(3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่...

162

Transcript of (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่...

Page 1: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส
Page 2: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส
Page 3: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(3)

ชื่อเร่ือง การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวม ของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวดัลําปาง

ชื่อผูเขียน นายสิรภพ ไชยจันลา ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอยางยั่งยืน ประธานกรรมการที่ปรึกษา รองศาสตราจารยจําเนยีร บญุมาก

บทคัดยอ การวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทําการวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และการเก็บขอมูลจากพื้นที่ภาคสนาม โดยการสัมภาษณ การสังเกต และการสนทนากลุม ทําการจดบันทึก บันทึกเทป ถายภาพ จากนั้นนําขอมูลมาทําการวิเคราะห และสรุปผล ผลการวิจัย พบวา ชุมชนบานกลวยมวงเปนหมูบานขนาดกลาง มีวัฒนธรรมที่ดีงาม ในชุมชนของชาวไทลื้อ มีลักษณะเปนสังคมเครือญาติ และมีการพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชน รานคาชุมชนเกิดจากชาวบานตองการซื้อสินคาที่จําเปนในราคาถูก เพื่อลดคาใชจายของครัวเรือน จึงจัดตั้งรานคาชุมชนข้ึนตามโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารรานคา เพื่อดําเนินกิจกรรมของราน มีการกําหนดหนาที่อยางชัดเจน การถือหุนของสมาชิกเปนไปดวยความสมัครใจ มีการสรางเครือขายกับแหลงสินคาราคาถูก และมีทําเลที่ตั้งเหมาะสม การจัดการธุรกิจที่เกี่ยวของกับคนสินคา และเงินทุน ใชวิธีการที่งาย และเหมาะสมกับรานคามากที่สุด มีการวางแผนลวงหนา ดําเนินการตามแผน มีการตรวจสอบและควบคุมทุกสิ้นเดือน คณะกรรมการมีความพรอม ทุมเททํางาน เสียสละ มีการกําหนดทิศทางการปฏิบัติงาน และลดความซ้ําซอนในการทํางาน โดยการกําหนดระเบียบและโครงสรางการบริหารไวอยางชัดเจน การจัดผังรานคาโดยใหมีทางเดินภายในรานที่เชื่อมตอกันทั่วทั้งราน การจัดวางสินคาเนนสรางความประทับใจสวยงามดึงดูดใจ มีสินคาและบริการที่เพียงพอ และสอดคลองกับความตองการของลูกคา การบริหารสินคาคงคลังเปนไปอยางเหมาะสม สอดคลองกับจํานวนเงินทุนหมุนเวียน มีการวางระบบควบคุมสินคาคงคลังโดยใชสมุดบันทึกบัญชี และ ระบบการจัดการแบบอิเล็คโทรนิคส สวนการตั้งราคาสินคาไมมุงหวังผลกําไรสูงสุด แตเนนการจัดสรรกําไรและเงินปนผลที่เหมาะสม

Page 4: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(4)

ปจจัยสําคัญที่ทําใหราคาชุมชนบานกลวยมวงมีความเขมแข็ง ไดแก (1) ความสามารถของคณะผูนําชุมชน (2) การสนับสนุนดานงบประมาณจากหนวยงานราชการ (3) การระดมความคิดแกไขปญหารวมกันของชุมชน

Page 5: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(5)

Title The Participatory Management of the Community Shop of Baan Kluaymoung, Muang District, Lampang Province

Author Mr. Siraphop Chaichanla Degree of Master of Science in Geosocial Based Sustainable

Development Advisory Committee Chairperson Associate Professor Jamnian Bunmark

ABSTRACT

The objective of this qualitative study was to investigate the participatory management of the Baan Kluaymoung community shop, Kluaypae sub-district, Mauang district, Lampang province. Data collection was done through interviews, observation, group discussion, recording, tape recording, photo taking, and review of related documents. Obtained data were analyzed and concluded. Findings showed that Baan Kluaymoung was a medium community in size having good culture. It was a Tai Lue community with self-dependence among community members. The community shop was established due to needs for cheap goods and expenditure reduction. It was also based on the community potential development project. There was a community shop committee running the shop business. There was a clear duty for each committee member. Share holding status of each community shop member was based on voluntariness. There was network establishment with cheap goods sources. Besides, it was found that the community shop location was appropriate. There was a highest level of an appropriateness in the business management based on personnel, goods, method, and capital. There was a monthly business planning in advance, plan implementation, control, and monitoring. All committee members sacrificed themselves to do their duties. They clearly imposed task practice directions, regulations, and management structure. There were connected paths in the community shop and impressive/attractive goods shelves. This conformed to needs of customers due to its appropriateness. The management of inventories was appropriate and it conformed to working

Page 6: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(6)

capital. There were account records and electronics management system. Pricing was not aimed to achieve a highest profit but appropriate benefit sharing. Important factors making the community shop be strong included the following: 1) potential of community leaders; 2) budgets supported by concerned government agencies; and 3) brain storming on problem solving among community members.

Page 7: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(7)

กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยเรื่องนี้ เปนการวิจัยถึงรูปแบบการจัดการรานคาชุมชน ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

การวิจัยเร่ืองนี้ลุลวงไปไดดวยดี เพราะไดรับความอนุเคราะหจากรองศาสตราจารยจําเนียร บุญมาก อาจารย ดร.สมคิด แกวทิพย และผูชวยศาสตราจารย ดร.ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร อาจารยที่ปรึกษา ที่ไดกรุณาใหคําแนะนํา และแกไขขอบกพรองตาง ๆ ดวยความเอาใจใสมาโดยตลอด และไดรับความรวมมือจากชาวบาน คณะกรรมการหมูบานและบุคลากรฝายตาง ๆ ของรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ในการใหขอมูลตาง ๆ เปนอยางดี จึงใครขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ หากการวิจัยมีขอผิดพลาดประการใด ผูวิจัยตองขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย

สิรภพ ไชยจนัลา กรกฎาคม 2555

Page 8: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(8)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) ABSTRACT (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) สารบัญภาพ (11) สารบัญตารางผนวก (12) สารบัญภาพผนวก (13) บทที่ 1 บทนํา 1

ความสําคัญของปญหา 2 คําถามหลักของการวิจยั 5 วัตถุประสงคของการวิจยั 5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5 นิยามศัพทปฏิบัติการ 5

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 7 พระราชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยีง 7 ทฤษฎีตลาดคาปลีก 15 แนวคดิทฤษฎกีารมีสวนรวมของประชาชน 34 ทฤษฎีองคการแบบเดิม 39 งานวิจยัที่เกี่ยวของ 42 กรอบแนวคิดในการวิจัย 46

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจยั 47 ขอบเขตของการวิจัย 47 ประชากรและกลุมตัวอยาง 49 วิธีดําเนินการวิจัย 49 การเก็บรวบรวมขอมูล 50 การจัดทําขอมลู 50 การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอขอมูล 51

Page 9: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(9)

หนา บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิจารณ 52

ตอนที่ 1 บริบทชาวไทลื้อ 52 ตอนที่ 2 บริบทบานกลวยมวง 64 ตอนที่ 3 ลักษณะการบริหารจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง 68 ตอนที่ 4 ลักษณะการมีสวนรวมในการจัดการรานคาชุมชน 81 ตอนที่ 5 รายงานงบการเงิน 94

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 97 สรุปผลการวิจัย 97 อภิปรายผล 101 ขอเสนอแนะจากผลการวิจยั 106 ขอเสนอแนะในการศึกษาครัง้ตอไป 108

บรรณานุกรม 109 ภาคผนวก 111

ภาคผนวก ก รายช่ือสมาชิกรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

112

ภาคผนวก ข ระเบียบรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

129

ภาคผนวก ค ภาพกจิกรรมรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 133

ภาคผนวก ง ประวัติผูวจิัย 148

Page 10: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(10)

สารบัญตาราง

ตาราง หนา 1 ประเภทของการคาปลีกทั้ง 3 ประเภท 16 2 การเปรียบเทยีบคุณสมบัติของรานคาปลีกโดยการใหคะแนน 22 3 การบริการของพอคาปลีก 28 4 ลักษณะการมสีวนรวมในการจัดการรานคาชุมชน 81 5 งบดุล รานคาชุมชนบานกลวยมวง 94 6 งบกําไรขาดทนุ รานคาชุมชนบานกลวยมวง 96

Page 11: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(11)

สารบัญภาพ

ภาพ หนา 1 การตัดสินใจทางการตลาดของพอคาปลีก 27 2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 46 3 การจัดการธุรกิจรานคาชุมชนบานกลวยมวง 68 4 โครงสรางการการบริหารงานรานคาชุมชนบานกลวยมวง 71

Page 12: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(12)

สารบัญตารางผนวก ตารางผนวก หนา

1 รายช่ือสมาชิกรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตาํบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 113

2 รายช่ือคณะทีป่รึกษา และคณะกรรมการบริหารรานคา 147

Page 13: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

(13)

สารบัญภาพผนวก ภาพผนวก หนา

1 บรรยากาศการประชุมชี้แจงงานวิจยั 134 2 ผูวิจัยสัมภาษณประธานคณะกรรมการบรหิารรานคา 134 3 ภาพการจดัเรียงสินคาบนชั้นวางสินคา 135 4 ภาพการจดัเรียงสินคาตามเทศกาล 135 5 ภาพการจดัเรียงสินคาตามเทศกาล 136 6 ตูแชไอศรีม สินคาทันสมัย 136 7 ชุดแตงกายสตรีไทลื้อ 137 8 ตูแชเครื่องดื่ม และสินคาวัสดุอุปกรณกอสราง 137 9 ภาพแสดงการลงบัญชีเมื่อสมาชิกซื้อสินคา 138 10 ดานหนารานคาชุมชน 138 11 ภายในรานคาชุมชน 139 12 วัดพระเจานัง่แทน 139 13 สถานีอนามัยบานกลวยมวง 140 14 ตลาดสดบานกลวยมวง 140 15 ภาพถายทางอากาศ ชุมชนบานกลวยมวง 141 16 การประชุมสมาชิกรานคาชมุชน 141 17 การประชุมสมาชิกรานคาชมุชน 142 18 คณะกรรมการบริหารรานคา จัดสรรเงินปนผล 142 19 ภาพการจดัสรรเงินปนผลใหกับสมาชิกรายบุคคล 143 20 บรรยากาศการประชุมชี้แจงผลการดําเนินงานรานคา 143 21 บรรยากาศการประชุมชี้แจงผลการดําเนินงานรานคา 144 22 บรรยากาศการแจกเงนิปนผลรายบุคคล 144 23 บรรยากาศการลงชื่อรับเงินปนผลรายบุคคล 145 24 ภาพหมูสมาชกิรานคาชุมชน 145 25 ภาพคณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารรานคา 146

Page 14: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

บทที่ 1 บทนํา

การคาที่เปนการเชื่อมโยงระหวางผูผลิตและผูบริโภคนั้นคือ การคาปลีก ที่เปน

ธุรกิจรายยอยทั้งยังเปนเสมือนวิถีชีวิตพื้นฐานของคนในสังคม การเปดรานคาขายสินคาที่ตองการในชุมชนคือ ระบบเศรษฐกิจขั้นตนของประเทศไมวาประเทศนั้นจะพัฒนาไปไกลแคไหนก็ตามธุรกิจคาปลีกหรือที่เรียกเปนทางการวา ธุรกิจพาณิชยกรรม นั้นเปนเสมือนทอเชื่อมโยงการนําสงสินคาไปสูปลายทางที่เปนผูบริโภค กระบวนการทํางานที่จะตองแขงขันกันตามสภาพการคา ไมวาจะเปนเรื่องของทําเลพื้นที่ สินคา ตนทุนการประกอบการ และปจจุบันจะตองคํานึงถึง การบริหารจัดการขอมูลเขามาเปนสวนหนึ่งดวย จากสาเหตุของการคาที่ตองอาศัย สภาพความไดเปรียบเสียเปรียบทางการคาทําใหธุรกิจแตละชนิด แตละขนาดไดเปรียบเสียเปรียบตางกันไปดวย

ธุรกิจคาปลีกของประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคโลกาภิวัตน (Globalization) และการไหลเขาของระบบทุนนิยมจากประเทศพัฒนาแลวมาสูประเทศกําลังพัฒนาอยางประเทศไทย ในชวงป พ.ศ. 2532 เปนตนมา ประกอบกับการผอนผันการลงทุนของตางชาติตามนโยบายการสงเสริมการลงทุนของรัฐบาลในขณะนั้น (ป พ.ศ. 2532) การออกกฎหมายการถือครองสัดสวนในบริษัทที่เขามาลงทุนในประเทศที่สามารถถือครองไดมากขึ้นตามสัดสวนของการลงทุน ตลาดธุรกิจเปนระบบ Cash& Carry เร่ิมดวยสยามแมคโคร Makro มีการแยกรานคาขนาดเล็กแบบรานสะดวกซื้อของเซเวน อีเลฟเวน การแยกรานที่เปนซุปเปอรมาเก็ตแบบ ฟูดแลนด หรือ ทอปซุปเปอรของกลุมเซ็นทรัล นอกจากนั้นกลุม CP Group เริ่มเขามาในตลาดคาปลีกมากขึ้นดวยการพัฒนาหางดิสกเคานทสโตรในชื่อ โลตัส Lotus และเริ่มมีนักลงทุนกลุมยุโรปเขามาอยางเชน หาง Discount Store ในชื่อ คารฟูร Carrefour รวมทั้งกลุมเซ็นทรัลไดกอตั้งหาง บิ๊กซี Big C ขึ้นมาแขงขันในตลาดการใหสวนลด แนวโนมในระยะนั้นเริ่มเนนตามรูปแบบการจับจายที่ตองการประหยัดของผูบริโภคมากขึ้น

วิกฤตเศรษฐกิจ (Recession Period) ในประเทศไทยป พ.ศ. 2540 มีการปรับตัวเพื่อการปกปองตลาดของหางในประเทศอยางมาก เนื่องจากหางสรรพสินคารูปแบบเดิมตองปดตัวลงไปในขณะที่กระแสรานคาปลีกรูปแบบใหมที่เรียกวาไฮเปอรมารเก็ตเขามาในตลาด สําหรับกลุมคาปลีกขนาดใหญจากอังกฤษคือ “Tesco” เขามาสรางธุรกิจดวยการเขาซ้ือหุนสวนใหญจาก โลตัส Lotus ของกลุมซีพี ขณะที่กลุมเซ็นทรัลก็ไดขายหุนใหญในสวนของบิ๊กซีใหกับคายคาสิโนกรุป และคารฟูร ใหกับคายคารฟูร จากนั้นดวยศักยภาพที่ดีกวาการวางกลยุทธขยายตัวดวยเงินทุนที่พรอมทําใหระบบการคาปลีกของประเทศไทยเปลี่ยนรูปแบบไปอีกระดับ สภาพการแขงขันทําใหมี

Page 15: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

2

การแบงรูปแบบธุรกิจดานคาปลีกชัดเจนมากขึ้นนับตั้งแตป พ.ศ. 2545 เปนตนมากระบวนการพัฒนาและการขยายธุรกิจดานคาปลีกเนนการขยายสาขาเพื่อครอบคลุมตลาดมากขึ้น การวางรูปแบบการคาที่สรางความสะดวกสบายของผูจับจาย ลักษณะประเภทของรานคาปลีกมีครบทุกประเภท การขยายตัวของรานคาเฉพาะอยางขนาดใหญมีมากขึ้นเชน รานขายสินคาการกอสราง เฟอรนิเจอร หรือรานเฉพาะอยางขนาดเล็กแบบ รานเสื้อผา รานขายยา รวมถึงการพัฒนาธุรกิจดานอาหารที่มี การกระจายสาขาอยางรวดเร็วรวมถึง รานสะดวกซื้อแบบ 7-11 หรือหาง Family Mart รวมถึงรานคาที่เกิดขึ้นในประเทศเชน Fresh Mart, 108 shop ในขณะที่หางสรรพสินคาบางสวนคอย ๆ ทยอยปดตัวลงเกือบหมดไปจากการแขงขันที่เพิ่มขึ้นในตลาด

ความสําคัญของปญหา

การเปลี่ยนโครงสรางระบบการคาปลีก (Structural Change) จากรูปแบบการคาที่เร่ิมจากการผลิตและสงผานสินคาสูระบบคาสงแลวนําสินคาเขาสูระบบการจัดจําหนายดวยรานคาปลีกเริ่มมีการตัดตอนจากหางขนาดใหญ ที่สามารถรวมศูนยการจําหนายดวยตัวเองเพื่อลดข้ันตอนและเพิ่มอัตรากําไรใหสูงขึ้นเพื่อนํามาสูการวางแผนทําตลาด การเนนทําธุรกิจดวยจํานวนมากเปน ขอไดเปรียบของธุรกิจ จากการขยายสาขาตอเนื่องทําใหหางขนาดใหญมีอํานาจตอรองที่เพิ่มขึน้และเร่ิมรูปแบบการคากึ่งผูกขาดมากขึ้น ผลที่เห็นไดชัดคือการตอรองผูผลิตดวยเงื่อนไขที่ไมเคยเกิดมากอน การนําขอเรียกรองดวยการจัดเก็บคาแรกเขาเมื่อตองการจําหนายสินคาการจัดเก็บคาสงเสริมการตลาดที่มีขึ้นบอยเพื่อสรางความไดเปรียบในโครงสรางราคา การคาปลีกในชวงนี้จึงมีการเปล่ียนวิธีการจากกระบวนการของราคาที่ไมเปนไปตามกลไกตลาด นอกจากนั้นรานคาสงที่เคยมีบทบาทที่มีสัดสวนในตลาดคาปลีกเริ่มไดรับผลกระทบจากวิธีการทําการคาในรูปแบบใหมไปดวย สินคาที่มีการจัดจําหนายในตลาดจําเปนตองรักษาสัดสวนการขายในพื้นที่หางรานขนาดใหญที่กระจายตัวมากกวา ในขณะที่รานคาสงไมสามารถสรางจํานวนการสั่งซ้ือไดมากพอทําใหการใหเงื่อนไขไมเทากันสงผลใหระบบคาสงเริ่มออนแอและกระทบตอภาคการคาโดยรวม และดวยวิธีการตลาดที่นําเอาขอไดเปรียบดังกลาวมาใชทําใหรานคาปลีกรายยอยไมสามารถตอสูไดมีการปดตัวลงอยางรวดเร็ว ทั้งหางสรรพสินคา และรานคายอยรายเล็ก นอกจากนั้นผลสํารวจของธนาคารแหงประเทศไทยรวมกับกระทรวงพาณิชยพบวารานคายอยดั้งเดิมมียอดขายลดลงเฉลี่ยรอยละ7 (สุจินดา เจียมศรีพงษ, 2553: ระบบออนไลน) ประเทศไทยมีความจําเปนที่ตองสรางกระบวนการพัฒนาธุรกิจคาปลีกของคนไทยทั้งการสรางกฎเกณฑในการควบคุมกระบวนการการคาเพื่อสรางโอกาสในการปรับตัวใหกับธุรกิจ

Page 16: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

3

ขนาดเล็ก การวางแผนพัฒนารูปแบบธุรกิจคาปลีกคนไทยตามการเปลี่ยนแปลงความตองการของผูบริโภค ทั้งนี้อาจมีการจัดการอยางเปนระบบพัฒนาธุรกิจคาปลีกไทยควบคูไปกับการสงเสริมวัฒนธรรมและสังคมกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและรูปแบบการคาสงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงในธุรกิจคาปลีกของประเทศ การจัดการของรัฐจะชวยสรางพื้นฐานดานการแขงขันเพื่อใหธุรกิจขนาดเล็กมีโอกาสปรับตัวและพัฒนาตัวเองกับสภาพการแขงขันที่รุนแรงได เนื่องจากรูปแบบธุรกิจคาปลีกเปนธุรกิจเชิงสังคมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมของสังคม และเปนชองทางการจัดจําหนายสินคาที่จะเปนจะตองไดรับการพัฒนาใหเขมแข็ง ในปจจุบันมีชุมชนหมูบานหลายแหงในประเทศ มีแนวคิดที่จะแสวงหากลยุทธใหม ๆ ในการดําเนินธุรกิจการซ้ือ เปนกลุมคนที่เปนคนในสังคมพื้นที่ มีรูปแบบการคาที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับการใชชีวิตในชุมชน เปนธุรกิจในเชิงวิ ถี ชีวิตประจําวัน เพื่อใหมีความสอดคลองกับพฤติกรรมของผูบริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีความตองการความสะดวกสบาย และรวดเร็วในการเลือกซื้อสินคาและ การใหบริการที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจไดอยางเต็มที่ ชุมชนหมูบานตาง ๆ จึงมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการดําเนินธุรกิจดังกลาว โดยพ่ึงพาหลักการบริหารจัดการที่ทันสมัยและเปนระบบ เพื่อกอใหเกิดประโยชนแกมวลสมาชิกและสรางความยั่งยืนของชุมชนหมูบาน

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี (2550) ไดใหรายละเอียดวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) เปนจุดเปลี่ยนสําคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศที่ใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม และมุงใหคนเปนศูนยกลางการพัฒนา และใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือชวยพัฒนาใหคนมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม เพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามในปแรกของแผนฯประเทศไทยตองประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง ซ่ึงสงผลกระทบตอคน และสังคมเปนอยางมาก จึงตองเรงฟนฟูระบบเศรษฐกิจใหมีเสถียรภาพและมั่นคง จากปญหาการวางงาน และความยากจนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) ไดอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางปฏิบัติ ควบคูไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวม ที่มีคนเปนศูนยกลางการพัฒนาอยางจริงจัง เพื่อใชเปนแนวทางในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศใหเกิดความสมดุลระหวาง คน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม เพื่อนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน และความอยูดีมีสุขของคนไทย ผลของการปฏิบัติตามแผนทําใหเกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และปรับตัวสูความมั่นคง ความยากจนลดลง ขณะเดียวกันระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนเริ่มดีขึ้นเปนลําดับ

Page 17: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

4

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ประเทศไทยตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญหลายดาน ทั้งเปนโอกาส และขออุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ จึงตองมีการเตรียมความพรอมของคน และระบบใหมีภูมิคุมกัน เพื่อใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น โดยยังคงอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวปฏิบัติในการเขียนแผน ในการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มีคนเปนศูนยกลางการพัฒนา การดําเนินการในทุกขั้นตอนของแผนฯ ที่เกี่ยวของกับรานคาชุมชนประกอบดวย

วิสัยทัศนประเทศไทย มุงพัฒนาสู “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน (Green and Happiness Society) ใหคนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม ส่ิงแวดลอมมีคุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมมาภิบาล ดํารงไวซ่ึงระบอบประชาธิไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี”

ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ การสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ โดยการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน การสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน และการเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมอยางสันติและเกื้อกูล

ชุมชนบานกลวยมวง ตั้งอยูในตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เปนหมูบานหนึ่ง ที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของระบบคาปลีกของประเทศไทย กระแสเงินสดที่เคยหมุนเวียนอยูในชุมชนผานรานโชหวยที่มีอยูในหมูบาน เร่ิมเปลี่ยนทิศทางไหลออกจากชุมชนไปยังหางคาปลีกขามชาติขนาดใหญ อาทิ บี๊กซี เทสโกโลตัส หรือกระทั่งรานสะดวกซื้อเซเวน-อีเลฟเวน คณะผูนําชุมชนจึงมีแนวคิดในการจัดตั้งรูปแบบการคาขึ้นภายในชุมชน เพื่อหวังที่จะหยุดการไหลของกระแสเงินสดออกไปจากชุมชน โดยไดกําหนดใหรานคาชุมชนเปนธุรกิจของชุมชน และเพื่อประโยชนของคนในชุมชน ซ่ึงไดมีการจัดตั้งรานคาชุมชนขึ้นภายในหมูบานดําเนินการจัดหาสินคาไดแกเครื่องอุปโภคบริโภคตาง ๆ มาจําหนายใหกับสมาชิกและคนในชุมชน โดยยึดหลักการดําเนินธุรกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนกระทั่งรานคาสามารถดําเนินธุรกิจไดอยางตอเนื่อง และมีผลกําไรที่ดี รวมทั้งไดรับความรวมมือจากคนในชุมชนเปนอยางดี

ดังนั้น ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษารูปแบบการจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง วาไดมีการดําเนินการกันอยางไรทั้ง ๆ ที่ชุมชนอยูในเขตเทศบาลเมืองเขลางคนคร จังหวัดลําปาง ที่มีรานคาขนาดใหญตั้งอยู เชน บี๊กซี และ เทสโกโลตัส แตสามารถประกอบกิจการจนประสบความสําเร็จไดเปนอยางดี เพื่อนําผลการศึกษามาใชเปน

Page 18: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

5

แนวทางในการปรับปรุงสงเสริมและพัฒนาธุรกิจคาปลีกของชุมชนหมูบานแหงอื่นที่มีความพรอมตอไป

คําถามหลักของการวิจัย

ชุมชนบานกลวยมวงมีรูปแบบการจัดการรานคาชุมชนอยางไร

วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

ทําใหทราบผลการจัดการรานคารานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

1. ไดทราบปญหาอุปสรรคตาง ๆ ในการดําเนินธุรกิจดังกลาว 2. สามารถนําผลการศึกษาไปใชเปนแนวทางในการแนะนําสงเสริมและพัฒนา

ชุมชนแหงอ่ืนที่มีความพรอมตอไป

นิยามศัพทปฏบิัติการ

เพื่อใหการวิจัยมีขอบเขตที่ชัดเจนและมีความเขาใจที่ถูกตอง ในความหมายของศัพทที่ใช จึงกําหนดความหมายเฉพาะ ดังนี้

รานคาชุมชน หมายถึง รานคาปลีกที่จัดตั้งขึ้นโดยใหประชาชนในหมูบานรวมกันลงทุนถือหุนในรูปสมาชิก เพื่อนําสินคาอุปโภคบริโภคมาจําหนายใหกับสมาชิก

การจัดการรานคาชุมชน หมายถึง การจัดการ คือ กระบวนการที่รานคาชุมชนไดดําเนินการตามขั้นตอนตาง ๆ ตามเปาหมายขององคการทั้งดานที่เกี่ยวกับคน สินคา เงินทุน อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดวยวิธีการวิธีการที่เหมาะสม เพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ

Page 19: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

6

คณะกรรมการ หมายถึง กลุมบุคคลที่สมาชิกจะตองตั้งขึ้น เพื่อทําหนาที่บริหาร และดําเนินการจัดการรานคาชุมชน

ชุมชน หมายถึง หมูบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง สมาชิกรานคา หมายถึง บุคคลที่อาศัยในครอบครัวของชุมชนบานกลวยมวง และ

ลงทุนถือหุนในรานคาชุมชน การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง การเขามามีสวนรวมของตนในชุมชน ในการ

ตัดสินใจ รวมกันกําหนดแนวทางการดําเนินการ แกไขปญหา ตลอดจนรวมกันติดตาม ตรวจสอบผล โดยใหความเคารพในสิทธิสวนบุคคลของคนอื่นที่เขามามีสวนรวมในกิจกรรมเดียวกัน

การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) หมายถึง การวิจัยที่เฝาสังเกตดูปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดชวงเวลาที่ศึกษา เพื่อหาขอสรุปการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตาง ๆ ในพื้นที่ ซ่ึงสวนใหญเปนขอมูลทางความคิดของมนุษย พฤติกรรมที่เกิดจากสภาพแวดลอม ตามความเปนจริงโดยจะหาขอสรุปของขอมูลจากกิจกรรมที่ไดดําเนินการมาทั้งหมด

Page 20: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร

การศึกษา รูปแบบการจัดการรานคารานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ในครั้งนี้ มีแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

1. พระราชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ทฤษฏีการตลาดคาปลีก 3. ทฤษฏีการมีสวนรวม 4. ทฤษฎีองคการแบบเดิม 5. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

พระราชปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง

“...คนอื่นจะวาอยางไรก็ชางเขา จะวาเมืองไทยลาสมัย วาเมืองไทยเชยวาเมืองไทยไมมีส่ิงที่สมัยใหม แตเราอยูพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบ และทํางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธานในทางนี้ที่จะใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถาเรารักษาความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวดได...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2517

“...ภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมในหลายประเทศเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ การทุมเทสรางเครื่องจักรกลอันกาวหนา และมีประสิทธิภาพสูงขึ้นใชในการผลิตทําใหผลผลิตทางอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรวดเร็วและมากมาย จนอาจถึงขั้นฟุมเฟอยพรอมกันนั้นก็ทําใหคนวางงานลงเพราะถูกเครื่องจักรกลแยงไปทํา เปนเหตุใหเกิดความยุงยากตกต่ําทางเศรษฐกิจขึ้นเพราะคนที่

Page 21: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

8

วางงานยากจนลงและผูผลิตก็ขาดทุนเพราะสินคาขายไมออกจึงนาจะตองดัดแปลงแนวคิดแนวปฏิบัติในการสงเสริมความเจริญดานอุตสาหกรรมไปบางใหสมดุลกับดานอื่น ๆ เพื่อความอยูรอด...”

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั พระราชทานแกผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา

วันที่ 18 ตุลาคม 2518

“...การจะเปนเสือนั้นไมสําคัญ สําคัญอยูที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกินแบบพอมีพอกินนั้น หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง ความพอเพยีงนี ้ไมไดหมายความวา ทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหารของตัว จะตองทอผาใสเอง อยางนั้นมันเกินไป แตวาในหมูบานหรือในอําเภอจะตองมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอยางที่ผลิตไดมากกวาความตองการ ก็ขายได แตขายในที่ไมหางไกลเทาไหร ไมตองเสียคาขนสงมากนัก อยางนี้ทานนักเศรษฐกิจตาง ๆ ก็มาบอกวาลาสมัยจริงอาจจะลาสมัย คนอื่นเขาตองมีการเศรษฐกิจที่ตองมีการแลกเปลี่ยน เรียกวา เปนเศรษฐกิจการคาไมใชเศรษฐกิจความพอเพียง เลยรูสึกวาไมหรูหราแตเมืองไทยเปนประเทศที่มีบุญอยูวาผลิตใหพอเพียงได…ถาสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทําใหกลับเปนเศรษฐกิจแบบพอเพียงไมตองทั้งหมดแมแตครึ่งก็ไมตอง อาจจะสักเศษหนึ่งสวนสี่ ก็จะสามารถอยูได การแกไขอาจจะตองใชเวลา ไมใชงาย ๆ โดยมากคนก็ใจรอนเพราะเดือดรอน แตถาทําตั้งแตเดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแกไขได...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วนัที่ 4 ธันวาคม 2540

“...เมื่อป 2517 วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกินพอมีพอกินนี้ ก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกินก็ใชไดยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เร่ิมจะเปนไมพอมีพอกินบางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมีเลย…พอเพียง มีความหมายกวางขวางยิ่งกวานี้อีก คือคําวาพอ ก็พอเพียงนี้ก็พอแคนั้นเอง คนเราถาพอในความตองการก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาประเทศใดมีความคิดอันนี้ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราได แตวาตงไมไปเบียดเบียนคนอื่น…”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต

Page 22: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

9

วันที่ 4 ธันวาคม 2541 “...เศรษฐกิจพอเพียงนั้นเขาตีความวาเปนเศรษฐกิจชุมชนหมายความวาใหพอเพยีงในหมูบาน หรือในทองถ่ิน ใหสามารถที่จะมีพอกิน เร่ิมดวย พอมี พอกิน พอมีพอกินนี้ไดพูดมาหลายป 10 กวาปมาแลวใหพอมีพอกิน แตวาพอมีพอกินนี้ เปนเพียงเริ่มตนของเศรษฐกิจ เมื่อปที่แลวบอกวา ถาพอมีพอกิน คือ พอมีพอกินของตัวเองนั้น ไมใชเศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจสมัยหิน สมัยหินนั้นเปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกันแตวาคอย ๆ พัฒนาขึ้นมา...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 23 ธันวาคม 2542

“...เศรษฐกิจพอเพียงที่ไดย้ําแลวย้ําอีก แปลเปนภาษาอังกฤษวา Sufficiency Economy ภาษาไทยก็ตอวาไมมี Sufficiency Economy แตวาเปนคําใหมของเราก็ได ก็หมายความวา ประหยัด แตไมใชขี้เหนียว ทําอะไรดวยความอะลุมอลวยกัน ทําอะไรดวยเหตุและผล จะเปนเศรษฐกิจพอเพียงแลวทุกคนจะมีความสุขแตพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงนี้ เปนสิ่งที่ปฏิบัติยากที่สุด...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2543

“...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทําอะไรใหเหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือทําจากรายได 200-300 บาทขึ้นไป เปน 2 หมื่น 3 หมื่นบาท คนชอบเอาคําพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ทําเปน Self-Sufficiency มันไมใชความหมาย ไมใชแบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิด คือ เปน Self-Sufficiency of Economy เชน ถาเขาตองการดู TV ก็ควรใหเขามีดู ไมใชไปจํากัดเขาไมใหซ้ือ TV ดู เขาตองการดูเพื่อสนุกสนาน ในหมูบานไกล ๆ ที่ฉันไป เขามี TV ดู แตใชแบตเตอรี่ เขาไมมีไฟฟา แตถา Sufficiency นั้น มี TV เขาฟุมเฟอย เปรียบเสมือนคนไมมีสตางคไปตัด Suit และยังใส Necktie Versace อันนี้ก็เกินไป...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทาน ณ พระตําหนกัเปยมสุข

วันที่ 17 มกราคม 2544

Page 23: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

10

“...เมืองไทยเนี่ยมีทรัพยากรดีๆ ไมทําไมใช เดี๋ยวตองไปกูเงินอะไรที่ไหนมา มาพัฒนาประเทศจริง ๆ สุนัขฝร่ังก็ตองซื้อมา ตองมี แตวาเรามีของ มีทรัพยากรที่ดี เราตองใช ไมใชสุนัขเทานั้น อ่ืน ๆ ของอื่นหลายอยางแลวที่นายกฯพูดถึงทฤษฎีใหม พูดถึงเศรษฐกิจพอเพียง ไอเนี่ยเราไมไดซ้ือจากตางประเทศ แตวาเปนของพื้นเมือง แลวก็ไมไดอาจจะอางวาเปนความคิดพระเจาอยูหัวไมใชทํามานานแลวทั้งราชการทําราชการ ทั้งพลเรือน ทั้งทหาร ทั้งตํารวจ ไดใชเศรษฐกิจพอเพียงมานานแลว…”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2545

“...ความสะดวกจะสามารถสรางอะไรไดมาก นี่คือเศรษฐกิจพอเพียง สําคัญวาตองรูจักขั้นตอน ถานึกจะทําอะไรใหเร็วเกินไป ไมพอเพียง ถาไมเร็ว ชาไป ก็ไมพอเพียง ตองใหรูจักกาวหนา โดยไมทําใหคนเดือดรอน อันนี้เศรษฐกิจพอเพียงคงไดศึกษามานานแลว เราพูดมาแลว 10 ปตองปฏิบัติดวย…”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2546

“...ทานรองนายกฯ ทั้งหลายอาจไมทํา เพราะวาเคยชินกับเศรษฐกิจที่ตองใชเงินมาก ไมใชเศรษฐกิจพอเพียง ไมพอเพียง นายกฯ และคุณหญิง อาจจะใหเพื่อนนายกฯ รองนายกฯตาง ๆ ทําเศรษฐกิจพอเพียงสักนิดหนอย ก็จะทําใหอีก 40 ปประเทศชาติไปได แตนี่ก็มีแตนายกฯ รองนายกฯ จัดการ รวมทั้งคูสมรส ทําเศรษฐกิจพอเพียงก็เชื่อวาประเทศจะมีความประหยัดไดเยอะเหมือนกัน คือ ถาไมประหยัด ประเทศไปไมได คนอื่นไมประหยัด สําหรับคณะรัฐมนตรีประหยัด คณะรองนายกฯ ประหยัด จะทําใหไปไดดีขึ้นเยอะ…”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2548

Page 24: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

11

การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแนวพระราชดําริ เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานไวนั้นกระชับและชัดเจนยิ่ง นอกจากนี้ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อดีตเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) ยังไดกลาวสรุปความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ ดงันี้ “เศรษฐกิจที่สามารถอุมชูตัวเองได ใหมีความพอเพียงกับตัวเอง (Self-Sufficiency) อยูไดโดยไมเดือดรอน ซ่ึงตองสรางพื้นฐานทางดานเศรษฐกิจของตนเองใหดีเสียกอน คือใหตนเองสามารถอยูไดอยางพอกินพอใช มิไดมุงหวังที่จะสรางความเจริญ ยกเศรษฐกิจใหเจริญอยางรวดเร็วแตเพียงอยางเดียว” จุดเริ่มตนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิชัยพัฒนา (2550: 2) ผลจากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแกสังคมไทยอยางมากในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซอนจนยากที่จะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธได เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตางเปนปจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สําหรับผลของการพัฒนาในดานบวกนั้น ไดแก การเพิม่ขึน้ของอตัราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางดานวัตถุ และสาธารณูปโภคตาง ๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางทั่วถึงมากขึ้น แตผลดานบวกเหลานีส้วนใหญกระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอย แตวากระบวนการเปลีย่นแปลงของสงัคมไดเกดิผลลบติดตามมาดวย เชนการขยายตัวของรัฐเขาไปในชนบท ไดสงผลใหชนบทเกิดความออนแอในหลายดาน ทั้งการตองพึ่งพิงตลาด และพอคาคนกลางในการสั่งสินคา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ และการรวมกลุมกันตามประเพณี เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแตเดิมแตกสลายลง ภูมิความรูที่เคยใชแกปญหาและ ส่ังสมปรับเปล่ียนกันมาถูกลืมเลือน และเริ่มสูญหายไป ส่ิงสําคัญคือ ความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซ่ึงเปนเงื่อนไขพื้นฐานที่ทําใหคนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดําเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอํานาจ และความมีอิสระในการกําหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุม และจัดการเพื่อใหตนเองไดรับการตอบสนองตอความตองการตาง ๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ซ่ึงทั้งหมดนี้ถือวาเปนศักยภาพพื้นฐานที่คนไทย และสังคมไทยเคยมีอยูแตเดิม ตองถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูแตก และปญหาความออนแอของชนบท รวมทั้งปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ลวนแตพิสูจนและยืนยันปรากฏการณนี้เปนอยางดี

Page 25: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

12

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดําริช้ีแนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยตลอดมานานกวา 38 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคง และยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัฒน และความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในดานการพัฒนา และบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆมาใชในการวางแผน และการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุล และพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้

1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเอง และผูอ่ืน เชน การผลิต และบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ

3. ภูมิคุมกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียง 2 ประการ ดังนี้

Page 26: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

13

1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ

2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเขาใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อไดพระราชทานแนวพระราชดําริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตาง ๆ จะทรงคํานึงถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนดวยเพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางความคิด ที่อาจนําไปสูความขัดแยงในทางปฏิบัติไดแนวทางพระราชดําริในการดําเนินชีวิตแบบพอเพียง

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุก ๆ ดาน ลดละความฟุมเฟอยในการใชชีวิต

2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอง ซ่ือสัตยสุจริต 3. ละเลิกการแกงแยงผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคาแบบตอสูกัน

อยางรุนแรง 4. ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยาก ดวยการขวนขวาย

ใฝหาความรูใหมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ 5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา

เสรี พงศพิศ (2549: 49) กลาววา วิธีคิดแบบพึ่งพาตนเอง เลิกนั่งรอรับความชวยเหลือจากรัฐหรือภายนอกไดความเชื่อมั่นที่หายไปกลับคืนมา จัดการชีวิตของตนเองอยางมแีบบแผนไมใชปลอยไปตามบุญตามกรรม มีขอมูล มีความรู และดวยปญญาคนหาทุนอันอุดมสมบูรณในทองถ่ินของตนเอง ทุนทรัพยากร ทุนความรูภูมิปญญา ทุนทางสังคมวัฒนธรรม นํามาปรับใชแกไขและพึ่งพาตนเองได

วัฒนธรรมอุปถัมภเขาสูวัฒนธรรมขอมูลและความรู ไดเรียนรูจักตนเอง รูรากเหงา รูอดีต คนที่รูอดีตยอมรูอนาคต คนไมมีอดีตเปนคนไมมีอนาคต ถูกคนอื่นกําหนดให

ไดเรียนรูจักโลก เรียนรูจักชุมชน รูจักทุน รูจักทรัพยากร รูจักปญหาและสาเหตุ รูความตองการที่แทจริงของตนเอง ไมใชความตองการที่มาจากความอยาก และไมไดอยูบนฐานขอมูลเรียนรู แตมาจากความรูสึก อันไปสูการเรียนแบบแทนที่จะเรียนรู

Page 27: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

14

วิธีคิดและวิธีจัดการแบบแยกสวนมาคิดแบบเชื่อมโยง บูรณาการ และจัดการแบบผนึกพลัง (Synergy) ไมเอาแตหาเงินรายไดมาซื้ออยูซ้ือกิน จัดระเบียบชีวิตใหม จัดวงจรชีวิตใหม ตัดสินใจไดเองวาจะกิน จะอยู จะทําอะไร อยางไร

รวมกันสรางระบบเศรษฐกิจทองถ่ินที่พึ่งตนเอง แทนที่จะวิ่งหาแตงบประมาณเงินทุนมาทําโครงการ พอเงินหมดโครงการก็จบ หาเงินใหมเพื่อทําโครงการใหม เงินสรางไดแตโครงการ ซ่ึงไมยั่งยืน ชุมชนเรียนรู ใชความรู ใชปญญา เพื่อสรางระบบเศรษฐกิจชุมชน

ระบบ คือปจจัยสําคัญที่สรางภูมิคุมกันใหเศรษฐกิจพอเพียง เพราะระบบเปนปฏิสัมพันธ (Interaction) ระหวาโครงการ กิจกรรมตาง ๆ นับสิบหรือหลายสิบ เชื่อมโยงกันเปน คลัสเตอร (Cluster) และกอใหเกิดผนึกพลัง (Synergy) ที่ใหผลมากกวาบวก อาจเปนคูณ เปนทวีคูณ

โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ในระบบเศรษฐกิจชุมชนมาจากขอมูลและแผนแมบทชุมชนที่ชุมชนรวมกันพัฒนาขึ้นมาจากการสํารวจวิจัย หรือเรียกกันวา การทําประชาพิจัย (People Research and Development-PR&D)

ชุมชนที่เรียนรูและมีแผนแมบทชุมชนที่ดีจะมีระบบเศรษฐกิจ ทองถ่ินเปนฐานที่มั่นคง บางแหงมีโอทอปก็ไมเส่ียง แมอาจขายไมไดหรือขาดทุนก็ไมกระทบมากมาย เพราะชีวิตชุมชนไมไดฝากไวกับโอทอปเพียงอยางเดียว แตฝากไวกับระบบซึ่งเปนภูมิคุมกันที่ดีของชุมชน

