บริหารงานสรรพากรพื้นที่ สาขาสามชุก. สัมภาษณ, 25 ธันวาคม

2549. พระสมุหใส ติกฺขวีโร. พระภิกษุประจําวัดสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ,

6 มกราคม 2550. อุทัยวรรณ คลายสําเนียง. เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 6 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอสามชุก

จังหวดัสุพรรณบุรี. สัมภาษณ 14 กุมภาพนัธ 2550.

Page 164: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

150

ภาคผนวก

Page 165: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

151

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูล

Page 166: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

152

Page 167: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

153

Page 168: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

154

Page 169: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

155

Page 170: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

156

Page 171: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

157

ภาคผนวก ข

รายละเอียดตาง ๆ เก่ียวกับบริษัทเดินเรือขนสงสุพรรณฯ

เรือเมลบริษัทสุพรรณ สรางเปนเรือมีหวัแหลมแบบเตารีดผาดวยถานไฟสมัยโบราณ ซ่ึงเปนแบบเรือยนตของฝรั่ง มีหลังคาเปนแผนแบน ๆ ยาวไปตามลําเรือ มีเสาเรือรองรับและมีผาใบผูกติดชายเรือสําหรับบังแดดและฝน มเีครื่องยนตกลางลําเรือมีปลองไอเสียข้ึนไปบนหลังคา มีพวงมาลัยเรืออยูบนเรือ และที่ทายเรือมสีวมเปนหองสุขา ตัวเรือทาดวยสีแดงมีช่ือเรือติดที่กาบทั้งสองขางทางตอนหัวเรือ ช่ือของเรือทุกลําเปนชื่อตัวละครในเรื่องขุนชางขุนแผน เชน ขุนชาง ขุนแผน พลายแกว พลายงาม พิมพิลาไลย พระพิจิตร พระไววรนาถ นางแวนฟา นางลาวทอง เถรวาด ศรีประจันต ฯลฯ ประมาณ 100 กวาลํา รูปแบบของเรือสุพรรณบุรี ประกอบดวยเรือตอจากไมตะเคียน และไมสักรวม 3-4 แบบไดแก 1.แบบเรือช้ันเดียว รูปรางเปนเรือยนตฝร่ัง หัวเรือคลายเตารีดผาแบบโบราณที่ใชถานไม ยาวประมาณ 10-15 เมตร กวางประมาณ 3 เมตร มีหลังคากันแดด เครื่องยนตอยูกลางลําเรือ ระยะแรก ๆ เปนเครื่องยนตไอน้ําใชฟนเปนเชื้อเพลิง ตอมาเปลี่ยนเปนเครื่องยนตนาํมันเตา และโซลา ของอังกฤษ เชน GARDNER, LAY - LAND และ GAY MARINE ของอเมริกาตามลําดับ ที่ทายเรือมีสวมเปนหองสุขา เปนเรือบรรทุกผูโดยสารจุคนไดตั้งแต 50 - 100 คน ลําเรือภายนอกทาสีแดงเปนพืน้ทั้งลํา ทองเรือทาสีดํา 2.แบบชั้นคร่ึง เรือแบบนีเ้ปนเรือที่ตอข้ึนสําหรับเรือลากจูงเรือบรรทุกลําใหญ ๆ เชน เรือบรรทุกขาวเปลือก ขาวสาร และแพซุงไมสัก เครื่องยนตมีกําลังแรงมาก สามารถลากจูงเรือพวงตอ ๆ กันหลาย ๆ สิบลํา เวลาวิ่งมีเสียดังมาก 3.แบบสองชั้น เรือแบบสองชั้นนี้พัฒนามาจากเรือช้ันเดียว ทั้งนีเ้พื่อใหสามารถบรรทุกคนไดมากขึ้นถึง 400 คน เปนเรือขนาดใหญกวาทุกแบบมคีวามยาวประมาณ 12 เมตร กวางประมาณ 3 - 5 เมตร เครื่องยนตอยูตรงกลางลํา มีพวงมาลัยบังคบัเรือสําหรับคนขับอยูช้ันบน ช้ันบนดานทายเรือบางลําจะมีที่นั่งสํารองพระภกิษุ ทาํยกพืน้ตางระดับขึ้นมาเล็กนอย เรียกวา “บาหลี” ภิกษุโดยสารฟรีทางบริษัทไมเก็บคาโดยสาร ภิกษุบางรูปเปนเกจิอาจารยจะมีผูโดยสารในเรือเที่ยวนั้นมากราบขอพรและสนทนากนัเปนจํานวนมากตลอดทาง ที่ทายเรือช้ันลางมีหองสุขาและชั้นลางสวนมากจะเปนที่สําหรับบรรทุกสินคาและผูโดยสารปนกันไป เครื่องยนตอยูกลางลําเรือ ปลองทอไปเสียอยูทายเรือ

