A 1

41
Alcohol-Related disorder นพ.วีรวัต อุครานันท กลุมงานเวชศาสตรสารเสพติด ศูนยบําบัดรักษายาเสพติดแมฮองสอน

Transcript of A 1

Page 1: A 1

Alcohol-Related disorder

นพ.วีรวัต อคุรานนัท

กลุมงานเวชศาสตรสารเสพติด

ศูนยบําบัดรักษายาเสพติดแมฮองสอน

Page 2: A 1

Substance and Substance Related Disorders

Substance = สารที่เสพแลวทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรม และเปลี่ยนแปลงจิตใจ

Substance Related Disorders = โรคที่สัมพันธกับการใชสาร

เสพตดิ

Page 3: A 1

Alcohol-Related disorder Alcohol-Related disorder สามารถแบงตาม DSM-IV ได 2 สวน

ดังนี้

Substance use disorder

Substance Abuse

Substance Dependence

Substance-induce disorder เชน intoxication, withdrawal, delirium,

dementia, amnestic disorder, psychotic disorders, mood disorders,

anxiety disorders, sexual dysfunctions, sleep disorder

Page 4: A 1

Substance Use Disorders

Substance Abuse

การใชสารในทางที่ผิด, ใชเพื่อวัตถุประสงค

ที่ไมเปนไปตามปกติ

Substance Dependence

คือการเสพตดิ (Addiction)

Page 5: A 1

Alcohol Use Disorder screening

AUDIT(ALCOHOL USE DISORDER

IDENTIFICATION TEST)

พัฒนาโดย WHO เพื่อเปนเครื่องมือแบบงาย ใชคัดกรองผูที่ดื่มมาก

เกินไปและสามารถใหการชวยเหลือได

สามารถแยกกลุมผูดื่มแบบมีความเสี่ยง ดื่มแบบมีปญหา และดื่มแบบ

ติดได มีขอแนะนําถึงแนวทางการชวยเหลือสําหรับแตละกลุมผูดื่ม

สามารถใชไดใน primary care setting

Page 6: A 1

Domains of the AUDITDomains คําถามที่ เนื้อหา

Hazardous Alcohol

Use

1 ความถี่ในการดื่ม

2 ปริมาณที่ดื่ม

3 ความถี่ในการดื่มหนัก

Dependence Symptoms 4 ไมสามารถควบคุมการดื่ม

5 เพิ่มปริมาณการดื่ม

6 ดื่มตอนเชา

Harmful Alcohol

Use

7 รูสึกผิดหลังจากดื่ม

8 Blackout

9 บาดเจ็บจากการดื่ม

10 ความเปนหวงจากการดื่ม

Page 7: A 1

AUDIT

AUDIT Problems Intervention

0-7 Low risk Alcohol Education

8-12 Hazardous/Harmful Brief

Advice/Intervention

>13 Dependence Diagnostic evaluation

and treatment

Page 8: A 1

Alcohol Use Disorder screening

CAGE

รูปแบบการคัดกรองที่เปนคําถามงายๆทางคลินิก

หากผูปวยตอบวาใชตั้งแต 2 ขอขึ้นไป ก็พิจารณาวาผูปวยอาจเปน

ผูปวยติดสุรา แอลกอฮอลเรื้อรัง ซึ่งควรไดรับการประเมินละเอียด

ตอไป

Page 9: A 1

Alcohol Use Disorder screeningCAGE

1.1.

CCut down :คุณเคยรูสึกควรจะหยุดดื่มสุรา , แอลกอฮอลหรือไม

2.2.

AAnnoyed :บุคคลอื่นเคยทําใหคุณรําคาญโดยวิพากษวิจารณการดื่ม

สุรา , แอลกอฮอลของคุณหรือไม

3.3.

GGuilty :คุณเคยรูสึกไมดีหรือรูสึกผิดเกี่ยวกับการดื่มสุรา ,

แอลกอฮอลของคุณหรือไม

4.4.

EEye opener :คุณเคยดื่มสุรา , แอลกอฮอลเปนอันดับแรกในตอน

เชา เพื่อทําใหระบบประสาทเปนปกติ หรือแกอาการสรางเมา หรือไมหรือไม

Page 10: A 1

Alcohol Use Disorder intervention

Motvation interview

CBT

Brief intervention

FRAMES

Page 11: A 1

Alcohol Use Disorder interventionFRAMES

Feedback: Specifically address concerns about use

Concerned about how alcohol is affecting your liver

Responsibility: Emphasize that change is up to patient

Only you can decide to make your life better

Advice: Give specific goals you have for the patient

I want you to be evaluated at a treatment center

Page 12: A 1

Alcohol Use Disorder interventionFRAMES

Menu: Offer alternatives to advice

You could alternatively go to an AA meeting

Empathy :