ส่ิงที่จําเปนตองรวมมือกันอยางเรงดวนคือปรับกระบวนการทัศน (Paradigm) ปรับวิธีคิด วิธีปฏิบัติ วิธีใหคุณคา ปรับฐานการมองโลกความเปนจริงตามกระบวนการทศันพฒันาแบบเดมิ มาเปนกระบวนการทัศนแบบเศรษฐกิจพอเพียง คือ

1. พอประมาณ หมายถึงพัฒนาระบบเศรษฐกิจคุณธรรม (Moral Economy) 1.1 รวมมือมากกวาแขงขัน แบงปนมากกวารวยคนเดียว 1.2 รอดกอนรวย เอาตัวใหรอดกอนคิดที่จะรวย และรอดแบบยั่งยืน ทําเปน

ขั้นเปนตอน จากเล็กไปหาใหญ ไมลงทุนทําอะไรเพื่อหวังจะรวยอยางเดียวแบบไมรูจักประมาณตน 1.3 เลิกใชเงินนําหนา ปญญาตามหลัง แตใชปญญาและคุณธรรม นําหนา

ไมตั้งหนาตั้งตาหาแตจีดีพี และทําทุกอยางเพื่อใหตลาดหลักทรัพยโต เงินทุนหมุนเวียนมาก ๆ มาพัฒนาประเทศ

1.4 สมดุลรอบดาน ไมใชเอาแตเศรษฐกิจ กระตุนใหบริโภคอยางเต็มที่เพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แตรวมถึงสังคม วัฒนธรรม การศึกษา สุขภาพ ส่ิงแวดลอม ครอบครวัอบอุน ชุมชนเขมแข็ง

Page 28: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

15

2. มีเหตุผล เลิกคิดเอาเอง แตมาจากการศึกษาวิจัยอยางถองแท ทั้งระดับชาติ ระดับทองถ่ิน ไมนั่งเทียน ไมเลียนแบบ ตัดสินใจดวยฐานขอมูล ความรูและปญญา เกิดจากฐานยุทธศาสตรที่ใหความสําคัญกับทองถ่ิน ใหเปนฐานสําคัญของการพัฒนาระดับชาติ

3. มีภูมิคุมกันที่ดี เลิกการพัฒนาแบบทําโครงการ มาสรางระบบเศรษฐกิจทองถ่ินใหมีโครงการและกิจกรรมตาง ๆ เชื่อมโยงสานตอเปนคลัสเตอรที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู การวางแผนและการดําเนินการของชุมชนทองถ่ิน เพื่อตอบสนองปญญาและความตองการที่แทจริง ของพวกเขาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุมชูตัวเองได ใหมีความพอเพียงกับตัวเอง (Self Sufficiency) อยูไดไมตองเดือดรอน โดยตองสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองใหดีเสียกอน คือ ตั้งตัวใหมีความพอกินพอใช ไมใชมุงหวังแตจะทุมเทสรางความเจริญ ยกเศรษฐกิจใหรวดเร็ว แตเพียงอยางเดียว เพราะมีผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเองยอมสามารถสรางความเจริญกาวหนา และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นไปตามลําดับตอไป

ทฤษฎีตลาดคาปลีก

การคาปลีก จําเนียร บุญมาก (2552: ระบบออนไลน) ใหความหมายของการคาปลีก หมายถึง การขายสินคาใหกับผูบริโภคคนสุดทาย โดยการซื้อสินคานั้นไปเพื่อการบริโภคของตนเอง และครอบครัว (สุณิสา วิลัยรักษและสุกัญญา ไชยชาญ, 2538: 198) หรือหมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการขายสินคาหรือบริการใหกับผูบริโภคคนสุดทายเพื่อการใชสวนตัว (Stern, El-Ansary and Coughlan, 1996: 50) หรือหมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการขายสินคาหรือบริการโดยตรงแกผูบริโภคคนสุดทาย เพื่อการใชสวนตัวและไมใชเปนการใชเพื่อธุรกิจ (Kotler, 1997: 563) จากความหมายของการคาปลีก สามารถสรุปองคประกอบของการคาปลีกได ดังนี้

1. กิจกรรม เปนกิจกรรมทั้งหมดที่เกีย่วของกับการขายสินคาหรือการใหบริการ 2. สินคาหรือการบริการ 3. ผูบริโภคคนสุดทาย ซ่ึงเปนผูที่ซ้ือสินคาเพื่อการใชสวนตัวหรือใชใน

ครอบครัว ไมใชการใชเพื่อธุรกิจ

Page 29: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

16

ประเภทของการคาปลีก การคาปลีกแบงออกเปนหลายประเภทดวยกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชในการพิจารณาแบงประเภท เนื่องจากรานคาปลีกหนึ่ง ๆ อาจจะถูกจัดกลุมใหเขาอยูในหลายกลุมในหลายประเภท เชน รานเซเวนอีเลฟเวน ซ่ึงสามารถจัดอยูในรานคาปลีกแบบรานสะดวกซื้อก็ได เปนรานคาปลีกแบบลูกโซก็ได หรือเปนรานคาปลีกแบบแฟรนไชสก็ได เปนตน ในที่นี้จะแบงการคาปลีกออกเปน 3 ประเภท คือ

1. การคาปลีกแบบมีรานคา (Stores Retailing) 2. การคาปลีกแบบไมมีรานคา (Non- Stores Retailing) 3. องคกรที่ทําการคาปลีก (Retail Organizations)

ตาราง 1 ประเภทของการคาปลีกทั้ง 3 ประเภท

การคาปลีกแบบมีรานคา (Stores Retailing)

การคาปลีกแบบไมมีรานคา (Non-Stores Retailing)

องคกรท่ีทําการคาปลีก (Retail Organizations)

1. รานคาขายสินคาเฉพาะอยาง (Specialty Store)

2. หางสรรพสินคา (Department Store)

3. ศูนยการคาครบวงจร (Shopping Center or Shopping Complex)

4. รานสรรพาหาร (Supermarket) 5. รานคาสะดวกซื้อ

(Convenience store) 6. รานขายสินคาลดราคา

(Discount store)

1. การขายตรง (Direct Selling) 1.1 การขายแบบตัวตอตัว(One- to-

One Selling) 1.2 การขายแบบจัดงานปารต้ี (One-to-

Many Party Selling) 1.3 การตลาดเครือขาย (Multilevel

Network Marketing) 2. การตลาดทางตรง (Direct Marketing) 3. การขายโดยใชเครื่องจักรอัตโนมติั

(Automatic Vending Machine) 4. ธุรกิจที่ใหบริการในการซื้อ (Buying

Service)

1. รานคาปลีกแบบลูกโซจํากัด (Corporate Chain Store)

2. รานคาปลีกแบบลูกโซสมัครใจ(Voluntary Chain Store)

3. สหกรณพอคาปลีก (Retailer Cooperative)

4. สหกรณผูบริโภค (Consumer Cooperative)

Page 30: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

17

ตาราง 1 (ตอ)

การคาปลีกแบบมีรานคา (Stores Retailing)

การคาปลีกแบบไมมีรานคา (Non-Stores Retailing)

องคกรท่ีทําการคาปลีก (Retail Organizations)

7. พอคาปลีกขายสินคาราคาถูก (Off-Price Retailer) 5.1 เครือขายของโรงงาน

(Factory Outlet) 5.2 พอคาปลีกสินคาลดราคา

อิสระ (Independent Off-Price Retailer)

5.3 รานคาสินคา (Warehouse Club) หรือรานคาสินคาขายสง (Wholesale Club)

8. รานคาขายสินคาราคาถูก (Superstore) 8.1 รานคาปลีกแบบรวม

(Combination Store) 8.2 รานคาปลีกขายสินคา

ราคาถูก (Hypermarket or Supercenter)

9. รานคาที่ใชแคตตาล็อก (Catalog Showroom) มินิมารทหรือรานสรรพาหารขนาดยอม (Minimart or Super retailer)

5. รานคาปลีกที่ไดรับ สิทธิบัตร (Franchise Organization)

6. การรวมมือกันบริหารสินคา (Merchandising Conglomerate)

ที่มา: ดัดแปลงจาก Kotler (1997: 564-570)

Page 31: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

18

การคาปลีกแบบมีรานคา (Stores Retailing) ผูบริโภคในปจจุบัน สามารถที่จะหาซื้อสินคาหรือบริการไดจากรานคาตางๆ ที่

ขายสินคาหรือบริการมากมายหลายชนิด ดังนั้นการศึกษาประเภทของรานคาปลีกจึงมีความสําคัญ สําหรับการจัดการชองทางการตลาดเปนอยางมาก โดยการคาปลีกแบบมีรานคา สามารถแบงออกไดเปน 11 ประเภท ดังนี้

1. รานคาขายสินคาเฉพาะอยาง (Specialty Store) รานคาขายสินคาเฉพาะอยาง (Specialty Store) หรือเรียกวา คาเทกอรี่ คิลเลอร (Category Killer) เปนรานคาปลีกที่ขายสินคาเฉพาะอยางเพียงอยางเดียว เชน รานขายอุปกรณกีฬารานขายรองเทา รานขายเสื้อผา รานขายเครื่องเพชร รานขายดอกไม รานขายไอศกรีม รานขายขนมปง เปนตน รานคาประเภทนี้จะขายสินคาเพียงอยางเดียว ชนิดเดียว แตมีแบบ มีขนาด มีสีสันหรือมียี่หอใหเลือกครบตามที่ลูกคาตองการ ตัวอยางเชน รานรองเทาบาจา รานหนังสือดวงกมล เปนตน

2. หางสรรพสินคา (Department Store) เปนรานคาปลีกขนาดใหญ ขายสินคาหลายประเภทหลายชนิดรวมกัน มีการแบงสินคาออกเปนแผนกตามหมวดหมูสินคา โดยสินคาที่อยูในสายผลิตภัณฑเดียวกัน ก็จะถูกจัดไวรวมกันหรือใกลกัน ทั้งนี้เพื่อใหการจัดวางสินคา การสงเสริมการขาย การใหบริการลูกคา และการควบคุมการขาย เปนไปดวยความสะดวกและมีประสิทธิภาพ สินคาที่จําหนายมักจะเปนสินคาที่มีความทันสมัย คุณภาพดี ราคาสูง และนําแฟชั่น มีใหเลือกทั้งแบบและตราสินคามากมาย สินคาหลักของรานสรรพสินคาสวนใหญ ไดแก เสื้อผาสําเร็จรูป ตัวอยางรานคาปลีกแบบนี้ เชน เซ็นทรัล โรบินสัน เปนตน

3. ศูนยการคาครบวงจร (Shopping Center or Shopping Complex) ศูนยการคาครบวงจรมีพัฒนาการมาจากหางสรรพสินคา เปนธุรกิจคาปลีกที่ใชเงินลงทุนคอนขางสูง ภายใตแนวคิดที่ใหบริการครบถวนมากขึ้น ผูบริโภคสามารถเลือกซื้อส่ิงที่ตองการไดในสถานที่แหงเดียว (One Stop Shopping) กลาวคือ นอกจากจะมีหางสรรพสินคาและรานคาแลว ยังเพิ่มแหลงบันเทิง เชน สวนสนุก ศูนยอาหารขนาดใหญ และโรงภาพยนตรเขาไปดวย ทําใหผูบริโภคสามารถจับจายซื้อของควบคูไปกับการหาความบันเทิงไปพรอมกัน เชน เดอะมอลล มาบุญครอง ซีคอนสแควร เปนตน

4. รานสรรพาหาร (Supermarket) เปนร านค าปลีกขนาดใหญที่ ข ายสินค าอุปโภคบริโภคที่ จํ า เปนตอชีวิตประจําวันเปนหลัก โดยใหความสําคัญที่ความสด ใหม และความหลากหลายของอาหาร สินคาที่ขายสวนใหญ ไดแก อาหารสด อาหารกระปอง ของชําและสิ่งจําเปนที่ใชในบาน เชน เครื่องสุขภัณฑ อุปกรณการทําอาหาร ฯลฯ นโยบายในการขายสินคาจะเปนการขายใหลูกคาบริการตัวเอง

Page 32: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

19

(Self Services) ทําใหสามารถขายสินคาไดในราคาถูก เพราะไดลดคาใชจายเกี่ยวกับการจางพนักงานขายออกไปโดยทั่วไปแลว มักจะเห็นรานคาปลีกแบบสรรพาหารอยูภายในหางสรรพสินคา หรืออยูบริเวณชั้นลาง หรือช้ันใตดินการที่หางสรรพสินคานําเอารานสรรพาหารมาไวรวมกันก็ เพื่อใหลูกคาสามารถซื้อสินคาไดครบถวนในที่แหงเดียว (One Stop Shopping) ตัวอยางรานสรรพาหารที่อยูรวมกับหางสรรพสินคา เชน ท็อปส (Tops) เปนตน สวนรานสรรพาหารที่ตั้งอยูโดด ๆ ไมไดรวมกับหางสรรพสินคา เชน ฟูดแลนด (Food Land) เปนตน

5. รานคาสะดวกซื้อ (Convenience Store) เปนรานคาที่จําหนายสินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอชีวิตประจําวัน รวมทั้งจําหนายอาหารเครื่องดื่มประเภทฟาสตฟูด (Fast Food) เชน อาหารและขนมที่สําเร็จรูป รับประทานไดเร็ว สะดวก สะอาด รานคาสะดวกซื้อหลายแหงใหบริการตลอด 24 ช่ัวโมง ซ่ึงชวยใหความสะดวกแกลูกคาในการจับจาย แตสินคาที่จําหนายในรานจะไมหลากหลายหรือมีมากมายเหมือนรานสรรพาหาร ราคาสินคาคอนขางแพง ตัวอยางของรานคาสะดวกซื้อ เชน เซเวนอีเลฟเวน (7-Eleven) เลมอน กรีน (Lemon Green) จิฟฟ (Jiffy) เปนตน

6. รานขายสินคาลดราคา (Discount Store) รานคาปลีกประเภทนี้โดยทั่วไปมักจะเนนจําหนายสินคาประเภทเสื้อผา เครื่องนุงหม อุปกรณไฟฟาตาง ๆ ในราคาที่ถูก เชน รานคาขายสินคากีฬาลดราคา (Discount Sporting Goods Store) รานขายสินคาอิเล็กทรอนิกสลดราคา (Discount Electronics Store) และรานขายหนังสือลดราคา (Discount Book Store) สวนใหญจะอยูชานเมือง สถานที่จําหนายจะมีลักษณะงาย ๆ ไมมีความหรูหรามากเพื่อลดตนทุนในการกอสราง เชน รานแผงลอย เปนตน สินคาที่วางจําหนายไมแตกตางจากสินคาที่วางจําหนายในหางสรรพสินคา แตในดานของคุณภาพ และราคาสินคาที่วางในหางสรรพสินคาจะสูงกวา และเนนดานแฟชั่นมากกวารวมทั้งความหลากหลาย สีสัน ขนาดตาง ๆ คอนขางมีใหเลือกนอยกวาหางสรรพสินคาทั่ว ๆ ไป

7. พอคาปลีกขายสินคาราคาถูก (Off-Price Retailer) เปนรานที่คิดราคาสินคาต่ํากวาราคาขายปลีกทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากสามารถซื้อสินคาในราคาที่ต่ํากวา ไดแก รานคาปลีก ซ่ึงเปนเครือขายชองทางของโรงงานผูผลิต ผูคาปลีกอิสระ และรานคาสงที่มีลักษณะเปนคลังสินคา

7.1 เครือขายของโรงงาน (Factory Outlet) เปนชองทางของผูผลิต และบริหารงานโดยผูผลิตจําหนายสินคาในราคาลดพิเศษเครือขายเกิดขึ้นจากการรวมกลุมกันของโรงงานหลายแหง สามารถใหสวนลดไดมากถึง 50% และเปนราคาที่ต่ํากวารานคาปลีกทั่วไป เพราะผูผลิตเปน ผูจัดจําหนายเอง

Page 33: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

20

7.2 ผูคาปลีกสินคาลดราคาอิสระ (Independent Off-Price Retailer) เปนรานคาปลีกซ่ึงบริหารงานโดยผูประกอบการอิสระ หรือโดยบริษัทที่ทําการคาปลีกขนาดใหญ

7.3 รานคลังสินคา (Warehouse Club) หรือ รานคลังสินคาขายสง (Wholesale Club) เปนรานคาปลีกที่ขายสินคาแบบจํากัดสายผลิตภัณฑ สวนใหญเปนสินคาสะดวกซื้อ เส้ือผา ของใชในครัวเรือน โดยการใหสวนลดกับสมาชิกซึ่งสมาชิกตองเสียเงินคาธรรมเนียม ในการสมัครเปนสมาชิกรานคลังสินคาจะขายสินคาใหกับสมาชิกที่เปนธุรกิจขนาดเล็ก หนวยงานรัฐบาล องคกรที่ไมมุงกําไร และบริษัทขนาดใหญ รานคาสงนี้จะมีคลังสินคาและมีตนทุนที่คอนขางต่ํา เพราะซื้อสินคาจํานวนมาก และใชแรงงานนอยในการเก็บรักษาสินคา ราคาสินคาของรานจะต่ํากวาราคาสินคาในรานสรรพาหาร และรานขายสินคาลดราคาทั่วไป

8. รานขายสินคาขนาดใหญ (Superstore) เปนรานคาปลีกที่เนนใหลูกคาสามารถซื้อสินคาไดในสถานที่แหงเดียว (One

Stop Shopping) ประกอบดวยรานสรรพาหาร สินคาประเภทเครื่องใชในครัวเรือน เครื่องไฟฟา เสื้อผา เครื่องนุงหม มาวางขายเพิ่มเติม แตสินคาที่นํามาจําหนายนี้จะไมพิถีพิถันในเรื่องของยี่หอ และคุณภาพสูงเหมือนกับหางสรรพสินคา ราคาของสินคาก็ถูกกวาหางสรรพสินคาดวย ตัวอยางของรานขายสินคาขนาดใหญ เชน บิ๊กซี ซุปเปอรสโตร เปนตน ซ่ึงรานคาขนาดใหญสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ

8.1 รานคาปลีกที่รวมรานสรรพาหารและรานขายยาเขาดวยกัน (Combination Store)

8.2 รานคาปลีกขายสินคาราคาถูก (Hypermarket or Supercenter) เปนรานคาปลีกที่มีลักษณะคลายรานขายของถูก ขายสินคาอาหารอุปโภคบริโภค รวมทั้งสินคาอ่ืน ๆ ที่จําเปน ไมมีการจัดตกแตงรานคาสวยงามแบบหางสรรพสินคา การจัดเรียงสินคาจัดวางแบบคลังสินคา (Warehouse) และรูปแบบการขายจะเปนแบบใหลูกคาบริการตัวเอง (Self Service) ตัวอยางเชน บิ๊กซี (Big C) เทสโกโลตัส (Tesco Lotus) เปนตน

9. รานคาที่ใชแคตตาลอค (Catalog Showroom) เปนรานที่ขายสินคาจํานวนมาก โดยนําเสนอสินคาตาง ๆ ผานแคตตาล็อค มีอัตราการหมุนเวียนของสินคาสูง และขายสินคาที่มีช่ือเสียงในราคาลดพิเศษ ตัวอยางสินคาไดแก อัญมณี กลองถายรูป กระเปาเดินทาง ของใชภายในบาน ของเลน อุปกรณกีฬา ลูกคาจะซื้อสินคาจากแคตตาล็อค รานคาประเภทนี้จะมีตนทุนต่ําเพราะไมตองแสดงสินคา และไมมีสินคาคงเหลือจึงสามารถขายสินคาไดราคาต่ํา ซ่ึงจะเปนการจูงใจใหผูบริโภคเกิดความตองการซื้อสินคาทําใหมียอดขายเพิ่มขึ้นได

Page 34: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

21

10. มินิมารทหรือรานสรรพาหารขนาดยอม (Minimart หรือ Superrette) มินิมารท เปนการยอสวนของรานสรรพาหาร ทั้งดานพื้นที่ ชนิด และปริมาณ

ของสินคาที่จําหนาย โดยยังคงวิธีการดําเนินงาน และประเภทสินคาที่จําหนายไวเชนเดียวกับรานสรรพาหาร ทั้งนี้อาจเปนเพราะสภาพการคมนาคมที่แออัดมาก พื้นที่ในเมืองจึงหายากขึ้นและ มีราคาสูงขึ้น การลงทุน ในรานสรรพาหารจึงคอนขางสูงและไมคอยเหมาะสม ขณะเดียวกันแนวโนมประชากรเริ่มกระจายออกสูชานเมืองมากขึ้น มินิมารทจึงเหมาะที่จะตั้งตามตัวเมือง และชานเมืองที่ชุมชนยังไมหนาแนน พอสําหรับการเปดรานสรรพาหาร

11. รานขายของชําหรือโชหวย (Grocery Store หรือ Mom & Pop Store หรือ Provincial Store)

เปนรานคาแบบดั้งเดิมจําหนายสินคาอุปโภคบริโภคขนาด 1-2 คูหา ซ่ึงผูทําหนาที่ในการบริหารยังคงเปนสมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อนฝูง รานที่เรียกขานตัวเองวา “มินิมารท” ที่เห็นกันทั่วไปทุกวันนี้ จัดเปนไดเพียงรานขายของชําที่มีการปรับปรุงตกแตงใหสวยงามขึน้เทานั้น รานคาแบบมินิมารท จะตองมีสวนของอาหารสด (Fresh Food) ประกอบกับสินคาอุปโภคบริโภคทั่วไป รานคาปลีกแบบนี้จัดไดวามีจํานวนมากที่สุดในบรรดารานคาปลีกแบบตาง ๆ การจัดตั้งใชเงินลงทุนนอย คาใชจายต่ํา แตกําไรก็ต่ําตามไปดวย เพราะอํานาจการตอรองการจัดซื้อยังต่ํา เนื่องจากสั่งซ้ือในปริมาณนอย

การเปรียบเทียบการคาปลีกแบบมีรานคา

จากตาราง 2 แสดงการเปรียบเทียบคุณสมบัติของรานคาปลีกโดยการใหคะแนนปจจัยดานตางๆ คือ เวลาในการใหบริการ ทําเลที่ตั้ง ความหลากหลายของสินคา การบริการ และราคาของสินคา ทําใหรานคาปลีกแตละประเภทมีความแตกตางกันในหลายๆ ดาน ซ่ึงจะสงผลใหการใชกลยุทธสําหรับรานคาปลีกแตละประเภทแตกตางกันตามไปดวย

Page 35: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

22

ตาราง 2 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของรานคาปลีกโดยการใหคะแนน

ประเภทของรานคาปลีก เวลาในการใหบริการ

ทําเลท่ีตั้ง สินคาท่ีหลากหลายชนิด

การบริการที่ครบสมบูรณ

ราคาสินคา

หางสรรพสินคา 2 3 2 1 4 รานสรรพาหาร 1 1 3 3 2 ซูปเปอรสโตร 1 3 3 3 2 ไฮเปอรมารท 2 5 1 4 1 รานสะดวกซื้อ 1 1 4 3 3 รานคาปลีกแบบเนนสินคาราคาถูก 3 3 2 3 1 มินิมารท 2 1 2 3 3 รานขายของชํา 3 3 3 5 5

หมายเหตุ: ความหมายของคะแนน

1 = ใหความสําคญัมาก 2 = คอนขางสําคัญ 3 = ใหความสําคญัปานกลาง 4 = ไมคอยสําคัญ 5 = ใหความสําคญันอย

ที่มา: ดัดแปลงจาก ฉัตรชัย ตวงรัตนพนัธ (2542: 35) การคาปลีกแบบไมมีรานคา (Non Store Retailing)

การคาปลีกแบบนี้ ในปจจุบันไดรับความนิยมมากขึ้น ประกอบดวย 1. การขายตรง (Direct Selling)

เปนวิธีการขายที่พนักงานขายจะตองเขาพบลูกคาโดยตรง ซ่ึงมีรูปแบบของ การขายแตกตางกันออกไป ดังนี้

1.1 การขายแบบตัวตอตัว (One-to-One Selling) เปนการขายที่พนักงานขายเสนอสินคาใหกับลูกคาเปนรายบุคคล

Page 36: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

23

1.2 การขายแบบการจัดงานปารตี้ (One-to-Many Party Selling) เปนการขายที่พนักงานไปที่บานของลูกคาแลวเชิญเพื่อนบานเขารวมงานปารตี้ พนักงานขายจะมีการสาธิต สินคาและรับคําส่ังซ้ือสินคาจากลูกคาที่สนใจ

1.3 การตลาดเครือขาย (Multilevel Network) เปนการขายทางตรงวิธีหนึ่งซึ่งบริษัทจะคัดเลือกนักธุรกิจอิสระใหทําหนาที่เปนผูจัดจําหนาย (Distributor) สินคาของบริษัท ผูจัดจําหนายเหลานี้จะสรรหาและคัดเลือกผูจัดจําหนายรายยอย (Sub Distributor) เพื่อขายสินคาตามบานของลูกคาอีกตอหนึ่ง คาตอบแทนของผูจัดจําหนายคิดเปนเปอรเซ็นตของยอดขายจากสมาชิกในกลุมที่ผูจัดจําหนายสรรหามาตลอดจนผลตอบแทนจากการขายตรงไปยังลูกคาปลีก (Retail Customer) เชน มิสทีน แอมเวย เอวอน เปนตน

2. การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เปนการคาปลีกที่มีการพัฒนามาจากการสั่งซ้ือโดยใชจดหมายตรง (Direct

Mail) แตในปจจุบันนี้การตลาดทางตรงไดมีการใชเครื่องมืออ่ืน ๆ เกิดขึ้นมากมาย ไดแก 2.1 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางโทรศัพท (Telephone Direct-

Response Marketing) 2.2 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางโทรทัศน (Television Direct-

Response Marketing) เชน ทีวี มีเดียร (T.V. Media) 2.3 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางวิทยุ (Radio Direct-Response

Marketing) 2.4 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางเคเบิลทีวี (Cable Direct-Response

Marketing) 2.5 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางนิตยสาร (Magazine Direct-Response

Marketing) 2.6 การตลาดที่มีการตอบสนองโดยตรงทางหนังสือพิมพ (Newspaper Direct-

Response Marketing) 2.7 การตลาดโดยใชแคตตาล็อค (Catalog Marketing) 2.8 การเลือกซื้อทางเครื่องจักรเพื่อใหลูกคาส่ังซ้ือ (Kiosk Shopping) 2.9 การตลาดโดยใชคอมพิวเตอรเชื่อมตรงและอินเตอรเน็ต (Online and Internet

Marketing) 2.10 การตลาดโดยใชเครื่องโทรสาร (Fax Mail Marketing) 2.11 การตลาดโดยใชจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail Marketing)

Page 37: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

24

3. การขายโดยใชเครื่องจักรอัตโนมัติ (Automatic Vending Machine) เปนการขายผานเครื่องจักรไมมีรานคา ไมมีพนักงานขาย ผูขายจะนําเครื่องจักร

อัตโนมัติไปตั้งไวตามสถานที่ตาง ๆ โดยมีสินคาที่ตองการขายอยูในเครื่องจักรอัตโนมัตินี้ และที่เครื่องจักรก็จะมีตัวอยางหรือรูปสินคาแสดงไว พรอมทั้งมีราคาปดไวดวย เมื่อผูบริโภคหรือลูกคาตองการสินคาใดก็เพียงแต หยอดเหรียญใสไปในเครื่องจักรตามราคาสินคาที่ระบุไว สินคาที่จําหนายโดยการขายผานเครื่องจักรอัตโนมัติ เชน กระดาษ ทิชชูหนาหองน้ํา บุหร่ี น้ําอัดลม น้ําผลไม ตูโทรศัพทสาธารณะ หนังสือพิมพ เปนตน

4. ธุรกิจที่ใหบริการในการซื้อ เปนพอคาปลีกที่ไมมีรานคา แตจะใหบริการลูกคาเฉพาะราย โดยเฉพาะลูกคา

ที่เปนพนักงานขายขององคกรขนาดใหญ เชน โรงเรียน โรงพยาบาล สมาคม และหนวยงานของรัฐบาล ซ่ึงสมาชิกขององคกรจะสมัครเปนสมาชิกของธุรกิจนี้และมีสิทธิ์ที่จะซื้อสินคา โดยการเลือกซื้อจากรายชื่อของพอคาปลีกที่มีการใหสวนลดกับสมาชิก เชน เมื่อลูกคาตองการกลองถายวีดีโอ ก็จะซื้อจากบริการของธุรกิจนี้ในราคาที่ไดรับสวนลด ซ่ึงธุรกิจที่ใหบริการในการซื้อจะไดรับผลตอบแทนเปนคาธรรมเนียมในการขายสินคาจากพอคาปลีก องคกรท่ีทําการคาปลีก (Retail Organization) เปนธุรกิจที่ทําการคาปลีกโดยขายสินคาใหกับผูบริโภค องคกรคาปลีกเกิดจากอํานาจการซื้อ การยอมรับในตราสินคาอยางกวางขวาง พนักงานขายที่ไดรับการเขาฝกอบรมเปนอยางดี องคกรที่ทําการคาปลีก ประกอบดวย

1. รานคาปลีกแบบลูกโซจํากัด (Corporate Chain Store) เปนรานคาที่มี 2 สาขาขึ้นไป โดยมีเจาของคนเดียวกัน มีการควบคุมและการ

บริหารงานรวมกัน มีการจัดซื้อสินคาและบริหารรวมที่ศูนยกลางและขายสายผลิตภัณฑที่คลายคลึงกัน ตัวอยาง หางสรรพสินคา (Department Store) รานเบ็ดเตล็ด (Variety Store) รานอาหาร (Food Store) รานขายยา (Drug Store) รานขายเสื้อผาสตรี (Women Clothing store) จากการที่มีรานหลายสาขา ทําใหซ้ือไดในปริมาณมากและราคาต่ํา รวมทั้งสามารถใชผูเช่ียวชาญในระดับบริษัทในการกําหนดกลยุทธการตั้งราคาต่ํา การสงเสริมการตลาด การบริหารการคา การควบคุมสินคาคงเหลือ และการพยากรณการขาย

2. รานคาปลีกลูกโซสมัครใจ (Voluntary Chain Store) หมายถึง การรวมมือกันของกลุมพอคาปลีกอิสระ ในการรวมกันซ้ือสินคา

ปริมาณมากเพื่อใหไดสินคาราคาต่ํา

Page 38: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

25

3. การรวมมือกันแบบลูกโซของสหกรณพอคาปลีก (Retailer-cooperative Chain Store)

ประกอบดวยกลุมพอคาปลีกอิสระ รวมตัวกันจัดตั้งเปนสหกรณพอคาปลีก เพื่อใหบริการในการจัดซื้อสินคาจากผูผลิต แลวนํามาขายตอใหกับพอคาปลีกที่เปนสมาชิกของสหกรณฯ วิธีการแบบนี้จะทําใหพอคาปลีกแตละรายซื้อสินคาไดในราคาที่ต่ํากวาราคาตลาด นอกจากนี้สมาชิกอาจมีการใชวิธีการสงเสริมการตลาดรวมกันก็ได

4. สหกรณผูบริโภค (Consumer Cooperatives) เปนรานคาปลีกที่จัดตั้งขึ้นมา โดยมีผูบริโภคหรือลูกคาเปนสมาชิก การตั้ง

สหกรณ ผูบริโภคขึ้นมานี้เพื่อเปนการแขงขันกับรานคาปลีกทั่ว ๆ ไป ไมใหขายสินคาในราคาสูงเกินความจําเปน สหกรณผูบริโภคจะขายสินคาดวยราคายุติธรรม คือ อาจตั้งราคาเทากับราคาตลาดหรืออาจต่ํากวาราคาตลาดก็ได ผลตอบแทนที่สมาชิกหรือผูถือหุนไดรับ คือ เงินปนผลคืนตามสวนซ้ือ ถาหากสมาชิกนั้นซื้อสินคาจากรานสหกรณ

5. รานคาปลีกที่ไดรับสิทธิบัตร (Franchise Organization) ธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจคาปลีก มีช่ือเสียงเปนที่รูจักกัน

ดีจะขยายธุรกิจ โดยการยินยอมใหบุคคลอื่นเลียนแบบทั้งเครื่องหมายการคา รูปแบบการดําเนินงาน สินคาที่ขาย โดยมีสัญญาขอตกลงตาง ๆ ระหวางผูใหสิทธิและผูรับสิทธิ ผูที่ไดรับสิทธิบัตรจะเปนผูดําเนินการตามขอตกลงตาง ๆ ที่ไดทําไว ผูใหสิทธิบัตรจะเปนผูกําหนดรูปแบบการจัดองคการธุรกิจ ชนิดของผลิตภัณฑ การบริการ วิธีการที่ทําธุรกิจ ช่ือทางการคา การจัดตกแตงราน ธุรกิจเหลานี้สวนใหญจะอยูในรูปแบบฟาสตฟูดส (Fast Food) วิดีโอเทป ศูนยสุขภาพ ศูนยความงาม รานตัดผม ธุรกิจรถเชา ปมน้ํามัน รานขายรองเทาบาจา โรงแรม ธุรกิจทองเที่ยว ฯลฯ การจายคาตอบแทนสําหรับสิทธิบัตรนั้นประกอบดวย คาธรรมเนียมในระยะเริ่มแรก คาธรรมเนียมการเขาเปนสมาชิก คาอุปกรณ วัตถุดิบตาง ๆ ที่เจาของสิทธิบัตรจัดหาให สวนแบงของกําไร คาธรรมเนียมที่ปรึกษา ฯลฯ ตัวอยางเชน แมคโดนัลด (McDonalds) เซเวน-อีเลฟเวน (7-eleven) เปนตน

6. การรวมมือกันบริหารสินคา (Merchandising Conglomerate) เปนการรวมมือกันระหวางรูปแบบธุรกิจการคาปลีกตางๆ ภายใตการเปน

เจาของ มีศูนยกลางรวมกันโดยมีการรวมตัวกันในหนาที่การจัดจําหนายและหนาที่การบริหาร

Page 39: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

26

หนาท่ีของพอคาปลีกท่ีมีตอผูบริโภค พอคาปลีกเปนผูที่ขายสินคาใหกับผูบริโภคคนสุดทาย ดังนั้นจึงมีสวนเกี่ยวของ หรือมีหนาที่คอยใหความชวยเหลือผูบริโภคในดานตาง ๆ ซ่ึง สุมนา อยูโพธ์ิ (2539: 21 – 24) ไดแบงหนาที่ของพอคาปลีกที่มีตอผูบริโภค ออกเปน 3 หนาที่ คือ

1. การจัดหาสินคาที่เหมาะสม พอคาปลีกจะตองจัดหาสินคาที่เหมาะสม (Right Goods) ในปริมาณที่สมควร (Right Quantity) มาจําหนายใหลูกคาในเวลาและสถานที่ที่ถูกตอง (Right Time & Right Place)

2. ทําใหผูบริโภคเลือกสินคาไดงาย การที่พอคาปลีกจะชวยใหเลือกสินคาไดโดยสะดวกดวยวิธีการสงเสริมการขาย ซ่ึงมีความมุงหมายเรียกรองความสนใจของลูกคาและอํานวยความสะดวกแกลูกคาในการเลือก ซ่ึงอาจจะทําไดโดย

การโฆษณา (Advertising) การจัดสินคาใหมองเห็นไดงาย (Visual Merchandising) การขายโดยใชพนักงานขาย (Personal Selling)

3. การใหความสะดวกกับลูกคา พอคาปลีกจะชวยใหลูกคาหาซื้อสินคาไดงายและสะดวกขึ้น บางรานอาจใชวิธีหาที่ตั้งที่ลูกคาไปติดตอไดงาย ใหบริการชวยเหลือลูกคาและวาง รูปแบบของรานคาในลักษณะที่จะชวยใหลูกคาคนหาสินคาที่ตนตองการได นอกจากนั้นอาจจะใหบริการอื่นๆ เชน การขายสินคาเปนเงินเชื่อ การใหการรับรองลูกคา การเลือกที่ตั้งและจัดรานใหเหมาะสม เปนตน การตัดสินใจทางการตลาดของพอคาปลีก ปจจุบันผูผลิตสินคาตาง ๆ สามารถผลิตสินคาไดในจํานวนที่เพียงพอกับความตองการของตลาด และขยายตลาดออกไปไดอยางทั่วถึง ทําใหมีรานคาปลีกเกิดขึ้นมากมายหลายประเภท ผูบริโภคสามารถเลือกซ้ือสินคาไดหลายทางมากขึ้น ดังนั้นพอคาปลีกจะตองพยายามคนหากลยุทธทางการตลาดใหม ๆ เพื่อที่จะไดนํามาใชจูงใจหรือดึงดูดใจ รวมทั้งรักษากลุมลูกคาเปาหมายไวใหได

Page 40: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

27

ภาพ 1 การตัดสินใจทางการตลาดของพอคาปลีก ที่มา: ดัดแปลงจาก Kotler (1997: 440)

จากภาพ 1 จะเห็นไดวา พอคาปลีกจะมีปจจัยที่สําคัญสําหรับการตัดสินใจทางการตลาดทั้งหมด 5 ปจจัย คือ

1. การตัดสินใจเกี่ยวกับตลาดเปาหมายและการวางตําแหนง 2. การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการที่จะจําหนาย 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับราคา 4. การตัดสินใจเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาด 5. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดจําหนาย โดยมีรายละเอียดของการตัดสินใจในแตละปจจัย ดังนี้ 1. การตัดสินใจเกี่ยวกับตลาดเปาหมายและการวางตําแหนง

ส่ิงแรกที่พอคาปลีกจะตองทํา คือ การกําหนดตลาดเปาหมายใหชัดเจน และวิธีการวางตําแหนงของรานคาใหตรงกับความตองการของตลาดเปาหมาย ซ่ึงตลาดเปาหมายในที่นี้ หมายถึง ผูบริโภค โดยทําการศึกษาถึงลักษณะความตองการและพฤติกรรมของผูบริโภคใหชัดเจน เชน ใครคือกลุมลูกคาเปาหมาย สินคาหรือบริการที่ผูบริโภคตองการ เหตุผลหรือวัตถุประสงคในการซื้อสินคา ระยะเวลาในการซื้อสินคา ผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการซื้อสินคาของผูบริโภค สถานที่ซ้ือสินคา วิธีการซื้อสินคา ฯลฯ ขอมูลท่ีไดรับเหลานี้จะทําใหพอคาปลีกสามารถนําไปปรับปรุง กลยุทธในการดําเนินงานและการวางตําแหนงของรานคาปลีกไดเปนอยางดี เชน จัดหาผลิตภัณฑตามที่ผูบริโภคตองการ กําหนดราคาที่ผูบริโภคยอมรับ กลยุทธการสงเสริมการขาย กลยุทธการโฆษณา และกลยุทธอ่ืน ๆ ฯลฯ นอกจากนี้พอคาปลีกก็จะตองพยายามทําการวิจัยตลาดอยางตอเนื่องเพื่อที่จะไดพัฒนากลยุทธตาง ๆ ใหตรงกับความตองการของลูกคาใหมากที่สุด

ตลาดเปาหมาย การวางตาํแหนง ของรานคาปลีก

กลยุทธ

ผลิตภณัฑและบริการ ราคา

การสงเสริมการตลาด การจัดจําหนาย (ทําเลท่ีตั้ง)

สวนผสมทางการตลาดของพอคาปลีก

Page 41: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

28

2. การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภณัฑและบริการที่จะจําหนาย พอคาปลีกจะตองตัดสินใจเกี่ยวกับตัวแปรทางดานผลิตภัณฑ 3 ตัวแปร คือ

สวนผสมผลิตภัณฑ สวนผสมการบริการ และบรรยากาศของรานคา สวนผสมผลิตภัณฑ พอคาปลีกจะตองพิจารณาตัวสวนผสมของผลิตภัณฑ ดังนี้ 1. ความกวางของสวนประสมผลิตภัณฑ เชน สายผลิตภัณฑอาหาร สาย

ผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟา สายผลิตภัณฑเครื่องใชสํานักงาน เปนตน 2. ความลึกของสวนประสมผลิตภัณฑ เชน ในสายผลิตภัณฑอาหารจะ

จําหนายผัก ผลไม เนื้อสด ฯลฯ อยางไรบาง เปนตน 3. พิจารณาวาผลิตภัณฑที่นํามาจําหนายมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกัน

หรือไมอยางไร สวนผสมการบริการ พอคาปลีกจะตองพิจารณาถึงสวนประสมการบริการ

(Service Mix) ที่เสนอใหลูกคา ดังตาราง 3 แสดงบริการที่สําคัญที่ธุรกิจการคาปลีกเสนอแกลูกคา ประกอบดวยการบริการกอนการซื้อ การบริการหลังการซื้อ และการบริการอื่น ๆ

ตาราง 3 การบริการของพอคาปลีก

การบริการกอนการซื้อ (Pre-purchase Service)

การบริการหลังการซื้อ (Post-purchase Service)

การบริการอื่นๆ (Ancillary Service)

1. การรับคําสั่งซื้อทางโทรศัพท 2. การรับคําสั่งซื้อทางไปรษณีย 3. การโฆษณา 4. การจัดแสดงสนิคาหนาราน 5. การจัดสินคาภายในราน 6. หองลองสินคา 7. จัดรายการพิเศษชวงเวลาคนซื้อ

มาก 8. การจัดแสดงแฟชั่น 9. การจัดรายการแลกซื้อ

1. ใหบริการสงสินคา 2. บริการหอ 3. บริการหอของขวัญ 4. บริการแกไขซอมแซม

สินคา 5. การรับคืนสินคา 6. การรับเปลี่ยนสินคา 7. ปรับเปลี่ยนแกไขสินคาให

เขากับกลุมลูกคา 8. การติดตั้ง 9. แกไขสินคาตามคําสั่ง

1. รับชําระเงินดวยเช็ค 2. ใหขอมูลท่ัวไป 3. มีสถานจอดรถฟรี 4. บริการซอมสินคา 5. การแกไขซอมแซม 6. การตกแตงภายใน 7. การใหสินเชื่อ 8. หองพักผอน 9. บริการดูแลทารก และเด็กออน

ท่ีมา: ดัดแปลงจาก Kotler (1997: 576)

Page 42: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

29

บรรยากาศของรานคา พอคาปลีกจะตองพยายามจัดรูปแบบของรานคาทั้งภายนอก และภายในรานใหมีลักษณะที่ลูกคารูสึกสะดวกสบายในการเลือกซื้อสินคา ไมคับแคบจนเกินไป รวมทั้งการสรางบรรยากาศที่ เหมาะสมกับความตองการของลูกคาดวย เชน มีเครื่องปรับอากาศ แสงสวางเพียงพอ มีเสียงดนตรี มีการจัดวางผังในรานคาที่สวยงาม งายตอการเลือกซื้อ เปนตน