Page 172: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

158

4.แบบเรือดวน เรือแบบนีเ้ปนเรือหวัแหลมแบบชะโงกไปขางหนา คลายเรือเครื่องติดทาย หรือเรือช่ือตามที่คนไทยเรยีกกัน แตมีความยาวกวามาก ขนาดความกวางประมาณ 2.5 เมตร ยาวประมาณ 12 เมตร มีเกาอ้ีนัง่ตลอดลํา เครื่องยนตคอนไปทางทายเรือ มีหลังคากันแดดฝน วิ่งไดเร็วมากกวาเรอืแบบเดิม 1 เทา เชน ระยะทางจาก จังหวัดสุพรรณบุรี ถึงทาเรือบริษัทสุพรรณบุรีที่งิ้วราย เดิมวิ่งใชเวลา 8 ช่ัวโมง เรือเร็วดวนนี้ จะใชเวลา 4 ช่ัวโมง เทานั้น สาเหตุที่สรางเรือแบบนี้ขึ้นนั้นก็เพื่อจะบริการผูโดยสารใหทันใจ แขงกับรถยนตโดยสาร เพราะสมยัเมื่อยังไมมีทางรถยนต ผูคนนิยมใชเรือโดยสาร เพราะไมมีทางอื่น ในระยะหลังทางรถยนตสายมาลัยแทนเชื่อตอระหวางนครปฐมถึงสุพรรณบุรีผูโดยสารเรือหันมาขึ้นรถโดยสารเพราะเร็วกวา ทําใหผูโดยสารเรือลดลง ทางบริษัทจึงคิดตอเรือที่มีความเร็วขึ้น เพื่อความอยูรอดของกิจการเดนิเรือกอนที่จะเลิกกิจการในราว พ.ศ.2510

เรือมีเคร่ืองยนตแรงมาสงู

รูปท่ี 1 เรือโดยสารบริษัทสุพรรณ แบบชั้นเดียว

รูปท่ี 2 เรือโยง หรือเรือพวงบริษัทสุพรรณ

Page 173: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

159

รูปท่ี 3 เรือโดยสารบริษัทสุพรรณ แบบสองชั้น

รูปท่ี 4 เรือดวนของบริษัทสพุรรณ

เสนทางการเดนิเรือ บริษัทสุพรรณบุรีขนสงมีที่ทําการบริษัทอยูที่ทาเรอืงิ้วรายเปนแมขาย และมีที่ทําการสาขากระจายออกไปในลุมแมน้ําเจาพระยาและทาจีนหลายแหง เชนที่ อําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท จังหวัดอางทอง อุทัยธานี สุพรรณบุรี งิ้วราย อําเภอนครชัยศรี ประตูน้ําบางยาง อําเภอกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา และทาเตยีน กรุงเทพฯ แบงการเดินทางเปนสาย ๆ เชน 1.งิ้วราย – สองพี่นอง – สุพรรณบุรี 2.งิ้วราย – ประตูน้ําบางยาง – วัดบางปลา – วัดชองลมสมุทรสาคร 3.ประตูน้ําบางยาง – หลัก 4 คลองดําเนินสะดวก – บานแพว – จังหวดัราชบุรี 4.ประตูน้ําโพธิ์พระยา – บานกลวย – สามชุก – ศรีประจนัต 5.บางลี่ – ทาเตียนกรุงเทพฯ 6.ประตูน้ําบางยี่หน – เจาเจด็ – พระนครศรีอยุธยา 7.สุพรรณบุรี – อําเภอสองพีน่อง 8.มโนรมย – อุทัยธาน ี -ฯลฯ- สําหรับการเดนิทางเขากรุงเทพฯ ของชาวสุพรรณบรีุ จะตองโดยสารเรือสายสุพรรณเทานั้น และมาโดยสารรถไฟที่สถานีวัดงิว้รายเขากรุงเทพฯ และบางกอกนอย เชน เร่ิมจากอําเภอ

