หน า 1 fileหน า | 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนท ี่ 1...

21
ห น า | 1

Transcript of หน า 1 fileหน า | 2 ขอบเขตเนื้อหา ส วนท ี่ 1...

ห น า | 1

ห น า | 2

ขอบเขตเนือ้หา

สวนที่ 1 ความรูเก่ียวกับ สํานักงาน ปปง. ความรูเกี่ยวกับสํานักงานการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน 5 ความเปนมา 5 อํานาจหนาท่ีของสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน 5 โครงสรางสํานักงาน ปปง. 6 วิสัยทัศน 12 คานิยมหลัก 12 อํานาจหนาท่ีของสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน 14

สวนที่ 2 ความรูเก่ียวกับกฎหมายที่เก่ียวของ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542

แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2558 17 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษยพ.ศ. 2551 แกไข(ฉบับท่ี 2)พ.ศ.2558 56 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย

พ.ศ. 2556 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2558 79 แนวขอสอบพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551

แกไขถึง(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2558 88

สวนท่ี 3 ความรูเฉพาะตําแหนง ความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการพัสดุ 101 ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ 102 ความหมายของการบริหารงานพัสดุ 102ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ 102 กลยุทธการบริหารงานพัสดุ 103 การจัดมาตรฐานพัสดุ 109 การจัดหา 114 การบริหารพสัดุคงเหลือ 124 การจัดการคลังพัสดุ 127 การขนสง 139 การบํารุงรักษา 146 การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 152 การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 155

สวนท่ี 4 กฎหมายท่ีเกี่ยวของกบัการพัสด ุระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 7) 167 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไข เพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2552 242 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธกีารทางอิเล็กทรอนิกส 249 ทักษะการรวบรวมและการจัดการขอมลู 258 ขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกสพ.ศ. 2549 272 จรรยาบรรณของผูปฏิบัติงานดานพัสด ุ 282 ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร 284

ห น า | 3

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 284 ระบบเครือขาย 298 อินเตอรเน็ต (Internet) 302 โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ 304 การละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟตแวร 307 ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) 308 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร 310 ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) 318 ไมโครซอฟท เอ็กเซล Microsoft Excel 321 ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท Microsoft PowerPoint 323 แนวขอสอบ โปรแกรมประยุกต 324 ความรูเกี่ยวกับระเบียบสาํนักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ 335 แนวขอสอบ ความรูเกี่ยวกับระเบียบสาํนักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ 350 ความรูเกี่ยวกับระเบยีบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 371 แนวขอสอบ ความรูเกี่ยวกับระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 384 แนวขอสอบ นักพัสดุ 413 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไข 443 เพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2552 (ชุดท่ี 2)

ห น า | 4

ความรูเก่ียวกับสํานักงานการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน ความเปนมา สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือ สํานักงาน ปปง.เปนหนวยงานของรัฐซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการวางหลักเกณฑ และดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน รวมทั้งเปนหนวยงานตรวจสอบวิเคราะหขอมูลทางการเงินที่เกี่ยวของกับการ ฟอกเงิน ในหนาที่ของหนวยงานวางหลักเกณฑ (Regulator) สํานักงาน ปปง.มีบทบาทในการศึกษาหามาตรการในการปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน โดยมีฐานะเปนฝายเลขานุการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (คณะกรรมการ ปปง.) สวนในฐานะของหนวยงานผูบังคับใชกฎหมาย (Law Enforcement) สํานักงาน ปปง. มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและดําเนินการเก่ียวกับธุรกรรมหรือทรัพยสินที่ เกี่ยวของกับการกระทําความผิดฟอกเงิน ตามมติของคณะกรรมการธุรกรรม ตลอดจนดูแลใหผูมีสวนเกี่ยวของปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบ ปรามการฟอกเงินดังกลาว สํานักงาน ปปง. เปนหนวยงาน จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มีเลขาธิการ ปปง. เปนเปนขาราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งข้ึนตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรีและไดรับความเห็นชอบจากสภาผูแทน ราษฎรและวุฒิสภา ทําหนาท่ีควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงาน และเปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสํานักงาน และรองเลขาธิการเปนผูชวยสั่งและปฏิบัตริาชการ อํานาจหนาที่ของสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปง.) เปนสวนราชการไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง โดยมีฐานะเปนกรมอยูในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ตามมาตรา 46 วรรคหนึ่ง(8) ประกอบวรรค 3 แหงพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีอํานาจหนาที่ตามมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 กอปรกับกฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอก เงิน พ.ศ. 2550 ดังตอไปนี้