การสรางความแตกตางดานผลิตภัณฑสําหรับพอคาปลีก Wortzel (อางใน Kotler, 1997: 572-573) ไดเสนอกลยุทธการสรางความแตกตางดานผลิตภัณฑสําหรับพอคาปลีก ดังนี้

1. จัดหาตราสินคาเจาะจงซื้อท่ีมีช่ือเสียง โดยผูกขาดการจัดจําหนายแตเพียง ผูเดียว โดยไมมีที่รานคาปลีกของคูแขงขัน

2. จําหนายตราสินคาที่เปนตราเฉพาะ (Private Brand) 3. ลักษณะการจัดเหตุการณที่เกี่ยวกับสินคาที่มีลักษณะเดนที่นาสนใจ 4. การเปลี่ยนแปลงสินคาใหนาสนใจและทันสมัย 5. การบริหารสินคาใหมีความใหมสุดและลาสุด 6. เสนอบริการพิเศษ 7. เสนอผลิตภัณฑใหเลือกมาก เครื่องมือทางการตลาดซึ่งใหสําหรับพอคาปลีก

Kotler (1997: 574) ไดเสนอเครื่องมือทางการตลาดที่พอคาปลีกสามารถทําได มีดังนี้

1. การโฆษณารวมกัน (Cooperative Advertising) เปนการรวมกันโฆษณาระหวางรานคาปลีกและผูผลิตสินคา (หรือผูขายรายอื่น)

2. การใชปายสินคา (Preticketing) เพื่อระบุถึงราคา ผูผลิต ขนาด สี 3. การซื้อโดยไมมีสินคาคงเหลือ (Stockless Purchasing) เปนวิธีการที่

ตองการใหมีสินคาคงเหลือต่ํา และเมื่อมีการสั่งซ้ือเพิ่มเติมใหมก็สามารถตอบสนองไดทันตอความตองการของลูกคา

4. ระบบการสั่งซื้อซํ้าแบบอัตโนมัติ (Automatic Reordering Systems) เปนการใชระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงมีการบันทึกสินคาคงเหลือทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการเพิ่มลดสินคา

5. เครื่องมือโฆษณา (Advertising Aids) เชน รูปภาพโปสเตอร ส่ือกระจายเสียง เอกสารชวยขายตาง ๆ

Page 43: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

30

6. การจัดสินคาราคาพิเศษ (Special Price) เปนเครื่องมือที่ใชอยางแพรหลาย 7. การรับคืนและแลกเปลี่ยน (Return and Exchange) 8. สวนยอมใหสําหรับการลดราคาสินคา (Allowances for Merchandise

Markdowns by The Retailer) 9. การเปนผูอุปถัมภสําหรับการสาธิตสินคาในรานคา (Sponsorship of In-

store Demonstrations) 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับราคา

การกําหนดราคาจะมีผลตอการตัดสินใจซื้อของลูกคาเปาหมายเปนอยางมาก เพราะการที่ลูกคาตัดสินใจซื้อสินคา แสดงวาลูกคาไดเปรียบเทียบระหวางผลประโยชนที่ไดรับจากสินคา มีความคุมคากับเงินที่ไดจายไป การที่พอคาปลีกจะตั้งราคาสูงกวาราคาตลาด ตั้งราคาสินคาต่ํากวาราคาตลาด หรือตั้งราคาสินคาเทากับราคาตลาดนั้นจะตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวย ซ่ึง Dunne and Lusch (1999: 353) ไดแบงปจจัยออกเปน 7 ปจจัย ดังนี้

1. ลักษณะของสินคาที่ขาย เชน ถาพอคาปลีกขายสินคาที่มีคุณภาพ มีช่ือเสียง ลูกคายอมรับในคุณภาพ พอคาปลีกก็สามารถเลือกใชกลยุทธการตั้งราคาสูงได แตถาเปนสินคาประเภทสินคาสะดวกซื้อ พอคาปลีกก็เลือกใชกลยุทธการตั้งราคาต่ํา หรือเทากับราคาตลาด เปนตน

2. สถานที่ตั้งของรานคาปลีก เชน ถาสถานที่ตั้งอยูใกลกับรานคาของ คูแขงขัน และมีคูแขงขันเปนจํานวนมาก กลยุทธการตั้งราคาสูงกวาคูแขงขันก็จะไมประสบผลสําเร็จ ถาตองการจูงใจใหลูกคาที่มีระยะทางอยูไกลจากรานคาสนใจที่จะซื้อสินคา พอคาปลีกก็ตองมีการเพิ่มการสงเสริมการตลาดหรือตั้งราคาต่ําเพื่อจูงใจใหซ้ือ เปนตน

3. การสงเสริมการตลาด เชน ถาพอคาปลีกตั้งราคาเทากับคูแขงขัน แตมีการใชการสงเสริมการตลาดที่ดีกวา ก็จะเปนการกระตุนลูกคาใหเกิดความตองการซื้อสินคามากขึ้น ซ่ึงก็จะทําใหยอดขายและกําไรที่ไดรับเพิ่มสูงขึ้นได เปนตน

4. การใหสินเชื่อ เชน พอคาปลีกนอกจากจะขายเปนเงินสดแลว อาจจะขายเปนเงินเชื่อ ขายผานบัตรเครดิตดวย ก็จะเปนชองทางหนึ่งที่ทําใหลูกคาซ้ือสินคาไดมากขึ้น เปนตน

5. การบริการลูกคา การบริการตาง ๆ การเพิ่มการบริการหอของขวัญ การบริการการขนสง การใหคําแนะนํา ฯลฯ ก็จะเปนการกระตุนใหลูกคาซื้อสินคาจากรานคาปลีกที่ใหบริการเหลานี้ได

Page 44: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

31

6. ภาพพจนของรานคา การกําหนดราคาสินคาจะตองใหสัมพันธกับภาพพจนของรานคาดวย เชน ถาตองการสรางภาพพจนรานคาเปนรานที่มีสินคาคุณภาพสูง มีความทันสมัย การตั้งราคาต่ําหรือการลดราคามาก ๆ ก็จะสงผลเสียตอภาพพจนของรานคาได เปนตน

7. ขอจํากัดทางดานกฎหมาย การกําหนดราคาสินคาจะตองพิจารณาถึงขอจํากัดทางดานกฎหมายดวย เชน กฎหมายควบคุมราคาสินคา กฎหมายคุมครองผูบริโภค เปนตน

4. การตัดสินใจเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาด พอคาปลีกจะใชสวนผสมของการสงเสริมการตลาด ไดแก การโฆษณา การ

ขายโดยใชบุคคล การสงเสริมการขายและการประชาสัมพันธ เปนเครื่องมือในการกระตุนใหลูกคาเกิดการซื้อสินคา และเมื่อกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑดานภาพพจน เชน การโฆษณาสินคาแบบเต็มหนากระดาษตามนิตยสาร หรือวารสารตาง ๆ การโฆษณาทางโทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ เพื่อใหลูกคารูวารานคามีการจัดรายการพิเศษ ฯลฯ รานคาปลีกที่ขายของถูกจะใชกลยุทธการสงเสริมการขายมากกวาการใหการฝกอบรมพนักงานขายของราน แตถาเปนรานคาปลีกที่ขายสินคามีคุณภาพ มีราคาแพงก็จะตองใหความสําคัญกับการฝกอบรมของพนักงานขาย เพื่อใหมีประสิทธิภาพในการตอนรับลูกคา การใหคําแนะนําแกลูกคา ฯลฯ

5. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดจําหนาย พอคาปลีกจะตองพิจารณาถึงทําเลที่ตั้งเปนสําคัญ ซ่ึง Dunne and Lusch

(1999: 216-222) ไดแบงสถานที่ที่เหมาะสําหรับการเลือกเปนทําเลที่ตั้งของรานคาปลีก ออกเปน 5 ประเภท คือ

1. ยานศูนยกลางการคาธุรกิจ เปนสถานที่ที่อยูในตัวเมืองลูกคาสัญจรไปมาหนาแนน เหมาะสําหรับเปนที่ตั้งของรานสรรพสินคา หรือรานขายสินคาเฉพาะอยาง

2. ยานที่มีคนหนาแนนรองจากตัวเมือง เปนสถานที่ที่เหมาะสําหรับรานคาที่ตองการขายสินคาใหกับลูกคาบางสวนของตัวเมืองเทานั้น

3. ยานการคาที่อยูใกลที่พัก เปนสถานที่ที่อยูในยานที่คนอาศัย ขายสินคาใหกับลูกคาที่มีที่อยูแถวนั้นมักจะเปนรานเล็ก ๆ เชน รานขายของชําตามหมูบานตาง ๆ เปนตน

4. ยานการคาตามแนวถนน เปนรานคาที่ตั้งอยูตามสองฟากถนนที่ผานไปยังในเมือง ลูกคาเปาหมายจะเปนลูกคาที่เดินทางผานไปมา เชน รานขายผลไมขางทาง รานขายอาหารขางทาง เปนตน

5. อยูในศูนยการคา เปนสถานที่ในตัวเมือง หรือในแถบชานเมืองที่มีคนผานไปมาไดสะดวก มีวัตถุประสงคเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกลูกคาที่ตองการซื้อสินคาทุกอยาง

Page 45: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

32

ตามที่ตองการในสถานที่แหงเดียว (One Stop Shopping) เพราะในศูนยการคาจะประกอบไปดวย รานสรรพสินคา รานสรรพาหาร รานขายของเฉพาะอยาง ฯลฯ แนวโนมของธุรกิจการคาปลีก ลักษณะของการประกอบธุรกิจการคาปลีก ในปจจุบันมีเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซ่ึง สุดาดวง เรืองรุจิระ (2541: 227 – 229) ไดกลาวถึงแนวโนมของการคาปลีก

1. รานคาปลีกขนาดใหญจะดําเนินการ ในรูปของศูนยการคา (Shopping Centers) มากขึ้น โดยศูนยการ คาที่เกิดขึ้นจะมีขนาดใหญ ประกอบดวยหลาย ๆ รานสรรพสินคาและรานสรรพาหารมารวมกัน เชน ฟวเจอรพารครังสิต ฟวเจอรพารคบางแค เซ็ลทรัลลาดพราว เดอะมอลลบางแค และมีบริการอื่นๆ เพิ่มเขามารวมในศูนยการคามากขึ้น เชน สวนสนุก สาขาของธนาคาร รานอาหาร โรงภาพยนตร รานเสริมสวย ศูนยการแพทย - สุขภาพ บริการเกี่ยวกับรถยนต ฯลฯ เหตุที่ศูนยการคาเปนที่นิยมอยางแพร หลายในปจจุบัน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ จํานวนประชากร ผูที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้นจะขยายออก ไปอยูตามชานเมือง เมื่อผูคนที่ไปอยูรวม กันมีปริมาณมากขึ้น จะมีความตองการเพียงพอที่กลุมผูขายจะ ไปตั้งรานคาเพื่อจําหนายสินคาได ขณะเดียวกันปญหาเกี่ยวกับการจราจรและ ความไมสะดวกสบายในการเดินทางในเมืองมีมากขึ้น ๆ ประกอบกับ ประชาชนมีรถยนตใชมากขึ้น จึงนิยมขับรถออกไปซื้อตามชานเมืองมาก ขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการจราจรคับคั่ง การหาที่จอดรถลําบาก ถึงแมศูนยการคานอก เมืองจะอยูไกลแตรถไมติดจึงทําใหใชเวลา ในการเดินทางที่นอยกวาจากการที่ลูกคา ไดรับการศึกษามากขึ้น เทคโนโลยีทางสื่อตางๆ มีมากขึ้น ทํา ใหผูซ้ือตัดสินใจซื้อสินคาไดงาย และสวนใหญสินคาเปนสินคาที่มีมาตรฐาน จึงไมมีความจําเปนที่จะตองไปตระเวนซื้อหลาย ๆ ที่ การไปซื้อสินคาจากศูนยการคาจึงเปน การประหยัดเวลาและมีความสะดวกมาก สามารถไปไดทั้งครอบครัว

2. รานคาปลีกจะขยายสาขากระจายครอบคลุมพื้นที่กวางขวางขึ้น กิจการรานคาปลีกแบบลูกโซ (Chain Stores) จะมีมากขึ้นใหเห็นเดนชัด เนื่องจากการขยายตัวของกรุงเทพฯ หรือเมืองใหญ ๆ รานคาจึงจําเปนตองติดตามลูกคาไปดวย การเปดสาขารานยอย ๆ ทําใหลงทุนนอย สามารถหาทําเลที่ตั้งไดงายกวาเขาไปตั้ง ตามชุมชนอยูอาศัยใหมไดงาย ตามคอนโดมิเนียมตาง ๆ หรือแมแตในปม น้ํามัน เปดในลักษณะของรานสะดวกซื้อ หรือซุปเปอรมารเก็ตขนาดเล็ก

3. การขยายตัวของระบบการใหสิทธิทางการคา (Franchise) จะเติบโตมากขึ้น ความตองการขยายกิจ การของรานคาปลีกรายใหญมีมากขึ้น แตมีปญหาเรื่องบุคลากรที่จะมาดูแล กิจการใหเมื่อเปดขยายสาขายอยๆ ออกไป ขณะเดียวกันมีคนรุนใหม ที่ตองการเปนเจาของกิจการเองมากขึ้น ดังนั้นจึงมีผูตองการจะเติบโตเร็ว ๆ ถึง แมจะภายใตเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นก็

Page 46: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

33

ตาม ระบบการใหสิทธิทางการคาในปจจุบัน มิไดมีแตกิจการฟาสตฟูดเทานั้น ยังมีกิจการพิมพนามบัตร โรงพิมพ ขนาดเล็ก รานจําหนายเทป ใหเชาวีดีโอ ขายเสื้อผาสําเร็จรูป รานกาแฟ ลูกชิ้น นายฮั่งเพง มินิมารท เอสแอนดพี ฯลฯ

4. การปกปองสวนแบงการตลาดดวยระบบสมาชิก (Membership) รานคาปลีกตางๆ พยายามรักษาลูกคาไว โดยการเสนอรูปแบบสมาชิกตาง ๆ เพื่อใหใชสินเชื่อได เพื่อสะสมคะแนนไวแลกสิ่งของ หรือเพื่อสวนลดในเรื่องอื่นๆ มีการสรางพันธมิตรทางการคาขึ้นดวย ระบบบัตรสมาชิก กิจการหนึ่งเปนเจาของบัตรสมาชิก แตสมาชิกสามารถนําบัตรไปใชประโยชนได สวนลดจากกิจการอื่น ๆ ซ่ึงอาจเปนธุรกิจในเครือเดียวกัน หรือเปนพันธมิตรทางการคาเทานั้น โดย เฉพาะอยางยิ่งธุรกิจบริการตาง ๆ จะมาพึ่งพารวมมือกับบัตรสมาชิกของรานคาปลีกใหญหรือธนาคาร

5. การใหบริการชําระเงินผานบัตรเครดิต (Credit Cards) มากขึ้น รานคาปลีกสวนใหญตางยอมรับการชําระเงินดวยบัตรเครดิตจาก ลูกคามากขึ้น ชวยใหจําหนายสินคาไดมากขึ้น ลูกคาไมตองกังวลวาไมมีเงินติดตัวมาก พอจะชําระเงิน รานคาไมตองเสี่ยงกับหนี้สูญ เพราะ เทากับไดรับเงินสดทันที โดยผานเครื่องรูดบัตรอัตโนมัติได ขณะที่ผูบริโภครูสึกวาตนเองไดรับสินเชื่อ โดยไมตองเสียดอกเบี้ย

6. นําระบบการแลกเปลี่ยนขอมูลผานสื่ออิเลคโทรนิค (Electronic Data Interchange, EDI) มาใชในธุรกิจคาปลีกเพิ่มขึ้น ระบบการควบคุมในการขายและสินคาคงคลัง รวมทั้งการจัดซื้อ ผานเครื่องมืออิเลคทรอนิกสในระบบรหัสแทง (Bar Code) ทําใหกิจการคาปลีกไดรับความสะดวกในการควบคุมการจัดซื้อและสินคาคงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลาและคาใชจาย และการดําเนินการ ณ จุดขายหรือการรับชําระเงินมีความรวดเร็วขึ้น

7. การขยายตัวของธุรกิจคาปลีกแบบขายถึงบาน (Home Shopping) ไดมีการนําเสนอขายสินคาตางๆ สูผูบริโภคโดยตรง โดยผานทางโทรทัศน ทั้งสถานีโทรทัศนปกติ ชอง 3 ชอง 5 ชอง 7 ชอง 9 และเคเบิลทีวีทุกชอง สวนมากจะเปนประเภทเครื่องอุปกรณ ในครัวชุดความบันเทิงในบาน (Home Theater) อุปกรณกันขโมยตาง ๆ อุปกรณออกกําลังกาย หรือเคร่ืองมือเครื่องใชสํานักงานขนาดเล็ก จะมีพิธีกรนําเสนอสาธิตการทํางานของอุปกรณเหลานั้น ใหเห็นแลวแจงโทรศัพทที่จะติดตอส่ังซ้ือได มักจะใชขออางวาจําหนายในราคาพิเศษ หลังจากติดตอส่ังซื้อแลว ผูขายจะนําสงถึงบานดวยพนักงานของบริษัทฯ สําหรับในเขตกรุงเทพฯ พรอมกับรับชําระเงิน แตสวนมากจะยอมใหชําระเงินผานบัตรเครดิตของธนาคารตาง ๆ ผูขายสินคาโดยใชชองทางจําหนายแบบนี้ จะประหยัดคาใชจายเรื่องสถานที่ไมตองจัดตกแตงราน ไมตองมีพนักงานขายหลายคน ประโยชนทางสื่อโทรทัศนทั้งโฆษณา และเสนอขายพรอมกัน บางกิจการดําเนินการควบคูกับการ

Page 47: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

34

ใชจดหมายตรง (Direct Mail) นับเปนชองทางการจําหนายสูผูบริโภคโดยตรงที่มีการขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ

8. การใชเครื่องจักรอัตโนมัติชวยในการขายสินคา (Vending Machine) พฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและลักษณะของการที่ตองทํางานแขงกับเวลาของผูบริโภค ทําใหเกิดการยอมรับการนําเครื่องจักรอัตโนมัติเขามาชวยในการขายสินคามากขึ้น การใชเครื่องจักรอัตโนมัติชวยในการขายสินคานั้นมีความเหมาะสม ในกรณีที่สินคานั้นมีราคาถูก กําไรตอหนวยต่ําไมคุมคากับการจางพนักงานขาย หรือสถานที่นั้นเปนแหลงที่มีผูคนสัญจรไปมามากแตไมสะดวกในการตั้งรานคา การใชเครื่องจักรจะทําใหประหยัดเนื้อที่มากกวา แนวโนมที่จะทําใหผูบริโภคยอมรับการใชเครื่องจักรอัตโนมัติชวยในการขาย เกิดจากสาเหตุ ดังนี้

ผูบริโภคสวนใหญรูจักตัดสินใจเลือกสินคาดวยตนเองมากขึ้น รวมทั้งความเคยชินกับการซื้อสินคาดวยวิธีใหลูกคาบริการตัวเองในปจจุบันมีมากขึ้น

สินคาที่ผลิตออกมาในปจจุบันสวนใหญมีมาตรฐานที่ผูซ้ือยอมรับถึงแมวาจะซ้ือกับเครื่องจักร ไมใชกับบุคคลก็ตาม

ผูบริโภคที่มีรายไดระดับปานกลางจะถือความสะดวกในการซื้อเปนเกณฑ โดยจายเงินเพิ่มเพียงเล็กนอยเทานั้น

การเพิ่มตนทุนทางดานเกี่ยวกับพนักงานขายในอัตราที่คอนขางเร็วมากในปจจุบัน ทําใหผูขายพยายามหาทางลดคาใชจายดานพนักงานใหมากที่สุด

จากแนวโนมที่เกิดขึ้นดังกลาว ผูบริหารกิจการคาปลีกจะตองดําเนินการอยางรอบคอบ มีความรูทางดานการตลาด การวางแผนควบคุมกําไร ตลอดจนการบริหารกิจการรานและรูจักนํากลยุทธในการดําเนินงานตางๆ มาใช เพื่อจะใหกิจการของตนเองสามารถแขงขันกับคูแขงขันที่เปนรานคาปลีกรายอื่น ๆ ได

แนวคิดทฤษฎกีารมีสวนรวมของประชาชน

ความหมายของการมีสวนรวม

คําวา “การมีสวนรวม” ไดมีผูใหคํานิยามตาง ๆ กัน ดังนี้ นิรันดร จงวุฒิเวศน (2527: 35) กลาววา การมีสวนรวม หมายถึงการเกี่ยวของทางจิต

และอารมณ (Mental and Emotion Involvement ) ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ (Group Situation)

Page 48: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

35

ซ่ึงผลของการเกี่ยวของดังกลาวเปนส่ิงเราใหกระทําการ (Contribution ) ใหบรรลุจุดมุงหมายของกลุมนั้น ทําใหเกิดความรูรวมรับผิดชอบกับกลุมดังกลาวดวย

สุรีย ตัณฑศรีสุโรจน (2531: 97) ไดสรุปถึงการมีสวนรวมไววา เปนการรวมมือรวมปฏิบัติ และรวมรับผิดชอบดวยกัน ไมวาจะเปนของปจเจกบุคคล หรือของกลุม ทั้งนี้เพื่อใหเกิดการดําเนินการพัฒนา และการมีสวนรวมเสียสละในการพัฒนา และการลงมือปฏิบัติการตามที่ไดตัดสินใจสําหรับมิติที่สาม ไดแก การมีสวนรวมในการแบงปนผลประโยชนที่ เกิดจากการดําเนินงาน และในการประเมินผล

องคการสหประชาชาติ (ดารุณี ทันใจ, 2550: 23) ไดใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนในฐานะที่เปนกระบวนการพัฒนาวา “ การเขารวมอยางกระตือรือรน และมีพลังของประชาชนในกระบวนการ ตัดสินใจ เพื่อกําหนดเปาหมายของสังคม จัดทรัพยากรเพื่อบรรลุเปาหมายนั้น และเปนการปฏิบัติตามแผนการ หรือโครงการตาง ๆ โดยสมัครใจ” แตการเขาไปมีสวนรวมในทางสังคมดวยความสมัครใจ ควรเปนไปในลักษณะของความสัมพันธระหวางบุคคลตอกลุมคน และระหวางกลุมตอกลุม ซ่ึงถือวาเปนสวนประกอบของกิจกรรมของกลุมนั้น ๆ ซ่ึงอาจจะเปนทางการหรือ ไมเปนทางการก็ได

WHO – UNICEF (ลัดดาวัลย ตันติวิทยาพิทักษ, 2546: 6) ไดขยายความการมีสวนรวมของประชาชนวาครอบคลุมประเด็นดังนี้

1. การมีสวนรวมของประชาชนครอบคลุมถึงการสรางโอกาสที่เอ้ือใหสมาชิกทุกคนของชุมชน และของสังคมไดรวมกิจกรรมซึ่งนําไปสูและมีอิทธิพลตอกระบวนการพัฒนา และเอื้อใหไดรับประโยชนจากการพัฒนาโดยเทาเทียม

2. การมีสวนรวมสะทอนการเกี่ยวของโดยสมัครใจ และเปนประชาธิปไตยในกรณีตอไปนี้

2.1 การเอื้อใหเกิดความพยายามพัฒนา 2.2 การแบงสรรผลประโยชนจากการพัฒนาโดยเทาเทียมกัน 2.3 การตัดสินใจเพื่อกําหนดเปาหมาย กําหนดนโยบาย การวางแผน และการ

ดําเนินโครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม 3. การมีสวนรวมเปนตัวเชื่อมโยงระหวางสวนที่ประชาชนลงแรง และทรัพยากร

เพื่อพัฒนากับประโยชนที่ไดรับจากการลงทุนลงแรงดังกลาว กลาวอีกนัยหนึ่ง คือการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจไมวาจะระดับทองถ่ิน ภูมิภาค และระดับชาติ จะชวยกอใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ประชาชนลงทุนลงแรงกับประโยชนที่ได

Page 49: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

36

4. ลักษณะการมีสวนรวมของประชาชน อาจผิดแผกแตกตางกันไปตามสภาพเศรษฐกิจของประเทศ นโยบาย และโครงสรางการบริหาร รวมทั้งลักษณะเศรษฐกิจสังคมของประชากร

จากความหมายของการมีสวนรวม ดังกลาวขางตน สรุปไดวา การมีสวนรวม หมายถึงการที่ประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา และการแกไขปญหาของชุมชน ตั้งแตเร่ิมตนจนสิ้นสุดโครงการ โดยประชาชนมีสวนรวมในการคนหาปญหา กําหนดเปาหมาย กําหนดนโยบาย การวางแผน และการดําเนินการโครงการพัฒนาตลอดจนประชาชนไดรับประโยชนจากการพัฒนาอยางเทาเทียมกัน พื้นฐานของการมีสวนรวม มี 3 ประการ คือ

1. ตองมีอิสรภาพ หมายถึง มีอิสระที่จะเขารวมหรือไมก็ได การเขารวมตองเปนไปตามความสมัครใจ การถูกบังคับใหเขารวมไมวาจะในรูปแบบใด ไมถือวาเปนการมีสวนรวม

2. ตองมีความเสมอภาค บุคคลที่เขารวมในกิจกรรมใดจะตองมีสิทธิเทาเทียมกับผูเขารวมคนอื่น ๆ

3. ตองมีความสามารถ บุคคลหรือกลุมเปาหมายจะตองมีความสามารถพอที่จะเขารวมในกิจกรรมนั้น ๆ หมายความวาในบางกิจกรรมแมจะกําหนดวาผูเขารวมมีเสรีภาพและเสมอภาคแตกิจกรรมที่กําหนดไวมีความซับซอนเกินความสามารถของกลุมเปาหมาย การมีสวนรวมยอมเกิดขึ้นไมได องคประกอบของการมีสวนรวม มี 3 ดานคือ

1. ตองมีวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายชัดเจน การใหบุคคลเขารวมในกิจกรรมหนึ่ง ๆ จะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่ชัดเจนวาเปนไปเพื่ออะไร ผูเขารวมจะไดตัดสินใจถูกวาควรเขารวมหรือไม

2. ตองมีกิจกรรมเปาหมาย การใหบุคคลเขามีสวนรวมตองระบุลักษณะของกิจกรรมวามีรูปแบบและลักษณะอยางไร เพื่อที่บุคคลจะไดตัดสินใจวาควรเขารวมหรือไม

3. ตองมีบุคคลหรือกลุมเปาหมาย การใหบุคคลเขามามีสวนรวมจะตองระบุกลุมเปาหมาย อยางไรก็ตามโดยทั่วไปกลุมบุคคลเปาหมายมักถูกจํากัดโดยกิจกรรมและวัตถุประสงคของการมีสวนรวมอยูแลวโดยพื้นฐาน การตัดสินใจในการมีสวนรวม ไดแก

1. การตัดสินใจและผลกระทบที่สําคัญ 2. การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอบางคนมากกวาคนอื่น 3. การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอผลประโยชนของบางคนหรือกลุมคนที่มีอยูเดิม

Page 50: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

37

4. การตัดสินใจที่เกี่ยวของกับเรื่องที่มีความขัดแยงอยูกอนแลว 5. ความจําเปนเพื่อใหมีการสนับสนุนตอผลการตัดสินใจ

การมีสวนรวมจึงเปนกระบวนการซึ่งบุคคล หรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะและเขารวมในกิจกรรมตาง ๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยู รวมทั้งมีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจขององคกร การมีสวนรวมเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซ่ึงประกอบไปดวย การแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย และเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้เพราะ การมีสวนรวมเปนการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดคาใชจายและการสูญเสียเวลา เปนการสรางฉันทามติ และทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้งชวยหลีกเลี่ยงการเผชิญหนาใน “กรณีที่รายแรงที่สุด” ชวยใหเกิดความนาเชื่อถือและความชอบธรรม และชวยใหทราบความหวงกังวลและคานิยมของสาธารณะ ซ่ึงแบงระดับขั้นของการมีสวนรวมไว ดังนี้ ระดับขั้นของการมีสวนรวมมี 4 ระดับ

1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision Making) 2. การมีสวนรวมในการดําเนินการ (Implementation) 3. การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน (Benefit) 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation)

ซ่ึงการมีสวนรวมสามารถนําไปใชในการจัดการรานคา ซ่ึงมีกิจกรรมที่เกี่ยวของในวิธีการสรางการมีสวนรวมของประชาชน ดังนี้

1. วิธีการสวนวางแผน (Planning Cells) 1.1 กลุมแตละกลุมมีขนาดเล็กและเปดโอกาสใหสมาชิกแสดงความคิดอยาง

เต็มที่ 1.2 ทุกคนมีโอกาสไดรับเลือกเปนสวนหนึ่งในขบวนการนี้ 1.3 ทําใหการตัดสินใจของกลุมนาเชื่อถือมากขึ้นเพราะวากลุมสมาชิกจะตอง

ปกปองสถานะของตน 1.4 ผลการตัดสินใจมีการแกไขเพิ่มเติมตลอดเวลา 1.5 กลุมสามารถสรางความเชื่อถือดวยวิธีประชาธิปไตย

2. วิธีการสํารวจความเห็นในเชิงเสนอแนะ (Deliberating Polling) 2.1 ทําใหเกิดความเขาใจความเห็นสวนรวมและวิธีการที่ประชาชนเห็นพอง

ตองกันในการตัดสินใจ

Page 51: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

38

2.2 ทําใหไดรับทราบความคิดเห็นจากประชาชนโดยไมมีการบังคับใหเห็นดวยกับความคิดของสวนรวม

3. วิธีการกลุมอภิปราย (Discussion Group) 3.1 เปนรูปแบบที่ประหยัดคาใชจายและเกิดประสิทธิผลในการที่จะรับรูถึง

ความตองการและสิ่งจําเปนที่สุดสําหรับประชาชน 3.2 ขอมูลกลุมจะทําการเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ และมีการแยกวิเคราะหใน

ระดับยอย (ตัวอยางเชน ชาติพันธุ เพศ พื้นที่เชิงสังคมและเศรษฐกิจ ภูมิศาสตรเปนตน) 3.3 เปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมเก็บรวบรวมขอมูลดานแนวโนมตางๆ จาก

งานวิจัยสํารวจตางๆ เพื่อติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการกําหนดนโยบาย 4. วิธีการประชุมกลุม (Focus Group)

4.1 กลุมที่ประสบความสําเร็จอาจจะมีอิทธิพลตอความเห็นสวนรวมและสรางความรูสึกที่ดีระหวางผูมีสวนรวม

4.2 เหมาะสมกับการรับทราบความตองการของกลุมโดยเฉพาะ 4.3 กลุมเปาหมายยังคงรูปแบบที่ไมเปนทางการอยูมาก ผูอภิปรายสามารถถก

เร่ืองราวตาง ๆ ในลักษณะที่เปนกันเอง 4.4 เปนวิธีที่ดีที่ทําใหทราบถึงความเห็นของประชาชน

5. วิธีการประชาพิจารณ (Public Hearings ) 5.1 ทําใหประชาชนไดรับรูเรื่องราวตาง ๆ 5.2 เพิ่มศักยภาพในการตัดสินใจแกประชาชน 5.3 สามารถลดความขัดแยงได หากดําเนินการอยางถูกหลักการ

6. วิธีการวางแผนชุมชน (Community Planning ) 6.1 อนุญาตใหมีการกําหนดแผนลวงหนาในเชิงเสนอแนะ 6.2 มุงเนนการสรางฉันทานุมัติ ความรวมมือในแบบทวิภาคีและ พหุภาคี 6.3 ผลที่ออกมาเปนทางการถือเปนแผนชุมชนแตหัวใจสําคัญของแผนอยูที่

ความเขาใจในประเด็นตางๆ และมีวิสัยทัศนที่ตรงกันในการดําเนินงาน 6.4 สนบัสนุนการเชื่อมสัมพันธ การเปนหุนองคการตาง ๆ 6.5 มีบทบาททางการศึกษา

7. วิธีการประชามติ ( Referenda ) 7.1 การสงเสริมการอภิปรายและกระตุนความสนใจ 7.2 ใหทราบถึงมุมมองของประชาชน

Page 52: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

39

7.3 ชวยใหประชาชนเขาใจกระบวนการนิติบัญญัติโดยตรง 7.4 ผูออกเสียงทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกัน 7.5 มีสวนเกี่ยวพันกับผูคนทั้งในระดับทองถ่ิน และระดับชาติ 7.6 รัฐบาลไมอาจละเลยผลของการลงประชามติ

8. วิธีการประชามติแบบมีโครงสราง (Structured Value Referenda) 8.1 ผูเขารวมมีทางเลือกหลากหลายมากขึ้น 8.2 เปนวิธีที่งายตอการปฏิบัติและเขาใจอีกทั้งยังเปนประโยชนในการกําหนด

นโยบาย 8.3 ขอมูลที่มีการเผยแพรและการตั้งคําถามมีความเปนกลางมากกวาการลง

ประชามติแบบเดิม 8.4 ผูออกเสียงไมตองใชเวลานานและสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองตองการ

เพราะวาตัวเลือกและผลที่แสดงมีความชัดเจนและงายตอการเขาใจอยูแลว นอกจากนี้เมื่อตกลงจะใหมีการมีสวนรวม หนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการ

จัดทําแผนการที่มีสวนรวมไวเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการ ซ่ึงแผนนี้ควรมาจากการจัดทํารวมกันของหลายฝายที่เกี่ยวของ และมีการปรับปรุงแผนได

ทฤษฎีองคการแบบเดิม

ทฤษฎีองคการแบบเดิมเปนแนวคิดทางการจัดการที่เนนองคการโดยสวนรวม

ตลอดจนแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานของผูจัดการ แนวคิดตามทฤษฎีนี้เนนที่การสรางโครงสรางองคการและหนาที่การจัดการ นักทฤษฎีองคการแบบเดิมที่สําคัญไดแก เฮนรี ฟาโยล (Henri Fayol) แมก เว็บเบอร (Max Weber) เชสเตอรบารนารด (Chester Barnard) ลินดอลล เออรวิค (Lyndall Urwick) และลูเธอร กูลิค (Luther Gulick) เฮนรี ฟาโยล (Henri Fayol) และการจัดการบริหาร (ป 1841 – 1925) ฟาโยลเปนวิศวกรชาวฝรั่งเศส ที่ไดพัฒนาวิธีการจัดการอยางเปนระบบ แนวความคิดของฟาโยลจะแตกตางจากเทยเลอร เพราะเทยเลอรจะเนนการจัดการที่ระดับปฏิบัติการ แตฟาโยลเนนในระดับผูจัดการระดับสูงโดยแสดงใหเห็นถึงความจําเปนในการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการ และผูจัดการระดับสูงตองใหความสําคัญกับกิจกรรมทางธุรกิจ 6 กิจกรรมดวยกัน คือ

Page 53: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

40

กิจกรรมทางเทคนิค (Technical Activities) 1. การผลิตตามชิ้นงานโดยชางฝมือ 2. การผลิตในเชิงโรงงาน กิจกรรมทางการคา (Commercial Activities) 1. การซื้อ 2. การขาย 3. การแลกเปลี่ยน กิจกรรมทางการเงิน (Financial Activities) 1. การหาเงินทุนและสินเชื่อ 2. การใชเงินทุนอยางเหมาะสม กิจกรรมดานความปลอดภัย (Security Activities) 1. การปองกันบุคคลและทรัพยสิน กิจกรรมทางบัญชี (Accounting Activities) 1. การจัดทําสตอค 2. การจัดทํางบดุล 3. การบันทึกตนทุน กิจกรรมทางการจัดการ (Managerial Activities) 1. การวางแผน 2. การจัดองคการ 3. การสั่งการ 4. การประสานงาน 5. การควบคุม นอกจากนั้นฟาโยลยังพัฒนากฎ 14 ขอท่ีจะชวยใหผูจัดการจัดการองคการไดอยาง

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไดแก การแบงงานกันทํา (Division of Work) ฟาโยลเห็นวาควรใหคนงานทําหนาที่งาน

ใหมากขึ้น หรือสนับสนุนใหรับผิดชอบในผลลัพธของงานใหมากขึ้น อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) ฟาโยลให

ความสําคัญกับอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการอันเกิดจากจากความเชี่ยวชาญสวนบุคคล ความรูทางเทคนิค ศีลธรรมและความสามารถในการนําและการสรางพันธะผูกพันแกผูใตบังคับบัญชา

Page 54: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

41

เอกภาพการสั่งการ (Unity of Command) กําหนดใหคนงานควรรับคําส่ังและรายงานการทํางานใหกับผูบังคับบัญชาที่เหนือกวาเพียงคนเดียว ควรหลีกเล่ียงการสั่งการคูเพราะจะกอใหเกิดความสับสนแกผูใตบังคับบัญชาได

1. สายของอํานาจหนาที่ (Line of Authority) ซ่ึงไดแกสายบังคับบัญชาจากบนมายังระดับลาง ฟาโยลช้ีใหเห็นความสําคัญของการจํากัดลําดับชั้นของสายการบังคับบัญชา โดยควบคุมจํานวนลําดับชั้นทางการจัดการ เพื่อใหองคการมีความรวดเร็วและยืดหยุน

2. การรวมอํานาจการตัดสินใจ (Centralization) ฟาโยลเชื่อวาอํานาจไมควรรวมศูนยไวที่ระดับสูงของสายบังคับบัญชาควรมีการกระจายอํานาจหนาที่ใหกับผูจัดการและบุคลากรระดับ รอง ๆ ลงมา

3. เอกภาพของทิศทาง (Unity of Direction) องคการควรมีจุดมุงหมายเปนหนึ่งเดียวและมีแผนปฏิบัติเพียงแผนเดียว ที่ใหแนวทางแกผูจัดการและบุคลากรตาง ๆ ในการใชทรัพยากรองคการ

4. ความเทาเทียม (Equity) บุคลากรควรไดรับการสนับสนุนใหทําหนาที่ใหประสบความสําเร็จดวยการอุทิศตัวและความภักดี ตองไดรับการปฏิบัติโดยยึดถือหลักคุณธรรมอยางเทาเทียมกันและยุติธรรม

5. ลําดับ (Order) ฟาโยลไดแนะนําใหใชแผนภูมิองคการ เพื่อแสดงถึงตําแหนงและหนาที่ของบุคลากรแตละคน และชี้ใหเห็นวาตําแหนงใดที่บุคลากรจะไปอยู หรือไดรับการเล่ือนตําแหนงในอนาคต

6. ความริเร่ิม (Initiative) ผูจัดการตองสนับสนุนใหบุคลากรไดใชความคิดริเร่ิม ทั้งนี้เพื่อใหบุคลากรสามารถปฏิบัติงานดวยตนเอง โดยปราศจากการบงบอกของหัวหนา

7. วินัย (Discipline) วินัยเปนผลมาจากความเคารพตอกันระหวางสมาชิกองคการ การเชื่อฟงกําลังความสามารถ ความสนใจอยางใกลชิด ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพของผูนําองคการในเรื่องการปฏิบัติอยางยุติธรรมแลวเทาเทียม

8. การตอบแทนบุคลากร (Remuneration of Personnel) ฟาโยลไดเสนอระบบรางวัล ซ่ึงรวมถึงโบนัสและสวนแบงจากกําไร เพื่อสรางแรงจูงใจใหกับบุคลากร โดยรางวัลควรสัมพันธโดยตรงกับความพยายามของบุคลากร

9. ความมั่นคงในการทํางาน (Stability of Tenure of Personnel) ฟาโยลยืนยันถึงความสําคัญของการจางงานในระยะยาว ทั้งนี้เพื่อใหบุคลากรไดพัฒนาทักษะ เพื่อปรับปรุงความสามารถองคการในการใชประโยชนจากทรัพยากร

Page 55: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

42

10. ผลประโยชนของผูใตบังคับบัญชาแตละคนขึ้นอยูกับผลประโยชนของสวนรวม (Subordination of Individual Interests to The Common Interest) ผลประโยชนขององคการตองเปนส่ิงที่ตองมากอนผลประโยชนของคนใดคนหนึ่งหรือกลุมใดกลุมหนึ่ง ถาองคการตองการที่จะอยูรอด

11. ความสามัคคี (Esprit de Cords) การออกแบบลําดับชั้นของอํานาจหนาที่ในองคการอยางเหมาะสม ตลอดจนจัดลําดับและวินัยที่ถูกตอง จะกอใหเกิดความรวมมือและพันธะผูกพันตอกันกุญแจสําคัญของความสําเร็จขององคการคือการพัฒนาความสามัคคี

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

พรทิพย จิตบุญญาพินิจ (2541) ศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ แฟรนไชส: กรณีศึกษา รานเซเวน-อีเลฟเวน ในกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ ผูประกอบการรานเซเวน-อีเลฟเวน ในเขตกรุงเทพมหานคร สวนใหญไมไดรับกําไรสุทธิตามที่คาดไว มีรายจายที่เกิดขึ้นสูงกวาที่แฟรนไชสเซอรไดระบุไว ซ่ึงปจจัยที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานของราน ไดแก รายไดจากการขายไมเปนไปตามที่คาดไว ทําเลที่ตั้งของรานและ คาใชจายในการดําเนินงานสูง ปญหาที่ผูประกอบการพบอยูเสมอในการดําเนินงาน คือ ราคาสินคาที่สูง สินคาในรานสูญหายบอย และความไมซ่ือสัตยของพนักงาน กลยุทธที่คาดวาจะชวยใหผลการดําเนินงานดีขึ้น คือ การจําหนายสินคาในราคาถูก การบริการลูกคาที่นาประทับใจ และการจําหนายสินคาสดใหมและสะอาดปลอดภัย

พีระพงษ กิติเวช โภคาวัฒน (2551) การสํารวจธุรกิจคาปลีกในประเทศไทย ไดผลสรุปวาประเทศไทยมีความจําเปนที่ตองสรางกระบวนการพัฒนาธุรกิจคาปลีกของคนไทยทั้งการสรางกฎเกณฑในการควบคุมกระบวนการการคาเพื่อสรางโอกาสในการปรับตัวใหกับธุรกิจขนาดเล็ก การวางแผนพัฒนารูปแบบธุรกิจคาปลีกคนไทยตามการเปลี่ยนแปลงความตองการของผูบริโภค ทั้งนี้อาจมีการจัดการอยางเปนระบบพัฒนาธุรกิจคาปลีกไทยควบคูไปกับการสงเสริมวัฒนธรรมและสังคมกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและรูปแบบการคาสงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงในธุรกิจคาปลีกของประเทศ การจัดการของรัฐจะชวยสรางพื้นฐานดานการแขงขันเพื่อใหธุรกิจขนาดเล็กมีโอกาสปรับตัวและพัฒนาตัวเองกับสภาพการแขงขันที่รุนแรงได เนื่องจากรูปแบบธุรกิจคาปลีกเปนธุรกิจเชิงสังคมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมของสังคม และเปนชองทางการจัดจําหนายสินคาที่จะเปนจะตองไดรับการพัฒนาใหเขมแข็ง ในการแขงขันธุรกิจทั่วไปจะเปนการแขงขันในเชิงกลยุทธที่ผูทําธุรกิจมีความเสี่ยงที่ยอมรับตามหลักการ