Page 174: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

160

เดิมบางนางบวช ถึงเขื่อนสามชุก - ศรีประจันต - ประตูตนโพธิ์พระยา - ตลาดเมืองสุพรรณบุรี - บางปลามา - สองพี่นอง - ประตูน้ํายายหน - บางหลวง - บางเลน - หวยพลู - ทาเรือตลาดงิ้วราย โดยสารรถไฟจากสถานีงิ้วราย ผานสถานีตอไปนี้ สถานีคลองมหาสวัสดิ์ – สถานีวัดสวุรรณ – สถานีศาลายา – สถานีศาลาธรรมสพ – สถานีชุมทางตลิ่งชัน – สถานีฉิมพลี - สถานีบางกอกนอย ขามแมน้ําเจาพระยาที่ทาเรอืบางกอกนอยไปยังทาพระจนัทร กรุงเทพฯ เปนตน บริษัทประกอบกิจการมาตั้งแตสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณ พ.ศ.2485 เร่ือยมา จนกระทั่งในระยะ พ.ศ.2500 กิจการเริ่มทรุดลงเนื่องจากมีรถยนตโดยสารมากขึ้น จึงไดขยายกิจการและเปลี่ยนชื่อบริษัทไทยพัฒนาขนสง เปลี่ยนชื่อเรือเปนลักษณะเรือดวนแลนเร็ว และในที่สุดก็ตองเลิกกิจการลงใน พ.ศ.2510 ปจจุบัน บริษัทสุพรรณบุรีขนสง เลิกกจิการแลวตั้งแตป พ.ศ.2510 เหลือแตที่ดนิอาคารเกา ตลาดทางิ้วรายเกาซ่ึงเปลี่ยนไปเปนบานพักอาศยั สํานักงานของบริษัทที่ขึ้นลงตลาดงิ้วรายเปล่ียนเปนบานพักอาศยั 2 หลัง แบบสมัยใหม ของนายสุรพล ทองสิมา โดยมีทาขึ้นลงอยูขางบาน สําหรับใหคนฝงตรงขามมาขึ้นรถไฟได

Page 175: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

161

ภาคผนวก ค ประวัติของขนุจํานงจีนารักษ กรรมการพิเศษจังหวัดสุพรรณบุรี นายอากรสุรา

ขุนจํานงจนีารักษ เดิมชื่อ นายหยุ แซเฮง เกิด ณ บานเรอืนแพริมฝงลําน้ําสุพรรณบรีุ ใกลกับวัดโพธิ์คอย ตําบลทาระหัด อําเภอเมอืง จังหวัดสพุรรณบุรี เมือ่สมัยรัชกาลที่ 5 เปนบุตรนายแมว แซเฮง (ซ่ึงเปนชาวจนีแตจิว๋ที่อพยพมาจากซัวเถามาตั้งถ่ินฐานในเมืองไทย) กบันางนวม ซ่ึงเปนคนไทย มีนองสาว 2 คน ครอบครัวของทานทํากิจการคาขายเครื่องใชในครัวเรือน มีโรงเหลาและโรงยาฝน พออายุได 4 ขวบกวา ๆ ถูกสงไปเรียนหนังสือที่ประเทศจีน จนอายุ 20 ปกวาไดเดินทางกลับมาประเทศไทย ตอมาไดสมรสกับนางกุยเฮง แซเจ็ง เปนบุตรสาวนายอากรเลง แซเจ็ง เจาของโรงสีที่ตลาดทาชาง อําเภอเดิมบางนางบวช มีบตุรธิดาทั้งหมด 3 คน ลูกชายคนโตชื่อ นายโตวซง (บญุสง) แซเฮง คนรองชื่อ นายติ้งซง แซเฮง และคนสุดทองเปนผูหญิงชื่อ ซ้ิวล้ัง แซเฮง (สุมาลย จีนารักษ) ภายหลังจากมีครอบครัวก็ไดแยกออกมาทํากจิการโรงเหลาและโรงยาฝนที่ตลาดสามชุก ไดเชาที่ราชพสัดุบริเวณหัวซอย 2 ปลูกบาน 3 ช้ัน เปนคอนกรีตเสริมเหล็กผสมไมในป พ.ศ.2459 และไดปลูกตนกระดังงาจีนไวทางทิศตะวนัออก อาคารหลังนี้ขุนจํานงไดนําไมบางสวนจากการรื้อบานหลังเกาจากบานเดิมที่โพธิ์คอยมาสราง สวนกระเบื้องปูพื้นเปนกระเบื้องสีที่ส่ังมาจากประเทศอิตาลี บานของทานสงางามมาก ลายปูนปนแข็งแรงแตออนหวานในชั้น 2 ไมแกะสักสวยงามในช้ัน 3 หนาตางเปนแบบยุโรป ตอมาโรงเหลาและโรงยาฝนของทานรุงเรืองมากจนไดขยายกจิการ ครอบคลุมพื้นที่ถึง 6 อําเภอ ในสมัยนั้นจังหวัดสพุรรณบุรีมี 7 อําเภอ นอกจากกิจการโรงเหลาและโรงยาฝน ทานยังมีหองแถวบริเวณรอบ ๆ บานสามชั้น และที่ตลาด อําเภอหนัคา จังหวดัชัยนาท ใหเชาขายของ สมัยนั้นถือไดวาบานสามชัน้หลังนี้เปนศนูยกลางสําคญัของชุมชน เปนที่พักของชาวบานตลาดสามชุกทุกเพศทุกวยั ทั้งคนยากดีมีจนทกุชนชั้น ใครมีเรื่องเดือดรอนก็สามารถมาเยือนใหทานชวยเหลือ แกปญหาตาง เชน ปญหาเรื่องเงินทอง ปญหาการไมไดรับความเปนธรรมปญหาความขดัแยงของคนในชุมชน ใน พ.ศ.2472 ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิจ์ากพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหวัรัชกาลที่ 7 เปน “ขุนจํานงจนีารักษ” ตําแหนงกรมการพิเศษ จังหวดัสุพรรณบุรี กิจการโรงฝนของขุนจํานงจนีารักษดําเนินการมาจนกระทั่งในป พ.ศ.2500-2501 เนือ่งจากสมัยนั้นทางรฐับาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชัตไดประกาศสั่งยกเลิกการสูบฝนทําใหกจิการโรงยาฝนก็