I know you find talking about this difficult

Self-efficacy :You deserve better - you can be better with help

Page 13: A 1

Alcohol intoxication

Page 14: A 1

Alcohol intoxication

Metabolism:

liver 90%,

lung + kidney 10 % (unchanged)

Goal : ปองกันการกดหายใจ และ ปองกันการ

สําลัก

Page 15: A 1

Alcohol intoxicationBlood alcohol

concentration (mg%)

Clinical presentation

20 –

100 เริ่มเสียการทรงตัว อารมณและพฤติการณ

เปลี่ยนแปลง

100-199 การตอบสนองชาลง ระบบกลามเนื้อทํางานไม

สัมพันธกัน มีอาการทางจิตใจและอารมณ

200-299 คลื่นไสอาเจียน มีอาการataxia อยางมาก มีอาการ เมาอยางเห็นไดชัดยกเวนในรายที่ tolerance

Page 16: A 1

Alcohol intoxicationBlood alcohol

concentration (mg%)

Clinical presentation

300-399 อุณหภูมิรางกายลดลง severe dysarthia

ความจํา เสื่อม

400-799 ความรูสึกตัวแยลงอาจถึงขั้น Coma ,hypothermia

,hypotension , hyporeflexia

(aspirate) ,apnea

600-800 ผูปวยมักเสียชีวิต

Page 17: A 1

Alcohol intoxicationใหน้ําตาลกลูโคสและวิตามิน B1 ทางเสนเลือด เนื่องจากผูปวยมักมีภาวะน้ําตาลต่ําในเลือดและผูปวย ติดสุรา , แอลกอฮอลเรื้อรังมักขาดวิตามิน B1

ระวังวาผูปวยอาจไดรับยาหรือสารอยางอื่นรวมดวยหรือไม ซึ่งอาจเสริมฤทธิ์การกดประสาทของแอลกอฮอล

ใหการลางทองหรือกระตุนใหอาเจียน ในกรณีที่ดื่มสุรา , แอลกอฮอลมาไมเกิน 30 -60 นาที

ในกรณีที่ผูปวยมีอาการกาวราววุนวาย พยายามควบคุมผูปวยใหอยูในที่ปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอตนเองและผูอื่น อาจใชการผูกมัด พยายามหลีกเลี่ยงการใชยาใหมากที่สุด เพราะอาจกดประสาทมากขึ้นได แตถาหากจําเปนตองใหยา ก็อาจใหยา haloperidol 2.5- 5 mg ฉีดเขากลามได

Page 18: A 1

Alcohol withdrawal

Page 19: A 1

Alcohol withdrawalผูปวยติดสุรา, แอลกอฮอลเรื้อรัง ในสมองมักมีการปรับตัวของระบบ

neurotransmitter เชน การลดลงของระบบประสาทยับยั้ง และการเพิ่มขึ้นของ

ระบบกระตุนประสาท เมื่อผูปวยหยุดแอลกอฮอลกะทันหัน ระบบตางๆของ

สมองจะทํางานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะระบบ Sympathetic autonomic nervous system

“Alcohol withdrawal syndrome”

Page 20: A 1

Alcohol withdrawal6 – 8 hr :

Hypersympathetic activity : สั่น หงุดหงิด กระสับกระสาย คลื่นไส อาเจียน

ตื่นเตนตกใจงาย เหงื่อแตก มีไข มานตาขยาย หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง

8 – 12 hr : perceptual symptom

Mild case :perceptual distortion

Severe case :psychotic and perceptual symptom

(delusion,illusion and hallucination)

Page 21: A 1

Alcohol withdrawal12 – 24 hr :

Grand mal seizures ( > 1 attack in 1-6 hr from first)

< 3% can be status epilepmaticus

ปจจัยเสี่ยง

เคยมีประวัติ withdrawal seizure

ผูปวยมีประวัติถอนแอลกอฮอลมาแลวหลายครั้ง

หากเกิดภาวะชักแลวมักมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด alcohol withdrawal delirium

Page 22: A 1

Alcohol withdrawal72 – 96 hr :

Mild case :อาการมักจะคอยๆดีขึ้น

Severe case :alcohol withdrawal delirium

Page 23: A 1

Alcohol withdrawal deliriumระบบประสาทอัตโนมัติตื่นตัวมากผิดปกติ

การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อมากกวาปกติ ผูปวยอาจเปนอันตรายตอตนเองไดจาก