Page 56: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

43

ธุรกิจที่มีความเสี่ยง แตธุรกิจคาปลีกคาสงในประเทศไทยกับมีลักษณะที่ติดกับกลุมบุคคลที่ขาดโอกาสเชิงธุรกิจ มีความดอยในเชิงเงินทุน และเปนกลุมคนที่เปนคนในสังคมพื้นที่ มีรูปแบบการคาที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับการใชชีวิตในชุมชน เปนธุรกิจในเชิงวิถีชีวิตประจําวัน เมื่อรูปแบบธุรกิจขนาดใหญเขามาทําการตลาดอยางรวดเร็ว ทําใหผูที่ขาดความพรอมในชุมชนเหลานั้นเดือดรอน การดูแลความสมดุลทางสังคมจึงตองไดรับการทบทวนมากขึ้นกวาจะพิจารณาโครงการการแขงขันดังกลาวในเชิงธุรกิจเพียงอยางเดียว

บุญเลี้ยง ทุมทอง และเกษมศรี สุระสังข (2543) ผลการวิจัยศึกษาการพึ่งตนเองของชุมชนบานบะ ตําบลบะ อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร พบวา 1) ชุมชนบานบะมีผูนําที่เขมแข็ง ใชหลักประชาธิปไตย มีการจัดประชุมชาวบานเปนประจํา แจงขาวความเคลื่อนไหวไดอยางรวดเร็ว และตอเนื่อง สังคมเปนกลุมเครือญาติขนาดใหญ มีการเอื้ออาทรระหวางกัน มีคานิยมแหงการเรียนรู มีคานิยมการภักดีตอชุมชน รักถ่ินฐานของตน เนนการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชน และมีปราชญชาวบาน/คนภูมิปญญาทองถ่ินเสนอแนะ แนวคิดตอการตัดสินใจในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน 2) ในการดําเนินงานของสหกรณรานคาของชุมชนบานบะ ที่ผานมามีการพัฒนามาอยางตอเนื่องเปนระยะเวลากวา 15 ป มีประธานคณะกรรมการบริหารงานทั้งหมด 16 คน แบงระยะใน การพัฒนาไดดังนี้ ระยะเริ่มแรก เปนระยะที่เริ่มกอตั้งใหสามารถเปดดําเนินการใหบริการแกสมาชิก มี การเรียนรูการทํางานระหวางสมาชิกกับคณะกรรมการในการดําเนินงาน และปรับใหเขากับชุมชนของตน ซ่ึงในระยะนี้อยูระหวางการดําเนินงานของคณะกรรมการที่มีประธานคณะกรรมการบริหารคนที่ 1-5 (พ.ศ.2530-2534) ระยะที่สอง เปนระยะที่สรางแนวปฏิบัติ สรางระเบียบ สรางความเขาใจใหกับสมาชิกไดทราบบทบาท และสิทธิของตนตอกิจการการดําเนินงานของสหกรณรานคา มีการวางแผนลวงหนาในการทํางาน ในระยะนี้อยูระหวางการดําเนินงานของคณะกรรมการที่มีประธานคณะกรรมการบริหารคนที่ 6-12 (พ.ศ.2534-2541) ระยะที่สาม เปนระยะปจจุบัน รูปแบบการดําเนินงานถูกตองตามระเบียบ สมาชิกตระหนักในบทบาท และหนาที่ของตน สมาชิกเขาใจอุดมการของสหกรณรานคา สมาชิกมีสวนรวมในการบริหารงาน รวมในการแกปญหา ซ่ึงในระยะนี้อยูระหวางการดําเนินงานของคณะกรรมการที่มีประธานคณะกรรมการบริหารคนที่ 13-ปจจุบัน (พ.ศ. 2542–ปจจุบัน)

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (2552) ผลการศึกษาเรื่องการจัดการชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : หมูบานคําปลาหลาย ตําบลบานดง อําเภออุบลรัตน จังหวัดขอนแกน พบวา ปจจัย ที่ทําใหเกิดความเขมแข็งของชุมชน คือ 1)-การมีผูนําเขมแข็ง ผูนําในแตละกลุมกิจกรรมของหมูบาน คําปลาหลายมีอยู 2 ลักษณะคือ เปนผูนําอยางเปนทางการ และผูนําตามธรรมชาติ ซ่ึงผูนําเหลานี้ลวนเปนผูนําที่ไดรับการยอมรับจากชาวบานคําปลาหลาย โดยผูนําอยาง

Page 57: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

44

เปนทางการนั้นก็คือ ผูใหญบานซึ่งเปนบุคคลที่มีความเสียสละ มีความตั้งใจจริงที่จะพัฒนาหมูบาน เนื่องจากหมูบานแหงนี้เปนหมูบานที่มีสภาพทางดานภูมิประเทศ ไมเอื้ออํานวยตอการทํามาหาเลี้ยงชีพ และชาวบานไดมาบุกเบิกเพียง 20 ปเศษเทานั้น จึงจําเปนตองมีผูนําที่เขมแข็ง มีความเสียสละเปนอยางมาก ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทําใหผูใหญบานจําเปนตองมารับหนาที่เปนประธานกลุมกิจกรรมตาง ๆ อีกตําแหนงหนึ่ง อาทิ เปนประธานกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต นอกจากนี้ ผูใหญบานยังตองทําหนาที่เปนประชาสัมพันธเสียงตามสายของหมูบานในการเตือนใหสมาชิกของกลุมกิจกรรมตาง ๆ นําดอกเบี้ยมาสงคืนกลุมเปนประจําทุกเดือน สวนผูนําตามธรรมชาตินั้น เปนสตรีที่ไดรับการยอมรับจากแมบาน ดังจะเห็นไดจากกลุมทอผาและตัดเย็บเสื้อผาซึ่งมีสมาชิกเปนแมบานนั้น แตเดิมมีประธานกลุมเปนแมบานอาวุโส สวนประธานคนใหมที่มารับหนาที่ตอก็ยังคงเปนคนที่สมาชิกใหการยอมรับ และมีความเกรงใจ เพราะเปนคนที่มีความเด็ดขาด ทํางานอยางจริงจังและมีความซ่ือสัตย ทั้งยังเปนผูนําในการทดลองทํากิจกรรมตาง ๆ จนไดผลแลวเผยแพรแนวคิดใหสมาชิกทําตามจากคุณสมบัติของผูนําดังกลาว ทําใหสามารถนําพากลุมตาง ๆ ที่ตั้งขึ้นมาไดหลายป โดยเฉพาะกลุมแมบานนั้น มีอายุนานถึง 16 ปแลว และคุณสมบัติดังกลาว ชาวบานคําปลาหลายสวนใหญก็ยังเห็นวาเปนคุณสมบัติสําคัญของคนที่จะมาทําหนาที่เปนประธานคนตอ ๆ ไป นอกจากบทบาทของผูนําที่เขมแข็งจะชวยใหการจัดการภายในกลุมกิจกรรมตาง ๆ ดําเนินไปอยางราบรื่นแลว ผูนํายังมีบทบาทสําคัญในการคิดคนกิจกรรมใหมขึ้นมาเผยแพรใหแกสมาชิกภายในกลุมดวย โดยใชวัตถุดิบที่มีอยูภายในหมูบานเปนหลัก เชน มะตูม สมุนไพรตาง ๆ กก เปนตน ซ่ึงความรูในการนํามาแปรรูปวัตถุดิบตาง ๆ นั้น จะไดจากการคิดคนขึ้นมาเอง ตลอดจนเชิญวิทยากรจากภายนอกมาอบรมใหความรู 2)-การไดเรียนรูอยางตอเนื่อง อาจจะกลาวไดวา “ความรู” เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ชวยเปดโลกทัศนใหชาวคําปลาหลายสามารถพัฒนาตนเองขึ้นมาได โดยความรูที่ชาวคําปลาหลายไดรับนั้น ไดแก ความรูที่มาจากนักวิชาการที่เขามาชวยหมูบานในระยะเริ่มแรก เปนความรูที่ชวยปูพื้นฐานใหชาวคําปลาหลายเขาใจถึงแนวทางในการพัฒนาหมูบาน สวนความรูที่ไดมาจากโครงการพัฒนาหมูบานของโรงพยาบาลอุบลรัตน เปนความรูที่ทําใหชาวคําปลาหลายเกิดความเขาใจในแนวทางการพัฒนาอยางถองแท โดยเปนความรูที่จะไดรับอยางตอเนื่องใน 2 ลักษณะ คือ การประชุมประจําเดือนและการศึกษาดูงาน โดยความรูที่ไดมาจากรูปแบบของการประชุมนั้นทางโรงพยาบาลอุบลรัตนไดจัดประชุมรวมกับชาวบานขึ้นทุกเดือน สวนรูปแบบของการศึกษาและดูงานทีชุ่มชนอืน่ ๆ ทาง นพ.อภิสิทธิ์ จะพาชาวบานไปแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณกับชุมชนอื่นเปนครั้งคราว ซ่ึงความรูที่ตัวแทนของชาวคําปลาหลายไดรับมาจากภายนอกนั้น จะนํามาถายทอดใหสมาชิกภายในกลุมไดรับทราบ 3)-สมาชิกมีสัจจะและมีความตั้งใจจริง จากการที่ชาวคําปลาหลายตองการยกระดับหมูบาน ใหหลุดพนจากที่ไดช่ือวาหมูบานยากจนนั้น นับเปนแรงผลักดันสําคัญที่ทําให

Page 58: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

45

ชาวบานมีความตั้งใจที่จะทํางานกันอยางจริงจังภายหลังจากการรวมตัวกอตั้งกลุมทํากิจกรรมตาง ๆ แลว โดยมีกติกาของกลุมแบบงาย ๆ ที่สมาชิกจะตองยึดปฏิบัติตามก็คือ ความมีสัจจะ เมื่อทุกคนตั้งสัจจะรวมกันเชนนี้แลวก็ปฏิบัติตามอยางเครงครัด จึงเห็นไดวา ทุก ๆ เดือนสมาชิกทุกกลุมจะตองนําดอกเบี้ยมาคืนกลุม ซ่ึงอาจจะมีสมาชิกบางรายสงไมตรงตามกําหนดบาง แตก็จะสงภายในเดือนนั้น ทั้งนี้ จากการสัมภาษณพบวา ยังไมเคยมีสมาชิกรายใดทําผิดกติกาดังกลาว 4)-มีความรักความเอื้ออาทรตอกัน การที่หมูบานคําปลาหลายเปนหมูบานขนาดเล็ก ทําใหชาวบานรูจักกันทุกคน และมีความใกลชิดตอกัน ไมวาจะมีเรื่องราวใด ๆ ทั้งที่เปนปญหาหรือเปนประโยชนตอสวนรวม ก็จะนํามาถายทอดใหกันและกัน สงผลใหชาวบานคําปลาหลายมีความรัก มีความผูกพัน และเอื้ออาทรตอกัน ส่ิงตาง ๆ เหลานี้ ลวนสะทอนใหเห็นวา ชาวคําปลาหลายมีพื้นฐานทางดานจิตใจที่ด ีโดยมวีดัเปนศูนยรวมจิตใจของชาวคําปลาหลายที่สําคัญยิ่ง

Page 59: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

46

- รานคาดําเนนิงานได - มีกําไร และเงินปนผล - อํานวยความสะดวก - สรางความประหยดั

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

ภาพ 2 กรอบแนวคดิในการวิจัย

การมีสวนรวมในรานคาชุมชน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการรานคาชุมชน

ปรากฏการณการดําเนิน งานของรานคาชุมชน

สินคา - การจัดวางผังรานคา - การจัดวางสินคา - การจัดซื้อสินคา - การขายสินคา - การควบคุมสินคาคงเหลือ - การบัญชี - การจัดสรรกําไร และเงินปนผล

ทรัพยากรมนุษย - สมาชิกผูถือหุน - คณะกรรมการ - ผูจัดการ/คนขาย

เงินทุน - การขายหุน - การกูยืม - ผลกําไร

เงินทุน - การขายหุน - การกูยืม - ผลกําไร

ทรัพยากรมนุษย - สมาชิกผูถือหุน - คณะกรรมการ - ผูจัดการ/คนขาย

สินคา - การจัดวางผังรานคา - การจัดวางสินคา - การจัดซื้อสินคา - การขายสินคา - การควบคุมสินคาคงเหลือ - การบัญชี - การจัดสรรกําไร และเงินปนผล

Page 60: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

 ในการวิจัยเร่ืองการจัดการรานคาชุมชน แบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง

ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยทําการศึกษาขอมูลเบื้องตนจากเอกสาร แลวทําการเก็บรวบรวมขอมูลในพื้นที่ภาคสนาม มีวัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ในการดําเนินธุรกิจคาปลีกของรานคาชุมชนทั้งนี้ระเบียบวิธีการวิจัยคร้ังนี้ไดจําแนกตามวัตถุประสงคของการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ขอบเขตของการวิจัย 1.1 ขอบเขตดานเนื้อหา 1.2 ขอบเขตดานระยะเวลาในการวิจัย 1.3 วิธีการวิจัย 1.4 พื้นที่ที่ทําการวิจัย 1.5 ประชากร และกลุมตัวอยาง

2. วิธีดําเนินการวิจัย 2.1 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 2.2 การเก็บรวบรวมขอมูล 2.3 การจัดทําขอมูล 2.4 การวิเคราะหและนําเสนอขอมูล

ขอบเขตของการวิจัย 

 ขอบเขตดานเนื้อหา   เนื้อหาที่ใชเพื่อหาคําตอบตามวัตถุประสงคของการวิจัย ซ่ึงเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซ่ึงผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตเนื้อหาที่เกี่ยวของกับบริบททางดานความเปนมาของชุมชน แนวทางการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 61: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

48

ขอบเขตดานระยะเวลาในการทําวิจัย ระยะเวลาในการวิจัย ผูวิจัยวางแผนดวยการกําหนดเปนขัน้ตอนของกิจกรรม โดยการดําเนนิกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี ้ ขั้นตอนที ่ 1 ศึกษาเอกสารกรอบแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ ขั้นตอนที ่ 2 ศึกษางานวิจยัที่เกี่ยวของ ขั้นตอนที ่ 3 สํารวจขอมูลเบื้องตน ขั้นตอนที ่ 4 สํารวจพื้นที่ และกลุมเปาหมาย ขั้นตอนที ่ 5 สรางเครื่องมอื ขั้นตอนที ่ 6 เก็บขอมูลภาคสนาม ขั้นตอนที ่ 7 รวบรวมขอมลู ขั้นตอนที ่ 8 จัดทําขอมูล ขั้นตอนที ่ 9 วิเคราะหขอมูล ขั้นตอนที ่ 10 นําขอเสนอแนะจากคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธมาปรับปรุง ขั้นตอนที ่ 11 การเขียนรายงานผลสรุป อภิปรายผลการวจิัย และขอเสนอแนะจากผลวิจัย วิธีการวิจัย

เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยทําการวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Documentary Study) และการเก็บขอมูลจากพื้นที่ภาคสนาม (Field Area Study) โดยการสัมภาษณ (Interview) การสังเกตการณ (Observation) และการสนทนากลุม (Focus Group Discussion) ทําการจดบันทึก บันทึกเทป ถายภาพ และนําขอมูลมาทําการวิเคราะห โดยมีลักษณะสําคัญเพื่อ

1. ศึกษาปรากฏการณทางสังคม กลุมตัวอยาง และสภาพชุมชนที่ทําการวจิยั 2. ศึกษาความรูสึก ความคิด ของกลุมตัวอยาง 3. ใหความหมาย และคุณคา ของปรากฏการณ ตาง ๆ ของคนในชุมชนตอหัวขอ

ที่ทําการศึกษาวิจัย

Page 62: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

49

พื้นที่การวิจัย

ชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวดัลําปาง

ประชากรและกลุมตัวอยาง  

1. ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก กลุมผูนําชุมชน กลุมคณะกรรมการรานคาชุมชน กลุมผูเปนสมาชิก กลุมผูไมเปนสมาชิก

2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก กลุมผูนําชุมชน กลุมคณะกรรมการรานคาชุมชน กลุมผูเปนสมาชิกรานคาชุมชน กลุมผูไมเปนสมาชิกรานคาชุมชน ในพื้นที่การวิจัย จํานวน 21 คน มีรายละเอียดดังนี้

1. กลุมผูนําชุมชน ผูนําอยางเปนทางการ และผูนําตามธรรมชาติ รวมกลุมผูนําชุมชน 15 คน ผูวิจัยทําการคัดเลือกแบบเจาะจง จํานวน 5 คน

2. กลุมคณะกรรมการ ผูวิจัยทําการคัดเลือกแบบเจาะจงทั้งชุด 8 คน 3. กลุมผูเปนสมาชิกรานคาชุมชน ไดแกสมาชิกที่อาศัยอยูในชุมชนบาน

กลวยมวง และถือหุนรานคาชุมชนบานกลวยมวง จํานวน 4 คน ทําการคัดเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)

4. กลุมผูไมเปนสมาชิกรานคาชุมชน ไดแกสมาชิกที่อาศัยอยูในชุมชนบานกลวยมวง และไมไดถือหุนรานคาชุมชนบานกลวยมวง จํานวน 4 คน ทําการคัดเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)

วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยไดกําหนดขั้นตอนในการดําเนินการวจิัยไวดังนี ้

1. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 2. ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชวิธีเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และเก็บ

ขอมูลในพื้นที่ภาคสนาม โดยรวมเปดเวทีชาวบานรวมกับชุมชน ประชุมกลุมยอย โดยผูวิจัยจะไดตั้งประเด็นการสนทนาเกี่ยวกับการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวม ใชการสังเกตแบบมีสวนรวม บันทึกคําพูด บันทึกภาพถาย จัดทําแฟมสะสมงาน พรอมจดบันทึกเหตุการณปรากฏการณตางๆที่เกิดขึ้นไวเปนหลักฐานในระหวางที่ทําการศึกษาวิจัย โดยไมมีอคติใด ๆ ในการเก็บขอมูล

Page 63: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

50

3. ผูวิจัยใชการสังเกตปรากฏการณตางๆที่ปรากฏเดนชัด มองเห็นเปนรูปธรรม ซ่ึงขอมูลที่ไดเกิดขึ้นจริงจากเวทีชาวบาน ตลอดจนใชการสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) และแบบไมมีโครงสราง(Non-Structured Interview) ขอมูลท่ีไมชัดเจนจากการสังเกตเพิ่มเติมจากผูใหขอมูล เพื่อใหขอมูลนั้นสมบูรณที่สุด โดยบันทึกคําพูด บันทึกภาพถาย

การเก็บรวบรวมขอมูล

ขอมูลปฐมภูมิ เปนการวิจัยเอกสารโดยเปนการคนควารวบรวมแนวความคิด และขอมูลจากเอกสาร ส่ิงพิมพ งานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการวิจัย ขอมูลทุติยภูมิ โดยการจัดเวทีชาวบาน สัมภาษณรายบุคคล จัดสนทนากลุมยอย เพื่อคนควารวบรวมแนวความคิด และขอมูลจากการตั้งคําถาม และการบอกเลา เพื่อนํามาเปนขอมูลพ้ืนฐานในการวิจัย  

การจัดทําขอมูล

การจัดทําขอมูล ผูวิจัยจะใชแบบสัมภาษณ แบบสังเกต แบบสนทนากลุม จากภาคสนาม โดยจําแนกขอมูลแยกออกเปนประเด็น ตามวัตถุประสงคของการวิจัย และตรวจสอบความสมบูรณ ความถูกตองอีกครั้งหนึ่งวาขอมูลที่ไดมีความครบถวนเพียงพอแกการนําไปวิเคราะห สรุปผลแลวหรือไม ในกรณีที่ขอมูลที่ไดมาไมครบถวน หรือไมสอดคลองกัน ผูวิจัยจะลงภาคสนามเพื่อเก็บขอมูลเพิ่มเติม โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. การจัดทําขอมูล ใชแบบสัมภาษณ แบบสังเกต และบันทึกจากการสนทนากลุม ทําการบันทึกขอมูลลงในสมุดบันทึก บางกรณีอาจใชเครื่องบันทึกเสียงในการบันทึกขอมูลการสนทนาแลวนํามาถอดพิมพเปนถอยคําเนื้อหาบทสนทนา

2. การนําขอมูลที่บันทึกมาสรุปในแตละครั้ง และทําการจัดหมวดหมูเพื่อหาคําตอบ ตามเนื้อหาของการวิจัย ตลอดจนถึงการตรวจสอบขอมูล ผูวิจัยจะตรวจความแมนตรง

Page 64: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

51

(Validity) และความนาเชื่อถือได (Reliability) ของขอมูล โดยใหบุคคลที่เกี่ยวของ หรือสมาชิกในกลุมผูใหขอมูล และหลักฐานตางๆ จากพื้นที่ภาคสนามที่วิจัย ตรวจสอบความถูกตองของหลักฐาน และขอมูล

การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากการรวบรวมจะนํามาวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ผูศึกษาจะตรวจสอบความสมบูรณของแบบบันทึกขอมูล และจัดกลุมขอมูลในการวิเคราะหเปรียบเทียบกับแนวคิดและทฤษฏี กอนจัดทําเปนเอกสารรายงานผลการวิจัย ผูวิจัยจะใชกรอบแนวคิดของ สุภางค จันทวานิช (2549: 131-135) ดังนี้

1. การวิเคราะหขอมูลแบบอุปนัย (Analytic Induction) เปนวิธีการสรุปขอมูลตามปรากฏการณที่สัมผัสได หรือมองเห็น อาทิเชน กิจวัตรประจําวันของกลุมตัวอยาง

2. การวิเคราะหขอมูลโดยการจําแนกขอมูล (Hypnological Analysis) ไดแกการจําแนกขอมูลออกเปนอยาง ๆ โดยใชกรอบดังนี้

2.1 การกระทํา (Acts) ไดแกเหตุการณ ปรากฏการณ หรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในชวงที่ทําการศึกษา

2.2 กิจกรรม (Activities) ไดแกกิจกรรมการซื้อขายที่เกิดขึ้นภายในรานคาชุมชน 2.3 ความหมาย (Meanings) เปนการอธิบายของบุคคลหรือการสื่อสาร และให

ความหมายที่เกี่ยวกับการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวม 2.4 ความสัมพันธ (Relationship) ไดแกความเกี่ยวโยงระหวางรานคาชุมชนกับ

ผูเกี่ยวของในกลุมตางๆ 2.5 การมีสวนรวมในกิจกรรม (Participation) ไดแกความผูกพันของบุคคลและ

การเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ของรานคาชุมชน 2.6 สภาพสังคม (Setting) สถาพแวดลอมชุมชนที่กําลังทําการวิจัยอยู

การนําเสนอขอมูล ผูวิจัยจะนําเสนอขอมูลภาคสนามดวยการพรรณนาวิเคราะหตามประเด็นที่ไดศึกษา นํามาสรุปอภิปรายผล พรอมทั้งภาพประกอบ

Page 65: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

52

บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิจารณ

การวิจัยเร่ือง การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง

ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ซ่ึงไดทําการศึกษาจากขอมูลของชุมชนและจากการจัดเวทีชาวบาน โดยการนําเสนอผลการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอในรูปของการบรรยายและความเรียง ดังนี้

ตอนที่ 1 บริบทชาวไทลื้อ

ประชัน รักพงษ และคณะ (2535) ไดทําการศึกษาหมูบานไทลื้อในจังหวัดลําปาง พบวาไทลื้อ เปนกลุมชาติพันธุที่สําคัญกลุมหนึ่ง พูดภาษาตระกูลไท อาศัยอยูในเขตสิบสองปนนา ทางตอนใตมณฑลยูนานของจีน บางสวนอาศัยอยูทางตอนเหนือของลาว และทางตะวันออกของรัฐฉานของพมา ตอมาไดอพยพเขามาตั้งถ่ินฐานอยูตามหัวเมืองตาง ๆ ในลานนา ปจจุบันกระจายอยูในจังหวัดตาง ๆ ในภาคเหนือของประเทศไทย ไดแก เชียงใหม ลําพูน ลําปาง แพร นาน เชียงราย และพะเยา ทั้งนี้เพราะเหตุผลทางการเมืองระหวางรัฐลานนากับสิบสองปนนาในอดีต ตอมามีไทลื้อบางสวนอพยพเขามาเพิ่มเติมภายหลัง ไทลื้อ มีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมใกลเคียงกับคนไทยในภาคเหนือ แตก็มีประเพณีวัฒนธรรม ตลอดจนวิถีการดํารงชีวิตบางอยางที่เปนเอกลักษณเฉพาะของกลุมชาติพันธุ เชน ประเพณีและพิธีกรรมบางอยาง โดยเฉพาะดานภาษาพูด ยังใชสําเนียงภาษาไทลื้อ ประเพณีการแตงกาย พิธีกรรมการเลี้ยงผีประจําหมูบาน ส่ิงที่นาสนใจ ไดแก ไทล้ือมีความขยันขันแข็ง มานะอดทน มัธยัสถ อดออม เพื่อสรางฐานะใหมั่นคง แตโดยสวนใหญประเพณีและวัฒนธรรมจะคลายคลึงกับชาวพื้นเมืองภาคเหนือโดยทั่วไป เชน วัฒนธรรมการบริโภคขาวเหนียวเปนอาหารหลัก นับถือพุทธศาสนา ปจจุบันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรม มาเปนสังคมที่มีการผสมผสานเกษตรกรรมเขากับการลงทุนคาขายและรับจาง ซ่ึงจะพัฒนาระบบทุนนิยมระดับหมูบานไปเปนทุนนิยมระดับทองถ่ินตอไปในอนาคต

Page 66: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

53

ภาษาและภาษาศาสตรพันธมิตร การศึกษาลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของไทลื้อที่ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปางพบวา "ล้ือ" เปนกลุมชาติพันธุที่พูดภาษาตระกูลไท คือ ไทลื้อ หรือ ไตลื้อ เชนเดียวกับคนไทอื่น ๆ และลักษณะของภาษามีความคลายคลึงกับภาษาไทยกลาง ไทยเหนือ หรือไทอื่น ๆ อาจมีความแตกตางกันบางในเรื่องเสียง คํา และประโยค ฟง-กวย-ลี (Fang Kuei Li) จึงจัดภาษาไทลื้อ ไทยกลาง ไทยเหนือ ไวในกลุมตะวันตกเฉียงใต ไทลื้อที่บานกลวย แมจะเรียกตนเองวา "ล้ือ" แตโดยขอเท็จจริงทางภาษาแลว ภาษาที่ใชเปนภาษายอง ซ่ึงไมแตกตางจากภาษาลื้อมากนัก ไทล้ือและไทยอง มักมีความภูมิใจในภาษาของตนเอง แตมักเกิดความรูสึกวาชนกลุมใหญ (อาจเปนไทยกลางหรือไทยเหนือ) ดูถูกเหยียดหยามถาพูดเปนภาษาลื้อ ไทลื้อจึงมักพูดภาษาลื้อกับพวกเดียวกันเองเทานั้น ในปจจุบันไทลื้อหันมาใชภาษาไทยเหนือและไทยกลางมากขึ้น เพราะสภาพสังคม การศึกษา และการดํารงชีวิตซ่ึงตองเกี่ยวของกับคนไทยพวกอื่นมีมากขึ้น แตไทลื้อก็ยังคงรักษาภาษาของตนเองไวไดมาก เพราะยังใชภาษาของตัวเองกับพวกเดียวกันในชีวิตประจําวัน ที่ตั้งชุมชน และส่ิงแวดลอม (Community Site and Environment) ตําบลกลวยแพะตั้งอยูทางตอนใตสุดของอําเภอเมืองลําปาง หางจากตัวเมืองลําปางไปตามถนนสายลําปาง - แมทะ ประมาณ 10 กิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน 5 หมูบาน ไดแก บานกลวยหลวง บานกลวยแพะ บานกลวยมวง บานกลวยหัวฝาย และบานกลวยกลาง ปจจุบันมีประชากร 9,411 คน มีอาณาเขตติดตอดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับตําบลชมพู และตําบลพระบาท อําเภอเมืองลําปาง ทิศตะวนัออก ติดตอกับตําบลแมทะ อําเภอแมทะ ทิศใต ติดตอกบัตําบลน้ําโจ อําเภอแมทะ ทิศตะวนัตก ตดิตอกับตําบลศาลา อําเภอเกาะคา ประวัติความเปนมาของกลุมชน และชุมชน กลุมชนที่เรียกตนเองวา "ล้ือ" เปนกลุมชาติพันธุที่พูดภาษาตระกูลไท คือ ไทล้ือ หรือ ไตลื้อ อยูเขตสิบสองปนนา ทางตอนใตของมณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณที่อยูอาศัยและที่ทํามาหากินของไทลื้อ สวนใหญเปนปาเขา มีที่ราบแคบ อยูตามหุบเขาและลุมแมน้ํา สําหรับการอพยพเขามาอยูในประเทศไทยนั้น ไทลื้อไดอพยพมาตั้งถ่ินฐานตามหัวเมืองตาง ๆ ในภาคเหนือ ดวยเหตุผลทางการเมืองระหวางรัฐ และมีการอพยพเขามาเพิ่มเติมเรื่อยภายหลังจากจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบบคอมมิวนิสต ในปจจุบันมีชุมชนไทลื้อกระจายอยูในพื้นที่จังหวัดตางๆ ทางภาคเหนือ คือ เชียงใหม ลําพูน ลําปาง แพร นาน เชียงราย และพะเยา

Page 67: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

54

การเขามาตั้งถ่ินฐานของไทลื้อในจังหวัดลําปาง สืบเนื่องมาจากการทําสงครามระหวางไทยกับพมาในสมัยรัตนโกสินทร ครอบครัวยองที่อพยพมาในครั้งนั้น สวนใหญมุงไปยังเมืองลําพูน เมื่อสรางเมืองเสร็จแลว ก็ไดอนุญาตใหตั้งบานเรือนอยูในเขตเมืองลําพูน อีกสวนหนึ่งไดอพยพลงมาทางเมืองนครลําปาง เจาดวงทิพย เจาเมืองในนครลําปางในขณะนั้น ไดอนุญาตใหพํานักอยูในเมืองไดระยะหนึ่ง หลังจากนั้นก็ขออนุญาตออกไปแสวงหาทําเลที่ตั้งบานเรือนใหม

รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบสูง ตนไมใหญจะปลูกในบริเวณหมูบาน จึงทําใหมองเห็นหมูบานอยูรวมกันเปนกลุม ๆ อยางชัดเจน ลอมรอบดวยทุงนาและปาละเมาะ เชนเดียวกับหมูบานในภาคเหนือของไทย ตําบลกลวยแพะ มีภูเขาอยูทางดานตะวันออก ช่ือวาดอยมวงคํา เปนตนกําเนิดของหวยแมปุง ซ่ึงไหลผานหมูบานไทลื้อ เรือนพักอาศัยของไทลื้อ มีลักษณะรูปทรงเหมือนบานเรือนในภาคเหนือโดยทั่วไป ซ่ึงแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

1. เรือนรุนเกา โดยทั่วไปจะเปนเรือนไมสัก ใตถุนสูง หลังคาจั่ว จะหันหนาจั่วไปในแนวทิศเหนือหรือใต ตัวเรือนจะมี 1 หรือ 2 หองนอน ถาเปนเรือนไมขนาดใหญจะมีชานโลง มีที่นั่งพักผอนและรับแขก เรียกวา เติ๋น อยูทางทิศเหนือหรือใตของหองนอน มีชานอยูระหวางเติ๋นและครัวใชเปนที่ซักลาง สวนใหญจะอยูทางทิศตะวันตกของเรือน ลักษณะของเรือนเห็นไดชัดวาไดรับอิทธิพลจากเรือนทางภาคเหนือทั่วไป แตพัฒนาเติ๋นหรือระเบียงที่มีหลังคาปดคลุมใหมีผนังปดกั้นมิดชิดขึ้น เพื่อปองกันทรัพยสิน เรือนแบบเกาที่ปรากฏอยูในปจจุบันที่ตําบลกลวยแพะ มีจํานวน 3 หลัง มีอายุประมาณ 70 ปขึ้นไป พบที่บานกลวยกลาง ลักษณะเดนของเรือนดังกลาวไดแกการกอสรางใชเทคนิคแบบโบราณ ใชเดือยและล่ิมยึดเปนสวนใหญ ไมใชน็อตหรือตะปู

2. เรือนรุนปจจุบัน เรือนพักอาศัยของไทลื้อตําบลกลวยแพะที่ปรากฏในปจจุบัน ยังคงรูปทรงเรือนปนหยาเดิมของไทลื้อ แตไดนํามาผสมผสานกับลักษณะเรือนลานนาของทองถ่ิน สรางดวยไมสักทั้งหลัง ไมนิยมทาสี จะโชวสีของไมสักหรืออาจจะทาน้ํามันเพื่อรักษาเนื้อไมเทานั้น เสาใชเสาคอนนกรีตเสริมเหล็กแทนไมทั้งตน เรือนมักจะสรางขนาดใหญฝาปดทึบ และมีหนาตางโดยรอบตามความจําเปน บันไดหรือทางขึ้นลงจะอยูนอกตัวเรือน ชายคาตรงบันไดนิยมทําไมตีในแนวตั้งหอยลงมา ทําเปนลายฉลุประดับทางขึ้นเรือน เรือนไทลื้อรุนหลังจะแบงแยกระหวางภายในเรือนกับภายนอกเรือนออกจากกันคอนขางชัดเจน ตางจากเรือนลานนาโบราณ ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันทรัพยสิน การกอสรางสวนใหญเปนเรือนใตถุนสูง จะเปดโลงไวเพื่อทํารานไวพักผอนในฤดูรอนหรือมีกิจกรรมที่เปนอาชีพเสริม

Page 68: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

55

ประชากรศาสตร ชุมชนใหญของไทลื้อในจังหวัดลําปาง จะอยูที่ตําบลกลวยแพะ ซ่ึงมีอยู 5 หมูบาน คือ บานกลวยหลวง หมูที่ 1 เปนหมูบานแหงแรกที่ไทลื้ออพยพเขามาตั้งถ่ินฐาน อยูหางจากตัวเมืองลําปางประมาณ 8 กิโลเมตร ปจจุบันมี 687 ครัวเรือน มีประชากร 2,752 คน บานกลวยแพะ หมูที่ 2 เปนหมูบานที่ขยายตัวออกไปภายหลัง อยูทางทิศใตของบานกลวยหลวงราว 2 กิโลเมตร ติดกับอําเภอ แมทะ มี 548 หลังคาเรือน มีประชากร 2,461 คน บานกลวยมวง หมูที่ 3 เปนหมูบานที่แยกไปจากบานกลวยกลางไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต อยูหางจากบานกลวยหลวงไปประมาณ 3 กิโลเมตร ปจจุบัน มี 345 หลังคาเรือน มีประชากร 1,480 คน บานหัวฝาย หมูที่ 4 เปนหมูบานที่แยกไปตั้งหมูบานจากบานกลวยหลวงไปทาง ทิศตะวันออก เปนที่ตั้งของฝายน้ําแมปุง มี 409 หลังคาเรือน มีประชากร 1,737 คน บานกลวยกลาง หมูที่ 5 ตั้งอยูตรงกลางระหวางหมูบานกลวยหลวง บานมวง และ บานกลวยแพะ อยูหางจากบานกลวยหลวง 1 กิโลเมตร ปจจุบันมีจํานวน 306 หลังคาเรือน มีประชากร 1,206 คน (ที่มา: งานทะเบียนราษฎร เทศบาลเขลางคนคร ณ ธันวาคม 2554) นอกจากนี้ ยังมีไทลื้ออีก 2 หมูบานในบริเวณใกลเคียงกัน คือ บานแมปุง และบานฮองหา อยูในเขตตําบลน้ําโจ อําเภอแมทะ อยูหางไปจากชุมชนใหญของไทลื้อตําบลกลวยแพะไปทางทิศใตราว 3 กิโลเมตร มีประชากรราว 2,650 คน เศรษฐกิจ โดยพื้นฐานแลวไทลื้อเปนกลุมคนที่รักสงบ ขยัน มัธยัสถ และอดทน จึงเปนเรื่องงายที่ไทล้ือจะปรับตัวใหเขากับการพัฒนาจากสังคมเกษตรไปสูระบบการผลิตแบบทุน เพื่อพัฒนาตัวเองไปเปนนักธุรกิจระดับหมูบานและชุมชน โดยเฉพาะการประกอบอุตสาหกรรมขนาดเล็กในหมูบานที่ใชวัตถุดิบในทองถ่ิน ไทลื้อมีขนบประเพณีสวนใหญที่คลายคลึงกับสังคมไทยในภาคเหนือ นิยมบริโภคขาวเหนียวและพืชผักซึ่งปลูกเอง หรือหา ของปา เชน หนอไม เห็ด ไขมดแดง มาเปนอาหารประจําวัน อาหารโดยทั่วไป จะไมคอยมีสวนผสมของไขมันมากนัก สวนอาหารประเภทเนื้อและปลา จะมีรับประทานเปนบางโอกาส มีสภาพความเปนอยูที่เรียบงาย สมถะ และประหยัด อาหารแตละมื้อจะทํากับขาวเพียงอยางเดียวเทานั้น อาชีพคาขาย เร่ิมเปลี่ยนแปลงจากการทําเกษตรกรรมไปสูอาชีพคาขาย และเปนที่นิยมแพรหลายราวป พ.ศ. 2526 เริ่มตนจากการสะสมทุนไดจากการทําไรยาสูบ กระเทียม ถ่ัวลิสง

Page 69: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

56

ถ่ัวเหลือง และเลี้ยงหมู ซ่ึงปหนึ่งจะมีรายไดประมาณ 20,000 บาท เก็บสะสมไว 1-3 ป ก็สามารถนําไปซื้อรถยนตมาใชทํามาคาขายได ในแตละหมูบานจะมีพอคาเพิ่มขึ้นเปน 30-40 ราย ลักษณะของการลงทุนคาขายในจังหวัดลําปาง จะแขงขันกันแบบใชระบบกลไกตลาด แขงขันกันหาตลาดเองตามหมูบานตาง ๆ เมื่อเขาไปขายบอยๆ ก็จะมีขาประจําที่รับซื้อสินคา บางหมูบานพอคาชาวบานกลวยจะเขาไปเจาะตลาดเอง โดยการใหคําแนะนําแกชาวบาน ถึงสินคาบางอยางที่ไมมีขายในหมูบาน ทดลองเปดตลาด เพื่อทําการคาขาย สวนการไปคาขายในตางจังหวัดจะไปกันเปนกลุม ๆ ละ 3-4 คัน มีการลงทุนรวมกันในเครือญาติและบุคคลใกลชิด ตอนขากลับก็จะซื้อสินคาจากจังหวัดนั้นๆ มาขายในหมูบานตัวเอง อาชีพเกษตรกรรม ไทล้ือท่ีตําบลกลวยแพะ มีอาชีพทํานาขาวเหนียวเปนหลัก ขาวที่ไดจะเก็บไวบริโภค ถาเหลือจึงจะขาย หรือใชแลกเปลี่ยนสิ่งของจากหมูบานอื่น สวนเรื่องกรรมสิทธ์ิในที่ดินทํากิน สวนใหญมีที่ดินเปนของตนเอง แตละครอบครัวจะมีที่นาแปลงเล็ก ๆ แยกกันอยูหลาย ๆ แหง โดยเฉลี่ยแลวจะมีที่นาครอบครัวละประมาณ 2-4 ไร ลักษณะที่นาแบงออกเปน 2 สวน คือ

1. นาน้ําฟา เปนนาที่ตองอาศัยน้ําฝนแตเพียงอยางเดียว เชน นาที่อยูในบริเวณ ทุงหลวง ซ่ึงอยูระหวางบานกลวยหลวง บานกลวยแพะและบานกลวยฝาย มีพื้นที่ประมาณ 3,000 ไร มีบางสวนอาศัยน้ําจากฝายหวยแมปุง ผลผลิตไมแนนอน ขึ้นอยูกับสภาพดินฟาอากาศ ซ่ึงตามปกติ 2-3 ป จึงจะสามารถทําไดคร้ังหนึ่ง

2. นาที่อยูในเขตชลประทาน อยูทางดานตะวันตกของตําบลกลวยแพะ สามารถทําไดทุกป หลังฤดูทํานาจะปลูกพืชอ่ืนอีกหลายชนิด เชน ถ่ัวเหลือง ถ่ัวลิสง กระเทียม ยาสูบ และพืชผักเมืองหนาว ผลผลิตที่ไดพอคาคนกลางในหมูบานจะรับไปขายตอในเมืองและทองถ่ินอื่น อาชีพรับจาง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. กรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรม ซ่ึงสวนใหญจะเปนหญิงสาว สวนพวกผูชายจะรับจางตามรานคา เชน โรงงานเซรามิค รานคาวัสดุกอสราง อูซอมรถ โรงกลึง รานประดับรถยนต เปนตน

2. รับจางทํางานโยธา เปนชาวบานกลวยหลวง 150 คน ที่เหลือมาจากบานกลวยกลางและบานกลวยแพะ พวกรับจางสวนมากไมมีที่ดินทํากิน หรือมีนาน้ําฟา บางคนมีนานอย เสร็จจากทํานาก็ไปรับจาง สวนผูหญิงและคนแก จะรับงานมาทําที่บาน เปนรายไดเสริมใหแกครอบครัว ดังนั้น สภาพเศรษฐกิจของ ไทล้ือ ตําบลกลวยแพะ จึงดีกวาหมูบานอื่น ๆ อยางเห็นไดชัด เพราะทุกคนใน