Page 176: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

162

ตองปดไป หลังจากที่ทานเลิกทํากิจการทั้งหมดแลวทานก็ไปทาํสวนผลไมที่บริเวณใกลกับวัดสามชุกและพกัอาศัยอยูทีน่ัน้จนกระทั่งทานเสียชีวติ พ.ศ.2517 มีอายุได 83 ป

หมายเหตุ : เอกสารสมัยรัชกาลที่ 7 แตงตั้งใหขุนจาํนงจีนารักษ เปนกรรมการพิเศษประจําจังหวัดสุพรรณบุรี นายอากรสุรา ศักดินา 400 ไร พ.ศ.2474 ท่ีมา : ภาพถายจากการสํารวจพื้นท่ี (พิพธิภัณฑบานขนุจํานงจีนารักษ)

Page 177: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

163

ภาคผนวก ง ตารางความเคลื่อนไหวของราคาสินคาขายปลีกในป พ.ศ.2523

ลําดับ รายการสินคา หนวย ราคาขายปลีก (บาท)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

26

27

หมวดอาหาร ขาวสารเจา 5% ขาสารเจา 10 % ขาวเหนียวเมล็ดสั้น 5 % เนื้อวัวสันนอก เนื้อหมูเนื้อแดง เนื้อหมูมันแข็ง ไกสด เปดสด ปลาชอนสด ปลาดุกสด (ปลาดุกดาน) ปลาทูนึ่ง (ขนาดกลาง) ไขไกสด ไขเปดสด นมขนหวาน (ตราหมี) นมระเหยน้ํา (ตราอลาสกา) น้ําตาลทรายขาวธรรมดา น้ํามันหมู น้ํามันพืช (ตรากุก) บรรจุขวด 1 ลิตร ถั่วเขียวธรรมดา ถั่วดํา ถั่วลิสงกะเทาะเปลือก พริกแหงขนาดใหญ หัวหอมแหง ตัดหมวด หัวกระเทียมแหงตัดหมวด มะพราวหาว หมวดยารักษาโรค ยาธาตุน้ําแดงขององคการเภสัชกรรม (300ซีซี) ยาเตรตาไซคลีน (ตราเมอรกซ)

15 กิโลกรัม 15 กิโลกรัม 15 กิโลกรัม กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

ตัวละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ เขงละ ฟองละ ฟองละ

กระปองละ กระปองละ กิโลกรัม กิโลกรัม ขวดละ

กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

ผลละ

ขวด

แค็ปซูลละ

100.00 95.00

- 47.00 46.00 28.00 27.00

- 20.00 30.00 4.00 1.40 1.30 8.75 6.25

12.00 20.00 25.00 12.00 10.00 24.00 40.00 17.00 20.00 10.00

8.00

1.00

Page 178: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

164

(ตอ) ภาคผนวก ง

ลําดับ รายการสินคา หนวย ราคาขายปลีก (บาท)

28

29

30

31 32

33

34 35 36 37

38

39 40 41 42

43

หมวดผาและดายเย็บผา ผาดิบ (ตรามาเรือ) คุณภาพปานกลาง (10-11 ปอนด หนากวาง 36”) ผาติดเสื้อชนิดบาง (ตรานาฬิกาทอง) ฝายผสมใยเทียม ที/ซี 65.35 (190 เสน ตอ 1 ตารางนิ้ว) ผาตัดกางเกง (ตราโทเร) เบอร 10,000 หรือ ที-2030 ใยสังเคราะหที-อาร 65.35 หนากวาง 56” สีตาง ๆ ดายหลอดเบอร 40 (ดายเย็บมือ) ตราสมอ ดายหลอดเบอร 60 (ดายเย็บมือ) ตราวีนัส หมวดวัสดุกอสราง เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 4 หุนเต็ม เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 3 หุนเต็ม เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 2 หุนเต็ม ตะปู (ตราชาง 3 เศียร) ยาว 1 นิ้ว 3 หุน ปูนซีเมนต (ตราเสือ) ถุง 50 กิโลกรัม อิฐมอญ กระเบื้องมุงหลังคาลอนคู 50+120 เซนติเมตร สังกะสีลูกฟูก (ตรา 3 ดาว) 2½ ฟุต ยาว 8 ฟุต ไมยาง ไมฟน ขนาด 1”+6” - 8”ไมยาง ไมฝา ขนาด ½”+6” ไมเนื้อแข็ง ไมฟน ขนาด 1”+ 6”- 8” ไมเนื้อแข็ง ไมฝา ขนาด ½”+6” หมวดยางนอกรถยนต จักรยานยนต และจักรยาน ยางรถยนตบรรทุกขนาด 7.50-14 ปอัพ (8 ช้ัน) ยางรถยนตบรรทุกขนาด 7.50-14 ปอัพ (6 ช้ัน)