ห น า | 5

(1) ดําเนินการใหเปนไปตามมติของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและคณะ กรรมการธุรกรรมตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน รวมทั้งงานเลขานุการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน คณะกรรมการธุรกรรมและคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอก เงินแตงตั้ง และปฏิบัติงานธุรการอื่น

(2) รับรายงานและแจงการตอบรับรายงานการทําธุรกรรมตามกฎหมายวาดวยการปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน รวมทั้งการรับรายงานหรือขอมูลเกี่ยวกับการทําธุรกรรมที่ไดมาโดยทางอื่น

(3) รับหรือสงรายงานหรือขอมูลเกี่ยวกับการทําธุรกรรมเพื่อปฏิบัติการตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินหรือกฎหมายอื่น

(4) เก็บ รวบรวม ติดตาม ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห และประมวลผลการรายงานและขอมูลตางๆ เกี่ยวกับการทําธุรกรรม

(5) เก็บรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด ยึด อายัด และบริหารจัดการทรัพยสินตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน

(6) เผยแพรความรูและจัดฝกอบรมในดานตางๆ ที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือชวยเหลือหรือสนับสนุนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนใหมีการเผยแพรความรูและ จัดฝกอบรมดังกลาวข้ึน รวมทั้งเปนศูนยกลางความรวมมือและสงเสริมเกี่ยวกับการใหขอมูลหรือสนับสนุนในการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินของประเทศ

(7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานักงานหรือตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย โครงสรางสํานักงาน ปปง. 1 สํานักงานเลขานุการกรม มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการทั่วไปของสํานักงานและราชการอื่นที่ มิไดแยกใหเปนอํานาจหนาที่ของกองหรือสวนราชการใดโดยเฉพาะ อํานาจหนาที่ดังกลาวใหรวมถึง

(1) ปฏิบัติงานสารบรรณของสํานักงาน (2) ดําเนินการเกี่ยวกับงานชวยอํานวยการ งานบริหารท่ัวไป และงานเลขานุการ

ของสํานักงาน

ห น า | 6

วิสัยทัศน เปนองคกรหลักในการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินที่มีประสิทธิภาพเพื่อมุงสูมาตรฐานสากล คานิยมหลัก กลาหาญ มุงมั่น สุจริต มีประสิทธิภาพ และยุติธรรม

การเงินหรือการประกอบธุรกิจในรูปแบบตางๆในการดําเนินการและเงินไดจากการดําเนินการเหลานั้น จะยอนกลับไปเปนเงินทุนเพื่อประกอบอาชญากรรมขึ้นมาอีก เปนวงจรการประกอบอาชญากรรม ที่ยากตอการจับกุมปราบปราม

ดังนั้น มาตรการทางกฎหมายเพื่อทําลายการประกอบอาชญากรรมจึงถูกสรางข้ึนมาเพื่อจัดการกับทรัพยสินหรือเงินไดทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิด ซึ่งกระบวนการยุติธรรมในอดีตไมอาจประสบความสําเร็จในการบังคับใชกฎหมายกับทรัพยสินที่หมุนเวียนอยูในวงจรนี้ได เนื่องจากทรัพยสินเหลานั้นไดถูก โอน แปรสภาพ หรือเปล่ียนรูปไปแลว การที่เงินหรือทรัพยสินที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดนั้น ถูกแปรสภาพเปล่ียนรูปหรือถูกแปลง ใหเปนทรัพยสินใหมเปรียบเสมือนการทําทรัพยสินที่สกปรก ใหกลายเปนทรัพยสินที่ไดมาโดยชอบ หรือเปนทรัพยสินที่สะอาด จึงเรียกกระบวนการนี้วา "การฟอกเงิน" กฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินจึงเกิดข้ึน เพื่อสกัดก้ันมิใหมีการนําเงินไดจากการกระทําความผิดไปฟอกโดยมีมาตรการการจัดการกับเงินหรือทรัพยสินทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิด เปนการทําลายวงจรอาชญากรรม ทําใหอาชญากรไมสามารถดําเนินการตางๆ กับเงินหรือทรัพยสินเหลานั้นได