Page 70: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

57

ครอบครัวจะชวยกัน ทํางานและมีรายไดเสริมตลอดทั้งป ทําใหเกือบทุกครอบครัวมีกินมีใชและสามารถเก็บออมไวซ้ือรถยนตกะบะไวสําหรับคาขาย และรับจางบรรทุกคนโดยสาร แตมีขอนาสังเกตอยางหนึ่งวามีการใชจายเงินที่เปนไปในทางฟุมเฟอย เชน การแขงขันกันประดับรถยนต เชน แอร ลอแม็กซ เครื่องเสียงราคาแพง ซ่ึงทําใหขาดการอดออม และมีผลกระทบตอการขยายตัวดานการลงทุนทางการคาของตนในอนาคต การจัดระเบียบทางสังคม ระบบเครือญาติ เปนสิ่งที่สรางความสัมพันธขั้นพื้นฐานระหวางบุคคลในสังคม ระบบเครือญาติแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ เครือญาติทางสายโลหิต และเครือญาติเกี่ยวดองที่มาจากการสมรส ซ่ึงเปนญาติของฝายสามีหรือภรรยา สังคมไทลื้อจะใหความสําคัญทั้งญาติของฝายชายและฝายหญิง แตในระยะ 3 ปแรก ตองไปอยูรวมที่บานพอแมของภรรยา หลังจากนั้นอีก 3 ป ก็กลับมาอยูที่บานของพอแมสามี ญาติของทางฝายชายจึงมีความสัมพันธกันมากขึ้น เมื่อแยกครอบครัวออกไป จึงมีความสัมพันธที่ดีกับญาติทั้งฝายภรรยาและฝายสามี ดังนั้น ในระบบสังคมของไทลื้อจึงมีสวนสําคัญในการสรางความเปนปกแผนใหกับครอบครัว ซ่ึงมีคานิยมมีผัวเดียวเมียเดียว ไมนิยมหยาราง และการมีภรรยาหลายคน องคกรทางการเมือง การปกครองหมูบานในตําบลกลวยแพะ เปนไปตามที่ทางราชการกําหนด คือ ใชระบบคณะกรรมการหมูบาน (กม.) โดยมีผูใหญบานเปนประธาน กรรมการหมูบานมาจากการเลือกตั้งของราษฎรในหมูบาน ซ่ึงมีบทบาทในการทํางานสวนรวมของหมูบานและประสานงานการทํางานระดับตําบลกับหมูบานอื่น เปนตัวกลางในการประสานงานระหวางสมาชิกสภาผูแทนราษฎรกับประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง ชวยใหคําแนะนําแกลูกบานเรื่องการแจงเกิด แจงตาย หรือยายที่อยู ชวยไกลเกลี่ยขอพิพาทในหมูบาน เชน เรื่องรองทุกขจากคูสามี - ภรรยา หรือชวยดูแลความสงบในชุมชน แกไขปญหาเฉพาะหนาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ระบบความเชื่อ ประเพณีพื้นบานไทลื้อ ไทลื้อมีประเพณีตาง ๆ มากมาย สวนใหญเปนประเพณีที่เกี่ยวของกับวิถีการดําเนินชีวิตของตนเอง เริ่มตั้งแตเกิดจนตาย ซ่ึงวัตถุประสงคของการประกอบพิธีสวนใหญจะเปนการใหมีขวัญและกําลังใจ ทั้งแกตนเองและครอบครัว รวมไปถึงเครือญาติ และ

Page 71: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

58

ประเพณีตาง ๆ ที่ประพฤติปฏิบัตินั้น สวนใหญก็จะคลายคลึงกับประเพณีพื้นบานของคนไทยภาคเหนือทั่วไป เชน เรียกขวัญ, สงเคราะห, สืบชะตา, ปูจาเตียน หรือบูชาเทียน, ปูจาขาวหลีกเคราะห หรือบูชาขาวหลีกเคราะห, ปกเฮินคือ ประเพณีปลูกบานของไทลื้อ, ขึ้นเฮินใหม คือประเพณีขึ้นบานใหมของหมูบานไทลื้อ, ประเพณีการ อยูขวง เปนประเพณีแอวสาวเพื่อแสวงหาเนื้อคูของหนุมไทลื้อ, ประเพณีการแตงงาน, ประเพณีปใหมของไทลื้อ คือ วันสงกรานตของไทย, เก็บขวัญขาว, แหพระอุปคุต, สูขวัญควาย, แฮกนา, ตานขาวใหมและกินขาวใหม, ประเพณีการตาย ความเชื่อของไทลื้อตําบลกลวยแพะ แบงไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ

1. ความเชื่อที่มีหลักฐานเปนลายลักษณอักษร คือเชื่อตามบทบัญญัติของ พระธรรมคัมภีรตาง ๆ ทั้งที่มาจากวัด โดยมากเปนคัมภีรใบลาน คําสอนตาง ๆ ซ่ึงเปนบทบัญญัติช้ีใหเห็นถึงบาปบุญคุณโทษ สวนที่มีอยูตามบานของผูรูในหมูบานจะเปนสมุดไทยหรือท่ีเรียกตามภาษาพื้นบานวา "ปปหนังสา" ก็จะเปนแหลงความรูในเรื่องของพิธีกรรม ตําราทางโหราศาสตร ตําราพื้นบาน ตลอดจนลายแทงตาง ๆ โดยมากเปนเรื่องทางโลกเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในสังคม ผูรูเหลานี้จะมีบทบาทในการนําชาวบานใหมีความเชื่อที่เปนผลตอการดํารงชีวิตไมนอยทีเดียว

2. ความเชื่อที่เปนมุขปาฐะ คือเชื่อโดยการจดจําหรือบอกเลาตอ ๆ กันมา โดยไมไดมีการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษรไว สวนมากจะเปนวิถีชีวิตประจําวันตั้งแตเกิดจนตาย หรือส่ิงที่เปนจารีตประเพณี วัฒนธรรมตาง ๆ ที่ไดส่ังสมไว ปฏิบัติสืบตอกันมาหลายชั่วอายุคน จนเปนกรอบของสังคมที่มีผลตอวิถีชีวิตของไทลื้อ ทั้งทางตรงและทางออม จากการแบงประเภทความเชื่อของไทลื้อเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ แลว อาจแบงเปนประเภทยอย ๆ ไดอีก ดังนี้

1. ความเชื่อเรื่องบุคคล ไทล้ือมีความเชื่อคลายคนเมืองทั่วไปวา คนตายแลวตองมาเกิดใหม

2. ความเชื่อในเรื่องสิ่งแวดลอม ที่อยูใกลตัว เชื่อวาถาไมปฏิบัติตามจะเกิดอันตราย เชน ความเชื่อเร่ืองสัตว ถาจะเลี้ยงสัตวตองดูฤกษยามใหดี ถาไมดูฤกษยามใหดี เล้ียงไปอาจจะทําใหลมจม สัตวเล้ียงจะเปนอันตรายได

3. ความเชื่อในเรื่องส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ไดแก เร่ืองแมธรณีเจาที่ เวลาจะทํางานสิ่งใดหรือไปประกอบอาชีพในถิ่นอื่น ตองบอกแมธรณีใหทราบเพื่อคุมครอง ใหปราศจากสิ่งชั่วรายทั้งปวง

4. ความเชื่อเรื่องเพศ มีดังนี้ ผูหญิงใด หรือผูชายใด มีปานติดตรงอวัยวะเพศเชื่อวาจะแพผัว แพเมีย (หมายถึงชนะ) หรือกินผัว กินเมีย อยูดวยกันไมคอยยืนยาว มักจะตายจากกัน แลวมักจะเปนผูที่มักมากในกามคุณ ผูหญิงในระยะประจําเดือน หามเก็บผักจะทําใหผักตาย หามปลูกตนหอมจะทําใหประจําเดือนไมหยุด ชายหญิง เมื่อไดเสียกันแลว จะตองบอกใหพอแมรู ถาไมบอกผิดผี จะทําใหอยูไมเปนสุข หามมีเพศสัมพันธในวันพระและตอนกลางวัน

Page 72: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

59

5. ความเชื่อเร่ืองสุขภาพและสวัสดิภาพ สวนมากจะเปนขอหามตาง ๆ ในทางพฤติกรรม เชน คนทอง มีขอหามเรื่องอาหารการกินที่เชื่อวาจะทําใหไมดีตอสุขภาพของแมหรือเด็กในทอง และหลังคลอด การหามกินอาหารบางชนิด สําหรับคนเจ็บปวย หรือการหามประพฤติปฏิบัติบางสิ่งบางอยางโดยเชื่อวาจะทํามาหากินไมขึ้น เปนตน

6. ความเชื่อเรื่องโชคลาง ไทล้ือยังมีความเชื่อเรื่อง ฤกษยาม การสะเดาะเคราะห สืบชะตา เชน การแตงงานตองดูฤกษงามยามดี โดยสวนใหญดูจากตําราพรหมชาติ ถาปฏิบัติตามก็จะรุงเรือง เจริญกาวหนา อยูดวยกันไดมั่นคง

7. ความเชื่อเร่ืองความฝน ไทลื้อมีความเชื่อเร่ืองความฝนเหมือนกับชาวไทยทั่วไป และจะมีตําราทํานายฝนตามความเชื่อนั้น ๆ

8. ความเชื่อเรื่องเครื่องรางของขลัง ไทลื้อ ตําบลกลวยแพะก็ยังมีความเชื่อเร่ืองเหลานี้อยู คือยังเชื่อในเรื่องความอยูยงคงกระพัน เช่ือในเรื่องพระเครื่อง ผายันต ตะกรุด เหล็กไหล และการสักตามเนื้อตามตัว โดยเฉพาะในเรื่องคาถาอาคม การขจัด ปดเปา ความโชคราย ความเจ็บไขไดปวย เชน การสงเคราะห การสืบชะตา การสงแถน

9. ความเชื่อเร่ืองผี ไทลื้อลําปางมีความเชื่อเร่ืองผีอยูมาก เชน ผีบรรพบุรุษ ผีบาน ผีหอศาล ผีอาฮัก ผีสือ (ผีกระสือ) ผีโพง (ผีกระหัง) ผีหมอนึ่ง ผียักษ ผีกะหรือผีปอบ เปนตน

10. ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค เชื่อวามีจริง ถาทําดี ทําบุญทําทาน ตายไปจะไดขึ้นสูสวรรค ทําชั่วก็จะตกนรก เปนความเชื่อตามหลักคําสอนของพุทธศาสนา เชนเดียวกับคนเมืองเหนือโดยทั่วไปที่เชื่อวาผลกรรมมีจริง ถาไมรูจักทําบุญใหทานแลว เวลาตายไปก็จะไมมีส่ิงค้ําจุน จะเปนผีตกนรก เดือดรอน

11. ความเชื่อเร่ืองหมอดู โหราศาสตร เชนการทายวันเดือนปเกิด ทายลักษณะเนื้อคูผัวเมีย ทายลูกในทอง ดูชะตาชีวิต วันหามประกอบพิธีมงคลตาง ๆ ลักษณะของอวัยวะไฝ ปาน สวนใหญไดมาจากตําราพรหมชาติของลานนา ที่ไดมาจากวัดหรืออาจารยวัด หรือผูที่เคยบวชเรียนมาเปนหนาน (ทิด) แลวจะนํามายึดถือเปนกรอบของชีวิตประจําวัน ซ่ึงเชื่อกันวาจะทําใหเจริญรุงเรือง โดยเฉพาะเรื่องฤกษงามยามดีในการคาขายและประกอบพิธีมงคลตาง ๆ จากความเชื่อทั้ง 11 ประเภทนี้ ลวนเปนปทัสถานในการดําเนินชีวิตของไทลื้อ ตําบลกลวยแพะ ผสมผสานกับความวิริยะอุตสาหะ ไมยอทอตออุปสรรค งานหนักเอาเบาสู เปนผลใหชาวบานกลวยแพะมีฐานะทางเศรษฐกิจคอนขางดี ประชาชนมีที่อยูอาศัยที่มั่นคง มีเครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ จํานวนมาก การนับถือศาสนา ไทล้ือที่ตําบลกลวยแพะสวนใหญนับถือพุทธศาสนา มีนับถือคริสตศาสนาเพียง 2-3 ครอบครัว แตละหมูบานมีวัดประจํา วัดบานกลวยหลวงเปนวัดแหงแรกของหมูบาน ไทลื้อสรางขึ้นภายหลังจากการตั้งหมูบานโดยพระสงฆที่มาจากเมืองยอง ปจจุบันมี

Page 73: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

60

พระภิกษุสามเณรจําพรรษาอยูที่วัดแหงนี้จํานวน 4 รูป บางครั้งจะมีพระภิกษุสามเณรจากเมืองยองมาพักอาศัยและจําพรรษาอยูที่วัดแหงนี้ วัดเปนศูนยกลางของหมูบาน ใชเปนสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา ในเทศกาลงานบุญตางๆ และใชเปนสถานที่ประชุมพบปะเพื่อทํากิจกรรมตาง ๆ ของหมูบาน ไทลื้อมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนามาก ในวันสําคัญทางศาสนาจะมีประชาชนไปรวมประกอบพิธีจํานวนมาก โดยเฉพาะการทําบุญในเทศกาลสงกรานตในวันพญาวัน (15 เมษายน) และวันปากป (16 เมษายน) การทําบุญตานกวยสลาก ตานขาวใหม ประเพณียี่เปง (เพ็ญเดือน 12) จะไปทําบุญกันเกือบทุกครอบครัว ปญหาของวัดในปจจุบันคือ ชาวบานไมนิยมบวชเรียนเหมือนกับสมัยกอน ทําใหพระภิกษุสามเณรมีจํานวนนอย บางวัดเหลือสามเณรเพียง 1-2 รูป ทั้งนี้เพราะภายหลังจากสําเร็จการศึกษาภาคบังคับก็จะไปทํางานตามโรงงานอุตสาหกรรมหรือรานคาในเมืองลําปางและสวนหนึ่งไปศึกษาตอที่โรงเรียนในเมือง ศิลปะ และหัตถกรรม (รวมถึงเครื่องแตงกายและเสื้อผา) สถาปตยกรรมของวิหาร วัดบานกลวยหลวงเปนสิ่งกอสรางแบบสถาปตยกรรมลานนาสกุลชางลําปาง เพราะสรางขึ้นแทนวิหารหลังเดิม ลักษณะของวิหารมีรูปทรงอวนแจ ฐานเตี้ย แตเปนวิหารปด มีผนังโดยรอบ นาคทัณฑเปนไมแกะสลักรูปหนุมาน ซ่ึงเปนรูปแบบที่นิยมสรางกันในชวงประมาณ 100 ปกอน ส่ิงที่นาสนใจไดแก ธรรมมาสนที่อยูในวิหาร มีรูปรางลักษณะคลายกับฝมือของสกุลชางไทลื้อที่วัดทาฟาใต จังหวัดพะเยา สวนพระพุทธรูปซึ่งเปนพระประธานในวิหาร เปนฝมือไทยใหญ ลักษณะวิหารเปนรูปทรงแบบลานนาโดยทั่วไป มีหลังคาซอนกัน 3 ช้ัน ประดับลวดลายที่เปนลักษณะของไทลื้อ นาคทัณฑเปนรูปหนุมานและยักษ ซ่ึงเปนศิลปะลานนารุนหลัง ภายในมีธรรมมาสนรุนเกา มีรูปทรงและลวดลายที่สวยงาม ลักษณะที่ยังคงเปนเอกลักษณของสถาปตยกรรมไทลื้อ ของวิหารวัดกลวยหลวงคือ

1. ลายแกะสลักไมสักที่หนาบันไดของวิหาร โดยเฉพาะดานมุมซายและขวาเปนรูปพญานาค ทอนหางเปนลายดอกไม มีเทวดาหรือลิงเกาะกิ่งไมที่เปนหางพญานาค ซ่ึงนาจะเปนจินตนาการจากตํานานพื้นเมืองของไทลื้อ

2. ลวดลายซุมประตูทางเขา มีลักษณะเปนเสนตั้งคลายลายฟนปลา ซ่ึงเปนลักษณะที่มองเห็นไดชัดเจนของศิลปะไทลื้อ

3. ตัวเหงาปานลม เปนลักษณะของวัดไทลื้อ เหมือนกับวัดไทลื้อท่ีบานหนองบัว อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน

Page 74: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

61

4. ปราสาทธรรมมาสน เปนธรรมมาสนรุนเกามีอายุกวา 100 ปมาแลว มีรูปทรงเปนแบบธรรมมาสนของวัดไทลื้อที่วัดหนองบัว จังหวัดนาน และวัดทาฟาใต จังหวัดพะเยา วัดพระเจานั่งแทนบานมวง เปนวัดเกาแกที่มีมากอนไทลื้อจะอพยพเขามาตั้งถ่ินฐานที่ตําบลกลวยแพะ เดิมเปนวัดราง ตอมาไดมีการบูรณะ ชาวบานจึงอพยพจากบานกลวยกลางออกไปตั้งบานเรือนบริเวณใกลเคียง จนกลายเปนหมูบานกลวยมวง สวนวัดหัวฝาย วัดมอนธาตุบานแพะ และวัดพระแทนสามัคคีธรรมบานกลวยกลาง เปนวัดที่สรางใหม นอกจากนี้มีเจดียเกาตั้งอยูในหมูบานกลวยหลวง เปนเจดียทรงลานนา ตัวระฆังหุมดวยทองจังโก ส่ิงกอสรางแบบอื่น ๆ ที่สําคัญ ไดแก ยุงขาว โดยทั่วไปชาวบานจะสรางที่เก็บขาวเปลือก 2 แบบ คือ ทําเสวียน และหลองขาว เสวียน เปนภาชนะบรรจุขาวเปลือกที่พบทั่วไปในภาคเหนือ สานดวยไมไผ ใช มูลวัวควายผสมดินเหนียวปดทับทั้งดานนอกและดานใน นําไปตากแดดใหแหง เสวียนจะตั้งอยูติดกับตัวเรือนโดยทําหลังคาคลุมยื่นออกไป หลองขาว หรือเยขาว (ยุงขาว) ทําเปนเรือนยกพื้นสูง หลังคาจั่ว ทําฝากั้นเปนหองสําหรับเก็บขาวเปลือก มีทางเดินและที่สําหรับเก็บสิ่งของเครื่องใชอยูภายในชายคารอบ ๆ หองเก็บขาวเปลือก ทิศทางของการวางแนวหลังคาไมแนนอน อาจวางตามแนวทิศเหนือ-ใต หรือตะวันตก-ตะวันออก ปจจุบันพบยุงขาวเกาแกที่ตําบลกลวยแพะ 2 หลัง มีอายุประมาณกวา 100 ปขึ้นไป การแตงกาย ในอดีตหญิงไทลื้อจะสวมใสเสื้อผาสีน้ําเงินหรือสีดํา เปนเสื้อรัดรูป ผาอก เอวสั้น แขนกระบอก ปลอยแขนจด (ติดกระดุมที่ปลายแขน) คอเสื้อมีหลายแบบ เชน คอบัก (คอเหลี่ยม) คอจีบและคอแบะ นุงผาซ่ินทําดวยฝายมีรูปแบบตางๆ เชน ซ่ินตาแดง (ใชดายแดงสลับ) ซ่ินตายืน (ลายตั้ง) ซ่ินตาขวาง (ลายขวาง) ซ่ินตาตอบ (ลายตาราง) ซ่ินกานคอควาย (มีลายสลับตรงชายดานลาง) ใชเข็มขัดรัดเอว ไมมีผาซอนชั้นในเหมือนผาซิ่นของลานนา สวนทรงผมนิยมเกลาผม เหน็บดวยหวี เรียกวา "ผมแม็บ" มีปนปกผมทําดวยทองหรือเงิน กําไลมือทําดวยเงิน มีลักษณะเหมือนเกลียวเชือก ใสตุมหูเรียกวา "หละกั้ด" ทําดวยทองคําหรือใสลานหูซ่ึงทําดวยทองคําแผเปนแผนบาง ๆ มวนสอดเขาไวในใบหูที่ "ขวาก" (เจาะ) ไว สวนชายไทลื้อในสมัยกอนจะนุงเตี่ยวสะดอ (กางเกงขากวย) และเสื้อยอมดวยเมล็ดนิลหรือคราม ปลอยชายเสื้อยาวถึงหัวเขา แหวกปลายดานลางทั้งสองขาง ยาวประมาณ 1 คืบ ดานหลังแยกเปน 3 แผนยาวเทา ๆ กัน เปนลักษณะ 5 ช้ิน ไทลื้อเรียกวา "เสอ 5 ปก" แขนเสื้อเปนแขนกระบอก ทรงผมตัดเกรียนที่ทายทอยดานหนาปลอยยื่นออกมาหรือหวีกลับไปดานหลัง ไมนิยมใสน้ํามันผม เวลาไปทํางานนิยมสะพายยามเรียกวา "ถุงปอ" เพื่อใสสัมภาระตาง ๆ เปนยามที่ทอใชเองมีสีขาวสลับลายน้ําเงินหรือดําเปนร้ิวเล็ก ๆ สลับกัน

Page 75: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

62

วัตถุดิบที่ใชทําสี สีน้ําเงินไดจากคราม สีดําไดจากเมล็ดนิล สีเหลืองไดจากไมฝาง ดอกกาย โดยนําไปตม ถาตองการสีเหลืองเขมขึ้นก็จะยอมซํ้าอีก หรือใสขมิ้นลงไป สวนสีแดงไดจากเปลือกประดู

การแตงกายในปจจุบัน หญิงวัยกลางคนจะนุงซิ่นแบบชาวเหนือท่ัวไป นิยมดัดผมเปนลอนหยิกทั้งศีรษะ โชวตนคอ ผูสูงอายุยังคงแตงกายแบบเดิมในโอกาสเทศกาลสําคัญตางๆ สําหรับคนรุนใหมจะแตงกายแบบสมัยนิยม สวนผูชายถาเปนวัยกลางคนขึ้นไปจะนุงเตี่ยวสะดอ เส้ือหมอหอม สวนการทอผาในปจจุบันยังมีอยูบาง สวนมากพอเปนของใชภายในครอบครัว เชน ถุงปอ ผาหม เปนตน

การละเลนของไทยลื้อ มักเปนการละเลนที่หาอุปกรณไดงาย สวนใหญคลายการละเลนของคนไทยทองถ่ินอื่น แตมีช่ือเรียกตางกัน เชน "การเลนจูจี้จะหลับ" "การเลนขี่กอบแกบ" บางคนเรียกวา อีเปะปะ "การเลนขี่โกะเกะ" ชาวลานนาเรียกวา "ขี่โกงเกง" "การเลนขายของ" สวนมากเปนที่นิยมของเด็กผูหญิง "การเลนควายขี้ตี๋" "การเลนโคบไขเตา" "การเลนเกาะเอวขายหวี" "การเลนสั๊กกะแดะ" "การเลนบะถบ" คือ การเลน "บอกถบ" ของลานนา หรือ "ปนลม" ของเด็กภาคกลาง "การเลนหมะบา" การเลนสะบาเปนการเลนที่ประทับใจของผูสูงอายุหลายคน เปนการละเลนของหนุมสาวที่จะไดมีโอกาสเกี่ยวพาราสีกัน นิยมตั้งวงเลนในเวลากลางคืนในฤดูแลงหลังการเก็บเกี่ยวในนาเสร็จ คติชาวบาน ตามตํานานพระอุปคุต เลาวาในสมัยพุทธกาลมีพระภิกษุรูปหนึ่งที่ยังไมสําเร็จอรหันต แตใกลจะหมดกิเลสอาสวทั้งปวงแลว ขณะจําวัดอยู น้ําอสุจิเกิดไหลโดยไมรูตัว พระภิกษุรูปนั้นก็นําผาสบงไปซักที่แมน้ํา ปลาซิววายน้ํามาบริเวณนั้นพอดี จึงกินน้ําอสุจิ พระภิกษุรูปนั้น ปลาซิวเกิดตั้งทอง แตเปนทองที่ไมใชปลา กลับกลายเปนหิน บรรดาปลาในแมน้ําทั้งหลายจึงไดตั้งช่ือวา "อุปคุต" ตั้งแตนั้นมาอุปคุตก็เปนใหญในแมน้ํา โดยที่ไมมีส่ิงใดจะไปรบกวนได นิทานพื้นบานของไทยลื้อลําปาง มีลักษณะโครงเรื่องคลายนิทานชาดก มีแทรกบทสั่งสอนและปริศนาธรรม คาดวานอกจากจะมุงใหความเพลิดเพลินแลว คงจะมีเจตนาจะแทรกขอคิดในการดํารงชีวิตแกผูฟง ดังตัวอยางตอไปนี้ ลูกไมเช่ือคําพอคําแม, หงสหาบเตา, สหายตุก, นกกระยางกับปูนา, แมทิ้งใจบุญ, หมาขนดํา ปริศนาคําทาย ไทล้ือลําปางมีคํา "เลนตาย" คลายกับการเลนปริศนาคําทายของคนไทยภาคกลาง แบงผูเลนเปน 2 ฝาย เปลี่ยนกันทาย ฝายไหนทายไมได ตองขอใหอีกฝายเฉลย โดยจะตองยอมวา จะติดตามลางถวยลางชอนให แตสวนมากฝายถามจะไมยอมเฉลยคําตอบจนกวาอีกฝายจะหาคําถามมาถามแกจนอีกฝายติดขัด จึงจะยอมแลกคําเฉลยกัน

Page 76: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

63

คําหยอกสาว มีลักษณะเปนคําโวหาร สัมผัสคลองจองกัน พูดอยางหนึ่ง ความหมายเปนไปอีกอยางหนึ่ง เนื้อความโดยทั่วไปคลาย "คําเครือ" ของลานนา ไทลื้อปจจุบัน วาคําหยอกสาวไมคอยได ประเพณีลงขวง ก็สูญไปหมดแลว คําส่ังสอน ไทล้ือ มีวิธีส่ังสอนลูกหลานทั้งดวยการกระทํา เชน ผูเฒา ปู ยา ตา ยาย จะนําลูกหลานใหถือศีลกินทาน ใหดูเปนตัวอยางและยังมีบทสั่งสอนใหปฏิบัติตาม มีบทสั่งสอนที่มีสัมผัสคลองจอง ใหทั้งขอคิดและงายตอการนําไปปฏิบัติ คําอวยพร ไทลื้อลําปาง มีประเพณีอาบน้ําดําหัวผูเฒาผูแกในเทศกาลสงกรานต ซ่ึงถือวาเปนวันขึ้นปใหมแบบเกา เชน เกี่ยวกับชาวลานนาทั่วไป ประเพณีไทลื้อลําปางนอกจากจะเปนโอกาสใหลูกหลานจะพากันนําน้ําสมปอยไปสระสรง รดน้ําดําหัวผูที่ตนนับถือแลว เปนโอกาสให "คูหมาย" ของชายหนุม ไดมีโอกาสไดปรนนิบัติพอแมของฝายชาย ซ่ึงตกลงจะแตงงานกันไวตั้งแตเดือน 4 เหนือ (เดือนยี่) และจะแตงประมาณเดือน 8 เหนือ (เดือน 6) พอแมฝายชายมีหนาที่จะตอง "ปนปอน" หรืออวยพรใหลูกหลาน เมื่ออายุมากขึ้นผูเฒาล้ือสมัยกอนจึงจดจําคําอวยพรกันไดยาว ๆ กันเกือบทุกคน แตปจจุบันหาคนใหพรไพเราะยืดยาวไดคอนขางยาก วรรณกรรมไทลื้อ ไมพบวรรณกรรมลายลักษณ โดยเฉพาะที่เปนของไทลื้อเอง พบแตวรรณกรรมมุขปาฐะบอกเลาสืบตอกันมา แยกประเภทเปนนิทาน ปริศนาคําทาย คําหยอกสาว บทลอเลนของเด็ก คําส่ังสอนและคําอวยพร ซ่ึงสวนใหญคลายกับวรรณกรรมมุขปาฐะของลานนา จะตางกันบางในรายละเอียดและภาษา สันนิษฐานวาอาจเปนเพราะไทลื้อท่ีอพยพมาตั้งรกรากอยูในเขตจังหวัดลําปาง เปนชนกลุมนอย ไมใชชนชั้นปกครอง ไมใชนักปราชญหรือกวี และอาจมาในลักษณะการหนีสงคราม จึงไมไดนําวรรณกรรมลายลักษณติดตัวมาดวย ครั้นมาอยูลําปางไดติดตอสมาคมกับชาวลานนา จึงพลอยรับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งวรรณกรรมจากชาวลานนา ทั้งที่รับจากการบอกเลาสืบตอกันมาของชาวบาน และการที่กุลบุตร ไทล้ือไดบวชเรียนรับอิทธิพลของวรรณกรรมลานนามาจากวัด เชื้อชาติ (เอกลักษณชาติพันธุขอบเขต และความสัมพันธของกลุมชาติพันธุ) ไทลื้อที่ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมืองลําปาง และที่บานแมปุง บานฮองหา อําเภอแมทะ อพยพมาจากเมืองยอง ยอมรับกลุมชาติพันธุของตนเองวาเปน "คนล้ือ" ไมเรียกตนเองวาคนยอง เหมือนกับทางลําพูน แตในขณะเดียวกัน ถาหากมีบุคคลที่ไมใชล้ือดวยกันมาเรียกวา คนลื้อหรือพวกล้ือ จะถือวาเปนการดูถูกเหยียดหยาม ดังนั้น ไทลื้อจึงเปนกลุมที่รักพวกพองมาก จะเห็นไดวามี

Page 77: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

64

ใครมาทําความเดือดรอนหรือกระทบผลประโยชนของสมาชิกในสังคม พวกเขาจะรวมตัวกันตอตานทันที ทั้ง ๆ ที่ไมใชเร่ืองของตนเองโดยตรง ไทลื้อ และไทยอง ความจริงเปนภาษาที่มีความคลายคลึงกันมากทั้งเรื่องเสียง คําและประโยค จนอาจกลาวไดวาเปนภาษาเดียวกัน ความแตกตางระหวางภาษาไทลื้อกับไทยองมีไมมากพอที่จะแยกเปนคนละภาษา เพียงแตกตางกันในระดับที่เปนภาษายอย (Dialects) ของกันและกัน แตในเรื่องของภาษา ไทล้ือหรือไทยอง ไมไดนํามาเปนเกณฑในการเรียกตนเอง แตใชเกณฑทางสังคมและประวัติศาสตร เรียกชื่อตนเองตอ ๆ มา ความสัมพันธในชุมชนไทยลื้อ เปนสังคมที่คอนขางโดดเดี่ยว เนื่องจากไทลื้อไมนิยมติดตอกับบุคคลภายนอกมากนัก เพราะเกรงวาจะถูกดูถูกเหยียดหยามและถูกเอารัดเอาเปรียบ ชาวพื้นเมืองในจังหวัดลําปางมีทัศนะคอนขางดูถูก มักจะเรียกชาวบานกลวยวา พวกล้ือ โดยตั้งขอรังเกียจไวกอนที่จะติดตอดวย บางคนมักมองสังคมไทลื้อ ตําบลกลวยแพะวา เปนสังคมที่เปนโรคเร้ือน จึงไมยอมซื้อผลิตผลถารูวามาจากบานกลวย ในขณะเดียวกัน ไทลื้อก็จะเรียกคนเมืองวา "อ้ิว" ซ่ึงหมายถึงคนที่ไมใชล้ือ บางทีก็เรียกวา "บาเจากอน" หมายถึง พวกคนลําปาง แตปจจุบันคนพื้นเมืองยอมรับสถานภาพทางสังคมของไทลื้อมากขึ้น เนื่องจากความอดทน ขยัน มัธยัสถ จึงเปลี่ยนทัศนะการมองไทลื้อจากการดูถูกมาเปนการมองวาเปนพวกที่ขยันขันแข็ง มานะอดทน และไมยอมเสียเปรียบใคร

ตอนที่ 2 บริบทบานกลวยมวง

ประวัติความเปนมาของชุมชนบานกลวยมวง ชุมชนบานกลวยมวงเปนหมูบานขนาดกลาง อยูในตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง สภาพโดยทั่วไปเปนไปตามบริบทของชุมชนชาวไทลื้อดังที่กลาวมาแลวขางตน ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพการเกษตร คาขาย รับจางแรงงาน และรับราชการ ชาวชุมชนบานกลวยมวงมีนิสัยรักความสงบ มีความขยันขันแข็ง และมีวัฒนธรรมที่ดีงามผูคนในชุมชนมีลักษณะเปนสังคมเครือญาติ สมาชิกของหมูบานตางรูจักกันเปนอยางดี มีการพึ่งพาอาศัยกัน มีสภาพความเปนอยูที่เรียกวาสงบสุข และมีสวนที่มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้

1. สภาพภูมิประเทศ ชุมชนบานกลวยมวงเปนเหมือนพื้นที่ทั่วไปของภาคเหนือคือ เปนพื้นที่ราบสลับเนินสูง มีลักษณะเปนลอนคลื่น มีปาเสื่อมโทรมลอมรอบ มีระบบชลประทาน ตั้งอยูทางตอนใตสุดของตําบลกลวยแพะ หางจากตัวเมืองลําปางไปตามถนนสายลําปาง - แมทะ ประมาณ 11 กิโลเมตร แบงเขตการปกครองหมูบานออกเปน 10 หมวดบาน 1 หมวดบานปกครอง

Page 78: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

65

ดูแล 30 หลังคาเรือน มีตําแหนงการปกครองดังนี้ ผูนําชุมชน 1 ตําแหนง คณะกรรมการหมูบาน 15 ตําแหนง หัวหมวด 10 ดําแหนง หมวดบาน ไดแก หมวดที่ 1-10 มีอาณาเขตติดตอดังนี้

ทิศเหนือ ติดตอกับบานกลวยกลาง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมืองลําปาง ทิศตะวนัออก ติดตอกับบานกลวยกลาง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมืองลําปาง ทิศใต ติดตอกับบานแมปุง ตําบลน้าํโจ อําเภอแมทะ ทิศตะวันตก ติดตอกับตําบลศาลา อําเภอเกาะคา

2. จํานวนประชากร ชุมชนบานกลวยมวงมีประชากร 1,480 คน แยกเปนชาย 500 คน และหญิง 980 คน ซ่ึงหากนับเปนจํานวนครัวเรือนจัดไดวาเปนชุมชนหมูบานขนาดกลางเพราะมีอยู 364 ครัวเรือน (เทศบาลเขลางคนคร ณ ธันวาคม 2554) ทั้งนี้เปนหมูบานที่ตั้งขึ้นมาเปนเวลานานหลายรอยป โดยสมาชิกของหมูบานเปนชาวไทลื้อที่อพยพมา ปจจุบันมีคนภายนอกยายเขาอยูในชุมชนจากการแตงงานประมาณรอยละ 20 ของจํานวนประชากร

3. สภาพทางเศรษฐกิจ/สังคม ขอดีทางดานสภาพภูมิประเทศ และมีระบบชลประทาน ในพื้นที่ ทําใหชาวบานประกอบอาชีพทางดานการเกษตรอยางหลากหลาย หรือเปนการทําการเกษตรผสมผสาน และใชชีวิตแบบพออยูพอกิน พึ่งตนเองเปนหลัก โดยมีอาชีพหลักคือ การทํานาและทําไร พืชที่เพาะปลูกสวนใหญไดแก ขาว ถ่ัวลิสง ออย ทั้งยังมีการทําอาชีพเสริม อาทิ การเลี้ยงสุกร เปด ไก

4. ลักษณะของการทําการเกษตร ชาวบานใชเครื่องจักรทางการเกษตรเปนหลัก และเสริมดวยแรงงานคน ตลอดจนทําการเกษตรตามศักยภาพของแตละพื้นที่ เชน ทํานาในที่ลุมปลูกถ่ัวลิสงหลังฤดูการทํานา ปลูกพืชผักในบริเวณที่ใกลแหลงน้ํา และเลี้ยงสัตวเล็ก ๆ ในบริเวณบาน

5. ลักษณะการทําอุตสาหกรรม ในพื้นที่บานกลวยมวง มีโรงงานอยูในพื้นที่หมูบาน 2 ประเภท คือ โรงงาน

อุตสาหกรรมผลิตเซรามิค และโรงงานแปรรูปสินคาเกษตร ดังนี้ 1. โรงงานกะเทาะเปลือกถ่ัวลิสง จํานวน 16 แหง 2. โรงงานทําลูกชิ้น จํานวน 1 แหง 3. โรงงานทําเสนขนมจีน จํานวน 1 แหง 4. โรงงานผลิตปุยอินทรีย จํานวน 3 แหง 5. โรงงานเซรามิค จํานวน 7 แหง

6. ลักษณะของการรับจางแรงงาน ชาวบานกลวยมวงประกอบอาชีพเสริมรับจางแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม และมีการรับจางบรรจุหีบหอหอมกระเทียมใหกับพอคาตางถ่ินที่เขามาตั้งจุดรับซื้อในหมูบาน

Page 79: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

66

การกอตั้งกลุมและมูลเหตุท่ีทําใหเกิดการรวมกลุม จากการศึกษาขอมูลชุมชน พบวา ชุมชนบานกลวยมวงที่เขมแข็งได มี 3 ปจจัยสําคัญ คือ (1) แรงผลักดันจากภายใน อันเกิดจากคณะผูนําชุมชน (2) แรงสนับสนุนสําคัญจากหนวยงานราชการดานงบประมาณ (3) การระดมความคิดแกไขปญหาของชุมชน ทั้ง 3 ปจจัยมีความสัมพันธกันอยางแนบแนนทําใหเกิดการรวมกิจกรรมที่หลากหลาย เปนผลใหวิถีชีวิตโดยรวมของชุมชนขยับไปในทางที่ดีขึ้น

1. เอกลักษณความสามัคคีของคณะผูนําชุมชน ดวยวิสัยทัศนที่ดีของคณะผูนําชุมชน ทําใหเกิดแนวความคิดในการรวมกลุมกันขึ้นเพื่อตองการดูแลชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยางไรก็ตาม แมวาภาครัฐไดเขามาใหความชวยเหลือผานโครงการกองทุนหมูบาน แตชาวบานก็ยังจําเปนตองชวยเหลือตนเองเปนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานเงินทุน ทําใหชาวบานเริ่มมีการรวมกลุมแลวระดมเงินออมภายในหมูบาน ดวยการจัดตั้งกลุมออมทรัพยขึ้นมาเมื่อป พ.ศ. 2544 เพื่อใหชาวบานสามารถกูยืมไปทําการเกษตร และประกอบอาชีพดานอื่นๆ เชน เล้ียงสุกร เล้ียงปลา ปลูกผัก เปดรานซอมเครื่องยนต เปนตน และในระยะตอมาจึงไดมีการจัดตั้งรานคาชุมชนเขมแข็ง ขึ้น

2. การรวมกลุมท่ีเกิดจากแรงกระตุนของหนวยงานราชการดานงบประมาณ การที่มีกลุมกิจกรรมตาง ๆ เกิดขึ้นอยางชัดเจนเนื่องจากมีภาครัฐไดเขามาเปนแกนในการจัดตั้งสนับสนุนดานงบประมาณในระยะแรก ๆ และในระยะตอมามีภาคเอกชนไดเขามาใหการสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งการใหการสนับสนุนจากโครงการกองทุนหมูบาน ตอเนื่องดวยโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน(SML) ของรัฐบาล และการติดตามสนับสนุนของเทศบาลเขลางคนคร นับวามีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาชุมชนกลวยมวงเปนอยางมาก เพราะสามารถกลายมาเปนหมูบานที่มีความเขมแข็งและเปนหมูบานตัวอยางที่หลายหนวยงานสนใจเขามาศึกษาดูงาน สําหรับแนวความคิดในการพัฒนาชุมชนหมูบาน เกิดจากผูนํารุนใหมที่มีการศึกษาและสวนใหญรับราชการในหลายสาขาอาชีพ ไดเขามาเปนคณะกรรมการชุมชนหมูบาน และใหความสนใจในกระบวนการพัฒนาแบบใหม โดยคณะกรรมการมีการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและสรางกระบวนการเรียนรูเพื่อทําใหชาวบานมีกินกอน จากนั้นจึงมุงไปสูความยั่งยืนในลําดับตอไป ตามหลักการที่วา “ชาวบานเปนผูกอ ชาวบานตองเปนผูแก” เมื่อชาวบานเขาใจถึงแนวความคิดและยินดีที่จะปรับเปลี่ยนวิธีคิด จนมีการจัดตั้งกลุมอาชีพตาง ๆ ไดแลว ก็จะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือน โดย คณะกรรมการเปนกําลังใจสําคัญในการกระตุนและย้ําเตือนใหชาวบานรวมมือกันสรางความเขมแข็งอยูเสมอ ๆ วา

Page 80: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

67

“คิดเอง ทําเอง มีเอง จึงคอยขยายไปเรื่อย ๆ แลวจะดีเอง” ซ่ึงหลักการดังกลาวนั้น เปนหลักการที่จะทําใหชาวบานมีการพึ่งพาตนเองภายใตแนวความคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง

3. การขยายผลจากระดมความคิดเพื่อแกปญหาปากทอง เมื่อปญหาเรื่องปากทองบรรเทาลง ชาวบานก็ชวยกันคิด ชวยกันแกไขปญหาความยากจนที่ยังคงอยู ดวยการจัดตั้งกลุมตาง ๆ ขึ้นมาเพื่อเปนอาชีพเสริมและสรางรายไดใหแกชาวบาน ซ่ึงการจะทํากิจกรรมตาง ๆ ขึ้น จําเปนตองมีเงินทุนในการดําเนินการ ดังนั้น ชาวบานจงึไดจัดตั้งกลุมออมทรัพยขึ้นมาเพื่อรองรับจากโครงการกองทุนหมูบาน ภายหลังจากชาวบานมีเงินทุนเปนของหมูบานแลว ก็สามารถขยายกิจกรรมตาง ๆ ไปเปนลําดับ เมื่อรัฐบาลไดตอยอดโครงการกองทุนหมูบาน ขยายเปนโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน (SML) จึงทําใหชาวบานกลวยมวงจัดทําประชาคมหมูบานนําเสนอโครงการรานคาชุมชน การดําเนินกิจกรรมและการขยายกิจกรรม ภายหลังจากชาวบานมีความคิดที่ตรงกันและสมัครใจที่จะเขารวมกลุมตาง ๆ แลวแตละกลุมกิจกรรมมีขั้นตอนและวิธีการดําเนินการดังนี้ รานคาชุมชนตามโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชนบานกลวยมวง เกิดจากการที่ชาวบานตองการซื้อสินคาที่จําเปนในราคาถูก เพื่อลดและประหยัดคาใชจายภายในครัวเรือน ซ่ึงชาวบานไดเร่ิมตนดําเนินการเองเมื่อป พ.ศ. 2545 โดยมีคณะกรรมการรานคาตามนโยบายรัฐบาล ภายใตโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน (SML) เปนแกนสําคัญในการดําเนินการ ดวยการรวบรวมสมาชิกที่สมัครใจเขามาลงหุนคนละ 50 บาท โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแลแยกตามหนาที่อยางชัดเจน พรอมกับการปรับปรุงระบบบัญชี ที่เขาใจงายในระบบโปรแกรมปฏิบัติการไมโครซอฟท ออฟฟศ การจัดระบบสินคาตามความตองการของสมาชิกสวนใหญ ตลอดจนมีการสรางเครือขายเพื่อประสานงานกับแหลงสินคาราคาถูก ซ่ึงที่ตั้งรานคาชุมชนอยูในทําเลที่เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ โดยอยูในพื้นที่ธรณีสงฆวัดพระเจานัง่แทนซ่ึงเปนวัดประจําหมูบาน และมีตลาดสด และสถานีอนามัยตั้งอยูในบริเวณเดียวกันดวย