เมตรละ

เมตรละ

เมตรละ

หลอดละ หลอดละ

เสนละ เสนละ เสนละ

กิโลกรัมละ ถุงละ รอยละ แผนละ

ฟุตละ

ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ

เสนละ

เสนละ

12.00

22.00

50.00

6.00 9.00

83.00 40.00 21.00 14.00 55.00 28.00 27.00

6.00

160.00 160.00 200.00 220.00

850.00

800.00

Page 179: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

165

(ตอ) ภาคผนวก ง

ลําดับ รายการสินคา หนวย ราคาขายปลีก (บาท)

44 45 46

47 48

49 50 51 52

53 54

55

56

57

58 59 60

ยางรถยนตบรรทุก (10 ลอ) ขนาด 8.25-20 ยางรถยนตนั่งขนาด 5.60-13 ยางรถจักรยานยนต ขนาด 250-17 ยางรถยนตขนาด 28-1½ (พิเศษ) ยางรถยนตขนาด 28-1½ (ธรรมดา) หมวดวัสดุเชื้อเพลิง น้ํามันกาด น้ํามันเบนซิน (ธรรมดา) น้ํามันเบนซิน (พิเศษ) น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว ไมขีดไฟ ถานไมเบญจพรรณ แกสหุงตม (ตราเอสโซ) ขนาด 12 กิโลกรัม แกสหุงตม (ตราซัมมิท หรือ เชลล) ขนาด 15 กิโลกรัม หมวดเครื่องใชไฟฟา หลอดไฟฟา (ตราฟลิปส) หลอดไฟฟาฟลูออเรสเซนส (ตราฟลิปส) 40 วัตต สายไฟฟา เบอร 14 สายไฟฟา เบอร 19 ถานไฟฉายผลิตในประเทศไทย (ใหญ) หมวดสินคาเบ็ดเตล็ด สบูหอม (ตราลักษพิเศษ ผสมครีมบํารุงผิว) ยาสีฟน (ตราคอลเกต) ขนาด 14 กรัม แปรงสีฟน (ตราคอลเกต) ทวินแอคชั่น ผงซักฟอก (ตราแฟบ) กลองละ 500 กรัม

เสนละ

เสนละ เสนละ เสนละ เสนละ

ลิตรละ ลิตรละ ลิตรละ ลิตรละ กลักละ

กระสอบละ ถังละ

ถังละ

หลอดละ หลอดละ

เมตรละ เมตรละ กอนละ

กอนละ

หลอดละ อันละ กลองละ

2,550.00

550.00 115.00 50.00 43.00

5.87 9.43 9.97 6.71 0.50

80.00 140.00

160.00

9.00 40.00

5.00 3.00 2.50

5.50

10.00 6.00

15.00

Page 180: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

166

(ตอ) ภาคผนวก ง

ลําดับ รายการสินคา หนวย ราคาขายปลีก (บาท)

61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

หมวดสินคาที่จําเปนของทองถิ่น ผักคะนา ผักบุง ผักกาดขาว ถั่วงอก ถั่วฝกยาว ตนหอม ผักชี มะเขือเปราะ พริกช้ีฟาสด พริกขี้หนูสด (พริกหอม)

กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

5.00 6.00 5.00 4.00 8.00

- 8.00 6.00

10.00 35.00

ท่ีมา : สํานกังานพาณิชยจังหวัดสุพรรณบุรี, ขอมูลการตลาดจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2523-2524 (สุพรรณบุรี:ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 36-39.

Page 181: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

167

ภาคผนวก จ ตารางแสดงความเคลื่อนไหวของราคาสินคาขายปลีก เปรียบเทียบป พ.ศ.2523 กับป พ.ศ.2524

ราคาขายปลีก (บาท) ลําดับ รายการสินคา หนวย

ป พ.ศ.2523 ป พ.ศ.2524

+ เพิ่ม - ลด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

26

หมวดอาหาร ขาวสารเจา 5% ขาสารเจา 10 % ขาวเหนียวเมล็ดสั้น 5 % เนื้อวัวสันนอก เนื้อหมูเนื้อแดง เนื้อหมูมันแข็ง ไกสด เปดสด ปลาชอนสด ปลาดุกสด (ปลาดุกดาน) ปลาทูนึ่ง (ขนาดกลาง) ไขไกสด ไขเปดสด นมขนหวาน (ตราหมี) นมระเหยน้ํา (ตราอลาสกา) น้ําตาลทรายขาวธรรมดา น้ํามันหมู น้ํามันพืช (ตรากุก) บรรจุขวด 1 ลิตร ถั่วเขียวธรรมดา ถั่วดํา ถั่วลิสงกะเทาะเปลือก พริกแหงขนาดใหญ หัวหอมแหง ตัดหมวด หัวกระเทียมแหงตัดหมวด มะพราวหาว หมวดยารักษาโรค ยาธาตุน้ําแดงขององคการเภสัชกรรม (300ซีซี)