ปญหาการฟอกเงินที่ไดจากการประกอบอาชญากรรมนี้ประเทศตางๆทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยกําลังประสบอยูโดยเฉพาะอยางย่ิงอาชญากรรรมยาเสพติด ดังนั้น องคการสหประชาชาติจึงไดกําหนดใหมีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการลักลอบคายาเสพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ.1988 (Vienna Convention) ข้ึน หรือ อีกนัยหนึ่งเรียกกันโดยทั่วไปวา"อนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1988 " โดยอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ไดกําหนดมาตรการทางกฎหมายไวหลายประการ เพื่อใหประเทศที่เปนสมาชิกนําไปเปนแนวทางในการแกไข หรือบัญญัติกฎหมายภายในใหมีความสอดคลองเปนไปในแนวทางเดียวกันกับอนุสัญญาฯ ดังกลาว

ห น า | 7

พระราชบัญญัตปิองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2542

เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด

เกลาฯ ใหประกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอก

เงิน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 37 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542”

มาตรา 2พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ความผิดมูลฐาน” หมายความวา (1) ความผิดเกี ่ยวกับยาเสพติดตามกฎหมายวาดวยการปองกันและ

ปราบปรามยาเสพติดหรือกฎหมายวาดวยมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด

(2) ความผิดเก่ียวกับการคามนุษยตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษยหรือความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาในความผิดเก่ียวกับเพศ เฉพาะที่เกี่ยวกับการเปนธุระจัดหา ลอไป พาไป หรือรับไวเพื่อการอนาจารซึ่งชายหรือหญิง เพื่อสนองความใครของผูอื่น หรือความผิดฐานพรากเด็กและผูเยาว เฉพาะที่เกี่ยวกับการกระทําเพื่อหากําไรหรือเพื่ออนาจาร หรือโดยทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวเด็กหรือผูเยาว

ห น า | 8

ซึ่งถูกพรากนั้น หรือความผิดตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี เฉพาะที่ เกี่ยวกับการเปนธุระจัดหา ลอไปหรือชักพาไปเพื่อใหบุคคลนั้นกระทําการคาประเวณี หรือที่เกี่ยวกับการเปนเจาของกิจการการคาประเวณี ผูดูแลหรือผูจัดการกิจการคาประเวณี หรือสถานการคาประเวณี หรือเปนผูควบคุมผูกระทําการคาประเวณีในสถานการคาประเวณี

(3) ความผิดเก่ียวกับการฉอโกงประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญาหรือความผิดตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน

(4) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉอโกงหรือประทุษรายตอทรัพยหรือกระทําโดยทุจริตตามกฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน หรือกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยซึ่งกระทําโดยกรรมการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบหรือมีประโยชนเกี่ยวของในการดําเนินงานของสถาบันการเงินนั้น

(5) ความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ หรือความผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายวาดวยความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดตอตําแหนงหนาที่หรือทุจริตตอหนาที่ตามกฎหมายอื่น

(6) ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชก หรือรีดเอาทรัพยที่กระทําโดยอางอํานาจอั้งย่ี หรือซองโจร ตามประมวลกฎหมายอาญา

(7) ความผิดเกี่ยวกับการลักลอบหนีศุลกากรตามกฎหมายวาดวยศุลกากร (8) ความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา (9) ความผิดเกี่ยวกับการพนันตามกฎหมายวาดวยการพนัน เฉพาะความผิด