อุบัติเหตุ และเปนเหตุใหขาดสารน้ําและเกลือแรมากขึ้น

วงจรการนอนผดิปกติ ผูปวยมักนอนมากในเวลากลางวัน และไมนอนในเวลา

กลางคืน

สมองสับสน มักไมรูเวลา สถานที่และบุคคล (disorientation) ผูปวยมักคิดวาอยูที่

อื่นที่ไมใชโรงพยาบาล

อาการทางจิต ผูปวยมักมีอาการหูแวว เห็นภาพหลอน หวาดระแวง และแยกแยะ

ความเปนจริงไมได ซึ่งทําใหผูปวยเสี่ยงตอการทํารายตนเองและผูอื่น

Page 24: A 1

Alcohol withdrawalใหการประเมินภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่อาจมีรวมดวย ซึ่งตองให

การรักษาอยางรีบดวน เชน Hepatic encephalopathy , congestive heart

failure, Acute hepatitis ,Acute pancreatitis

ใหการประเมินภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชที่อาจมีรวมดวย Suicidal risk ,

Psychosis ,Severe depression

ใหการประเมินความรุนแรงของภาวะAlcohol withdrawal อาจใช

AWS(Alcohol Withdrawal Scale) ,CIWA-AR(Clinical Institute

Withdrawal Assessment of Alcohol Scale)

Page 25: A 1

Alcohol withdrawal การดูแลทั่วไปประกอบดวย การจัดการกับความผิดปกติของ fluid,

electrolytes และโภชนาการ

magnesium sulfate ควรใหในกรณีที่ผูปวยมี hypomagnesemia เทานั้น สวน

multivitamins และ thiamine (100 mg/day) ควรใหในทุกราย

การตรวจทางหองปฏิบัติการที่ควรทํา คือ complete blood count, liver

function tests, การตรวจปสสาวะเพื่อหาสารเสพติด, การวัดระดับ

alcohol และ electrolytes ในเลือด

Page 26: A 1

Alcohol withdrawalการถอนพิษแอลกอฮอล(Alcohol detoxification)

GOAL : ชวยใหผูปวยผานชวงการถอนแอลกอฮอลไดอยางปลอดภัย

ยาที่เหมาะสม ไดแก ยาในกลุม benzodiazepines เนื่องจากมี Cross-tolerant

กับแอลกอฮอล

ในผูสูงอายุและผูปวยโรคตับ ควรเลือกใชยาที่มีคาครึ่งชีวิตสั้น ไดแก

Lorazepam

Lorazepam : Diazepam : Chlordiazepoxide

1mg : 5mg : 10mg

Page 27: A 1

Alcohol withdrawalการถอนพิษแอลกอฮอล(Alcohol detoxification)

ยาในกลุม benzodiazepines สามารถใหได 2 รูปแบบ คือ

fixed-schedule regimenใหยาในชวงเวลาที่แนนอนเพื่อปองกันการเกิด

withdrawal

symptom-triggered regimensใหยาตามความรุนแรงของอาการถอนสุรา

(ซึ่งโดยทั่วไปมักประเมินโดยใช CIWA-Ar) ผลการศึกษาสวนใหญชี้ให

เห็นวา symptom-triggered regimens ใชยาในปริมาณที่นอยกวาและใช

เวลาในการรักษาสั้นกวา สําหรับ

Page 28: A 1

Alcohol withdrawalการถอนพิษแอลกอฮอล(Alcohol detoxification)

Fixed-schedule regimen (Structured Medicaton Regimens)

Chlordiaxepoxide 50 mg q 6 hr * 4 dose then 25 mg q 6 hr * 8 dose

Diazepam 10 mg q 6 hr * 4 dose then 5 mg q 6 hr * 8 dose

Lorazepam (helpful in old aged and liver disease) 2 mg q 6 hr * 4 dose

then 1 mg q 6 hr * 8 dose

ขณะใหยาตามสูตรที่กําหนดควรติดตามอาการอยางใกลชิด

Page 29: A 1

Alcohol withdrawalการถอนพิษแอลกอฮอล(Alcohol detoxification)

Symptom-triggered regimens (PRN dosing)

ประเมินโดยใช CIWA-Ar, AWS (ซึ่งโดยทั่วไปมักประเมินโดยใช

CIWA-Ar)