15 กิโลกรัม 15 กิโลกรัม 15 กิโลกรัม กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

ตัวละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ เขงละ ฟองละ ฟองละ

กระปองละ กระปองละ กิโลกรัม กิโลกรัม ขวดละ

กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

ผลละ

ขวด

100.00 95.00

- 47.00 46.00 28.00 27.00

- 20.00 30.00 4.00 1.40 1.30 8.75 6.25

12.00 20.00 25.00 12.00 10.00 24.00 40.00 17.00 20.00 10.00

8.00

115.00 105.00 110.00 46.00 45.00 25.00 29.00 50.00 33.00 33.00 5.00 1.50 1.50

11.00 7.25

11.00 20.00 25.00 14.00 12.00 15.00 40.00 32.00 35.00 4.00

11.00

+15 +10.00

- -1.00 -1.00 -3.00 +2.00

- +13.00 +3.00 +1.00 +0.10 +0.20 +2.25 +1.00 -1.00

- -

+2.00 2.00 9.00

- +15.00 +15.00 -6.00 +3.00

Page 182: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

168

(ตอ) ภาคผนวก จ

ราคาขายปลีก (บาท) ลําดับ รายการสินคา หนวย

ป พ.ศ.2523 ป พ.ศ.2524

+ เพิ่ม - ลด

27

28

29

30

31

32

33

34

35 36 37

38

39 40 41 42

ยาเตรตาไซคลีน (ตราเมอรกซ) หมวดผาและดายเย็บผา ผาดิบ (ตรามาเรือ) คุณภาพปานกลาง (10-11 ปอนด หนากวาง 36”) ผาติดเสื้อชนิดบาง (ตรานาฬิกาทอง) ฝายผสมใยเทียม ที/ซี 65.35 (190 เสน ตอ 1 ตารางนิ้ว) ผาตัดกางเกง (ตราโทเร) เบอร 10,000 หรือ ที-2030 ใยสังเคราะหที-อาร 65.35 หนากวาง 56” สีตาง ๆ ดายหลอดเบอร 40 (ดายเย็บมือ) ตราสมอ ดายหลอดเบอร 60 (ดายเย็บมือ) ตราวีนัส หมวดวัสดุกอสราง เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 4 หุนเต็ม เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 3 หุนเต็ม เหล็กเสนชนิดกลาง ขนาด 2 หุนเต็ม ตะปู (ตราชาง 3 เศียร) ยาว 1 นิ้ว 3 หุน ปูนซีเมนต (ตราเสือ) ถุง 50 กิโลกรัม อิฐมอญ กระเบื้องมุงหลังคาลอนคู 50+120 เซนติเมตร สังกะสีลูกฟูก (ตรา 3 ดาว) 2½ ฟุต ยาว 8 ฟุต ไมยาง ไมฟน ขนาด 1”+6” - 8”ไมยาง ไมฝา ขนาด ½”+6” ไมเนื้อแข็ง ไมฟน ขนาด 1”+ 6”- 8” ไมเนื้อแข็ง ไมฝา ขนาด ½”+6”