Page 81: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

68

ตอนที ่3 ลักษณะการบริหารจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง

ชุมชนบานกลวยมวงกําหนดไดกําหนดรูปแบบการบริหารจัดการรานคาชุมชน โดยใหประชาชนในหมูบานรวมกันลงทุนถือหุนในรูปสมาชิก เพื่อจัดหาสินคาอุปโภคบริโภคมาจําหนายใหกับสมาชิก ทั้งนี้ สมาชิกจะตองเลือกตั้งกลุมบุคคลซึ่งเรียกวา “คณะกรรมการ” เพื่อทําหนาที่บริหารและดําเนินการจัดการรานคาชุมชนซึ่งมีวัตถุประสงค ดังนี้

1. ทําใหสมาชิกสามารถซื้อสินคาถูกกวาที่ซ้ือจากรานคาทั่วไป 2. ชวยตรึงราคาสินคาอุปโภค บริโภคในหมูบานไมใหสูงจนเกินไป 3. ชวยใหประหยัดเวลา และคาใชจายสามารถซื้อสินคาไดสะดวกยิ่งขึ้น 4. เปนการสรางความสามัคคีในหมูบาน 5. ทําใหสมาชิกรูจักการคาขายและรูจักการทํางานเปนหมูคณะ

การจัดการธุรกิจรานคาชุมชน รานคาชุมชนบานกลวยมวง ไดกําหนดการจัดการกับคน สินคา และเงินทุนดวยวิธีการที่งาย และเหมาะสมกับรานคามากที่สุด เพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ ในการประกอบธุรกิจรานคา มีส่ิงสําคัญที่ชุมชนบานกลวยมวงดําเนินการ 3 ประการ คือ

1. มีการวางแผนลวงหนา 2. ดําเนินการไปตามแผนที่วางไว 3. มีการตรวจสอบ ควบคุมเปนระยะๆ

ภาพ 3 การจดัการธุรกิจรานคาชุมชนบานกลวยมวง

วางแผน

ตรวจสอบควบคุม ดําเนินการตามแผน

Page 82: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

69

การกําหนดเปาหมาย เมื่อเริ่มจัดตั้งรานคาชุมชน ผูบริหารรานคาชุมชนบานกลวยมวงไดกําหนดเปาหมาย “ยึดเปาหมายเปนหลัก” ของรานเพื่อแกไขปญหาสมาชิกหมูบานสวนใหญไดจัดซื้อส่ิงของมาอุปโภค บริโภคในราคาแพง ไมยุติธรรม รวมทั้งส่ิงของมีคุณภาพต่ํา และตองเสียเวลา คาน้ํามัน และเวลาในการเดินทางเขาไปในเมือง การกําหนดแผนงาน รานคาชุมชนบานกลวยมวงไดกําหนดระยะเวลาของการคืนทุน 5 ป (ระหวางป พ.ศ. 2552-2557) เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่ตองการ รานคาประสบความสําเร็จตามเปาหมาย ซ่ึงไดมีการแผนงานการดําเนินงานไวเปนอยางดี และคณะกรรมการทุมเททํางานมีความพรอม เสียสละเพื่อสวนรวม กําหนดทิศทางการปฏิบัติงานและลดความซ้ําซอนในการทํางาน เพื่อใหเกิดการประหยัดทั้งเงินทุนและเวลา โครงสรางการบริหารรานคาชุมชน รานคาชุมชนบานกลวยมวงมีโครงสรางการบริหารงานประกอบดวย

1. สมาชิกผูถือหุน 2. คณะกรรมการ 3. ผูจัดการ/คนขาย

บทบาทและหนาท่ีของผูบรหิารรานคา

1. คณะกรรมการ ประกอบดวย 1.1 ประธาน มีบทบาทหนาที่ในการควบคุมดูแลใหกรรมการตาง ๆ ปฏิบัติ

หนาที่ดวยความเรียบรอย ลงลายมือช่ือในเอกสารทางการเงินและเอกสารตาง ๆ 1.2 รองประธาน ทําหนาที่แทนประธานเมื่อประธานไมอยูหรือไดรับ

มอบหมายและเปนผูชวยเหลือประธานในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ยกเวนการลงลายมือช่ือในเอกสารทางการเงิน

Page 83: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

70

1.3 กรรมการจัดซ้ือ มีบทบาทและหนาที่ในการจัดซ้ือสินคาเขารานโดยสืบราคาสินคาจากแหลงตางๆกอนตัดสินใจสั่งซ้ือสินคา สงมอบสินคา และใบสงของหรือใบเสร็จรับเงิน พรอมลงลายมือช่ือรวมกับกรรมการตรวจสอบ แลวสงมอบใหแกผูจัดการ/คนขาย

1.4 กรรมการตรวจสอบ มีบทบาทและหนาที่ในการตรวจสอบรับสินคาตรวจสอบสินคาคงเหลือ ตรวจสอบการรับ-จายเงิน และตรวจสอบการจัดทําบัญชีใหถูกตอง

1.5 กรรมการบัญชี มีบทบาทและหนาที่ในการจัดทําบัญชีของรานคา เชนสมุดบัญชีเงินสด บัญชีรายวันซื้อ บัญชีรายวันขาย ฯลฯ นอกจากนี้ตองคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการ และจัดสรรเงินปนผลใหแกสมาชิกดวย

1.6 กรรมการฝายการเงิน (เหรัญญิก) ทําหนาที่ในการจายและถือเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคาร ลงลายมือช่ือในเอกสารทางการเงิน รวมกับประธานและผูจัดการ ตลอดจนดูแลรักษาเงินทุนของรานคา

1.7 เลขานุการ ทําหนาที่รับสมัครและจัดทําทะเบียนสมาชิกของรานคา แกไขปรับปรุงทะเบียนสมาชิกใหถูกตองอยูเสมอ รับเงินคาหุนและสงมอบใหแกกรรมการฝายการเงิน นัดหมายหรือเชิญประชุม และเก็บรักษาเอกสารของรานคา

2. ผูจัดการ/ผูขาย มีบทบาทหนาที่ในการควบคุมดูแลและดําเนินกิจการรานคาใหเปนระเบียบขอบังคับที่กําหนดไวและเปนกรรมการ ฝายการเงิน รวมกับกรรมการจัดซ้ือในการส่ังซ้ือสินคาและกําหนดราคาขายสินคา รับมอบสินคา และทําหนาที่ขายสินคา ตลอดจนปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการรานคา

Page 84: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

71

ภาพ 4 โครงสรางการการบริหารงานรานคาชุมชนบานกลวยมวง ระเบียบรานคาชุมชนบานกลวยมวง

หมวดที่ 1 ชื่อประเภท ท่ีตั้งสํานักงาน ช่ือ รานคาชุมชนบานกลวยมวง ประเภท รานคาชุมชน ที่ตั้ง 212 ม.3 ต.กลวยแพะ อ.เมือง จ.ลําปาง

สมาชิกรานคา 414

ประธาน

รองประธาน

เหรัญญิก

กรรมการฝายตรวจสอบสินคา กรรมการฝายบัญชี

กรรมการฝายจัดซื้อ

กรรมการฝายขาย

นางศิริลักษณ วงศเขียว

นางนงเยาว หอมแกนจันทร

นางวราภรณ ศรีอินแกว

นางวัฒิตา ปาระมี

นางอัมรา ชัยสวสัดิ์ จ.ส.อ.สุขคํา อินนันชัย

นายสรินทร เชียงวงศ

นายบญเทา สมบรณ

Page 85: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

72

หมวดที่ 2 วัตถุประสงครานคาชุมชน 1. เพื่อสงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของสมาชิก โดยวิธีรวมกันดําเนินธุรกิจ 2. เพื่อประโยชนรวมกันของสมาชิก จัดหาสินคาอุปโภค บริโภค มาบริการให

สมาชิก และประชาชนทั่วไปที่ไมไดเปนสมาชิก ในราคาเปนธรรม 3. เพื่อใหชุมชน และสมาชิกรูจักการบริหารจัดการเชิงธุรกิจรวมกัน 4. เพื่อใหชุมชน และสมาชิกมีการรวมกลุม เพื่อเปนขอตอรองราคาสินคาอยาง

เปนธรรม 5. เพื่อใหชุมชน และสมาชิกมีความรักความสามัคคี และรูจักการทํางานเปนหมูคณะ 6. เพื่อใหชุมชน และสมาชิกรูจักการออม และประหยัด มีความสะดวกในการใช

บริการสินคาตลอดจนชุมชนไมเสียเปรียบในดุลการคาใหรานคาใหญในเมือง 7. เพื่อเปนการพัฒนาหมูบาน ชุมชน ใหเกิดความเขมแข็งที่ยั่งยืน 8. เพื่อเปนแบบอยางที่ดีในดานการบริหารจัดการ รักความเปนหมูคณะกับ

เยาวชนรุนตอๆ มา หมวดที่ 3 ทุนรานคา เปดรับสมาชิกเขาถือหุนในรานคาชุมชน

1. สมาชิกออกคาหุน ในราคาหุนละ 50 บาท (หาสิบบาทถวน) 2. สมาชิกสามารถถือหุนไดไมเกินคนละ 20 หุน หรือ 1,000 บาท (หนึ่งพันบาท

ถวน) 3. สมาชิกจะโอนหุนที่ถืออยูใหผูอ่ืนไมได 4. การเปดขายหุน คณะกรรมการสามารถเปดขายหุนไดตามมติของคณะกรรมการ 5. การแจงยอดหุน คณะกรรมการรานคาจะแจงยอดจํานวนหุนของสมาชิกแตละคน

ทราบทุกป หมวดที่ 4 การดําเนินงาน

1. คณะกรรมการดําเนินงานรานคาชุมชน มีวาระการทํางาน 2 ป โดยสมาชิกเปนผูเลือก

2. คณะกรรมการดําเนินงานแบงออกเปน 5 ฝาย ดังนี้ 3. ผูจัดการ หรือเปนเหรัญญิก 4. กรรมการฝายจัดทําบัญชี

Page 86: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

73

5. กรรมการฝายจัดซื้อสินคา 6. กรรมการฝายขาย 7. กรรมการฝายตรวจสอบ

หนาท่ีของคณะกรรมการแตละฝาย 1. ผูจัดการมีหนาที่ ดังนี้

1.1 ควบคุมการรับ-จายเงินของรานคา 1.2 ทําบัญชีคุมเงินของรานคาทั้งหมด 1.3 ควบคุมการจัดซื้อสินคาของฝายจัดซื้อ 1.4 ช้ีแจง และสรุปความกาวหนาผลการดําเนินงานของรานคาใหสมาชิก

รับทราบ 2. กรรมการฝายจัดทําบัญชีมีหนาที่ ดังนี้

2.1 จัดทําบัญชีของรานคาทั้งหมด 2.2 ทําการปดบัญชี และเช็คจํานวนสินคาของราน ทุกเดือนอยางนอยเดือนละ

1 คร้ัง 2.3 จัดทําบัญชีสรุปผลการดําเนินงานแจงใหสมาชิกทราบทุกเดือน พรอม

ประกาศประชาสัมพันธใหสมาชิกรับทราบ 3. กรรมการฝายจัดซื้อมีหนาที่ ดังนี้

3.1 ทําหนาที่จัดซื้อสินคาเขาราน 3.2 จัดทําบัญชีคุมสินคาทั้งหมด 3.3 กําหนดราคาขายใหกรรมการฝายขาย

4. กรรมการฝายขายมีหนาที่ ดังนี้ 4.1 รับผิดชอบสินคา ดูแลสินคาในรานคาทั้งหมด 4.2 รับผิดชอบเงินที่ไดจากการขายสินคาในรานคาทั้งหมด 4.3 ขายสินคาตามราคาที่ฝายจัดซื้อกําหนดราคาขายให

5. กรรมการฝายตรวจสอบมีหนาที่ ดังนี้ 5.1 ตรวจสอบบัญชีของรานคา 5.2 ตรวจสอบฐานะการเงินของรานคา 5.3 ช้ีแนะ แนะนํา ใหกรรมการทุกฝายเมื่อตรวจสอบพบขอบกพรอง

Page 87: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

74

หมวดที่ 5 การจัดสรรผลกําไรของรานคา 1. กําหนดแจงผลกําไรทุกระยะเปนรายงวดๆละ 1 เดือน 2. กําหนดผลกําไร และจัดสรรผลกําไรของรานคา ดังนี้ 3. ผลกําไรทั้งหมดเมื่อหักตนทุนสินคาแลว คิดเปนรอยละ 100 แบงออกดังนี้

3.1 จัดสรรเขาเปนทุนซื้อสินคารอยละ 10 3.2 จัดสรรใหกับผูขาย 6,000 บาทตอเดือน 3.3 จัดสรรใหกรรมการดําเนินงานรอยละ 10 3.4 จัดสรรเปนคาเสื่อมครุภัณฑรอยละ 10 3.5 จัดสรรใหกับสมาชิกผูถือหุน ที่เหลือจากการจัดสรรขอ 3.1 – 3.4 โดยคิด

การแบงสวนที่เหลือเปนรอยละ 100 แบงจัดสรรเปนคาหุนรอยละ 40 และคาปนผลจากการซื้อสินคารอยละ 60

3.6 กําหนดการจัดสรรแบงผลกําไรทุก 6 เดือน รวมปละ 2 คร้ัง หมวดที่ 6 คุณสมบัติผูขาย

1. เปนสมาชิกในรานคาชุมชนบานกลวยมวง 2. เปนบุคคลที่มีความซื่อสัตย สุจริต 3. เปนบุคคลที่มีรางกายแข็งแรง ไมเปนโรคติดตอที่เปนอันตรายตอสุขภาพ 4. เปนผูที่มีความรูความสามารถ ในการอาน เขียน ไดเปนอยางดี 5. เปนผูที่มีความรู ความสามารถในการใชคอมพิวเตอรพอสมควร

การจางคนขายตกลงใชวิธีการจางคนขาย เนื่องจากมีขอดี มากวา ขอเสีย ดังนี้ ขอดี

1. สมาชิกไมตองเสียเวลามาขายสินคา 2. ถาสินคาเกิดสูญหาย โดยมิใชเหตุสุดวิสัย แลวคนขายจะตองรับผิดชอบ 3. ไมตองสงมอบสินคากันทุกวันหรือกันกําไรไวสําหรับการสูญหายของสินคา

ขอเสีย 1. รานคาตองเสียคาใชจายมากขึ้น 2. สมาชิกจะมีสวนรวมในกิจกรรมหรือการบริหารรานคานอยลง มีเพียงการซื้อ

สินคาประชุมใหญประจําปเลือกตั้งกรรมการและรับเงินปนผลคืนตอนสิ้นงวดเทานั้น หมวดที่ 7 การพนสมาชิกภาพของสมาชิก

1. ตาย 2. ลาออก

Page 88: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

75

3. ยายไปอยูนอกพื้นที่ตางหมูบาน/ตางอําเภอ/ตางจังหวัด 4. ตามมติของสมาชิก ถือจํานวน 2 ใน 3 ของที่ประชุม

การจัดการเกี่ยวกับสินคา รานคาชุมชนมีรายไดจากการขายสินคาเปนหลัก ดังนั้นจึงใหความสําคัญกับการจัดการเกี่ยวกับสินคาใหมากโดยเฉพาะในเรื่องสําคัญ ดังนี้

1. การจัดผังรานคา (Layout) การจัดวางผังรานคาทําใหลูกคาสามารถเดินไดรอบรานใหมากที่สุด เพื่อที่สินคาทุกแผนกจะไดมีโอกาสขาย และใชเวลาสั้นที่สุด

2. เสนทางสัญจรภายในราน (Traffic Flow) จุดเนนในเรื่องเสนทางสัญจรในรานคือ จัดใหยาวที่สุดเทาที่จะทําได ดวยการใหลูกคาเดินผานสวนตางๆ ของราน และเชื่อมตอกันไดทั้งหมด การกําหนดทางเดินสําหรับลูกคาภายในรานมีการวางผังสินคาในรานที่เหมาะสม เพื่อใหลูกคาเดินทางไปยังจุดที่ตองการใหเดินเขาไป หรือเดินไดรอบทั้งราน ไมใชจุดใดเพียงจุดเดียว

3. การจัดวางสินคาที่สรางความประทับใจ (First Impression Merchandise) สินคาที่ถัดจากประตูทางเขา เปนสินคาประเภทเครื่องสําอางหรือน้ําหอม เพราะสินคาเหลานี้มีกล่ินที่หอมดึงดูดใจ ขณะเดียวกันก็มีลักษณะการจัดวางสินคาที่สวยงาม และขนมดึงดูดใจกอนอยูเสมอ

4. ชนิดของการใหบริการ (Service) เปนลักษณะการเลือกซื้อสินคาแบบบริการตนเอง (Self Service) หลักสําคัญก็คือสินคาถูกนํามาจัดวางบนหิ้ง ช้ันวางสินคาหรือโตะที่ลูกคา สามารถหยิบดูแตไมอนุญาตใหทดลอง

5. ประสิทธิภาพในการควบคุมดูแล ภายในรานคาตําแหนงแคชเชียรหรือพนักงานเก็บเงินอยูในตําแหนงที่สามารถมองเห็นประตูทางเขาออกไดชัดเจนที่สุด และมีการติดตั้งกลองวงจรปดเพื่อปองกันการขโมยสินคา ทําเลที่ตั้งราน ทําเลที่ตั้งรานคาชุมชนอยูในทําเลที่ดี และประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ดังนี้

1. สถานที่ตั้งและสภาพแวดลอม มีปจจัยทีด่ดีังตอไปนี้ 1.1 ความหนาแนนของลูกคา ตั้งอยูกึ่งกลางชุมชนหมูบานจํานวน 345 ครัวเรือน 1.2 สภาพแวดลอมทางกายภาพโดยรอบ ตั้งอยูบนที่ดินของวัด ติดถนนลาดยาง

ใกลกับโรงพยาบาลชุมชน และตลาดสดของชุมชน 1.3 ระดับการแขงขันในธุรกิจเดียวกันไมมีรานคาปลีกในบริเวณใกลเคียง

Page 89: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

76

1.4 แนวโนมของภูมิทัศน และเศรษฐกิจโดยรอบ มีโรงงานที่ใชแรงงานคนจํานวนมาก

2. กลุมลูกคาเปาหมาย บริการสมาชิกรานคาเปนหลัก สินคาและบริการ นําสินคาเขามาจําหนายใหสอดคลอง และตรงกับความตองการของลูกคา จํานวน 718 รายการ และไมขายสินคาบุหร่ีโดยเด็ดขาด โดยมีหลักการพิจารณาดังตอไปนี้

1. สินคาภายในราน 4 กลุมสินคาหลัก ที่นํามาพิจารณาเพื่อใชเปนแนวทาง ในการเลือกซื้อสินคาเพื่อมาจําหนายที่รานคือ

1.1 กลุมสินคาพื้นฐาน 1) สินคาบริโภคที่จําเปนในชีวิตประจําวัน 2) สินคาอุปโภคที่จําเปนในชีวิตประจําวัน 3) สินคาบริโภค/อุปโภค ที่ซ้ือเพื่อความพึงพอใจ 4) สินคาบริโภคอื่นๆ เชน เครื่องดื่มแอลกฮอลล, ขนมขบเคี้ยว, ลูกอม,

ไอศกรีม 5) สินคาอุปโภคอื่นๆ เชน โลช่ันบํารุงผิว, ครีมเปลี่ยนสีผม, ของเลนเด็ก

,อุปกรณซอมแซมบานเบื้องตนในระบบประปา ไฟฟา 1.2 กลุมสินคาใหม

สินคาใหม ที่มีการทําโฆษณาทางทีวี วิทยุ และหนังสือพิมพ ทําใหมีลูกคาถามถึงสินคาดังกลาว มีการพิจารณานํามาจําหนายที่ราน ในปริมาณที่พอเหมาะกอน โดยการทําประชาสัมพันธ เชน การติดปายแนะนําสินคาใหม พรอมทั้งติดตามยอดขาย และปริมาณความตองการของลูกคา

1.3 กลุมสินคาเทศกาล โดยสวนใหญจะเปนสินคาในแตละชวงเทศกาลเชน กระดาษหอของขวัญ ในชวงเทศกาลปใหม, ธูปเทียน และเครื่องสังฆทาน ในชวงวันสําคัญทางศาสนา, น้ําอบและดินสอพองในชวงวันสงกรานต

1.4 กลุมสินคาเฉพาะ/พิเศษ เปนการสรางความแตกตางใหกับรานคาชุมชน โดยนําเอาสินคาเฉพาะ หรือพิเศษมาจําหนายที่รานเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกคา อาทิเชน เครื่องแตงกายพื้นเมืองของคนไทยเชื้อสายไทยลื้อ

Page 90: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

77

หลักการจัดเรียงสินคาพื้นฐาน 1. แยกกลุมสินคาแตละประเภท และเรียงสินคาที่มีความเกี่ยวเนื่องกันอยูใกลกัน 2. ใหพื้นที่จัดเรียงตามสัดสวนของยอดขายของสินคา เพื่อลดปญหาสินคาขาด

และการไหลเวียนของเงินทุน 3. ใหพื้นที่พิเศษ สําหรับสินคาที่ทํารายการสงเสริมการขาย หรือสินคาใหมที่

ตองทําประชาสัมพันธ การตกแตงรานคา การสรางความประทับใจใหแกลูกคา โดยการจัดรานคาชุมชนใหเหมือนกับบานพักอาศัยของชุมชน การจัดสินคาคงคลัง มีการบริหารสินคาคงคลังที่ดี เพื่อใหปริมาณสินคามีเพียงพอตอความตองการของลูกคา และควบคุมเงินทุนหมุนเวียนที่มีอยู ไมใหจมไปกับสินคาที่ซ้ือมากักตุนจนมากเกินไป โดยปจจัยในการควบคุมระดับสินคาคงคลัง ประกอบดวย

1. ความถี่ของการเลือกสินคาเขาราน 2. ปริมาณขายออกของสินคาแตละตัว จะเปนตัวชวยระบุปริมาณสินคาคงคลังที่

ตองการ 3. ความผันผวนของราคาสินคา ซ่ึงอาจเกิดขึ้น

ระบบการควบคุมสินคาคงคลัง ใชระบบการควบคุม 2 ระบบ ดังนี้

1. การทําบัญชีมือ และนับจํานวนสินคาที่ เหลือในคลัง และที่ ช้ันปกติดวยบุคคลากร ซ่ึงวิธีนี้จะมีขอดีคือ ทําใหเกิดความสามัคคีของคณะกรรมการ และไดเขาตรวจเยี่ยมรานคาเปนประจํา แตขอดอยคือขาดความแมนยําของการนับ และใชเวลาในการดําเนินการคอนขางมาก และใชในการนับสินคาประจําเดือน

2. ระบบการจัดการแบบอิเล็คโทรนิคส (E-POS หรือ Electronic Point-of Sales System) ซ่ึงขอดีของวิธีนี้คือ สามารถตรวจสอบจํานวนสินคาคงเหลือ ทั้งในคลัง และบนชั้นปกติผานระบบในเครื่อง ประหยัดเวลาในการดําเนินงาน และใชสําหรับการจัดการสินคาประจําวัน

Page 91: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

78

ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการเพื่อชดเชยขอดอยของการบันทึกในสมุดที่ใชเวลานานในแตละรายการ มีการเก็บสินคาคงคลังที่ถูกตองแยกหมวดหมูสินคาอยางชัดเจน ไมวางปะปนกัน โดยแบงออกเปน 3 กลุมสินคาหลักคือ สินคาบริโภค อุปโภค และสินคาวัตถุมีพิษ การทําบัญชีอยางงาย คือ การจดบันทึกเรื่องราวทางการเงินที่เกิดขึ้นโดยจะตองบันทึกทุกรายการที่เกิดขึ้นในแตละวัน แลวนําขอมูลท่ีไดจดบันทึกไวมาใชในการคํานวณหากําไรขาดทุนหรือนํามาสรุปขอมูลที่เปนตัวเงินในอันที่จะนํามาสูการใหขอมูลทางการเงิน ไดทันทีในแตละวัน ประโยชนของการจัดทําบัญชีอยางงาย

1. เปนเครื่องชวยจํา 2. เพื่อแสดงใหเห็นผลการดําเนินงานที่ผานมาวาเปนที่นาพอใจหรือไมโดย

พิจารณาจากผลกําไรที่ไดรับ 3. ขอมูลทางบัญชีจะชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการขยายกิจการไดเปนอยางดี 4. ใชในการวางแผนงาน ในการใชจายเงินลวงหนา 5. เพื่อแสดงใหทราบวามีการทุจริตหรือไม

สมุดบัญชีที่สําคัญของรานคาชุมชนมี 2 ประเภท คือ 1. ประเภทที่ตองจัดทํา และบันทึกทุกวัน เรียกสมุดบันทึกรายวัน ในสมุดจะ

บันทึกรายการที่เกิดขึ้นในแตละวันตั้งแตเปดรานจนกระทั่งปดรานในแตละวัน เรียงลําดับตามเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละเวลา โดยมีรายการจําแนกรายละเอียดเปน

1.1 บันทึกซื้อ 1.2 บันทึกขายรายสมาชิก และภายนอก 1.3 สรุปกําไร/ขาดทุน ประจําวนั

2. ประเภทจัดทําเพิ่มเติม 2.1 ทะเบียนคุมสินคา 2.2 ทะเบียนสมาชิก 2.3 บันทึกทรัพยสิน 2.4 บันทึกเงินทนุ

Page 92: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

79

หลักฐานที่ใชประกอบการลงบัญชี 1. การซื้อสินคา หลักฐานที่ใชประกอบการบันทึกรายการซื้อสินคา คือใบสงของ

ใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสด 2. การขายสินคา ไมมีเอกสาร หรือใบเสร็จรับเงินไวเปนหลักฐานปกติจะใชวิธี

จดบันทึกไวในสมุด และขายดวยระบบเงินสดเทานั้น

ราคา และผลกําไร การตั้งราคาสินคา ไมมุงหวังผลกําไรสูงสุด หลักการพื้นฐานในการตั้งราคาสินคา แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้

1. ตั้งราคาขายโดยคํานวณตนทุนของตัวสินคา บวก กับคาใชจายเฉลี่ยในการดําเนินรานคา อาทิเชน คาน้ํา คาไฟ คาเดินทางเพื่อไปซื้อสินคามาจําหนายที่ราน และคาใชจายอื่นๆ ในการบริหารจัดการรานคา แลวคํานวณออกมาในรูปแบบเปอรเซ็นต ซ่ึงเปนสัดสวนกับยอดขายรวมของรานตอเดือน แลวจึงนํามาบวกกับผลกําไรที่ตองการราคาที่ตั้งเปนราคาที่สามารถแขงขันไดตามดุลยพินิจของประธานกรรมการรานคา โดยสูตรการคํานวณ คือ ราคาสินคา = ตนทุนสินคา + (ตนทุนตัวสินคา x (เปอรเซ็นตคาใชจายเฉลี่ย 5% + เปอรเซ็นตกําไรตอหนวยที่เหมาะสม 15%)) ตัวอยางการคํานวณ : ตนทุนสินคามูลคา 20 บาท, คาใชจายเฉลี่ย 5% จากยอดขาย 5,000 บาท/วัน หรือ 150,000 บาท/เดือน คือ 150,000 x 5% = 7,500 บาท, ผลกําไรที่ตองการ คือ 15% ดังนั้น ราคาสินคาคือ 20 + (20 x (5%+15%)) = 24 บาท กําไร (ขาดทุน) = ยอดขาย – ตนทุนขาย – คาใชจาย “ยอดขาย” คํานวณไดจาก ยอดขายเงินสดทั้งหมด+ยอดขายเงินเชื่อทั้งหมด “ตนทุนขาย” คํานวณไดจาก สินคาตนงวด + ยอดซ้ือสินคา – สินคาปลายงวด “คาใชจาย” = รายจายที่เกิดจาการดําเนินงานทั้งหมดของรานเชน คาจางคนขาย คาน้ํา คาไฟฟา คาขนสง ฯลฯ

2. ตั้งราคาขายโดยการสํารวจรานคา ใหเทากับราคาของรานโชหวย ภายในหมูบาน ในสินคาเครื่องดื่ม และสินคาแฟชั่น

Page 93: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

80

การจัดสรรกําไรและเงินปนผล เหตุผลและความจําเปนในการจัดสรรเงินกําไรแตละประเภทมีหลักการในการพิจารณา ดังนี้

1. เงินสํารองของรานคา รอยละ 10 เพื่อใหรานคามีเงินทุนเพียงพอในการสั่งซ้ือสินคามาจําหนายมีเงินทุนเปนของตนเองมากขึ้น และเพื่อการขยายและพัฒนากิจการของรานคาใหเจริญกาวหนาตอไปในอนาคต

2. เงินคาตอบแทนผูขาย 6,000 บาท ตอเดือนเพื่อเปนขวัญและกําลังใจแกผูขายที่จะรวมกันบริการสมาชิกรานคาใหบรรลุเปาหมาย

3. เงินคาตอบแทนกรรมการ รอยละ 10 เพื่อเปนขวัญและกําลังใจแกคณะกรรมการที่จะรวมกันบริหารกิจการรานคาใหบรรลุเปาหมาย

4. คาเสื่อมครุภัณฑ 10% หลังจากนั้นแบงจัดสรรที่เหลือคิดเปนรอยละ 100 แลวจัดสรรดังนี้

1. เงินปนผลตามหุน รอยละ 40 เพื่อเปนแรงจูงใจในการรวบรวมและเพิ่มจํานวนสมาชิก โดยตองการใหรานคามีจํานวนสมาชิกและทุนเพิ่มขึ้น จึงกําหนดอัตราการปนผลตามหุนใหอยูในระดับที่สูง

2. เงินปนผลตามยอดซื้อ รอยละ 60 เพื่อเปนแรงจูงใจสมาชิกในการซื้อสินคา โดยตองการใหสมาชิกซื้อสินคาจากรานคาชุมชนจํานวนมากขึ้น จึงกําหนดอัตราการปนผลตามยอดซื้อใหอยูในระดับที่สูง การสรุปปดบัญชีในรอบระยะเวลา 6 เดือน แลวประกาศปนผลในเดือนที่ 7 โดยไมมีรอบบัญชีที่เปนมาตรฐานขึ้นอยูกับการนําเสนอของประธานคณะกรรมการรานคา และมีมติจากที่ประชุมคณะกรรมการรานคา

Page 94: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

81

ตอนที่ 4 ลักษณะการมีสวนรวมในการจัดการรานคาชุมชน ตาราง 4 ลักษณะการมีสวนรวมในการจัดการรานคาชุมชน

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการดานทรัพยากรมนุษย การเสนอโครงการรานคาชุมชน สัมภาษณ ผูเสนอโครงการ นางแสงเดอืน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ผูนําชุมชน ประชาสัมพันธโครงการผานเครื่องเสียงในหมูบาน หัวหมวด ประชาสมัพันธโครงการผานการประชุมกลุมยอยภายในหมวดบาน เปนเวลาไมนอยกวา 1 เดือน (1 มิ.ย.48- 24 ก.ค. 48) ผูนําชุมชน เรียกประชุมประชาคมหมูบาน ที่ศาลาวดัพระเจานั่งแทน 24 ก.ค.48 เวลา 20.00 น. มีผูเขารวมประชุมจํานวน 760 คน

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ มีการเลือกผูอาวุโสเปนคณะกรรมการโครงการ SML ชั่วคราว 5 คน เพื่อดําเนนิการประชาคม โดยวิธีการเสนอชื่อ และมีผูรับรองเกิน 15 คน 1. นางแสงเดือน เชียงวงศ 2. นายพจน ปญญายืน 3. นายบุญธรรม นันตะภาพ 4. นายบุญเทา สมบูรณ 5. นายบุญสม หอมแกนจันทร

81

Page 95: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

82

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย การเสนอโครงการรานคาชุมชน สัมภาษณ ผูเสนอโครงการ นางแสงเดอืน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ผูนําชุมชน เรียกประชุมประชาคมหมูบาน ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 24 ก.ค.48 เวลา 20.00 น. มีผูเขารวมประชุมจํานวน 760 คน นางแสงเดือน เชียงวงศ นายพจน ปญญายืน นายไพศาล อินตะขัน นําเสนอโครงการรานคาชุมชน

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ กลุมผูเสนอโครงการไดนําเสนอรูปแบบโครงการในที่ประชุมใหรับทราบรายละเอยีดของโครงการรานคาชุมชน ใหที่ประชุมรับทราบ และรวมอภปิรายเสนอแนะ และมีมติเลือกโครงการรานคาชุมชน

การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย การเลือกคณะกรรมการ จัดตั้งรานคา สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดือน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ผูนําชุมชน เรียกประชุมประชาคมหมูบาน ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 24 ก.ค.48 เวลา 20.00 น. มีผูเขารวมประชุมจํานวน 760 คน ประธานเสนอคณะกรรมการจัดตั้งรานคา จากการสรรหาจากที่ประชุม พรอมแสดงคุณสมบัติประกอบ เปนรายๆ และมีเสยีงรับรองตั้งแต 15 คนขึ้นไป

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ ไดมีมติแตงตัง้คณะกรรมการจัดตั้งรานคาชุมชน ดังนี ้นางแสงเดือน เชียงวงศ เปน ประธานกรรมการ นายพจน ปญญายืน เปน รองประธานกรรมการ นางนงเยาว หอมแกนจันทร เปน เลขานุการ นางวัฒิตา ปารมี เปน ผูชวยเลขานุการ นายสุริยะพงษ ศรีอินแกว เปน เหรัญญิก

82

Page 96: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

83

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม นายบุญเทา สมบูรณ เปน เหรัญญิก

นายสุขคํา อินนันชัย เปน ผูชวยเหรญัญิก นางอัมรา ชัยสวัสดิ์ เปน ปฏิคม นางทัศนีย ศรีอินแกว เปน ผูชวยปฏคิม นางศิริพร แจคํา เปน ผูชวยปฏคิม นางลําดวน หอมแกนจันทร เปน ผูชวยปฏิคม ด.ต.สุรเดช ปารมี เปน ผูควบคุมและตรวจสอบ นายไพศาล อินตะขัน เปน ผูควบคุมและตรวจสอบ นายบุญศรี แสนเงิน เปน ผูควบคุมและตรวจสอบ นายบุญสม หอมแกนจันทร เปน ประชาสัมพันธ

การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย การกําหนดหลักเกณฑการรบัสมัครสมาชิก สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดอืน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น.

ผูนําชุมชน เรียกประชุมสมาชิกรานคาชุมชน ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 2 ม.ค.49 เวลา 20.00 น. สมาชิกชุมชนสงตัวแทนเขารวมประชุมครัวเรือนละ 1 คนจํานวน 349 คน ประธานใหคณะกรรมการจัดตั้งรานคาชุมชน แจงระเบียบรานคาชุมชนใหที่ประชุมรับทราบ เปดโอกาสให

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ,การรับผลประโยชน ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชนดังนี ้หมวดที่ 1 ชื่อ ประเภท ที่ตั้งสํานักงาน หมวดที ่2 วัตถุประสงครานคาชุมชน

83

Page 97: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

84

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

สมาชิกอภิปรายแกไข และลงมติรับรอง หมวดที่ 3 ทุน และการจดัหาทุน หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ หมวดที่ 5 การจัดสรรผลกําไร หมวดที่ 6 คุณสมบัติผูขาย หมวดที่ 7 การพนสมาชิกภาพ

การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย การเลือกคณะกรรมการบริหารรานคา สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดอืน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ผูนําชุมชน เรียกประชุมสมาชิกชุมชน ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 2 ม.ค.49 เวลา 20.00 น. สมาชิกชุมชนสงตัวแทนเขารวมประชุมครัวเรือนละ 1 คน จํานวน 349 คน ประธานเสนอคณะกรรมการบริหารรานคา จากการสรรหาจากที่ประชุมสมาชิก พรอมแสดงคุณสมบตัิประกอบ เปนราย ๆ และมเีสียงรับรองตั้งแต 15 คนขึ้นไป

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ ไดมีมติแตงตัง้คณะกรรมการบริหารรานคาชุมชน ดังนี ้นายบุญเทา สมบูรณ เปน ประธานกรรมการ นายสุรินทร เชียงวงศ เปน รองประธานกรรมการ นายสุขคํา อินนันชัย เปน เหรัญญิก นางอัมรา ชัยสวัสดิ์ เปน กรรมการฝายจัดซื้อ นางวัฒิตา ปารมี เปน กรรมการฝายบัญชี นางนงเยาว หอมแกนจันทร เปน กรรมการฝายตรวจสอบ นางวราภรณ ศรีอินแกว เปน กรรมการฝายตรวจสอบ นางศิริลักษณ วงศเขียว เปน กรรมการฝายขาย

84

Page 98: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

85

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย การพัฒนาคน สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที ่17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น. สัมภาษณสมาชิกรานคา นางศิริลักษณ วงศเขียว วนัที ่17 ก.ค.53 เวลา 14.00 น. สัมภาษณคณะกรรมการรานคา วันที่ 24 ก.ย.54

ไมพบการใหความรูกับสมาชิก ใหเขาใจระบบการบริหารรานคา พบการใหความรูกับคณะกรรมการ ใหเขาใจระบบการบริหารรานคา

การมีสวนรวมของสมาชิก มี 1 ระดับชั้น คอื การรับผลประโยชน โดยทําหนาที่เปนผูซื้อ และรอรับเงินเงินปนผล การมีสวนรวมของคณะกรรมการบริหารรานคา มี 4 ระดับชั้น คือ การตัดสินใจ การดําเนินการ การรับผลประโยชน และการประเมินผล

การจัดการ ดานการตลาด การเลือกทําเลที่ตั้ง สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที ่17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น.

คณะกรรมการจัดตั้งรานคาชมุชน จัดประชมุ ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 24 ธ.ค.48 เวลา 20.00 น. สมาชิกเขารวมประชุม 15 คน ประธานเสนอคณะกรรมการบริหารรานคา อภิปรายนําเสนอสถานที่ตั้งรานคา พรอมแสดงคุณสมบัติประกอบ เปนรายๆ และมีมติรับรองสถานที่ดวยฉันทามตขิองคณะกรรมการ ผูนําชุมชน เรียกประชมุสมาชิกรานคาชุมชน ที่ศาลาวัดพระเจานัง่แทน

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ, การดําเนนิการ, การรับผลประโยชน ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 1 ชื่อ ประเภท ที่ตั้งสํานักงาน

85

Page 99: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

86

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม 2 ม.ค.49 เวลา 20.00 น. สมาชิกชุมชนสงตวัแทนเขารวม

ประชุมครัวเรือนละ 1 คนจํานวน 349 คน ประธานใหคณะกรรมการจัดตั้งรานคาชมุชน แจงระเบียบรานคาชุมชนใหที่ประชุมรับทราบ เปดโอกาสใหสมาชิกอภิปรายแกไข และลงมติรับรอง

การจัดการ ดานการตลาด การจัดการรานคา สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดือน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ผูนําชุมชน เรียกประชุมสมาชิกรานคาชุมชน ที่ศาลาวัดพระเจานั่งแทน 2 ม.ค.49 เวลา 20.00 น. สมาชิกชุมชนสงตัวแทนเขารวมประชุมครัวเรือนละ 1 คนจํานวน 349 คน ประธานใหคณะกรรมการบริหารรานคาชุมชน ดําเนิการตามระเบียบรานคาชุมชน โดยเสนอแผนกิจกรรม ดังนี้ 1. ดําเนินการกอสรางอาคารรานคา 2. เปดจําหนายหุน 3. ติดตั้งระบบไฟฟา และประปา 4. จัดซื้อครุภัณฑ

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ,การรับผลประโยชน ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

86

Page 100: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

87

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม 5. จัดซื้อสินคา

6. จําหนายสินคา 7. สรุปกําไรขาดทุนรายวนั

การจัดการ ดานการตลาด การจัดการรานคา สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดือน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

คาใชจายเริ่มตน 257,500 บาท 1. ดําเนินการกอสรางอาคารรานคา ขนาด 12x8 เมตร

โดยจางเหมา วงเงิน 200,000 บาท ระยะเวลากอสราง ไมเกิน 90 วัน ผูรับผิดชอบ นายบณุเทา สมบูรณ

2. เปดจําหนายหุน จําหนายหุน ๆ ละ 50 บาท จํากัดการถือหุนสูงสุดไมเกิน 20 หุน วงเงิน 204,500 บาท สมาชิกเขารวม 414 ราย ระดมหุนไดจํานวน 4,090 หุน ระยะเวลาเปดจําหนาย ไมเกนิ 90 วัน ผูรับผิดชอบ นายสุขคํา อินนันชัย

3. ติดตั้งระบบไฟฟา และประปา ติดตั้งระบบไฟฟา และประปา วงเงิน 7,000 บาท ระยะเวลาดาํเนินการ ไมเกิน 40 วัน ผูรับผิดชอบ นายไพศาล อินตะขัน

การมีสวนรวมในการประเมนิผล ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

87

Page 101: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

88

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการ ดานการตลาด การจัดการรานคา สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดือน เชยีงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

4. จัดซื้อครุภัณฑ วงเงินรวม 50,500 บาท ตูแชแบบ 2 ประตู 1 ตู วงเงิน 21,100 บาท โตะเหล็ก 1 ตัว วงเงิน 3,800 บาท ตูเอกสาร 1 ตู วงเงิน 2,600 บาท ชั้นวางสินคา 3 ชุด วงเงิน 3,000 บาท คอมพิวเตอรตั้งโตะ 1 ชุด วงเงิน 20,000 บาท ระยะเวลาดาํเนินการ ไมเกิน 40 วัน ผูรับผิดชอบ นายสุรินทร เชียงวงศ

การมีสวนรวมในการประเมนิผล ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

การจัดการ ดานการตลาด การจัดการรานคา สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที่ 17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น. สัมภาษณสมาชิกรานคานางศิริลักษณ วงศเขียว วนัที ่17 ก.ค.53 เวลา 14.00 น.

5. จัดซื้อสินคา วงเงิน 250,000 บาท จําหนายสินคา จํานวน 718 รายการ คลอบคลุม 4 กลุมสินคาหลัก

1. กลุมสินคาพื้นฐาน 2. กลุมสินคาใหม ที่มีการโฆษณาทางโทรทัศน 3. กลุมสินคาเทศกาล 4 . กลุมสินคาเฉพาะ หรือสินคาพิเศษ ผูรับผิดชอบ กรรมการฝายจัดซื้อ และกรรมการฝายขาย

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที ่2 วัตถุประสงครานคาชุมชน หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

88

Page 102: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

89

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม สัมภาษณคณะกรรมการรานคา วันที่ 24 ก.ย.54

6. จําหนายสินคา เปดจําหนายเวลา 06.00 – 19.00 น. ทุกวัน ราคาสนิคา = ตนทุนสินคา + (ตนทนุสินคา x (เปอรเซ็นตคาใชจายเฉลี่ย+เปอรเซนตกําไรตอหนวยที่เหมาะสม))

ราคาสินคา = ตนทุนสินคา + (ตนทุนสนิคา x 20%) การตั้งราคาคํานึงถึง ไมเบียดเบยีนสมาชิก,ราคาเทากบั รานโชหวยในหมูบาน, ต่ํากวา 7-11 ผูรับผิดชอบ ประธานกรรมการบริหารรานคา

การจัดการ ดานการตลาด การจัดการรานคา สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที ่17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น.