ผลการศึกษาสวนใหญชี้ใหเห็นวา symptom-triggered regimens ใชยาใน

ปริมาณที่นอยกวาและใชเวลาในการรักษาสั้นกวา

Page 30: A 1
Page 31: A 1
Page 32: A 1

Alcohol withdrawal delirium(DTs)การดูแลรักษา

ใหสารน้ําและเกลือแรชดเชยอยางเพียงพอ และติดตามอาการอยาง

ใกลชิด

ลดสิ่งเราตางๆที่มากระตุนผูปวย เชน จัดใหอยูในหองแยกหรอืมุม

สงบ แสงสวางเพียงพอ และสามารถเฝาสังเกตอาการไดใกลชิด ใช

การผูกมัดในกรณีที่อาจเปนอันตราย

ตรวจหาโรคแทรกซอนทางกายอื่นๆที่อาจเกิดรวมดวย เชน การติด

เชื้อเปนตน

Page 33: A 1

Alcohol withdrawal delirium(DTs)การดูแลรักษา

ปกติการใหยาจะไมเปลี่ยนการดําเนินของโรค แตจะชวยสงบคนไขได ลดความเปนอันตรายตอตนเองและผูอื่นลง และชวยใหผูปวยพักผอนได

ยาที่เหมาะสม คือ Diazepam หรือ Lorazepam ชนิดฉีดเขาเสนเลือด เนื่องจากเปนยาที่ออกฤทธิ์เร็ว ฉีดทุก 5-15 นาที จนอาการสงบ แตตองเฝาระวังเรื่องการกดการหายใจ

ระยะเวลาที่ใหควรคลอบคลุมระยะดําเนินโรคของDTs คือ 7-10 วันหลังจากนั้นคอยๆลดขนาดลง เฉลี่ย 10% ตอวัน

Page 34: A 1

Alcohol-induced Persisting Amnestic Disorders

ผูปวยมีอาการสูญเสีย short term memory เดิมรูจักในชื่อWernicke’s

encephalopathy และ Korsakoff’s Syndrome

Wernicke’s encephalopathy syndrome:

1.Dementia

2.Ataxia

3.Nystagmus, Opthalmoplegia(โดยเฉพาะCNVI)

รักษาโดยการฉีด thiamine 100 mg im OD จนอาการ opthalmoplegia ดี

ขึ้น

Page 35: A 1

Alcohol-induced Persisting Amnestic Disorders

Korsakoff’s Syndrome:

Anterograde and Retrograde amnesia

Confabulation

chronic type of Wernicke’s encephalopathy syndrome

รักษาโดยการให thiamine รับประทานนาน 3 – 12 เดือน

Page 36: A 1

Relapse Prevention

Page 37: A 1

Relapse Preventionคือ การปองกันการกลับไปดื่มสุราซ้ํา แบงได 2 กลุมดังนี้

1.

Aversion therapy:

1.

Disulfiram(Antabuse)

2.

ยาที่ลดอาการอยากแอลกอฮอล

3.

Anti depressant

2.

Group therapy:

1.

Self-help group

2.

Alcoholic Anonymous, AA group

Page 38: A 1

Aversion therapy

Disulfiram(Antabuse)

ยับยั้ง Aldehyde dehydrogenase อยางถาวร ทําใหมสามารถยอย

แอลกอฮอลได เกิดภาวะ Aldehyde ในเลือดขึน้สูง

ผูปวยจะมีอาการรอนวูบวาบที่ผิวหนัง ชีพจรเตนเร็ว ความดันโลหิตต่ํา

คลื่นไสอาเจียน หายใจขัด เหงื่อแตก ตาพรามัว สับสน

อาการจะคงอยูประมาณ 30 นาที

ในรายที่อาการรุนแรง อาจเกิดภาวะหัวใจลมเหลว หัวใจหยุดเตน ลมชัก

Page 39: A 1

Aversion therapy

Disulfiram(Antabuse)

ยับยั้ง Aldehyde dehydrogenase อยางถาวร ทําใหมสามารถยอย

แอลกอฮอลได เกิดภาวะ Aldehyde ในเลือดขึน้สูง

ผูปวยจะมีอาการรอนวูบวาบที่ผิวหนัง ชีพจรเตนเร็ว ความดันโลหิตต่ํา

คลื่นไสอาเจียน หายใจขัด เหงื่อแตก ตาพรามัว สับสน

อาการจะคงอยูประมาณ 30 นาที

ในรายที่อาการรุนแรง อาจเกิดภาวะหัวใจลมเหลว หัวใจหยุดเตน ลมชัก

ขนาดที่ใชรักษา 250 -500 mg ตอวัน

Page 40: A 1

Aversion therapy

ยาที่ลดอาการอยากแอลกอฮอล เชน Naltrexone

1.

Opiate antagonist (Naltrexone)

ชวยลดอาการอยากแอลกอฮอล

ขนาดที่ใชรักษา 50 mg ตอวัน

2.

Acamprosate

ออกฤทธิ์ตอระบบสารสื่อประสาท Glutamate

ยังไมมีใชในประเทศไทย

3.

Antidepressant

ชวยเพิ่มประสิทธภิาพในการบําบัดรักษาภาวะติดสุรา และ ยาเสพติด

Page 41: A 1