แค็ปซูลละ

เมตรละ

เมตรละ

เมตรละ

หลอดละ

หลอดละ

เสนละ เสนละ เสนละ

กิโลกรัมละ

ถุงละ รอยละ แผนละ

ฟุตละ

ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ ลูกบาศกฟุตละ

1.00

12.00

22.00

50.00

6.00

9.00

83.00 40.00 21.00 14.00

55.00 28.00 27.00

6.00

160.00 160.00 200.00 220.00

1.00

12.00

22.00

50.00

6.00

9.00

76.00 44.00 21.50 18.00

65.00 28.00 27.00

6.20

170.00 180.00 200.00 220.00

- - - - - -

-7.00 +4.00 +0.50 +4.00 +10.00

- -

+0.20 +10.00 +20.00

- -

Page 183: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

169

(ตอ) ภาคผนวก จ

ราคาขายปลีก (บาท) ลําดับ รายการสินคา หนวย

ป พ.ศ.2523 ป พ.ศ.2524

+ เพิ่ม - ลด

43

44 45 46

47 48

49 50 51 52

53

54

55

56

หมวดยางนอกรถยนต จักรยานยนต และจักรยาน ยางรถยนตบรรทุกขนาด 7.50-14 ปอัพ (8 ช้ัน) ยางรถยนตบรรทุกขนาด 7.50-14 ปอัพ (6 ช้ัน) ยางรถยนตบรรทุก (10 ลอ) ขนาด 8.25-20 ยางรถยนตนั่งขนาด 5.60-13 ยางรถจักรยานยนต ขนาด 250-17 ยางรถยนตขนาด 28-1½ (พิเศษ) ยางรถยนตขนาด 28-1½ (ธรรมดา) หมวดวัสดุเชื้อเพลิง น้ํามันกาด น้ํามันเบนซิน (ธรรมดา) น้ํามันเบนซิน (พิเศษ) น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว ไมขีดไฟ ถานไมเบญจพรรณ แกสหุงตม (ตราเอสโซ) ขนาด 12 กิโลกรัม แกสหุงตม (ตราซัมมิท หรือ เชลล) ขนาด 15 กิโลกรัม หมวดเครื่องใชไฟฟา หลอดไฟฟา (ตราฟลิปส) หลอดไฟฟาฟลูออเรสเซนส (ตราฟลิปส) 40 วัตต สายไฟฟา เบอร 14 สายไฟฟา เบอร 19 ถานไฟฉายผลิตในประเทศไทย (ใหญ)

เสนละ

เสนละ

เสนละ

เสนละ เสนละ เสนละ เสนละ

ลิตรละ ลิตรละ ลิตรละ ลิตรละ กลักละ

กระสอบละ ถังละ

ถังละ

หลอดละ หลอดละ

เมตรละ เมตรละ กอนละ

850.00

800.00

2,550.00

550.00 115.00 50.00 43.00

5.87 9.43 9.97 6.71 0.50

80.00 140.00

160.00

9.00 40.00

5.00 3.00 2.50

950.00

850.00

2,850.00

550.00 120.00 50.00 43.00

6.29

11.57 12.62 7.57 0.50

85.00 145.00

165.00

10.00 46.00

5.50 3.00 3.00

+100.00 +50.00 +300.00

- +5.00

- -

+0.42 -2.14 +2.65 +0.86

- +5.00 +5.00 +5.00 +1.00 +6.00 +0.50

- +0.50

Page 184: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

170

(ตอ) ภาคผนวก จ

ราคาขายปลีก (บาท) ลําดับ รายการสินคา หนวย

ป พ.ศ.2523 ป พ.ศ.2524

+ เพิ่ม - ลด

57

58

59

60

61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

หมวดสินคาเบ็ดเตล็ด สบูหอม (ตราลักษพิเศษ ผสมครีมบํารุงผิว) ยาสีฟน (ตราคอลเกต) ขนาด 14 กรัม แปรงสีฟน (ตราคอลเกต) ทวินแอคช่ัน ผงซักฟอก (ตราแฟบ) กลองละ 500 กรัม หมวดสินคาที่จําเปนของทองถิ่น ผักคะนา ผักบุง ผักกาดขาว ถั่วงอก ถั่วฝกยาว ตนหอม ผักชี มะเขือเปราะ พริกช้ีฟาสด พริกขี้หนูสด (พริกหอม)

กอนละ

หลอดละ อันละ

กลองละ

กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ กิโลกรัมละ

5.50

10.00 6.00

15.00

5.00 6.00 5.00 4.00 8.00

- 8.00 6.00

10.00 35.00

6.00

10.00 6.00

17.00

12.00 7.00 6.00 6.00

15.00 15.00 14.00 15.00 18.00 60.00

+0.50

- -

+2.00 +7.00 +1.00 +1.00 +2.00 +7.00

- +6.00 +8.00 +8.00 +25.00

ท่ีมา : สํานักงานพาณชิยจังหวัดสุพรรณบรีุ, ขอมูลการตลาดจังหวัดสพุรรณบุรี พ.ศ.2523 -2524 (สุพรรณบุรี:ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 36-39.