7. สรุปกําไรขาดทุนรายวนั เปดระบบการซือ้ขายเปน

เงินสดเทานัน้ จัดทํางบกําไรขาดทุนรายวัน ควบคุมตนทุนสินคาไมเกิน 250,000 บาท

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที ่2 วัตถุประสงครานคาชุมชน หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ หมวดที่ 5 การจัดสรรผลกําไร

89

Page 103: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

90

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการ ดานการตลาด การบริหารสินคา สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที่ 17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น. สัมภาษณสมาชิกรานคานางศิริลักษณ วงศเขียว วันที่ 17 ก.ค.53 เวลา 14.00 น. สัมภาษณคณะกรรมการรานคา วันที่ 24 ก.ย.54

การคัดเลือกสินคา บริหารสินคา จํานวน 718 รายการ คลอบคลุม 4 กลุมสินคาหลัก ในวงเงิน 250,000 บาท

1. กลุมสินคาพื้นฐาน 2. กลุมสินคาใหม ที่มีการโฆษณาทางโทรทัศน 3. กลุมสินคาเทศกาล 4. กลุมสินคาเฉพาะ หรือสินคาพิเศษ

ผูรับผิดชอบ กรรมการฝายจัดซื้อ และกรรมการฝายขาย การนับสินคา ทําการสํารวจจํานวนสินคารายวัน เฉพาะสินคาอายุสั้น ทําการสํารวจจํานวนสินคารายเดือน เฉพาะสินคาจําเปน ทําการสํารวจจํานวนสินคาราย 6 เดือน ทกุกลุม กําหนดใหสินคาขาดหายไดไมเกิน 5% ของยอดขาย ผูรับผิดชอบ กรรมการฝายตรวจสอบสินคา

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ,การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

90

Page 104: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

91

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการ ดานการตลาด การบริหารสินคา สัมภาษณสมาชิกรานคา นางศิริลักษณ วงศเขยีว วันที่ 17 ก.ค.53 เวลา 14.00 น.

การลงบัญชี ใชการลงบัญชีในสมุดซื้อขายรายวัน ระบุเลขสมาชิก และจํานวนเงินที่ซื้อเทานั้น เงินสดยอย กําหนดใหมีเงนิสดยอยในมอืไวเปนเงินทอน 3,000 บาท

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ,การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

การจัดการดานการเงิน บัญชี และเงินปนผล การเงิน สัมภาษณผูเสนอโครงการ นางแสงเดอืน เชียงวงศ 24/01/55 19.00 น. ศึกษาจากเอกสารโครงการรานคาชุมชน ลว.24/07/48

ทุน จํานวน 504,500 บาท 1. รับงบประมาณจากโครงการรัฐบาล 300,000 บาท 2. เปดจําหนายหุนใหกับสมาชิก 204,500 บาท จําหนายหุนๆละ 50 บาท จํากัดการถือหุนสูงสุดไมเกนิ 20 หุน สมาชิกเขารวม 414 ราย ระดมหุนไดจํานวน 4,090 หุน

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ, การดําเนนิการ, การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 3 ทุน และการจดัหาทุน

91

Page 105: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

92

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการดานการเงิน บัญชี และเงินปนผล บัญชี สัมภาษณประธานกรรมการบริหารรานคา วันที่ 17 ก.ค.53 เวลา 10.00 น.

การจัดทําการบันทึกบัญชี ประกอบดวย 1. สมุดบันทึกรายวัน มกีารจัดทําสมุดบัญชีซื้อขาย

รายวัน เพียง 1 เลม เพื่อควบคุมการซื้อขาย และสรุปกําไรขาดทุรายวัน

2. สมุดทะเบียนคุมสินคา 3. สมุดทะเบียนสมาชิก 4. สมุดทะเบียนทรัพยสิน 5. สมุดบันทึกเงนิทุน จัดประชุมชุมชนคณะกรรมการบริหารรานคาชุมชน ประชุม เพื่อชี้แจงงบดุล และใหสมาชกิลงมติรับรอง ในรอบบัญชีละ 6 เดือน

การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมติรับรองระเบียบรานคาชุมชน ดังนี ้หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ

92

Page 106: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

93

ตาราง 4 (ตอ)

ลักษณะการดําเนินงาน วิธีสรางการมสีวนรวม ระดับขั้นของการมีสวนรวม การจัดการดานการเงิน บัญชี และเงินปนผล เงินปนผล สัมภาษณคณะกรรมการรานคา วันที่ 24 ก.ย.54 09.00 น.

จัดประชุมคณะกรรมการบรหิารรานคาชุมชนประชุม กรรมการเพื่อสรุปขอมูลผลการดําเนนิงาน จัดสรรเงินปนผลตามมติ จัดประชุมชุมชนลงมติรับรองเงินปนผล และกําหนดเกณฑการปนผลในรอบบัญชีใหม การจัดสรรกําไร และเงนิปนผล เปนดังนี้ 1. เงินสํารองรานคา รอยละ 10 2. เงินคาตอบแทนคนขาย 6,000 บาทตอเดือน 3. เงินคาตอบแทนคณะกรรมการ รอยละ 10 4. คาเสื่อมครุภัณฑ รอยละ 10 คงเหลือนํามาคิดเปนรอยละ 100 แลวจัดสรรดังนี้ 1. เงินปนผลตามจํานวนหุน รอยละ 40 2. เงินปนผลตามยอดซื้อ รอยละ 60

การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ,การดําเนินการ,การรับผลประโยชน และการประเมินผล ไดมีมตริับรองระเบียบรานคาชุมชนดังนี ้หมวดที ่2 วัตถุประสงครานคาชุมชน หมวดที่ 3 ทุน และการจดัหาทุน หมวดที่ 4 การดําเนินงาน และหนาที่ของคณะกรรมการ หมวดที่ 5 การจัดสรรผลกําไร หมวดที่ 6 คุณสมบัติผูขาย

93

Page 107: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

94

ตอนที่ 5 รายงานงบการเงิน ตาราง 5 งบดลุ รานคาชุมชนบานกลวยมวง

รอบบัญชี หนวย : บาท รายการ

มี.ค. 54 - ส.ค. 54 ก.ย. 53 - ก.พ. 54 มี.ค. 53 - ส.ค. 53 ก.ย. 52 - ก.พ. 53 มี.ค. 52 - ส.ค. 52 สินทรัพย

1. สินทรัพยหมนุเวยีน เงินสด และเงนิฝากธนาคาร 245,140 228,640 215,240 201,574 160,000 ลูกหนี้ระยะสั้น 100,000 - - - - สินคาคงเหลือ 276,990 320,974 314,502 293,862 317,122 2. อุปกรณ 103,620 23,000 17,000

รวมสินทรัพย 622,130 653,234 552,742 512,436 477,122

94

Page 108: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

95

ตาราง 5 (ตอ)

รอบบัญชี หนวย : บาท รายการ มี.ค. 54 - ส.ค. 54 ก.ย. 53 - ก.พ. 54 มี.ค. 53 - ส.ค. 53 ก.ย. 52 - ก.พ. 53 มี.ค. 52 - ส.ค. 52

หนี้สิน และสวนของผูถือหุน 1. หนี้สินหมนุเวยีน - - - - - เงินกูยืม - - - - - 2. หนี้สินอื่น (เงนิกู SML) 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000

รวมหนี้สิน 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000 3. สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน 215,150 210,300 206,450 207,400 207,400 ทุนสะสมรวม 327,362 291,214 255,092 219,896 181,422

รวมสวนของผูถือหุน 622,130 653,234 552,742 512,436 477,122

95

Page 109: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

96

ตาราง 6 งบกาํไรขาดทุน รานคาชุมชนบานกลวยมวง

รอบบัญชี หนวย : บาท รายการ มี.ค. 54 - ส.ค. 54 ก.ย. 53 - ก.พ. 54 มี.ค. 53 - ส.ค. 53 ก.ย. 52 - ก.พ. 53 มี.ค. 52 - ส.ค. 52

รายได รายไดจากการขาย 1,741,421 1,558,173 1,781,762 2,031,107 2,031,107 คาใชจาย รวมคาใชจาย 1,560,684 1,377,566 1,605,787 1,838,735 1,838,893 กําไร (ขาดทุน) 180,737 180,607 175,975 192,372 192,214 เงินสํารองรานคา (10%) 18,074 18,061 17,598 19,237 19,221 เงินคาตอบแทนผูขาย (6,000 ตอเดือน) 37,000 36,000 36,000 36,000 36,000 เงินคาตอบแทนกรรมการ (10%) 18,074 18,061 17,598 19,237 19,221 คาเสื่อมครุภัณฑ (10%) 18,074 18,061 17,598 19,237 19,221 ยอดคงเหลือเพื่อจัดสรร 89,516 90,425 87,183 98,660 98,550 เงินปนผลตามหุน (40%) 35,806 36,170 34,873 39,464 39,420 เงินปนผลตามยอดซื้อ (60%) 53,710 54,255 52,310 59,196 59,130

96

Page 110: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

97

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการรานคาชุมชนแบบ มีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยใชวิธีเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และเก็บขอมูลในพื้นที่ภาคสนาม โดยรวมเปดเวทีชาวบานรวมกับชุมชน ประชุมกลุมยอย ใชการสังเกตแบบมีสวนรวม บันทึกคําพูด บันทึกภาพถาย จัดทําแฟมสะสมงาน พรอมจดบันทึกเหตุการณปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไวเปนหลักฐานเปนเครื่องมือในการรวบรวม รวมทั้งใชการสังเกตปรากฏการณตาง ๆ ที่ปรากฏเดนชัด มองเห็นเปนรูปธรรม ซ่ึงขอมูลที่ไดเกิดขึ้นจริงจากเวทีชาวบาน ตลอดจนใชการสัมภาษณขอมูลที่ไมชัดเจนจากการสังเกตเพิ่มเติมจากผูใหขอมูล เพื่อใหขอมูลนั้นสมบูรณที่สุด โดยบันทึกคําพูด บันทึกภาพถาย แลวนําขอมูลที่รวบรวมไดมาวิเคราะหแบบสรางขอสรุปโดยใชการเปรียบเทียบ และนําเสนอผลการวิจัยในรูปของการบรรยาย และความเรียง

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษา การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง สรุปผลการศึกษาได ดังนี้ ชุมชนบานกลวยมวงเปนหมูบานขนาดกลาง อยูในตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง สภาพโดยทั่วไปเปนชุมชนชาวไทลื้อที่อพยพมาจากเมืองสิบสองปนนา ซ่ึงปจจุบันอยูในเขตประเทศจีน ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพการเกษตร คาขาย รับจางแรงงาน และรับราชการ และชาวชุมชนบานกลวยมวงมีนิสัยรักความสงบ มีความขยันขันแข็ง และมีวัฒนธรรมที่ดีงามผูคนในชุมชนมีลักษณะเปนสังคมเครือญาติ สมาชิกของหมูบานตางรูจักกันเปนอยางดี มีการพึ่งพาอาศัยกัน มีสภาพความเปนอยูที่เรียกวาสงบสุข ปจจุบันชุมชนบานกลวยมวงมีประชากร 1,480 คน แยกเปนชาย 500 คน และหญิง 980 คน (เทศบาลเขลางคนคร ณ ธันวาคม 2554) ซ่ึงหากนับเปนจํานวนครัวเรือนจัดไดวาเปนชุมชนหมูบานขนาดกลางเพราะ มีอยู 345 ครัวเรือนทั้งนี้เปนหมูบานที่ตั้งขึ้นมาเปนเวลานาน โดยสมาชิกของหมูบานเปนชาวไทลื้อ

Page 111: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

98

รานคาชุมชนบานกลวยมวง เกิดจากการที่ชาวบานตองการซื้อสินคาที่จําเปนในราคายุติธรรม เพื่อลดและประหยัดคาใชจายภายในครัวเรือน ซ่ึงชาวบานไดเริ่มตนดําเนินการเองเมื่อป พ.ศ. 2545 โดยมีคณะกรรมการรานคาตามโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน(SML) เปนแกนสําคัญในการดําเนินการ ดวยการรวบรวมสมาชิกที่สมัครใจเขามาลงหุนคนละ 50 บาท โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแลแยกตามหนาที่อยางชัดเจน พรอมกับการปรับปรุงระบบบัญชีอยางงาย การจัดระบบสินคา ตลอดจนมีการสรางเครือขายเพื่อประสานงานกับแหลงสินคาราคายุติธรรม ซ่ึงที่ตั้งอยูในทําเลที่เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ โดยอยูในพื้นที่ธรณีสงฆวัดพระเจานั่งแทนซ่ึงเปนวัดประจําหมูบาน และมีตลาดสด และสถานีอนามัยตั้งอยูในบริเวณเดียวกันดวย ลักษณะการบริหารจัดการรานคาชุมชน มีการกําหนดรูปแบบการบริหารจัดการรานคาชุมชน โดยใหประชาชนในหมูบานรวมกันลงทุนถือหุนในรูปสมาชิก เพื่อจัดหาสินคาอุปโภคบริโภคมาจําหนายใหกับสมาชิก ทั้งนี้ สมาชิกจะตองเลือกตั้งกลุมบุคคลซึ่งเรียกวา “คณะกรรมการ” เพื่อทําหนาที่บริหารและดําเนินการจัดการรานคาชุมชนซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อทําใหสมาชิกสามารถซื้อสินคาถูกกวาหรือเทากับที่ซ้ือจากรานคาทั่วไป ชวยตรึงราคาสินคาอุปโภคบริโภคในหมูบานไมใหสูงจนเกินไป ชวยใหประหยัดเวลาและคาใชจายสามารถซื้อสินคาไดสะดวกยิ่งขึ้น เปนการสรางความสามัคคีในหมูบาน และทําใหสมาชิกรูจักการคาขายและรูจักการทํางานเปนหมูคณะ   การจัดการธุรกิจรานคาชุมชน ไดมีการกําหนดการจัดการกับคน สินคา และเงินทุนดวยวิธีการที่งาย และเหมาะสมกับรานคามากที่สุด เพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ ในการประกอบธุรกิจรานคา มีส่ิงสําคัญที่ชุมชนบานกลวยมวงดําเนินการ คือ มีการวางแผนลวงหนา ดําเนินการไปตามแผนที่วางไว และมีการตรวจสอบ ควบคุมเปนระยะ ๆ มีการกําหนดเพื่อแกไขปญหาสมาชิกหมูบานสวนใหญไดจัดซ้ือส่ิงของมาอุปโภค บริโภคในราคาแพง ไมยุติธรรม รวมทั้งสิ่งของมีคุณภาพต่ํา และตองเสียเวลา คาน้ํามัน และเวลาในการเดินทางเขาไปในเมือง มีการกําหนดแผนงานการดําเนินงานไวเปนอยางดี และคณะกรรมการทุมเททํางานมีความพรอม เสียสละเพื่อสวนรวม กําหนดทิศทางการปฏิบัติงานและลดความซ้ําซอนในการทํางาน เพื่อใหเกิดการประหยัดทั้งเงินทุนและเวลา และนอกจากนี้ยังไดมีการกําหนดระเบียบรานคาชุมชน และโครงสรางการบริหารรานคาชุมชนไวอยางชัดเจน การจัดการเกี่ยวกับสินคา รานคาชุมชนบานกลวยมวงไดมีการจัดการสินคา โดยมีการจัดผังรานคา (Layout) โดยใหลูกคาสามารถเดินไดรอบรานใหมากที่สุด เพื่อท่ีสินคาทุกแผนกจะไดมีโอกาสขาย แตตองใหใชเวลาสั้นที่สุด เสนทางสัญจรภายในราน (Traffic Flow) จัดใหยาว

Page 112: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

99

ที่สุดเทาที่จะทําได ดวยการใหลูกคาเดินผานสวนตาง ๆ ของราน และเชื่อมตอกันไดทั้งหมด การกําหนดทางเดินสําหรับลูกคาภายในรานมีการวางผังสินคาในรานที่เหมาะสม เพื่อใหลูกคาเดินทางไปยังจุดที่ตองการใหเดินเขาไป หรือเดินไดรอบทั้งราน การจัดวางสินคาที่สรางความประทับใจ (First Impression Merchandise) สินคาที่ถัดจากประตูทางเขา จะตองใหความประทับใจและกระตุนลูกคาใหอยากเดินเขาไปชมในรานเปนสินคาประเภทเครื่องสําอางหรือน้ําหอม เพราะสินคาเหลานี้มีกลิ่นที่หอมดึงดูดใจ ขณะเดียวกันก็มีลักษณะการจัดวางสินคาที่สวยงาม และขนมดึงดูดใจกอนอยูเสมอ ชนิดของการใหบริการ (Service) เปนลักษณะการเลือกซื้อสินคาแบบบริการตนเอง (Self Service) หลักสําคัญก็คือสินคาถูกนํามาจัดวางบนหิ้ง ช้ันวางสินคาหรือโตะที่ลูกคา สามารถหยิบดูลองดูได และประสิทธิภาพในการควบคุมดูแล ภายในรานคาตําแหนงแคชเชียรหรือคนขายกําหนดใหอยูในตําแหนงที่สามารถมองเห็นประตูทางเขาออกไดชัดเจนที่สุด และติดตั้งกลองวงจรปดเพื่อปองกันการขโมยสินคา ทําเลที่ตั้ง รานคาชุมชนบานกลวยมวงตั้งอยูในทําเลที่ดี มีความหนาแนนของลูกคา ตั้งอยูกึ่งกลางชุมชน ตั้งอยูบนที่ดินของวัด ติดถนนลาดยาง ใกลกับโรงพยาบาลชุมชน และตลาดสดของชุมชน มีโรงงานที่ใชแรงงานคนจํานวนมาก ทั้งนี้ ใหความสําคัญในการบริการสมาชิกรานคาเปนหลัก สินคาและบริการ รานคาชุมชนบานกลวยมวงจะนําสินคาเขามาจําหนายใหสอดคลอง และตรงกับความตองการของลูกคา โดยมีหลักการพิจารณากลุมสินคาหลัก คือ กลุมสินคาพื้นฐานไดแก สินคาบริโภคที่จําเปนในชีวิตประจําวัน สินคาสําหรับกลุมลูกคาทั่วไป สินคาอุปโภคที่จําเปนในชีวิตประจําวัน สินคาอุปโภคภายในบาน สินคาอุปโภคสวนบุคคล สินคาอุปโภคอื่นๆ สินคาบริโภค/อุปโภค ที่ซ้ือเพื่อความพึงพอใจ สินคาบริโภค และสินคาอุปโภค กลุมสินคาใหม ไดแก สินคาใหมที่มีการทําโฆษณาทางทีวี วิทยุ และหนังสือพิมพ ทําใหมีลูกคาถามถึงจะพิจารณานํามาจําหนายที่รานในปริมาณที่พอเหมาะกอน โดยการทําประชาสัมพันธ กลุมสินคาเทศกาลจะเปนสินคาที่ควรนํามาจําหนายที่รานในแตละชวงเทศกาล กลุมสินคาเฉพาะ/พิเศษ เปนการสรางความแตกตางใหกับรานคา และรานคูแขง โดยนําเอาสินคาเฉพาะ หรือพิเศษมาจําหนายที่รานเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกคา นอกจากนั้นยังไมมีสินคาทําลายสุขภาพเขามาจําหนายเชน บุหร่ี เปนตน แผนผังรานคาและการจัดเรียงสินคา รานคาชุมชนบานกลวยมวงใหความสําคัญในเร่ืองการสรางความพึงพอใจ และดึงดูดลูกคาใหเขามาที่ราน เร่ืองของปริมาณความหลากหลายของสินคา และบริการที่จะมีนําเสนอของรานคา และสัมพันธกับพื้นที่ขายภายในราน สวนหลัก ๆ คือ หนารานและทางเขาราน เปนจุดสําคัญที่ตองคํานึงถึงเนื่องจากเปนจุดแรก ที่สามารถดึงดูดลูกคาให

Page 113: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

100

เขามาใชบริการในราน พื้นที่ภายในรานการจัดเรียงชั้นวาง อยูในตําแหนงโอบลอมภายในราน และมีชองทางเดินที่พอสมควรใหกับลูกคา จุดตั้งวางอุปกรณตูแชตั้งอยูในจุดที่ลูกคาสามารถใชบริการไดอยางสะดวก และเคานเตอรแคชเชียรอยูในตําแหนงที่สามารถตอนรับลูกคา และดูแลรานคาไดทั่วถึง พื้นที่หลังรานใชเปนที่เก็บสินคาคงคลัง โดยแยกระหวางสินคาบริโภค อุปโภค และสินคาวัตถุมีพิษ และเปนที่จําหนายสินคาแบบยกหีบ ซ่ึงหลักการจัดเรียงสินคาพื้นฐาน จะมีการแยกกลุมสินคาแตละประเภท และเรียงสินคาที่มีความเกี่ยวเนื่องกันอยูใกลกัน ใหพื้นที่จัดเรียงตามสัดสวนของยอดขายของสินคา เพื่อลดปญหาสินคาขาด และการไหลเวียนของเงินทุน และใหพื้นที่พิเศษ สําหรับสินคาที่ทํารายการสงเสริมการขาย หรือสินคาใหมที่ตองทําประชาสัมพันธ ทั้งนี้ ในสวนของการตกแตงรานคา รานคาชุมชนบานกลวยมวงการสรางความประทับใจใหแกลูกคา โดยการจัดรานคาชุมชนใหเหมือนกับบานพักอาศัยของชุมชน การจัดสินคาคงคลัง รานคาชุมชนบานกลวยมวงมีการบริหารสินคาคงคลังที่ดี เพื่อใหปริมาณสินคามีเพียงพอตอความตองการของลูกคา และควบคุมเงินทุนหมุนเวียนที่มีอยู ไมใหจมไปกับสินคาที่ซ้ือมากักตุนจนมากเกินไป มีปจจัยในการควบคุมระดับสินคาคงคลัง คือ พิจารณาความถี่ของการเลือกสินคาเขาราน ความพรอมของเงินทุนหมุนเวียน ที่นํามาใชในการลงทุนซื้อสินคา ปริมาณขายออกของสินคาแตละตัว จะเปนตัวชวยระบุปริมาณสินคาคงคลังที่ตองการ และความผันผวนของราคาสินคา ซ่ึงอาจเกิดขึ้น ระบบการควบคุมสินคาคงคลังใชระบบการควบคุม 2 ระบบ คือ การทําบัญชีมือ และนับจํานวนสินคาที่เหลือในคลัง และที่ช้ันปกติดวยบุคคลากร ระบบการจัดการแบบอิเล็คโทรนิคส (E-POS หรือ Electronic Point-of Sales System) มีการเก็บสินคาคงคลังที่ถูกตองแยกหมวดหมูสินคาอยางชัดเจน ไมวางปะปนกัน โดยแบงออกเปน 3 กลุมสินคาหลักคือ สินคาบริโภค อุปโภค และสินคาวัตถุมีพิษ ราคา และผลกําไร รานคาชุมชนบานกลวยมวงมีการตั้งราคาสินคาโดยไมมุงหวังผลกําไรสูงสุด หลักการพื้นฐานในการตั้งราคาสินคา โดยคํานวณตนทุนของตัวสินคา บวก กับคาใชจายเฉลี่ยในการดําเนินรานคา แลวคํานวณออกมาในรูปแบบเปอรเซ็นต ซ่ึงเปนสัดสวนกับยอดขายรวมของรานตอเดือน แลวจึงนํามาบวกกับผลกําไรที่ตองการราคาที่ตั้งเปนราคาที่สามารถแขงขันได การจัดสรรกําไรและเงินปนผล รานคาชุมชนบานกลวยมวงมีการจัดสรรเงินกําไรแตละประเภทมีหลักการในการพิจารณา คือ เปนเงินสํารองของรานคา รอยละ 10 เพื่อใหรานคามีเงินทุนเพียงพอในการสั่งซ้ือสินคามาจําหนายมีเงินทุนเปนของตนเองมากขึ้น และเพื่อการขยายและพัฒนากิจการของรานคาใหเจริญกาวหนาตอไปในอนาคต เปนเงินคาตอบแทนผูขาย 6,000 บาท ตอเดือน

Page 114: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

101

เพื่อเปนขวัญและกําลังใจแกผูขายที่จะรวมกันบริการสมาชิกรานคาใหบรรลุเปาหมาย เปนเงินคาตอบแทนกรรมการ รอยละ 10 เพื่อเปนขวัญและกําลังใจแกคณะกรรมการที่จะรวมกันบริหารกิจการรานคาใหบรรลุเปาหมาย หลังจากนั้นจัดสรรเปนคาเสื่อมครุภัณฑรอยละ 10 หลังจากนั้นนําเงินจํานวนที่เหลือนํามารวมเปนรอยละ 100 นํามาจัดสรรเปน 2 สวน ดังนี้เปนเงินปนผลตามหุน รอยละ 40 เพื่อเปนแรงจูงใจในการรวบรวมและเพิ่มจํานวนสมาชิก โดยตองการใหรานคามีจํานวนสมาชิกและทุนเพิ่มขึ้น และเปนเงินปนผลตามยอดซื้อ รอยละ 60 เพื่อเปนแรงจูงใจสมาชิกในการซ้ือสินคา โดยตองการใหสมาชิกซื้อสินคาจากรานคาชุมชนจํานวนมากขึ้น

อภิปรายผล การศึกษาการวิจัยเรื่อง การจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เพื่อตอบคําถามสําคัญที่วา ชุมชนบานกลวยมวงมีรูปแบบการจัดการรานคาชุมชนอยางไร ผลการศึกษาพบวามีความสอดคลองกับหลักกการดําเนินธุรกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

1. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ รานคาชุมชนอาศัยหลักขอนี้เปนการกําหนดใหเกิดกิจกรรมรานคาชุมชนบานกลวยมวง เพราะปจจุบันชุมชนมีคาใชจายเกี่ยวกับการอุปโภค และบริโภค เปนจํานวนเงินเฉลี่ยปละประมาณ 2,000,000 บาท และเปนการใชจายอยูภายนอกชุมชนเกือบรอยละ 80 ดังนั้นคณะผูนําชุมชนไดมองเห็นการอุปโภค บริโภคภายในชุมชน ที่ตองอาศัยแหลงจําหนายภายนอกชุมชน ทําใหเงินทุนจํานวนมากที่ถูกใชจายไหลออกนอกชุมชน แตหากหยุดการไหลออกของเงินจํานวนนั้น แลวปรับใหการไหลเวียนของเงินอยูในชุมชน โดยนําเงินมารวมกันซ้ือสินคาที่ทุกคนตองใช นอกจากจะตอรองราคาตอหนวยใหถูกลงแลว ยังเปนการพึ่งพาตนเองของชุมชน โดยขอเท็จจริงแลวหากชุมชนสามารถรักษากระแสเงินเหลานี้ใหสามารถหมุนเวียนอยูภายในชุมชนได ก็จะทําใหชุมชนเกิดความเขมแข็ง ปริมาณหนี้สินที่แตละครอบครัวภายในชุมชนก็จะเริ่มลดลงได เพราะจากผลการสัมภาษณคนภายในชุมชนพบวามีการใชจายไปกับสินคา เพื่อการอุปโภค และบริโภค เฉล่ียรอยละ 50 และกิจกรรมรานคาชุมชนนี้เปนการรวมกันซ้ือ นั่นหมายถึงอํานาจตอรองการซื้อสินคาจะมีมากขึ้น ทําใหราคาของสินคาที่ตองการซื้อนั้นถูกลง และเปนการซื้อในราคาตนทุนจริง เพราะสวนของกําไรก็จะไดรับการจัดสรรคืนเมื่อมีการปนผลเกิดขึ้น ซ่ึงนั่นจึงเปนเหตุผลที่ทําใหกิจกรรมรานคาชุมชนบานกลวยมวงถือกําเนิดขึ้นมา

Page 115: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

102

2. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเอง และผูอ่ืน เชน การผลิต และบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ หลักขอนี้ไดนําพาใหเกิดกิจกรรมขึ้นมาไดเนื่องจาก การกําหนดราคาหุน ๆ ละ 50 บาท และจํานวน 20 หุนเปนจํานวนสูงสุดที่แตละคนจะสามารถครอบครองได เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าของชองวางดานรายไดของคนในชุมชน ทําใหสมาชิกที่มีรายไดต่ําก็สามารถรวมเปนเจาของได ขณะเดียวกันก็ปองกันสมาชิกที่มีรายไดสูง เขามาครอบครองหุนมากจนเกินความจําเปน เพราะการจําหนายสินคามุงขายสินคาที่สมาชิกตองการเทานั้น เพราะการสํารวจความตองการปริมาณสินคาที่เกิดขึ้นในแตละเดือนเฉล่ียประมาณ 250,000 บาท หากมีการกําหนดราคาหุนที่สูงมากกวา 50 บาท ก็จะเปนภาระที่มากเกินไปสําหรับสมาชิกชุมชนที่มีรายไดนอย และจากการกําหนดการประชาคมของชุมชนตางเห็นวาเปนมูลคาที่เหมาะสม โดยประกอบกับการไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน (SML) ของรัฐบาลจํานวน 300,000 บาท ซ่ึงเปนงบประมาณที่ใหเปลาไมมีการเรียกคืน จึงเปนประโยชนอยางยิ่งที่จะนํางบประมาณดังกลาวมาลงทุนในสิ่งปลูกสรางอาคารรานคา และตกเปนทรัพยสินของชุมชน ในพื้นที่ธรณีสงฆ วัดพระเจานั่งแทน สวนชุมชนก็ระดมทุนในสวนของเงินทุนหมุนเวียนในการบริหารจัดการรานคาที่เหมาะสม บนหลักของความพอประมาณ

3. ภูมิคุมกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต

การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัวถือเปนจุดแข็งในการจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง ไดแก

การขายสินคาดวยระบบเงินสด ทําใหไมมีภาระเร่ืองของการติดตามทวงถาม และมีกระแสเงิสดหมุนเวียนอยางพอเพียงในการบริหารจัดการรานคา

การขายสินคาที่สมาชิกตองการซื้อเทานั้น เพื่อปองกันการหมดอายุของสินคาหากเก็บไวเปนเวลานาน พรอมทั้งไมมีการจําหนายสินคาประเภทอาหารสด เนื่องจากการจัดตั้งรานคาอยูติดกับตลาดสดของชุมชน

การสรางระบบบัญชีที่เขาใจงาย ไมสลับซับซอน โดยใชสมุดทั่วไปรายวันควบคุมทุกกิจกรรม ทุกรายการที่เกิดขึ้นในแตละวัน และมีการสรุปผลกําไรขาดทุนทันทีที่ปดราน

การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัวยังถือเปนจุดออน และอุปสรรคในการจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง เนื่องจาก

Page 116: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

103

คณะกรรมการบริหารรานคา ยังคงยึดที่ตัวบุคคลเปนหลักในการบริหารรานคา ไมมีการหมุนเวียน หรือสรางคนกลุมใหมเพื่อเตรียมความพรอมในการรับชวงการบริหารรานคาชุมชนตอไปในอนาคต และตามโครงสรางคณะกรรมการบริหารรานคา ยังขาดผูตรวจสอบกิจการ ที่จําเปนจะตองมีเพื่อคอยถวงดุลคณะกรรมการ และเสนอแนะคณะกรรมการ สมาชิก เพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางคณะกรรมการ และสมาชิก การเปนนิติบุคคลของรานคาชุมชน เปนอีกอุปสรรคในการบริหารรานคาชุมชน เนื่องจากยังไมมีการรับรองการเปนนิติบุคคลที่ถูกตองจากหนวยงานราชการ ซ่ึงในอนาคตหากมีการเขาตรวจสอบความถูกตองจากหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับรานคาชุมชน อาจทําใหรานคาไมสามารถดําเนินกิจกรรมตอไปได การจําหนายสินคาภายในรานคาชุมชน มีสินคาบางชนิดที่มีจําหนายในรานคาชุมชนที่ขัดกับขอกฏหมายพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. 2551 มาตรา 27 หามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลในสถานที่หรือบริเวณดังตอไปนี้ 1. วัดหรือสถานที่สําหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา การมีสวนรวมของสมาชิกชุมชน การวิจัยพบวาการมีสวนรวมของชุมชนลดลงเร่ือย ๆ การสัมภาษณรอยละ 100 จะเขารวมกิจกรรมในขั้นตอนของการซื้อสินคาเทานั้น แตในสวนของการรวมรับฟงการชี้แจงผลการดําเนินงาน จะใชวิธีการสงตัวแทนเขารวมประชุม และรับฟงการช้ีแจง และไมไดมีการถายทอดเนื้อหาการประชุม ซ่ึงไมสอดคลองกับหลักการมีสวนรวม ที่เปนกระบวนการซึ่งบุคคล หรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะและเขารวมในกิจกรรม ตาง ๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยู รวมทั้งมีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจขององคกร การมีสวนรวมเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซ่ึงประกอบไปดวย การแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย และเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคม ในขอเท็จจริงที่ปรากฏนี้อาจทําใหกิจกรรมรานคาชุมชนไดรับผลกระทบในดานการใหความรวมมือจากชุมชนลดลง และนําไปสูการปดตัวในที่สุด โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียง 2 ประการ ดังนี้

1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ กิจกรรมรานคาชุมชนบานกลวยมวง ไมไดนําความรู

Page 117: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

104

การบริหารรานคาจากภายนอก หรือตําราใด ๆ เพียงเลมเดียวมาเปนแนวทางการจัดการรานคา แตไดนําประสบการณ และวิถีการดํารงชีวิตของชาวไทลื้อในตาง ๆ ของชุมชน ชีวิตการทํางานของผูนําชุมชน ประสมประสานเขามาเปนองคความรูในการจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง มุงใชความรูความสามารถที่มีอยูในชุมชน โดยการจัดการของชุมชน แตยังคงอาศัยปราชญดานการคาขายที่มีในชุมชนเขามารวมชี้แนะเมื่อเกิดปญหา

2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต กิจกรรมรานคาชุมชนใชฐานคุณธรรมเปนหลักสําคัญอีกขอในการกอกําเนิดกิจกรรมรานคาชุมชน เนื่องจากมองเห็นปญหาสินคาขาดหายจากรานคาปลีกสวนใหญเกิดขึ้นจากการลัก ขโมย จากผูซ้ือ จนอาจจะกระทบการเงินทุนในการบริหารจัดการรานคา จึงกําหนดที่ตั้งใหอยูในบริเวณที่ธรณีสงฆ วัดพระเจานั่งแทน เพื่อใหผูซ้ือเกิดหิริ โอตัปปะ และหลักเกณฑในการคัดเลือกคณะกรรมการบริหารรานคา ไดคัดเลือกจากคนในชุมชนที่มีความพรอมในดานฐานะการเงินเพื่อปองกันการเขามาเบียดบังเงินทุนรานคา และมีจิตอาสาเขามาทําหนาที่ โดยมีพระสงฆเขามาเปนที่ปรึกษา เพื่อใหคําแนะนํา และส่ังสอนธรรม ใหเกิดขึ้นในชุมชน และสอดคลองกับผลงานวิจัยของบุญเลี้ยง ทุมทอง และเกษมศรี สุระสังข (2543) ผลการวิจัยศึกษาการพึ่งตนเองของชุมชนบานบะ ตําบลบะ อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร ทั้งนี้อาจเปนเพราะปรากฏการณที่รานคาชุมชนบานกลวยมวง สามารถดําเนินการจนประสบความสําเร็จไดเปนอยางดีนั้น สะทอนใหเห็นวาปจจัยหลักที่สงผลใหการดําเนินงานของรานคาประสบกับความสําเร็จ มี 3 ปจจัยสําคัญ คือ

1. เอกลักษณความสามัคคีของคณะผูนําชุมชนดวยวิสัยทัศนที่ดีของคณะผูนําชุมชน ทําใหเกิดแนวความคิดในการรวมกลุมกันขึ้นเพื่อตองการดูแลชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยางไรก็ตาม แมวาภาครัฐไดเขามาใหความชวยเหลือผานโครงการกองทุนหมูบาน แตชาวบานก็ยังจําเปนตองชวยเหลือตนเองเปนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานเงินทุน ทําใหชาวบานเริ่มมีการรวมกลุมแลวระดมเงินออมภายในหมูบาน ดวยการจัดตั้งกลุมออมทรัพยขึ้นมาเมื่อป พ.ศ. 2544 เพื่อใหชาวบานสามารถกูยืมไปทําการเกษตร และประกอบอาชีพดานอื่นๆ เชน เล้ียงสุกร เล้ียงปลา ปลูกผัก เปดรานซอมเครื่องยนต เปนตน และในระยะตอมาจึงไดมีการจัดตั้งรานคาชุมชนเขมแข็ง ขึ้น

2. การรวมกลุมที่เกิดจากแรงกระตุนของหนวยงานราชการดานงบประมาณ การที่มีกลุมกิจกรรมตาง ๆ เกิดขึ้นอยางชัดเจนเนื่องจากมีภาครัฐไดเขามาเปนแกนในการจัดตั้งสนับสนุนดานงบประมาณในระยะแรก ๆ และในระยะตอมามีภาคเอกชนไดเขามาใหการสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งการใหการสนับสนุนจากโครงการกองทุนหมูบาน ตอเนื่อง

Page 118: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

105

ดวยโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน (SML) ของรัฐบาล และการติดตามสนับสนุนของเทศบาลเขลางคนคร นับวามีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาชุมชนกลวยมวงเปนอยางมาก เพราะสามารถกลายมาเปนหมูบานที่มีความเขมแข็งและเปนหมูบานตัวอยางที่หลายหนวยงานสนใจเขามาศึกษาดูงาน สําหรับแนวความคิดในการพัฒนาชุมชนหมูบาน เกิดจากผูนํารุนใหมที่มีการศึกษาและสวนใหญรับราชการในหลายสาขาอาชีพ ไดเขามาเปนคณะกรรมการชุมชนหมูบาน และใหความสนใจในกระบวนการพัฒนาแบบใหม โดยคณะกรรมการมีการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและสรางกระบวนการเรียนรูเพื่อทําใหชาวบานมีกินกอน จากนั้นจึงมุงไปสูความยั่งยืนในลําดับตอไป ตามหลักการที่วา “ ชาวบานเปนผูกอ ชาวบานตองเปนผูแก” เมื่อชาวบานเขาใจถึงแนวความคิดและยินดีที่จะปรับเปลี่ยนวิธีคิด จนมีการจัดตั้งกลุมอาชีพตาง ๆ ไดแลว ก็จะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือน โดย คณะกรรมการเปนกําลังใจสําคัญในการกระตุนและย้ําเตือนใหชาวบานรวมมือกันสรางความเขมแข็งอยูเสมอ ๆ วา “คิดเอง ทําเอง มีเอง จึงคอยขยายไปเรื่อย ๆ แลวจะดีเอง” ซ่ึงหลักการดังกลาวนั้น เปนหลักการที่จะทําใหชาวบานมีการพึ่งพาตนเองภายใตแนวความคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง

3. การขยายผลจากระดมความคิดเพื่อแกปญหาปากทอง เมื่อปญหาเรื่องปากทองบรรเทาลง ชาวบานก็ชวยกันคิด ชวยกันแกไขปญหาความยากจนที่ยังคงอยู ดวยการจัดตั้งกลุมตาง ๆ ขึ้นมาเพื่อเปนอาชีพเสริมและสรางรายไดใหแกชาวบาน ซ่ึงการจะทํากิจกรรมตาง ๆ ขึ้น จําเปนตองมีเงินทุนในการดําเนินการ ดังนั้น ชาวบานจึงไดจัดตั้งกลุมออมทรัพยขึ้นมาเพื่อรองรับจากโครงการกองทุนหมูบาน ภายหลังจากชาวบานมีเงินทุนเปนของหมูบานแลว ก็สามารถขยายกิจกรรมตาง ๆ ไปเปนลําดับ เมื่อรัฐบาลไดตอยอดโครงการกองทุนหมูบาน ขยายเปนโครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบานและชุมชน (SML) จึงทําใหชาวบานกลวยมวงจัดทําประชาคมหมูบานนําเสนอโครงการรานคาชุมชน

สรุปไดวาทั้ง 3 ปจจัยมีความสัมพันธกันอยางแนบแนนทําใหเกิดการรวมกิจกรรมที่หลากหลาย เปนผลใหวิถีชีวิตโดยรวมของชุมชนขยับไปในทางที่ดีขึ้น นํามาซึ่งความสําเร็จของการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

Page 119: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

106

ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

ขอเสนอแนะในการพัฒนารานคาชุมชนบานกลวยมวง   จากผลการวิจัยเร่ืองการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ผูวิจัยไดวิเคราะหผลที่ไดและเห็นวาจะเปนประโยชนตอการพัฒนารานคาชุมชนบานกลวยมวง ควรจะดําเนินการเพื่อใหเกิดความสมบูรณองคกร ดังนี้

1. สงเสริมการสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว เพื่อแกไขดานที่เปนจุดออน และอุปสรรคในการจัดการรานคาชุมชนบานกลวยมวง เพื่อใหเกิดภูมิคุมกันที่ดีในตัว ประกอบดวย

1.1 แตงตั้ งใหมี ผูตรวจสอบกิจการ ที่จํ า เปนจะตองมี เพื่อคอยถวงดุลคณะกรรมการ และเสนอแนะคณะกรรมการ สมาชิก เพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางคณะกรรมการ และสมาชิก

1.2 ดําเนินการยื่นจดทะเบียนเปนนิติบุคคลของรานคาชุมชนตอหนวยงานราชการ ซ่ึงในอนาคตหากมีการเขาตรวจสอบความถูกตองจากหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับรานคาชุมชน จะทําใหรานคายังสามารถดําเนินกิจกรรมตอไปได

1.3 การจําหนายสินคาภายในรานคาชุมชน ตองยกเลิกการจําหนายสินคาที่ขัดกับขอกฏหมายพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ.2551 มาตรา 27 หามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลในสถานที่หรือบริเวณดังตอไปนี้ 1. วัดหรือสถานที่สําหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา

1.4 สงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกชุมชน ใหสอดคลองกับหลักการมีสวนรวม ที่เปนกระบวนการซึ่งบุคคล หรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะและเขารวมในกิจกรรมตาง ๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยู รวมทั้งมีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจขององคกร การมีสวนรวมเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซ่ึงประกอบไปดวย การแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย และเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคม และทําใหกิจกรรมรานคาชุมชนสามารถดําเนินกิจกรรมตอไปไดอยางยั่งยืน โดยไดรับความรวมมือจากคนในชุมชนตลอดไป

Page 120: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

107

2. สมาชิกในหมูบานทุก ๆ ฝายที่เกี่ยวของกับรานคาควรมีกิจกรรมตาง ๆ รวมกนัอยูเสมอ เพื่อพบปะ พูดคุย หารือ หรือรับทราบปญหา และแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารซึ่งกันและกันเปนประจําทุกเดือน

3. ใหความรูดานตาง ๆ แกสมาชิกทุกคนในหมูบานโดยเฉพาะในสวนของสมาชิกเพื่อใหเกิดความเขาใจในแนวทางและวิธีการของรานคาชุมชนอยางถองแท ซ่ึงจะเปนการเสริมสรางศรัทธาใหเกิดขึ้นกับสมาชิก ใหสมาชิกเกิดความรูสึกเปนเจาของในกิจการมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของรานคา

4. พัฒนาบุคลากรของรานคาใหมีความรูความสามารถ กาวทันโลกธุรกิจสมัยใหม และมีการสรางเยาวชนรุนใหมเพื่อรองรับตอยอดกิจการตอไป

5. รวมมือกันคนหาจุดเดน ขอดอย โอกาส และอุปสรรค และกําหนดแผนกลยุทธขององคกร เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดําเนินธุรกิจและกิจกรรมตาง ๆ สามารถดําเนินกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพภายใตเปาหมายที่กําหนดไว ขอเสนอแนะตอหนวยงานราชการ เทศบาลเขลางคนคร

1. สรางเงื่อนไขใหเอื้อโดยปรับบทบาทรัฐมีหนวยงานสงเสริมสนับสนุนองคการธุรกิจของประชาชน ทั้งในดานองคความรูทางธุรกิจ วิชาการดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และงบประมาณสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากร ทั้งนี้ โดยมีการจัดงบประมาณเพื่อการนี้อยางเพียงพอและตอเนื่อง

2. สนับสนุนและสงเสริมบทบาทขององคกรชุมชนเปนผูจัดการดานการศึกษา อบรม และการจัดระบบขอมูลขาวสารในรูปแบบทั้งเปนทางการและไมเปนทางการในชุมชน ใหมีการเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษาตาง ๆ กรมสรรพากร

1. ปรับแกขอกฎหมายใหเอ้ือตอธุรกิจชุมชน เชน การยกเวน หรือลดหยอนภาษีตาง ๆ   รัฐบาล

1. รัฐควรทบทวนนโยบายและวางเงื่อนไขใหมีการถวงดุลกระแสเศรษฐกิจทุนนิยม โดยการสนับสนุนระบบเศรษฐกิจชุมชนทองถ่ินที่มีฐานอยูที่ชุมชนใหพึ่งตนเองไดอยางแทจริง

Page 121: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

108

ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป  

การวิจัยเรื่องการจัดการรานคาชุมชนแบบมีสวนรวมของชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ทําใหทราบถึงรูปแบบการจัดการรานคาชุมชน ดังนั้นเพื่อใหเกิดประโยชนตอการแนะนําสงเสริมและพัฒนาชุมชน จึงควรจะมีการทําวิจัยในเรื่องดังตอไปนี้ 

1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับยุทธศาสตรการพัฒนาเครือขายธุรกิจชุมชนเพื่อหารูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมที่สุด

2. ควรมีการวิจัยการเปรียบเทียบการดําเนินธุรกิจรานคาชุมชน กับรานคาในรูปแบบอื่น

3. ควรมีการวิจัยบทบาทของภาครัฐที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจของชุมชน

4. ควรมีการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทบาทขององคกรชุมชนใหทันตอการเปลี่ยนแปลง 5. ควรมีการวิจัยความเปนไปไดในการพัฒนาการดําเนินธุรกิจชุมชนใหมี

ประสิทธิภาพทัดเทียมกับธุรกิจเอกชน ผูวิจัยคาดวาหากไดมีการทําวิจัยในหัวขอดังกลาวแลว จะเปนการวิจัยที่ครอบคลุมในทุกดานขององคกรชุมชนสามารถนําไปเปนแบบอยาง และนําไปประยุกตใชไดจริง ซ่ึงจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาชุมชน

Page 122: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

109

บรรณานุกรม

คณะกรรมการจัดทําหนังสือเฉลิมพระเกียรติ มูลนิธิพระดาบส. 2550. คําพอสอน ประมวล พระบรมราโชวาทและพระราชดาํรัสเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: ไวทเปเปอร.

จําเนียร บุญมาก. 2546. “การจัดการชองทางตลาด”. [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http://cousewares.mju.ac.th. (6 ตุลาคม 2552).

ฉัตรชัย ตวงรตันพันธ. 2542. หนวยท่ี 6 ชุดวิชาการจัดการชองทางการจัดจําหนายและการกระจายสินคา. พิมพคร้ังที่ 8. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ฉันทนา บรรพศิริโชค และลัดดาวัลย ตนัติวิทยาพิทักษ. 2546. การเรียนรูรัฐธรรมนูญ 2540 ดวยตัวเอง. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน.

ฐิติพร จาตุรวงศ. 2551. เจาะธุรกิจคาปลีกสมัยใหม. กรุงเทพฯ: นําอักษรการพิมพ. ดารุณี ทันใจ. 2550. กระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวม สูการดําเนินชีวิต ตามแนวเศรษฐกิจ

พอเพียง กรณศีึกษาเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส.บานชางเคิง่ ตาํบลชางเคิ่ง อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม. เชยีงใหม: วิทยานพินธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยแมโจ.

นิรันดร จงวฒุิเวทย. 2527. การมีสวนรวมของประชาชนในการพฒันา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล

บุญล้ียง ทุมทอง และเกษมศรี สุระสังข. 2543. “การพึ่งตนเองของชุมชนบานบะ ตําบลบะ อําเภอทาตูม จังหวดัสุรินทร”. [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http://www.cuture.go.th. (6 ตุลาคม 2552).

ประชัน รักพงษ ทรงศักดิ์ ปรางควัฒนากุล และ แพทริเซยี แนนหนา. 2535. การศึกษาหมูบานไทล้ือในจังหวัดลําปาง. ลําปาง: กิจเสรีการพิมพ.

พีระพงษ กิติเวช โภคาวฒัน. 2551. แฟรนไชส ยุทธการโคลนนิ่งธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เอ.อาร. บิซิเนสเพรส.

มูลนิธิชัยพัฒนา. 2550. เศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎใีหม. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพร้ินติ้งแอนดพบัลิชช่ิง.

Page 123: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

110

ลัดดาวัลย ตนัติวิทยาพิทักษ. 2546. คูมือการคุมครองสิทธิแรงงานไทยตามรัฐธรรมนูญภายใตโครงการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการปฎิรูป (คสร.). กรุงเทพฯ: โครงการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการปฏิรูป (คสร.).

สถาบันบัณฑติพัฒนบริหารศาสตร. 2552. การจัดการชมุชนเศรษฐกิจพอเพียง กรณศีึกษา : หมูบานคําปลาหลาย ตําบลบานดง อําเภออุบลรัตน จังหวัดขอนแกน. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2550. สรุปสาระสําคญัแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต.ิ กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.

สําอางค งามวิชา. 2543. การบริหารการตลาด. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียน สโตร. สุจินดา เจียมศรีพงศ. 2553. “ปญหาและแนวทางแกไขเพื่ออนาคตการคาปลีกที่ยั่งยืน”. [ระบบ

ออนไลน] แหลงที่มา. http://www.mis.nu.ac.th/bpm/misjournal/files/13297199222-sujinda.pdf (16 เมษายน 2554).

สุณิสา วิลัยรักษ และสุปญญา ไชยชาญ. 2538. หลักการตลาด. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ: พ ีเอ ลิฟวิ่ง. สุดาดวง เรืองรุจิระ. 2541. หลักการตลาด. พิมพคร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ: ยงพลเทรดดิ้ง. สุภางค จันทวานิช. 2549. การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: จฬุาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. สุรีย ตัณฑศรีสุโรจน .2531. การมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอมของผูนําเยาวชน ใน

ชุมชนคลองจัน่ เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เสรี พงศพิศ. 2549. เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนายั่งยนื. กรุงเทพฯ: เจริญวิทยการพมิพ. อภินันท สูประเสริฐ. 2549 . “ผลของการขยายสาขาของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญตอรานโชวหวย”.

สารวิจัยธุรกิจ ธนาคารกรุงไทย ฝายวิจัยธุรกิจ 11, 23 (มิถุนายน): 1-9.

Dunne, Patrick and, Robert Lusch. 1999. Retailing. 3rd ed. Fort Worth: The Dryden Press.

Kotler, Philip. 1997. Marketing Management : Analysis, Planning, Implementation, and Control, 9th ed. New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Stern, El-Ansary and Coughlan. 1996. Marketing Channels. 5th ed. New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Page 124: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

 

ภาคผนวก 

Page 125: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

112

   

ภาคผนวก ก  

รายชื่อสมาชกิรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

Page 126: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

113

ตารางผนวก 1 รายช่ือสมาชิกรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตาํบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 1 นายเขยีว อินนันชัย 20 2 นางขด อินนนัชัย 20 3  นางบุญดี อินตะขัน 10 4 นางปวน ชัยวงัเย็น 20 5 นายบุญทา สมบูรณ  20 6 นางสีไหม สมบูรณ 20 7 นายนิติรัฐ สมบูรณ 20 8 ดช.ธิติวัฒน สมบูรณ 20 9 นางวราภารณ ศรีอ่ินแกว 20 10 นายพจน ปญญายืน 20 11 นางพัชรินทร ปญญายืน 20 12 นายวัลลภ ปญญายืน 20 13 นายธนดล อินนันชัย 20 14 นายเปา อินนนัชัย 20 15 นางแกวมา อินนันชยั 20 16 นายสุรินทร เชียงวงศ 20 17 นางแสงเดือน เชียงวงศ 20 18 นางลําดวน หอมแกนจันทร 20 19 นางมุย หอมแกนจันทร 20 20 นายบุญสม หอมแกนจันทร 20 21 นางนงเยาว หอมแกนจันทร 20 22 นางสาววลีพรรณ เล็กบุตร 20 23 นายสกล จันทรตะวงศ 20 24 นายบุญเรียบ สุภาพ 20 25 นายสุรเชษฐ อ่ินฝน 6 26 นางเกีย๋วคํา หมื่นใจสรอย 1 27  นางสาวจันทรฉาย กองประกม 10

Page 127: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

114

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 28  นางแกวสา ศรีอ่ินแกว 20 29 นางบุญใย ศรียอด 20 30 นางสมจิตร อินตะขัน 20 31 ร.ต.ท.สงกรานต ธิปอ 20 32 นางสีมา คํากอน 1 33 นางเกศินี หอมแกนจันทร 2 34 นายชํานาญ ใจแกวแดง 5 35 นางศรีวรรณ ปะละนาน 2 36 จ.ส.อ.สุขคํา อินนันทชยั 20 37 นางศรีนวล อินนันชยั 20 38 วาที่ รต.หญิงขวัญเรือน เพง็มา 20 39 นางบัวเกี๋ยว หอมแกนจันทร 20 40 นายธรรศ หอมแกนจันทร 20 41 นายประเสริฐ กองประกม 4 42 นายรุงศักดิ์ ทพิยววิัฒนพจนา 20 43 นายดํารงเดช อินตะขัน 20 44 นางจินดามยั อินตะขัน 4 45 นางสาวนภิาพร ใจวังเย็น 2 46 นางรุจิรา แจคํา 4 47 นางจันทรา พฒุใจกา 4 48 นางปริษนา หอมแกนจันทร 2 49 นางทองไล ชัยวังเย็น 20 50 นายบุญแถม พุฒใจกา 10 51 นางไว ใจหงอก 4 52 นางตองเตา ตายะสืบ 4 53 นางสม พุฒในกา 10 54  นายบุญมา กองประถม 20

Page 128: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

115

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 55 นางเซ็นต กองประถม 10 56 นายประสาน ตนมณ ี 10 57 นางอรสา หอมแกนจันทร 20 58 ด.ญ. กุลกนก ปะละนาน 10 59 นางสม ตะตุย 10 60 นางบัวนาค ศรีอ่ินแกว 20 61 นางความ จิตตรง 20 62 นางนงลักษณ ปะละนาน 20 63 น.ส.สังวาลย หอมแกนจันทร 10 64 น.ส.ศุภลักษณ ปะละนาน 10 65 นายประดิษฐ อินตะขัน 2 66 นางสังเวียน อุนผูก 20 67 นางลัดดา จันทรเรือน 20 68 นางอัมพร หอมแกนจันทร 20 69 ด.ญ.อัญธิกา หอมแกนจันทร 20 70 นายประพันธ อินนันชัย 20 71 นายเผา ใจวังเย็น 20 72 นางอนงค ศรีอ่ินแกว 20 73 นางศรีวรรณ อินตะขัน 20 74 นางสมพร หอมแกนจันทร 20 75 นางพรรษา ชุดเชื้อ 20 76 นางแสงจันทร ศรีอ่ินแกว 20 77 นายไพบูลย รักสัตย 20 78 นายคมวนั ศรีอ่ินแกว 10 79 นายพิเชษฐ อินตะขัน 10 80 นางแสงดาว ตะตุย 10

Page 129: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

116

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 81  นางวรรณา จาํฟู 6 82  นางเพ็ญ ปะละนาน 4 83 นางสมชาติ วงศดล 2 84 นายเพิ่มสิน ถาบุญชู 6 85 นางรอยผกา คําแปงเชื้อ 2 86 น.ส.พวงเพ็ญ วงศสาย 1 87 นายหมืน่ หมืน่ตาบุตร 1 88 นางผอง หมื่นตาบุตร 1 89 นางวีนัส อุดแบน 5 90 นางปว หอมแกนจันทร 1 91 นางแตน หอมแกนจันทร 1 92 นางมานิตย อินนันชยั 1 93 นางบุญศรี คํากอน 1 94 นางธีรพจน ศรีอ่ินแกว 1 95 นายบุญสง ทาสุวรรณ 1 96 นางคํานอย หอมแกนจันทร 2 97 นางนํา หอมแกนจันทร 2 98 นางติ๊บ ใจหงอก 2 99 น.ส.อรอุมา ศรีอ่ินแกว 2 100 นางเครือ หมืน่ภิรมย 2 101 นางวันเพ็ญ อินนั่งแทน 2 102 นายวรรณ ศรียอด 20 103 น.ส.ปาริชาติ ศรีอ่ินแกว 20 104 นางณิชนนัท ชาญกลา 20 105 นางเจษฎา ฟาคําตัน 20 106 นางปรียาพร วงศษา 20 107 นางทองใบ ใจหงอก 10

Page 130: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

117

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 108 น.ส.ปทุมทิพย คําเขื่อน 10 109 นายอุเทน หอมแกนจันทร 10 110 นางวัน ใจหงอก 10 111 นางอําภา ใจหงอก 10 112 นายบุญธรรม อินตะขัน 5 113 นายนรินทร ฟาคําตัน 5 114 นายสิวิบูลย จกัษุตน 5 115 นายทองดี หอมแกนจันทร 5 116 นายบุญชู ศรียอด 5 117 นายกรวิก วงศสาย 4 118 นางกาบ อินนนัชัย 8 119 นายชาตรี แจคํา 4 120 นางบัวเขยีว ศรียอด 4 121 นายอลงกรณ กองคําบุตร 20 122 วาง 0 123 นางลัดดา พฒุในกา 20 124 นางจันทิมา พนัธปวน 20 125 ด.ญ.ศิรินทิพย วงศคําท ิ 20 126 นายปอก หอมแกนจันทร 20 127 นายสมชาย ภูเรือน 20 128 นางจิราพร ภูเรือน 20 129 น.ส.นอย วงศคําทิ 20 130 นายบุญใย เจริญหุน 20 131 นายเตง เจริญหุน 20 132 นายบรรจง เจริญศิริ 20 133 นางมาลี เจริญศิริ 20

Page 131: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

118

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 134 น.ส.เพียงเพ็ญ หอมแกนจันทร 20 135 นางตุน ฟนจกัรสาย 20 136 นายบุญนาค พรมเพชร 20 137 นางรัดเกลา พุฒในกา 10 138 นางศิริจันทร หอมแกนจันทร 10 139 นางศรีวัน วงศคําทิ 10 140 นางกัลยา ฝกฝน 10 141 นายพงศธร คาํกอนแกว 10 142 นางพรทิพย ชุมภ ู 10 143 นางนิตยา อินนันชัย 10 144 นายณัฐวัฒน อุนผูก(คิว) 0 145 นางกาบแกว หอมแกนจันทร 10 146 นายคมสัน ฟนจักรสาย 10 147 ด.ญ.สุดารัตน พรมเพชร 10 148 นางนรารัตน พรมเพชร 6 149 นางศิริวรรณ อินในวงศ 6 150 นายบุญทิพย ศรีวงศ 4 151 น.ส.ศรีนาน หอมแกนจันทร 4 152 นางตุย ใจแกวแดง 4 153 น.ส.นฤมล สุริยา 2 154 นางเลย ปงราด 2 155 นางตือนจิตต โชคมาก 2 156 นางชบา วงศวิชัย 2 157 ด.ช.สิทธิกร อินใจวงศ 2 158 นางตูน กองประกม 2 159 น.ส.ภาณี หอมแกนจันทร 2 160 นางสมหมาย พุฒใจกา 2

Page 132: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

119

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 161 นางบัวแกว อุนผูก 12 162 นางชธิดา สันวันด ี 2 163 นางสมสาย ศรียอด 4 164 นางนอมวไล ธรรมเนียมเปลี่ยน 20 165 นางจันทรชา ไชยวังเยน็ 20 166 นายทัพชัย แสนเงิน 20 167 นางกิมเหรยีญ แสนเงิน 20 168  น.ส.ศิลธร ขันนาแล 20 169 นางชํานาญ ฟนจักรสาย 20 170 นายประเดช ทะปะละ 20 171 ด.ญ.ภารดี อินตะขัน 20 172 นายบุญธรรม นันตะภาพ 20 173 นางศรีไล ศรีอ่ินแกว 15 174 นายบอง แสนเงิน 4 175 นางฉลาด จันทรอินสม 10 176 นางผองใส กวิงศพรม 2 177 นางสิงหแกว หอมแกนจันทร 2 178 นายบุญจันทร อินตะขัน 2 179 นางบุบผา กันตะบุตร 10 180 นางมาลัย ขันนาแล 10 181 นางศรีจันทร อินตะขัน 6 182 นางแปง หอมแกนจันทร 10 183 น.ส.สุจิตรา แซตั้ง 10 184 นายบุญศรี แสนเงิน 10 185 นางเกษศิรินทร แสนเงิน 10 186 นางสายทิพย จันทรสุยะ 10 187 นางเรือนคํา กวิงศพรม 2

Page 133: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

120

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 188 นางสมศรี ขันนาแล 10 189 นางศิริพร แจคํา 10 190 น.ส.จันทรเพญ็ วงศสาย 2 191 นางสรอยสุดา ปะละนาน 10 192 นางผัด ใจหงอก 10 193 นางบัวผัน ปกเกษม 4 194 วาง 0 195 น.ส.ยุพา หอมแกนจันทร 2 196 น.ส.สมพร นิลสุข 2 197 นางสุภา อินนันชัย 1 198  ด.ช.ศุภชัย ถาแกว 2 199 นายสอน ถาแกว 10 200 นางคําปน หนอคํา 2 201 นางพิมพกานต หอมแกนจนัทร 20 202 นางมัตติกา จอมคําปง 2 203 น.ส.ช่ืนชม จนัเรือน 2 204 นางอินทรทร ยุทธวงค 2 205 น.ส.นิภาพร วงคสาย 2 206 นางศรีจุม อินนันชัย 2 207 นางแสงหลา ทิพยมูล 10 208 นางอมรา ชัยสวัสดิ์ 20 209 นางศรีมา ใจวังเยน็ 10 210 ด.ญ.วิชรียา วงคสาย 2 211 นางแสงระวี อินตะขัน 10 212 นางแสงหลา ใจวังเย็น 2 213 นายบุญสง มรรคผล 20 214 นางศิริพร มรรคผล 20

Page 134: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

121

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 215 พระอธิการธรีวัฒน ติสเทโว 20 216 นางสมหมาย หอมแกนจันทร 20 217 นางกัลยา มะโนใน 20 218 นายสุริยะพงษ ศรีอ่ินแกว 20 219 นางจันทร หอมแกนจันทร 2 220 นางเตือนศรี ณ ลําปาง 1 221 นางศรีจันทร หอมแกนจันทร 5 222 นายพุทธา แสนโคตร 1 223 นางสมจิต ฟาคําตัน 1 224 น.ส.สังวาลย หอมแกนจันทร 1 225 นางศรีฮวน อินตะขัน 1 226 นางคํานอย คาํขาว 1 227  นางอรอนงค อินนันชยั 4 228 นางพรมา หอมแกนจันทร 4 229 นางจันทรสม พรมเพชร 4 230 นายทุง วงศเขยีว 2 231 นายแสน อินนันชัย 4 232 นางสมจิตร มีสัตย 2 234 น.ส.จินตนา จันเรือน 2 235 นายแกวมา อินชัยยนต 2 236 นางสุรวดี ตาแหลม 2 237 นางวิลาวณัย ขําภักด ี 2 238 นางกัลยา มังคะละ 2 239 น.ส.กรทอง ใจวังเย็น 2 240 นางอัมพร อินนันชยั 2 241 นายประสงค คําเขื่อน 2 242 นางสังเวียน อินตะขัน 10

Page 135: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

122

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 243 นายสิทธิพงศ ถาแกว 10 244 น.ส.เกษณี อินนันชยั 10 245 นายสุธรรม ศรีอ่ินแกว 10 246 นางนงเยาว หอมแกนจันทร 10 247 นางศรีนา แสนเงิน 10 248 นายจกัรพันธ ขันนาแล 10 249 น.ส.รัชนก หอมแกนจันทร 10 250 นางสายเทศ อินตะขัน 10 251 นางบุญยัง อินนันชยั 10 252 นางจุฑามาศ อินนันชยั 20 253 นายบุญธรรม อินนันชัย 20 254 นางศรีอวน อุดอิน 20 255 น.ส.ปราณี ไชยวังเย็น 20 256 ด.ญ.รุจิภา อินตะขัน 20 257  นายไพศาล อินตะขัน 20 258 นางระพีพรรณ ปนตาคํา 20 259 ดต.สาคร ปนตาคํา 20 260 น.ส.นิฐินรรธ หอมแกนจันทร 10 261 น.ส.สุรีรัตน ปะละนาน 10 262 นางอําไพ พรมเพชร 20 263 นายสมบุญ ศรียอด 10 264 น.ส.จุรีพร หอมแกนจันทร 2 265 นายคําแกว แจคํา 2 266 นายศรีนา เทพพรมวงศ 6 267 นายฆุภฤกษ แกวสาย 10 268 นางทิพวัลย ศรียอด 2 269 นางพวงเพชร สายเครือสด 2

Page 136: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

123

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 270 นางจันทรหอม สิทธิยศ 2 271 นางบัวเกิด หอมแกนจันทร 1 272 ด.ช.วีระยุทธ อินตะขัน 1 273 นางละมัย ใจวังเยน็ 10 274 นางคําของ ใจจา 10 275 นางโสภา ศรีอ่ินแกว 10 276 นางอรทัย อินนันชัย 1 277 นางสมพร 2 278 น.ส.อรุณศรี ศรีอ่ินแกว 1 279 นางบัวผัด หอมแกนจันทร 2 280 นางพรภภิพ ตะตุย 2 281 นางสุพัน อินตะขัน 4 282 น.ส.ขวัญชีวา ภานุมาส 2 283 นางศรี อินแสง 4 284 นายนิล หอมแกนจันทร 2 285 นางอุด ตะตุย 4 286  นางชุม แกวชมภ ู 10 287  นางดลพร ใจวังเยน็ 10 288 น.ส.สุจิตรา วงัแกว 5 289 นางจันทรดี อินตะขัน 4 290 น.ส.ชาลินี หอมแกนจันทร 4 291 นายเสาร กองประกม 4 292 นายอธิศร เขื่อนแกว 4 293 นางสมพิศ หอมแกนจันทร 20 294 นางเพ็ญแข สุภาพ 10 295 นางนวลจนัทร เทพศิริ 4 296 นายชัยพร กองประกม 4

Page 137: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

124

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 297 นางอัมพรรณ ศรีอ่ินแกว 2 298 น.ส.สกุณา ออนสาง 2 299 นางสมพร พรมเพชร 2 300 น.ส.จันทรรอง กิวงศพรม 2 301 นางปา เทพพรมวงศ 1 302 น.ส.สาคร หอมแกนจันทร 2 303 นางเนตร พรมเพชร 2 304 นางวร คําเขื่อน 2 305 นางปนัดดา ตะตุย 20 306 นายธนัท ตะตุย 20 307 นายสนิท อินนันชัย 20 308 นางหมาย โกฏคํา 10 309 นางบุญมา ใจวังเยน็ 4 310 นางฮอม ฟนจักรสาย 2 311 นางมูล หอมแกนจันทร 2 312 นางหลา อินบานแฝก 2 313 นางกัลยา แปงคําปน 10 314 น.ส.นิภาพร ใจวังเย็น 20 315  นางสุปรีดี ใจวังเยน็ 20 316  นายสมบูรณ สมเทว ี 20 317 นางศรีมวน ใจวังเย็น 20 318 นายสมโพ ใจวังเยน็ 20 319 นางสมบุญ อินตะขัน 20 320 นางสีมา ฟนจกัรสาย 4 321 นางพรรณี ศรีอ่ินแกว 2 322 นางนาก ใจวงัเย็น 2 323 นายมาวิน อินตะขัน 2

Page 138: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

125

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 324 นายสมศักดิ์ ใจวังเย็น 10 325 นางสมหมาย ปะละนาน 2 326 นางกาบแกว ปะละนาน 2 327 นองแอมป หอมแกนจันทร 10 328 ด.ช.วาคิม หอมนวล 6 329 นางบัวทิพย หอมนวล 2 330 นางกาหลง ใจวังเย็น 5 331 นายกุมภวา จนัทรสุริยะ 10 332 นายอุน คําเขือ่น 4 333 ด.ญ.พินธิตรา อินบานแฝก 2 334 นายอัฐตนิัย กอนแกว 2 335 น.ส.อัฐฉราวรรณ กอนแกว 2 336 นางศิริรัตน อินนันชยั 5 337 นางบัวซอน พึ่งสุข 2 338 นางแสงจันทร ฟาคําตัน 4 339 นางนุขศรา ฟนจักรสาย 4 340 ดต.สุรเดช ปาระมี 20 341 นางวัฒิตา ปาระมี 20 342 นางมาเรือน พุฒใจกา 4 343 นางปราณ ศรียอด 4 344  นางเรือนจันทร อินใจวงศ 10 345 นางมาลี อินตะขัน 4 346 นางแสงจันทร แจคํา 1 347 นางกฤชนัย ใจวังเย็น 20 348 นางบัวจนัทร ใจวังเย็น 10 349 นายบุญตัน ใจวังเย็น 20 350 นางนิตยา ใจวังเยน็ 20

Page 139: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

126

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 351 นายจําป หอมแกนจันทร 20 352 นายวิทยา เขื่อนแกว 5 353 นายจนัทร เชือ้เมืองพาน 20 354 นางเพ็ญศรี เหมือนเมือง 1 355 นายอุดม คําแปงเชื้อ 20 356 นางเกีย๋งคํา เยน็อุดม 2 357 นายสาทิด วิวงศ 1 358 ด.ญ.กรวิการ กิวงศพรม 10 359 ด.ช.ภานพุงศ กิวงศพรม 10 360 นางสัน สอนราษฏร 20 361 นายบุญมี อินนันชัย 20 362 นางแสงระวี อินนันชยั 20 363 น.ส.สุภาวดี อินสูง 20 364 นางรุงลาวัลย เขื่อนแกว 2 365 ด.ช.อนุชา จันทรสุริยะ 10 366 นายขัด คําเขือ่น 5 367 นายประเสริฐ ในวังเย็น 20 368 นายศรีลา หอมแกนจันทร 1 369 วาง 0 370 นายพงศธณ ศรีอ่ินแกว 10 371  นางหลิม ใจวงัเย็น 20 372 นายเทวัญ พรมเพ็ชร 5 373 นางศรี หอมแกนจันทร 4 374 นายวรพงษ คาํแสน 2 375 ด.ช.สุรเกียรติ ศรีอ่ินแกว 20 376 นางทัศนีย ศรีอ่ินแกว 10 377 นางฟองจันทร แสนโคตร 10

Page 140: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

127

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 378 นายนอย ศรียอด 20 379 นางรณิษฐา กองมี 6 380 นายแสน ศรีมาปลูก 6 381 นายสะอาด อินนันชยั 4 382 ด.ช.เจตพัฒน สมเวท ี 20 383 ด.ช.ธนพงศ สมเวท ี 20 384 นายบุญสอง คํากอน 20 385 นางมาลี แกวใน 2 386 นองตั้ม 20 387 นางอําพร เทพพรมวงศ 1 388 นางพรนภัส สายเทพ 10 389 น.ส.สุไก หอมแกนจันทร 2 390 นางทองลา ฟาคําตัน 2 391 นางอรวรรณ อินตะ 2 392  นางกาญจนา อุนผูก 2 393 นางดวงมณี หอมแกนจันทร 1 394 นางตั๊บ อินตะขัน 6 395 นางคําลาง คํากอน 2 396 นายธีรวงศ ปะละนาน 0 397 นายวิเชียร คําเขื่อน 0 398 นางฉันทนา ศิวะศรีรุงเรือง 2 399 นางอุบลศรี พรมแกวงาม 2 400 นายใหม อินตะขัน 2 401 นางอํานวย ถาแกว 20 402  นางอํานวย ถาแกว 20 403 นางแต หอมแกนจันทร 14 404 วัดพระเจานัง่แทน 20

Page 141: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

128

ตารางผนวก 1 (ตอ)

เลขสมาชิก ชื่อ - สกุล จํานวนหุน 405 น.ส.สุมาลี ใจวังเยน็ 20 406 น.ส.ฝาย ใจวงัเย็น 20 407 นางจํารัส นันตะภาพ 20 408 นางมูน หอมแกนจันทร(บานกลาง) 1 409 นางสุรดา ขันนาแล 3 410 นางสมหมาย อินใจวงศ 10 411 นายประเสริฐ อุดอิน 20 412 นายรักศกัดิ์ หอมแกนจันทร 20 413 น.ส.ลลนา หอมแกนจันทร 20 414 นายสมยส หอมแกนจันทร 2

4,090  

Page 142: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

ภาคผนวก ข

ระเบียบรานคาชุมชนบานกลวยมวง  ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมอืง จังหวัดลําปาง 

              

Page 143: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

130

ระเบียบรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมอืง จังหวัดลําปาง  

หมวดที่ 1 ชื่อ ประเภท ท่ีตั้งสํานักงาน 

1. ช่ือ รานคาชุมชนบานกลวยมวง 2. ประเภท รานคาชุมชน 3. ที่ตั้ง 212 หมูที่ 3 ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

หมวดที่ 2 วัตถุประสงครานคาชุมชน 

1. เพื่อสงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของสมาชิก โดยวิธีรวมกันดําเนินธุรกิจ 2. เพื่อประโยชนรวมกันของสมาชิก จัดหาสินคาอุปโภค บริโภค มาบริการให

สมาชิกและประชาชนทั่วไปที่ไมไดเปนสมาชิก ในราคาเปนธรรม 3. ใหชุมชนและสมาชิกรูจักการบริหารจัดการเชิงธุรกิจรวมกัน 4. ใหชุมชนและสมาชิกมีการรวมกลุม เพื่อเปนขอตอรองราคาสินคาอยางเปนธรรม 5. เพื่อใหชุมชนและสมาชิกมีความรัก ความสามัคคี และรูจักการทํางานเปนหมูคณะ 6. เพื่อใหชุมชนและสมาชิกรูจักการออม และประหยัด มีความสะดวกในการ

ใชบริการสินคา ตลอดจนชุมชนไมเสียเปรียบในดุลการคาใหรานคาใหญในเมือง 7. เพื่อเปนการพัฒนาหมูบาน ชุมชน ใหเกิดความเขมแข็งที่ยั่งยืน 8. เพื่อเปนแบบอยางที่ดีในดานการบริหารจัดการ รักความเปนหมูคณะกับ

เยาวชนรุน ตอ ๆ มา

หมวดที่ 3 ทุนรานคาชุมชนจะจัดหาทุนเพื่อดําเนินการ ดังนี ้

1. เปดรับสมัครสมาชิกเขาถือหุนในรานคาชุมชน 2. สมาชิกออกคาหุน ในราคาหุนละ 50 บาท (หาสิบบาทถวน) 3. สมาชิกสามารถถือหุนไดไมเกินคนละ 20 หุน หรือเงิน 1,000 บาท (หนึ่งพันบาท

ถวน) 4. สมาชิกจะโอนหุนที่ถืออยูใหผูอ่ืนไมได 5. การเปดขายหุน คณะกรรมการสามารถเปดขายหุนไดตามมติของคณะกรรมการ 6. การแจงยอดหุน คณะกรรมการรานคาจะแจงยอดจํานวนหุนของสมาชิกแต

ละคนทราบทุกป

Page 144: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

131

หมวดที่ 4 การดําเนินงาน 

1. คณะกรรมการดําเนินงานรานคาชุมชน มีวาระการทํางาน 2 ป โดยสมาชิกเปนผูเลือก

2. คณะกรรมการดําเนินงานแบงออกเปน 5 ฝาย 2.1 ผูจัดการ หรือเปนเหรัญญิก 2.2 กรรมการฝายจัดทําบัญชี 2.3 กรรมการฝายจัดซื้อสินคา 2.4 กรรมการฝายขาย 2.5 กรรมการฝายตรวจสอบ

หนาท่ีของคณะกรรมการแตละฝาย มีดังนี้ 1. ผูจัดการ มีหนาที่ ดังนี้

1.1 ควบคุมการรับ – จายเงินของรานคา 1.2 ทําบัญชีคุมเงินของรานคาทั้งหมด 1.3 ควบคุมการจัดซื้อสินคาของฝายจัดซื้อ 1.4 ช้ีแจงและสรุปความกาวหนาผลการดําเนินงาของรานคาใหสมาชิก

รับทราบ 2. กรรมการฝายจัดทําบัญชี มีหนาที่ ดังนี้

2.1 จัดทําบัญชีของรานคาทั้งหมด 2.2 ทําการปดบัญชีและเช็คของรานคา ทุกเดือนอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 2.3 ทําบัญชีสรุปผลการดําเนินงานแจงใหสมาชิกทราบทุกเดือน พรอม

ประกาศประชาสัมพันธใหสมาชิกทราบ 3. กรรมการฝายจัดซื้อ มีหนาที่ ดังนี้

3.1 ทําหนาที่จัดซื้อสินคาเขารานคา 3.2 จัดทําบัญชีคุมสินคาทั้งหมด 3.3 กําหนดราคาขายใหกรรมการฝายขาย

4. กรรมการฝายขาย มีหนาที่ ดังนี้ 4.1 รับผิดชอบสินคา ดูแลสินคาในรานคาทั้งหมด 4.2 รับผิดชอบเงินที่ไดจากการขายสินคาในรานคาทั้งหมด 4.3 ขายสินคาตามราคาที่ฝายจัดซื้อกําหนดราคาขายให

Page 145: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

132

5. กรรมการฝายตรวจสอบ มีหนาที่ ดังนี้ 5.1 ตรวจสอบบัญชีของรานคา 5.2 ตรวจสอบฐานะการเงินของรานคา 5.3 ช้ีแนะ แนะนํา ใหกรรมการทุกฝายเมื่อตรวจพบขอบกพรอง

หมวดที่ 5 การจัดสรรผลกําไรของรานคา 

1. กําหนดแจงผลกําไรทุกระยะเปนรายงวด ๆ ละ 1 เดือน 2. กําหนดผลกําไรและจัดสรรผลกําไรของรานคา ดังนี้ 3. ผลกําไรทั้งหมดเมื่อหักตนทุนสินคาแลว คิดเปน 100 เปอรเซ็นต แบงออกดังนี้

3.1 แบงจัดสรรใหสมาชิกผูถือหุน ที่เหลือจากการตัดสรรขอ 1.2 – 1.5 โดย คิดสวนที่เหลือเปนรอยละ 100 แบงคาหุนรอยละ 40 คาปนผลจากการซื้อสินคารอยละ 60

3.2 แบงจัดสรรใหผูขายรอยละ 6,000 บาท/เดือน 3.3 แบงจัดสรรเขาเปนทุนซื้อสินคารอยละ 10 ของกําไร 3.4 แบงจัดสรรใหกรรมการดําเนินงานรอยละ 10 ของกําไร 3.5 แบงจัดสรรคาเสื่อมครุภัณฑรอยละ 10 ของกําไร

4. กําหนดการจัดสรรแบงผลกําไรทุก 6 เดือน รวม ปละ 2 ครั้ง

หมวดที่ 6 คุณสมบัติผูขาย 

1. เปนสมาชิกในรานคาชุมชนบานกลวยมวง 2. เปนบุคคลที่มีความซื่อสัตย สุจริต 3. เปนบุคคลที่มีรางกายแข็งแรง ไมเปนโรคติดตอที่เปนอันตรายตอสุขภาพ 4. เปนผูที่มีความรู ความสามารถ ในการอาน เขียน ไดเปนอยางดี 5. เปนผูมีความรู ความสามารถในการใชคอมพิวเตอรพอสมควร

หมวดที่ 7 การพนสมาชิกภาพของสมาชิก

1. ตาย 2. ลาออก 3. ยายไปอยูนอกพื้นที่ตางหมูบาน /ตางตําบล/ตางจังหวัด 4. ตามมติของสมาชิก ถือมติ 2 ใน 3 ของที่ประชุม

 

Page 146: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

133

ภาคผนวก ค

ภาพกิจกรรมรานคาชุมชนบานกลวยมวง ตําบลกลวยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

Page 147: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

134

ภาพผนวก 1 บรรยากาศการประชุมชี้แจงงานวิจยั ภาพผนวก 2 ผูวิจัยสัมภาษณประธานคณะกรรมการบรหิารรานคา

Page 148: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

135

ภาพผนวก 3 ภาพการจดัเรียงสินคาบนชั้นวางสินคา ภาพผนวก 4 ภาพการจดัเรียงสินคาตามเทศกาล

Page 149: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

136

ภาพผนวก 5 ภาพการจดัเรียงสินคาตามเทศกาล ภาพผนวก 6 ตูแชไอศรีม สินคาทันสมัย

Page 150: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

137

ภาพผนวก 7 ชุดแตงกายสตรีไทลื้อ ภาพผนวก 8 ตูแชเครื่องดื่ม และสินคาวัสดุอุปกรณกอสราง

Page 151: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

138

ภาพผนวก 9 ภาพแสดงการลงบัญชีเมื่อสมาชิกซื้อสินคา ภาพผนวก 10 ดานหนารานคาชุมชน

Page 152: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

139

ภาพผนวก 11 ภายในรานคาชุมชน

ภาพผนวก 12 วัดพระเจานั่งแทน

Page 153: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

140

ภาพผนวก 13 สถานีอนามัยบานกลวยมวง ภาพผนวก 14 ตลาดสดบานกลวยมวง

Page 154: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

141

ภาพผนวก 15 ภาพถายทางอากาศ ชุมชนบานกลวยมวง ภาพผนวก 16 การประชุมสมาชิกรานคาชมุชน

Page 155: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

142

ภาพผนวก 17 การประชุมสมาชิกรานคาชมุชน ภาพผนวก 18 คณะกรรมการบริหารรานคา จัดสรรเงินปนผล

Page 156: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

143

ภาพผนวก 19 ภาพการจดัสรรเงินปนผลใหกับสมาชิกรายบุคคล ภาพผนวก 20 บรรยากาศการประชุมชี้แจงผลการดําเนนิงานรานคา

Page 157: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

144

ภาพผนวก 21 บรรยากาศการประชุมชี้แจงผลการดําเนนิงานรานคา ภาพผนวก 22 บรรยากาศการแจกเงนิปนผลรายบุคคล

Page 158: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

145

ภาพผนวก 23 บรรยากาศการลงชื่อรับเงินปนผลรายบุคคล ภาพผนวก 24 ภาพหมูสมาชิกรานคาชุมชน

Page 159: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

146

ภาพผนวก 25 ภาพคณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการบรหิารรานคา

Page 160: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

147

ตารางผนวก 2 รายช่ือคณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารรานคา

ลําดับ ชื่อ-สกุล ตําแหนง

1 พระครูธีระวฒัน ติสเทโว ที่ปรึกษา 2 จาสิบเอก สุขคํา อินนันชยั เหรัญญิก 3 ดาบตํารวจ สุรเดช ปารมี ที่ปรึกษา 4 นายสุรินทร เชียงวงศ รองประธาน 5 นางสมพร หอมแกนจันทร ที่ปรึกษา 6 นายบุญทา สมบูรณ ประธานกรรมการ 7 นางวราภรณ ศรีอ่ินแกว กรรมการฝายตรวจสอบ 8 นายบุญสม หอมแกนจันทร ที่ปรึกษา 9 นางอัมรา ชัยสวัสดิ ์ กรรมการฝายจัดซื้อ

10 นางนงเยาว หอมแกนจันทร กรรมการฝายจัดซื้อ 11 นางวัฒิตา ปารมี กรรมการฝายบัญชี 12 นายสิรภพ ไชยจันลา ผูวิจัย 13 นางพิมพการ หอมแกนจันทร ที่ปรึกษา

Page 161: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

 

ภาคผนวก ง

ประวัติผูวิจัย

Page 162: (3) - Maejo Universitywebpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/thesis/... · ชื่ื่ อเรอง การจัดการร านค ุาชมชนแบบมีส

149

ประวัติยอผูวิจัย  ชื่อ – นามสกุล นายสิรภพ ไชยจันลา วัน เดือน ปเกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2516  ภูมิลําเนา จังหวดัลําปาง ประวัติการศึกษา พ.ศ. 25 31 สําเร็จมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนบัวใหญ จังหวดันครราชสีมา พ.ศ. 2534 สําเร็จมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบวัใหญ จังหวัด

นครราชสีมา พ.ศ. 2536 สําเร็จประกาศนียบัตรวิชาชพีเทคนิค วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม

จังหวดัเชยีงใหม  พ.ศ. 2549 สําเร็จระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภฏัเชียงใหม

จังหวดัเชยีงใหม ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2536 บริษัท พี.เค.กรุป จํากัด อ.สารภี จ.เชียงใหม พ.ศ. 25 38 บริษัท โรม อพอลโล (ประเทศไทย) จํากัด พ.ศ. 2540 บริษัท บางจากปโตรเลียม จาํกัด (มหาชน) ปจจุบัน บริษัท บางจากปโตรเลียม จาํกัด (มหาชน)