เกี่ยวกับการเปนผูจัดใหมีการเลนการพนันโดยไมไดรับอนุญาต โดยมีวงเงินในการกระทําความผิดรวมกันมีมูลคาตั้งแตหาลานบาทขึ้นไป หรือเปนการจัดใหมีการเลนการพนันทางสื่ออิเล็กทรอนิกส

(10) ความผิดเกี่ยวกับการเปนสมาชิกอั้งย่ีตามประมวลกฎหมายอาญา หรือการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมที่มีกฎหมายกําหนดเปนความผิด

(11) ความผิดเกี่ยวกับการรับของโจรตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะที่เกี่ยวกับการชวยจําหนาย ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวดวยประการใดซึ่งทรัพยที่ไดมาโดยการกระทําความผิดอันมีลักษณะเปนการคา

(12) ความผิดเก่ียวกับการปลอมหรือการแปลงเงินตรา ดวงตรา แสตมป และตั๋วตามประมวลกฎหมายอาญาอันมีลักษณะเปนการคา

ห น า | 9

พระราชบัญญัตปิองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 แกไขถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551

เปนปที่ 63 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด

เกลาฯ ใหประกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยมาตรการในการปองกันและ

ปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 41 และมาตรา 45 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติมาตรการในการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 2540

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” หมายความวา การแสวงหาประโยชนจาก

การคาประเวณี การผลิตหรือเผยแพรวัตถุหรือส่ือลามก การแสวงหาประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนลงเปนทาส การนําคนมาขอทาน การบังคับใชแรงงานหรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา หรือการอื่นใดที่คลายคลึงกันอันเปนการขูดรีดบุคคล ไมวาบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม

“การบังคับใชแรงงานหรือบริการ” หมายความวา การขมขืนใจใหทํางานหรือใหบริการโดยทําใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือ

ห น า | 10

ทรัพยสินของบุคคลนั้นเองหรือของผูอื่น โดยขูเข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชกําลังประทุษราย หรือโดยทําใหบุคคลนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได

“องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลซึ่งมีการจัดโครงสรางโดยสมคบกันตั้งแตสามคนขึ้นไปไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง และไมวาจะเปนโครงสรางที่ชัดเจนมีการกําหนดบทบาทของสมาชิกอยางแนนอนหรือมีความตอเนื่องของสมาชิกภาพหรือไม ทั้ง นี้ โดยมีวัตถุประสงคที่จะกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งหรือหลายฐานที่มีอัตราโทษ จําคุกข้ันสูงตั้งแตส่ีปข้ึนไปหรือกระทําความผิดตามที่กําหนดไวในพระราช บัญญัตินี้ เพื่อแสวงหาผลประโยชนทางทรัพยสินหรือผลประโยชนอื่นใดอันมิชอบดวยกฎหมาย ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม

“เด็ก” หมายความวา บุคคลผูมีอายุต่ํากวาสิบแปดป “กองทุน” หมายความวา กองทุนเพื่อการปองกันและปราบปรามการคา

มนุษย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปองกันและปราบปราม

การคามนุษย “กรรมการ” หมายความวา กรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้น

ผูใหญ และใหหมายความรวมถึงขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาขาราชการพลเรือนสามัญระดับสามซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูที่มีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงเพื่อใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ใหประธานศาลฎีกา และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของตน

ให ประธานศาลฎีกามีอํานาจออกขอบังคับ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยมีอํานาจแตง ตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราช บัญญัตินี้

ขอบังคับประธานศาลฎีกา กฎกระทรวงและระเบียบนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

ห น า | 11

แนวขอสอบพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 แกไขถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558

1. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย ฉบับปจจุบันที่ใชแกไขเพิ่มเติมถึงฉบบัใด

ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558 ตอบ ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558

2. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย มผีลบังคับใชเมื่อใด ก. ตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 120 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานเบกษา

ตอบ ง. 120 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานเบกษา พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 3.พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 ใหยกเลิก พรบ.ฉบบัใด ก. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2540 ก. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2545

ก. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2549 ก. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2550

ตอบ ก. พรบ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2540

4. “แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” หมายความถึงขอใด ก. การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี

ข. การผลิตหรือเผยแพรวัตถุหรือส่ือลามก ค. การเอาคนลงเปนทาส การนําคนมาขอทาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ห น า | 12

“แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” หมายความวา การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี การผลิตหรือเผยแพรวัตถุหรือส่ือลามก การแสวงหาประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนลงเปนทาส การนําคนมาขอทาน การบังคับใชแรงงานหรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา หรือการอื่นใดที่คลายคลึงกันอันเปนการขูดรีดบุคคล ไมวาบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม 5. “องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลซึ่งมีการจัดโครงสรางโดยสมคบกันตั้งแตกี่คนข้ึนไปไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก. สามคนข้ึนไป ข. หาคนข้ึนไป ค. เจ็ดคนข้ึนไป ง. เกาคนข้ึนไป

ตอบ ก. สามคนขึ้นไป 6. “องคกรอาชญากรรม” หมายถึงองคกรท่ีมีวัตถุประสงคที่จะกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งหรือหลายฐานที่มีอัตราโทษจําคุกข้ันสูงตั้งแตกี่ปข้ึนไปหรือกระทําความผิดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ ก.สองปข้ึนไป ข. สามปข้ึนไป ค. ส่ีปข้ึนไป ง. หาปข้ึนไป

ตอบ ค. สี่ปขึ้นไป “องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลซึ่งมีการจัดโครงสรางโดยสมคบ

กันตั้งแตสามคนข้ึนไปไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง และไมวาจะเปนโครงสรางที่ชัดเจนมีการกําหนดบทบาทของสมาชิกอยางแนนอนหรือมีความตอเนื่องของสมาชิกภาพหรือไม ทั้ง นี้ โดยมีวัตถุประสงคที่จะกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งหรือหลายฐานที่มีอัตราโทษ จําคุกข้ันสูงตั้งแตส่ีปข้ึนไปหรือกระทําความผิดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแสวงหาผลประโยชนทางทรัพยสินหรือผลประโยชนอื่นใดอันมิชอบดวยกฎหมาย ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม 7. “เด็ก” หมายความวา บุคคลผูมีอายุเทาใด

ก. ต่ํากวาสิบสามป ข. ต่ํากวาสิบหาป ค. ต่ํากวาสิบแปดป ง. ต่ํากวาย่ีสิบป ตอบ ค. ต่ํากวาสิบแปดป

ห น า | 13

18.ใหมีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย เรียกโดยยอวา ก. คณะกรรมการ ปคม. ข. คณะกรรมการ ปปม. ค. คณะกรรมการ คปป. ง. คณะกรรมการ ปปค.

ตอบ ก. คณะกรรมการ ปคม. 19. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย มีผูใดเปนประธานกรรมการ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี 20. ผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งนายกรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูเชี่ยวชาญและมีประสบการณโดดเดนเปนที่ประจักษดานการปองกัน การปราบปราม การบําบัดฟนฟูและการประสานงานระหวางประเทศเกี่ยวกับการคามนุษยมีจํานวนกี่คน ก.สองคน ข. สามคน ค. ส่ีคน ง. หาคน

ตอบ ค. สี่คน 21.ผูทรงคุณวุฒิที่แตงตั้ง ตองเปนผูเชี่ยวชาญและมีประสบการณโดดเดนเปนที่ประจักษดานการปองกัน การปราบปราม การบําบัดฟนฟูและการประสานงานระหวางประเทศเก่ียวกับการคามนุษยไมนอยกวากี่ป ก. สามป ข. หาป ค. เจ็ดป ง. เกาป

ตอบ ค. เจ็ดป 22. เลขานุการในคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษยคือผูใด ก. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

ข. ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม ง. ปลัดกระทรวงยุติธรรม

ห น า | 14

การบริหารงานพัสดุ

ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management) ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามท่ีจะคิดคนวิธีการท่ีจะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานท่ีที่ตองการไดอยางเหมาะสม การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงานพัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตองลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือตองหาวิธีใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน

ความหมายของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใชในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิดสภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคล่ือนยายพัสดุนี้มา วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง” (Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย

ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุจะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้

1. การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ

ห น า | 15

2. การกําหนดความตองการ 3. การกําหนดงบประมาณ 4. การจัดหา 5. การเก็บรักษา 6. การแจกจาย 7. การบํารุงรักษา 8. การจําหนาย

กลยุทธการบริหารงานพัสดุ

วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยางพอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยูรอดและมีกําไร การท่ีเปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ข้ึนอยูกับปจจัยหลายดาน และปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงานพัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ 1. พยายามซ้ือพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพงจะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากข้ึน และกําไรลดลง 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการเก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง 3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมีประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถาการรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได 4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทําใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาไดทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ 5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสมํ่าเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่ คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสียไดอยางมาก

ห น า | 16

6. พยายามเลือกสรรผูขายท่ีดี หากกิจการเลือกผูขายไดถูกตองเหมาะสมก็จะมีผลทําใหกิจการไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพดี มีปริมาณเพียงพอ ราคายุติธรรม และจัดสงไดทันเวลา 7. การพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานท่ีเหมาะสม การทํางานใหบรรลุเปาหมายไดนั้น จะตองอาศัยบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถและความชํานาญ เพื่อใหการปฏิบัติงานไปสูจุดมุงหมาย ผูบริหารจําเปนตองใหความสําคัญตอการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งตองคํานึงถึงคาใชจายในดานแรงงานดวย 8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี การมีขอมูลทางดานพัสดุจะเปนแนวทางในการวางแผนและคาดคะเนลวงหนา และชวยใหตัดสินใจไดแมนยําย่ิงข้ึน 9. การกําหนดมาตรฐานของพัสดุที่ใชในกิจการ จะชวยใหสามารถขจัดรายการพัสดุอุปกรณที่ซ้ําซอนกันได ทําใหลดเนื้อที่คลังพัสดุ ลดงานดานจัดซื้อ ลดงานดานบัญชีและการควบคุมพัสดุลงได หลักในการพิจารณากําหนดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้ คือ

1. ราคา ใหคํานึงถึงการคุมคาในการใช 2. คุณภาพ ใหสนองตอบความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ความยากงายในการจัดซื้อ มีจําหนายกันแพรหลายในตลาด หาซื้อไดงาย 4. ชนิดและขนาด สามารถครอบคลุมการใชไดอยางกวางขวาง

10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา จะชวยใหการกําหนดสินคาคงเหลือ ราคาจัดซื้อ ระยะเวลาในการจัดหา ซึ่งจะทําใหการบริหารพัสดุคงเหลือมีประสิทธิภาพดีข้ึน

การบริหารงานพัสดุกับฐานะการเงินของธุรกิจ การบริหารงานพัสดุมีความสําคัญตอกิจการอุตสาหกรรมโดยตรง เพราะธุรกิจแตละแหงตางก็มีขีดจํากัดในการลงทุนสรางโรงงาน ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร สรางสินคาคงคลัง ลูกหนี้ และคาใชจายในการดําเนินงาน ดังนั้น การลงทุนจึงตองพยายามใหเงินทุนนั้นไดประโยชนสูงสุด ซึ่งทําได 2 ทาง คือ

1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต 2. การเพิ่มผลผลิตใหมากข้ึนโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม

ความสําเร็จของการบริหารพัสดุจะทําใหบรรลุถึงเปาหมายทั้ง 2 ขอ เพราะถาสามารถลดตนทุนหรือคาใชจายในการซื้อพัสดุไดจะทําใหผลกําไรเพิ่มข้ึน และการเพิ่ม

ห น า | 17

แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552

6. คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ มีอักษรยอวาอยางไร ก. ควพ. ข. คกว. ค. กวก. ง. กวพ. 7. การซื้อและการจาง กระทําไดกี่วิธี ก. 4 วิธี ข. 5 วิธี ค. 6 วิธี ง. 7 วิธี 8. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา คือการซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีวงเงินเทาใด ก. มีราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ข. มีราคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 300,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท ง. มีราคาเกิน 400,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท 9. การซื้อพัสดุเพื่อใชในราชการลับ การซื้อครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท เปนการซื้อแบบใด

ก. การซื้อโดยวิธีสอบราคา ข. การซื้อโดยวิธีประกวดราคา ค. การซื้อโดยวิธีพิเศษ ง. การซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ

10. การซื้อยาของสวนราชการ ใหจัดซื้อตามชื่อสามัญ (GENERIC NAME) ในบัญชียาหลักแหงชาติตามที่คณะกรรมการแหงชาติทางดานยากําหนด โดยใหใชเงินงบประมาณจัดซื้อยาดังกลาวไมนอยกวารอยละเทาใด ก. รอยละ 40 ข. รอยละ 50 ค. รอยละ 60 ง. รอยละ 70 11. การส่ังซื้อหรือส่ังจางครั้งหนึ่ง ในวงเงิน 50,000,000 บาท แตไมเกิน 100,000,000 บาท อยูในอํานาจหนาที่ของใคร

ห น า | 18

ก. หัวหนาสวนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีเจาสังกัด ง. ถูกทุกขอ

12. การจางออกแบบและควบคุมงาน กระทําไดกี่วิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 13. การจางออกแบบและควบคุมงานที่ผูวาจางเลือกจางผูใหบริการรายหนึ่งรายใด ซึ่งเคยทราบหรือเคยเห็นความสามารถแลว และเปนผูใหบริการที่มีหลักฐานดี ใหใชกับการกอสรางที่มีวงเงินงบประมาณคากอสรางตามโครงการหนึ่ง ๆ ไมเกิน 2,000,000 บาท เปนการจางแบบใด

ก. การจางโดยวิธีตกลง ข. การจางโดยวิธีคัดเลือก ค. การจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด ง. การจางโดยวิธีพิเศษ

14. ขอใดเปนการวาจางโดยการประกวดแบบ

ก. อนุสาวรีย ข. รัฐสภา ค. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ง. ถูกทุกขอ

15. อาคารท่ีมีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง

ก. รอยละ 0.5 ข. รอยละ 1.0 ค. รอยละ 1.5 ง. รอยละ 2.0

134. ในการจัดหาพัสดุหากมีการตรวจสอบขอเท็จจริงวาบุคคลดังกลาวสมควรเปนผูทิ้งงานหรือไม โดยมีหนังสือแจงเหตุที่ทางราชการสงสัยไปยังผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกสงสัยทราบ พรอมทั้งใหชี้แจงรายละเอียดขอเท็จจริงภายในเวลาที่กําหนด แตตองไมนอยกวากี่วัน

ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน

ตอบ ข. 15 วัน

ห น า | 19

135.เมื่อครบกําหนดยืมพัสดุ ใหผูใหยืมหรือผูรับหนาที่แทน มีหนาที่ติดตามทวงพัสดุที่ใหยืมไปคืนภายในกี่วันนับแตวันครบกําหนด

ก. 3 วัน ข. 7 วัน ค. 15 วัน ง. 30 วัน ตอบ ข. 7 วัน เมื่อครบกําหนดยืม ใหผูใหยืมหรือผูรับหนาที่แทน มีหนาที่ติดตามทวงพัสดุที่ใหยืม

ไปคืนภายใน 7 วัน นับแตวันครบกําหนด 136.การตรวจสอบพัสดุประจําป ใหกระทําเมื่อใด

ก. กอนสิ้นเดือนเมษายนทุกป ข. กอนส้ินเดือนพฤษภาคมทุกป ค. กอนสิ้นเดือนกันยายนทุกป ง. กอนสิ้นเดือนธันวาคมทุกป ตอบ ค. กอนสิ้นเดือนกันยายนทกุป กอนสิ้นเดือนกันยายนทุกป ใหหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนาหนวยงานซึ่งมีพัสดุไว