Page 185: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

171

ภาคผนวก ฉ แผนผังนําเท่ียวของตลาดสามชุก

Page 186: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

172

ภาคผนวก ช แผนพับนําเท่ียวของตลาดสามชุก

Page 187: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

173

ภาคผนวก ซ กลอนชาวสามชุก โดย คุณศริิ สรหงษ

กลอนชาวสามชุก

ชุมชนสามชุกแตกอนเกา เปนเรื่องเลากนัมาถึงลูกหลาน คําสามชุกนี้มีตํานาน แตโบราณคนเกาเกาเลากนัมา บางวาสมัยกอนมีทรัพยสิน ฝงอยูในดนิมากหนกัหนา ถึงสามสีชุกเปนตรา ตอมาเรียกเพีย้นเปนสามชุก บางก็วาชาวบานมาคาขาย ทางแยกซายขวาเปนกระจกุ ไทย ลาว กะเหรี่ยง คาขายกันชุก สามชุกสามภาษาขายคากนั สวนชุมชนทองที่ที่อาศัย ปลูกบานเรียงรายไมลักล่ัน เพราะอาศัยชายน้ําอยูกินกัน แตโบราณหลายชั่วอายุคน การไปมาหาสูก็ลําบาก ทางบกยุงยากตองดั้นดน มีแตทางเกวียนขี่ไปตางตําบล ตองดั้นดนพงปาพนาไพร มีอีกทางทางน้าํสบายมาก ไมยุงยากขึ้นลองไปทางไหน ใชเรือเล็กเรือใหญแจวพายไป เหนื่อยไหนพกักายชายนท ี เพราะรมเงาพฤกษาอยูชายฝง แลสลางสูงใหญมีหลายที ่ ทั้งประยงคยูงยางฝงนท ี จําปาปเรียงคูประดูงาม เรือแมคาขายขนมขรมรอง แกงบวดฟกทองคนรองถาม มีอยางเดยีวหรือคาแมคางาม ตางก็ถามหาขนมอยางอื่นกนั มีขาวเมาทอด กลวยทอด ทัง้กลวยแขก วางแยกใสกระจาดทีจ่ัดสรร คนละที่คนละทางใหหางกัน พลางหนัหวัเรือเรเขามา สามสตางคสองสตางคส่ังซ้ือของ ใสกระทงใบตองยื่นของให บางก็เชื่อไวกอนไมเปนไร ตางจํากันไวในใจเลย ถาจะซื้อไมขีดไฟ น้ํามันกาด ตองไปตลาดสําเพ็งไมนิ่งเฉย ก็ตองไปทางน้าํกันอยางเคย พายเอยพายจ้ําเหงื่อไหลคาง น้ํามันกาดปบหนึ่งสามบาทสลึง น้ําตาลปบชั่งหนึ่งยังจําได หกสตางคตอช่ังเขาซื้อขาย ไมขีดไฟหนึ่งกลองครึ่งสตางค

Page 188: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

174

หมูไมมีเนื้อแดงและสามชัน้ เขาจะหนัชิ้นขายเหมือนกันหมด ช่ังหนึ่งแปดสตางคไมยอดลด หัวหมูสดสดแปดสตางค ยอนกลาวถึงชุมชนสามชุกนี ้ อาชีพนั้นมีทํานาไร ปลูกขาวปละคร้ังทุกปไป ใชววัควายเทียมไถไมวางเวน ถึงฤดูเก็บเกี่ยวก็เกีย่วขาว มัดเปนฟอนฟอนขาวใสเกวยีนเข็น ตากดินเปนลานกวางยามจําเปน จะไดเข็นเอาฟอนขาวมากองไว แลวนวดขาวใชควายย่ําหวัฟอน ใหเมล็ดหลุดลอนจนใชได แลวชักกระดานเอาขาวมากองไว พัดวีผงไผไลออกมา มีแตเมล็ดขาวปราศผงไผ เก็บใสยุงฉางไวภายหนา รอเวลาเอาไวไดราคา เจกมาซื้อหากจ็ัดการ รอยถังไดราคายี่สิบหาบาท โออนาถชาวนานาสงสาร อาบเหงื่อตางน้ําทําแตงาน ไมพบพานร่ํารวยชวยตวัเอง สมดังคําดํารัสกษัตริยกลาว พวกเราทํากินไมขมเหง เสร็จกิจรวยรํ่าทํากินเอง พอเพียงตางเรงตางทํากิน ตางปลูกผัก เล้ียงปลา และเลี้ยงสัตว พระทรงตรัสบอกชาวไทยใหทราบสิ้น

ขาพระบาทชาวไทยไดทํากิน ตราบสิ้นอายุขัยขอไหววรณ

Page 189: ิต กษา 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · 2.ยุิคเตบโต (ทศวรรษ 2460 - สงครามโลกครั้ี่งท

175

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ - สกุล นางสาวอรุณี จําปานิล ที่อยู 174 หมู 1 ตําบลโคกโคเฒา อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบรีุ 72000 ที่ทํางาน HOME OF ENGLISH (PHAHOLYOTHIN) 404, PHAHOLYOTHIN

CENTER 3-4th.Fl. PHAHOLYOTHIN Rd., SAMSENNAI PHAYATHAI BKK. 10400

โทรศัพท 0-2271-4089-90, 0-2271-4094-95 สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท/โทรสาร 0-2261-2096

ประวัติการศึกษา พ.ศ.2547 สําเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรบัณฑติ วิชาเอกประวัติศาสตร วิชาโทกฎหมาย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน พ.ศ.2547 ศึกษาตอระดบัปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศึกษา คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการทํางาน พ.ศ.2545-ปจจุบัน อาจารยพิเศษ สถาบันสอนภาษา HOME OF ENGLISH

(PHAHOLYOTHIN) กรุงเทพฯ พ.ศ.2549 ครูอัตราจาง โรงเรียนวดัลาดตาล จังหวดัสุพรรณบุรี พ.ศ.2551 ภัณฑารักษ สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร