#21 AikidoCMU

36
AikidoCMU NEWSLETTER CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที๒๑ วันทีมีนาคม ๒๕๕๓ (ปีท) หน้า ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . สุเทพ .เมือง . เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ทปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511 ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686 กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379 Email: [email protected]

description

Chiang Mai University AikidoClub Newsletter #21 March 2010

Transcript of #21 AikidoCMU

Page 1: #21 AikidoCMU

AikidoCMU NEWSLETTER

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม ่50200

ติดต่อได้ท ี ่ ปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511 ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379

Email: [email protected]

Page 2: #21 AikidoCMU

บทเรียนจากเมียนมาร.....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓

สายดำของชีวิต .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๙

ไอคิโดสัมพันธ ครั้งที่ ๗ ........ ออม ๑๑สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๓ : การตัดหมากคูตอสูเพียงครั้งเดียวอาจเปนกุญแจไขสูประตูชัย..... NOURNOURS’ MOM ๑๗

เดือนนี้เมืื่อปที่แลว กุมภาพันธ ๒๕๕๒.... นฤมล ธรรมพฤกษา ๑๙

ใชเรขาคณิตเพื่อประสิทธิผลของไอคิโด

... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๒๒

AIKIDO(KA) IN FOCUS นายวศกร มหิทธาฤทธิไกร ๓๐ งานนิฮงไซ ภาควิชาภาษาญี่ปุน ม.ช. ๓๑ มาเยี่ยม มาเยือน: TOMOKO KAYSER และ

CHARLES MAXIMILIAN KAYSER ๓๓ AIKIDO FAMILY: ตอนรับสมาชิกใหม นองสกายและนองนาดา ๓๖

อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล

ดร.สมบัติ ตาปัญญา

สารบาญ

หน้า ๒

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

โฟกัส

ชนแกวคราบ... ผม

Nounours’ Mom

นฤมล

ธรรมพฤกษา

นักเขียนในฉบับ

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 3: #21 AikidoCMU

บทเรียนจากเมียนมารผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

การไปเยือนกรุงยางกุงครั้งแรกในชีวิตของผมระหวางวันที่ 22-24 มกราคมที่ผานมานี้และไดรวมฝกไอคิโดกับเพื่อนชาวพมา ใหบทเรียนอะไรบางอยางแกผมและอยากเอามาเลาสูกันฟงเล็กนอย เผื่อจะเปนประโยชนกับสมาชิกบาง

กอนอื่นคงตองบอกเสียกอนวาเดี๋ยวนี้เราอาจตองเรียกเขาวาชาวเมียนมารตามชื่อใหมของประเทศเขาซะแลว เขาบอกผมวาชื่อที่เราเรียกเขามานานคือ “พมา” นั้นเปนการออกเสียงตามชาวอังกฤษที่มายึดครองเขาเปนอาณานิคมและเรียกเขาวา “เบอรมา (Burma)” แตคำวา “เมียนมาร (Myanmar)” เปนชื่อที่ถูกตองตามสำเนียงภาษาของเขา

มากกวา หน้า ๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 4: #21 AikidoCMU

แถมยังมีละครบรอดเวยระดับอมตะที่สรางจากหนังสือเรื่องนางแอนนากับพระเจากรุงสยาม (Anna and the King of Siam) ที่ฝรั่งรูจักดีอีกดวย

ผมฟงแลวอิจฉาเล็กนอยที่เรายังไมไดเปลี่ยนของเรากลับเปน “สยาม” สักที เพราะนาจะถูกตองกวา “ไทย” เหมือนกัน เวลาผมเจอคนตางชาติจะไดแนะนำตัวเองใหภาคภูมิใจวาผมเปน “คนสยาม” หรือ Siamese เพราะเรายังมีของดีๆ ที่ฝรั่งยังเรียกเราตามชื่อเดิมอยู เชน แฝดสยาม (Siamese twins)

หรือคุณอิน-จัน ที่ไปโดงดังอยูในอเมริกา มีลูกหลานอยูที่นั่นหลายคนจนทุกวันนี้ และในวงการแพทยปจจุบันนี้เมื่อมีฝาแฝดที่ตัวติดกันที่สะโพกเขาก็จะเรียกเปน “แฝดสยาม”

เปนคำศัพทสากลไปแลว ไมมีใครเรียก “แฝดไทย” แนนอน นอกจากนี้แมวไทยและปลากัดไทยของเรา เขาก็เรียก แมวสยาม (Siamese cat) และปลากัดสยาม (Siamese Fighting Fish) เชนเดียวกัน ภาพคู่แฝดอิน - จัน จาก http://supertremendous.

com/Galleries/Bizarre/20-Amazing-Circus-Freaks/Siamese-Twins-355.html#joomimgภาพแมวสยามจาก http://lh6.ggpht.com/mjbme ister/SCs_1IVasOI/AAAAAAAAGxY/3lEjD1sj078/s400/modern-siamese-cat-Deannster.jpgภาพปลากัดสยามจาก http://www.aquahobby. com/gallery/e_Siamese_Fighting_Fish_Betta_splendens_2.php

หน้า ๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 5: #21 AikidoCMU

ในวันที่สองของการอยูที่นั่นคือวันเสารที่ 23 มกราคม ผมใชเวลาฝกในงานสัมมนาตอนเชาสองชั่วโมง หลังกินอาหารกลางวันแลวแทนที่จะพักผอนก็ไปเดินวัดตลอดบาย พอเย็นก็ลงฝกอีกสองรอบ จนในรอบสุดทายและชั่วโมงสุดทายจึงเกิดอาการบาดเจ็บที่กลามเนื้อหลังบริเวณบั้นเอว เจ็บแปลบๆ ขึ้น

มาเฉยๆ โดยที่ไมไดถูกกระแทกหรือลมกระแทก

ความเจ็บปวดเพิ่มดีกรีขึ้นอยางรวดเร็วภายในเวลาไมกี่นาทีผมก็กมไมไดอีก แมแตจะนั่งเคารพก็ตองทำดวยความทรมาน เย็นวันนั้นก็ยกขาขางขวาไมได เพราะถายกก็จะเจ็บที่กลามเนื้อหลังบริเวณบั้นเอวดานขวามือมาก เวลาไอหรือจามก็เจ็บ จะนั่งจะนอนก็ตองระวังเพราะถาผิดทาก็เจ็บทันที เลยตองเดินเอวแข็งตลอดวันอาทิตยในขณะที่เดินทางกลับเชียงใหมตอนสายวันนั้น

[ [ พอถึงบานก็รีบนอนประคบกระเปาน้ำรอน พอถึงวันจันทรและตลอดสัปดาหตอมาก็ตองไปทำกายภาพบำบัดทุกเชาอาการจึงคอยดีขึ้นเรื่อยๆ แตถึงกระทั่งวันนี้ก็ยังมีอาการเจ็บเตือนอยูเล็กนอยแมวาผมจะเคลื่อนไหวไดตามปกติและสามารถฝกโยคะตอนเชาไดเหมือนที่เคยทำตลอดมาหลายปแลวก็ตาม แตยังตองทำดวย

ความระมัดระวังอยู

ในเวลาอันจำกัดที่อยูที่นั่นผมรูสึกวาตองใชใหคุมคา เลยบรรจุกิจกรรมเขาในโปรแกรมจนเต็มไปหมด และเจาภาพเองก็ใหการรับรองดูแลดีมาก ผมเชื่อวาเปนเพราะไดอาศัยบารมีของทานอาจารยใหญฟูคากูซาของเรานั่นเอง ทำใหผมไดติดสอยหอยตามทานไปทุกแหง และบวกรายการของตัวเอง

เขาไปอีกดวย คือการเดินชมเมืองตั้งแตวันแรก และไปเยี่ยมเยียนวัด “ชเวดากอง” อันเปนที่ลือเลื่องถึงความงามและความใหญโตของสถานที่แหงนี้ดวย

หน้า ๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 6: #21 AikidoCMU

หน้า ๖

แลวบทเรียนที่ผมไดรับคืออะไร? ความคิดแรกก็คงจะเปน “ไมเจียมสังขาร”

คงพอคาดเดาไดวาสาเหตุของการบาดเจ็บก็คือการพักผอนไมเพียงพอและออกกำลังมากเกินไป เกินความพอดีและเกินสภาพความฟตของรางกาย ประกอบกับสภาพแวดลอมของเมืองยางกุงไมคอยเอื้อตอสุขภาพดวย คือ อากาศและทองถนน

มีฝุนมาก การรักษาความสะอาดไมคอยดี ชาวพมาจะเคี้ยวหมากกันมากและบวนน้ำหมากแดงๆ ทั่วไปทุกแหงบนทองถนน มีรานขายหมากพรอมปรุงใหเสร็จตามขางถนนหลายแหง การเก็บขยะและสิ่งปฏิกูลดูจะไมคอยมีคุณภาพ และมีความแออัดกันคอนขางมากในยานธุรกิจและโรงแรมรอบๆ ที่พัก ผมก็ออกไปเดินสูดเอาสิ่งเหลานี้เขาไปพรอมกับการชมเมืองหลายรอบตั้งแตวันแรกที่มาถึงเลย

คือผมลืมไปวาไมไดหนุมๆ เหมือนเมื่อกอนแลว และตอไปนี้ผมควรเคารพรางกายของตนเอง ไมใชมันอยางสำบุกสำบันเกินสภาพไป แตบทเรียนที่นาจะมีคามากกวาก็คือควรฝกไอคิโดโดยไมพึ่งพาการใชกำลังกลามเนื้อมากเกินไป ซึ่งที่จริง

อาจารยใหญทานก็จะสอนอยูบอยๆ แตผมก็ยังทิ้งนิสัยเกาที่เคยชินมาหลายปไมได ตอไปนี้คงจะตองพยายามใช “คิ” หรือกำลังภายในใหมากขึ้นกวาเดิม และใชกำลังกลามเนื้อใหนอยที่สุดที่จะทำได

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 7: #21 AikidoCMU

ภาพ Moriji Mochida จาก http://www. jitakyoeibudo.it/index.php?dir=pagine&id=184&m=y&pid=1,69,90

ตามคำบรรยายในวิดีโอบอกวาทานไดสายดำระดับสูงสุดคือสายดำชั้นสิบ (10 ดั้ง) และฝกจนถึงวันที่เสียชีวิตเมื่ออายุ 89 ป ทานกลาววา “ผมใชเวลาถึง 50 ปเพื่อฝกเทคนิคพื้นฐานของเคนโดโดยใช

รางกาย เมื่อผมอายุ 50 ปผมจึงเปลี่ยนวิธีฝกใหมโดยสิ้นเชิง ผมเริ่ม

ฝกเคนโดโดยใชจิตใจและจิตวิญญาณ เมื่อเราอายุถึง 60 ปแลวรางกายสวนลางก็จะเริ่มออนแอ ผมจึงใชจิตเพื่อพลิกผันขอเสียเปรียบอันนี้ R เมื่อผมอายุ 70 รางกาย

ทั้งหมดของผมก็ออนแอลงไป และตอนนี้แหละที่ผมไดฝกจิตใหไมหวั่นไหว เมื่อจิตเรานิ่งแลวมันจะเปนเหมือนกระจกเงาที่สะทอนภาพจิตใจของคูฝกใหคุณเห็นไดชัดเจน แมคุณเพียงแคยืนในทาที่สบายและตามธรรมชาติที่สุดแลว คุณก็สามารถกันไมใหคูตอสูเขากระทำคุณได” [ คำใหสัมภาษณของทานนี้ดู

และฟงไดจากยูทูบนะครับ เพียงใช กูเกิ้ลพิมพชื่อภาษาอังกฤษของทาน

ลงไปเทานั้นเองก็จะเจอไดทันที

ขอคิดซึ่งนาจะสรุปบทเรียนนี้ไดดีที่สุด คือคำสอนของอาจารยเคนโดชาวญี่ปุนทานหนึ่งชื่อโมริจิ โมชิดะ (Moriji Mochida) ซึ่งเกิดในป ค.ศ. 1885 (พ.ศ. 2428) ถายังมีชีวิตอยูตอนนี้ก็คงอายุ 125 ปแลว

ขณะที่ปรากฏตัวในวิดีโอที่มีคำพูดนี้ทานอายุ 76 ป เปนภาพขาวดำพราๆ (คำนวณเวลาแลวก็นาจะถายทำในป พ.ศ. 2504 คือเมื่อ 49 ปมาแลว)

Moriji Mochida

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 8: #21 AikidoCMU

      ยังมีแงมุมนาสนใจเกี่ยวกับเรื่องความสามารถของทานอาจารยผูนี้ในการอานใจคูฝกหรือคูตอสูในวิชาเคนโดอีก คือปจจุบันในวงการประสาทวิทยาและจิตวิทยาไดมีการคนพบสิ่งใหมเกี่ยวกับสมอง ซึ่งถือกันวาเปนการคนพบที่สำคัญมากคลายกับการคนพบ DNA ทีเดียว คือเซลลประสาทสมองที่เรียกชื่อกันวาเซลลกระจกเงา (Mirror neuron) ซึ่งเปนเซลลที่ชวยใหมนุษยเรียนรูจากการสังเกตการแสดงออกของผูอื่น ซึ่งบางทีเรียกวาการ “อานใจ” หรือเขาถึงความรูสึกนึกคิด ความตองการของคนที่ตนเองกำลังมีปฏิสัมพันธหรือเกี่ยวของอยู