จาย แลวแตกรณี แตงตั้งเจาหนาที่ในสวนราชการหรือหนวยงานนั้น ซึ่งมิใชเจาหนาที่พัสดุคนหนึ่งหรือหลายคนตามความจําเปน เพื่อตรวจสอบการรับจายพัสดุงวดตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมปกอน จนถึงวันที่ 30 กันยายนปปจจุบัน และตรวจนับพัสดุประเภทที่คงเหลืออยูเพียงวันส้ินงวดนั้น 137.หลังจากการตรวจสอบพัสดุแลว พัสดุใดหมดความจําเปนหรือหากใชราชการตอไปจะส้ินเปลืองคาใชจายมาก ใหขาย ใหดําเนินการขายโดยวิธีใดกอนไดแตราคาซื้อหรือไดมารวมกันไมเกิน 100,000 บาท

ก.วิธีแลกเปล่ียน ข. วิธีโอน ค. วิธีตกลงราคา ง. วิธีทอดตลาด ตอบ ค. วิธีตกลงราคา หลังจากการตรวจสอบแลว พัสดุใดหมดความจําเปนหรือหากใชราชการตอไปจะ

ส้ินเปลืองคาใชจายมาก ใหเจาหนาที่พัสดุเสนอรายงานตอหัวหนาสวนราชการ เพื่อพิจารณาส่ังใหดําเนินการ ขาย ใหดําเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดกอน แตถาขายโดยวิธีทอดตลาดแลวไมไดผลดี ใหนําวิธีที่กําหนดเกี่ยวกับการซื้อมาใชโดยอนุโลม เวนแตการขายพัสดุครั้ง

ห น า | 20

หนึ่งซึ่งมีราคาซื้อหรือไดมารวมกันไมเกิน 100,000 บาท จะขายโดยวิธีตกลงราคาโดยไมตองทอดตลาดกอนก็ได 138. การแปรสภาพหรือทําลาย โดยปกติใหแลวเสร็จภายในกี่วัน นับแตวันที่หัวหนาสวนราชการสั่งการ ก. 15 วัน ข. 30 วัน

ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ง. 60 วัน หลังจากการตรวจสอบแลว พัสดุใดหมดความจําเปนหรือหากใชราชการตอไปจะ

ส้ินเปลืองคาใชจายมาก ใหเจาหนาที่พัสดุเสนอรายงานตอหัวหนาสวนราชการ การแปรสภาพหรือทําลาย ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสวนราชการกําหนดการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง โดยปกติใหแลวเสร็จภายใน 60 วัน นับแตวันที่หัวหนาสวนราชการสั่งการ และสําหรับราชการบริหารสวนภูมิภาคจะตองไดรับความเห็นชอบจากหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณกอนดวย 139.ในกรณีที่พัสดุสูญไปโดยไมปรากฏตัวผูรับผิดหรือมีตัวผูรับผิดแตไมสามารถชดใชได ใหจําหนายพัสดุนั้นเปนสูญ ถาพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือไดมารวมกันไมเกินกวาเทาใด ใหหัวหนาสวนราชการเปนผูพิจารณาอนุมัต ิ

ก. ไมเกินกวา 100,000 บาท ข. ไมเกินกวา 200,000 บาท ค. ไมเกินกวา 500,000 บาท ง. ไมเกินกวา 1,000,000 บาท ตอบ ค. ไมเกินกวา 500,000 บาท ในกรณีที่พัสดุสูญไปโดยไมปรากฏตัวผูรับผิดหรือมีตัวผูรับผิดแตไมสามารถชดใชได

หรือมีตัวพัสดุอยูแตไมสมควรดําเนินการ ใหจําหนายพัสดุนั้นเปนสูญ ถาพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือไดมารวมกันไมเกิน 500,000 บาท ใหหัวหนาสวนราชการเปนผูพิจารณาอนุมัติ

140.ในกรณีที่พัสดุสูญไปโดยไมปรากฏตัวผูรับผิดหรือมีตัวผูรับผิดแตไมสามารถชดใชได ใหจําหนายพัสดุนั้นเปนสูญ ถาพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือไดมารวมกันไมเกินกวาเทาใด ใหหัวหนาสวนราชการเปนผูพิจารณาอนุมัต ิ

ก. เกินกวา 100,000 บาท ข. เกินกวา 200,000 บาท ค. เกินกวา 500,000 บาท ง. เกินกวา 1,000,000 บาท

ห น า | 21

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740