[ คนที่มีทักษะทางสังคมสูง เขาใจคนอื่นไดดีเซลลกระจกเงาจะทำงานไดดี แตในเด็กออทิสติกเซลลสวนนี้จะไมทำงาน ทำใหมีอาการของออทิสติกคือไมสามารถเขาใจผูอื่นไดและหมกมุนอยูแตในโลกสวนตัว

      จะวาไปแลวการฝกไอคิโดหรือฝกศิลปะการตอสูอื่นๆ ก็จะตองอาศัยการทำงานของเซลลกระจกเงามากทีเดียว  เพราะตองสังเกตและเลียนแบบครูผูสอนอยูตลอดเวลา และเมื่อตองเผชิญหนากับคูฝกหรือคูตอสู คนที่ชำนาญก็จะสามารถ “อานใจ” อีกฝายหนึ่งออกและปรับกลยุทธหรือเทคนิคการเคลื่อนไหวของตนเองใหเหมาะสม ผมเขาใจวาสิ่งที่อาจารยโมริจิทานพูดวา “เมื่อจิตเรานิ่งแลวมันจะเปนเหมือนกระจกเงาที่สะทอนภาพจิตใจของคูฝกใหคุณเห็นไดชัดเจน” นาจะเปนเรื่องเดียวกัน แสดงวาทานตองฝกจนกระทั่งเซลลกระจกเงาของทานทำงานไดในระดับสูงสุดเลยทีเดียว

      หวังวาพวกเราอานเรื่องนี้แลวคงไดความบันดาลใจใหฝกฝนวิชาไอคิโดดวยจิตใจที่ละเอียดออนยิ่งขึ้น  และพากเพียรจนกระทั่งเราสามารถ “อานใจ” คนรอบตัวเราไดทั้งเวลาที่อยูบนเบาะและนอกเบาะนะครับ

ภาพ Moriji Mochida จาก http://chioky. deviantart.com/journal/17599022/

หน้า ๘

Moriji Mochida

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 9: #21 AikidoCMU

สายดำของชีวิตอ.ธีระรัตน บริพันธกุล

! ปอมสอบผานไดสายดำไปแลว ผมเชื่อวาทุกคนที่นั่งชมการสอบตางลุนเอาใจชวยใหปอมสอบผานใหได พวกเราไมกังวลวาปอมจะทำไดไมดี แตกังวลวาปอมจะหมดแรงเสียกอน

! สุดทายการสอบก็ผานไปไดดวยดี เราทุกคนตางประทับใจการสอบครั้งนี้มาก ไมใชเพราะปอมเปนผูหญิงตัวเล็กๆนะครับแตเปนเพราะปอมเปนแบบอยางที่ดีของความพากเพียรในการฝกซอมทั้งๆที่ชีวิตจริงของปอมที่ผานมาก็เต็มไปดวยความยุงยากในดานการทำมาหากินและการดูแลแม

หน้า ๙

      Shodan ของชมรมที่ผานมา ตั้งแตอาจารยสมบัติ ผม พี่หมอ รัตนพล ทายสุดคือปอม ลวนฝกกันมาไมต่ำกวา 10 ป ระยะเวลาดังกวาเปนบทพิสูจนความรักตอวิชาไอคิโด ในขณะที่ชีวิตสมรสใชเวลาในการพิสูจนนอยกวาคือแค 7 ปเทานั้น (ฝรั่งเขาเรียกวา 7 years itching คำวา itching แปลวา “คัน” หมายถึงความสุขในชีวิตคูเริ่มหมดไป )

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 10: #21 AikidoCMU

! ที่ผานมาการสอบยังคงใชรูปแบบเดิมคือการใชเทคนิกการปองกันตัวในรูปแบบตางๆ ใชเวลาสอบไมต่ำกวา 45 นาทีถึงหนึ่งชั่วโมงและลงเอยดวยความเหนื่อยสุดๆ จึงถือไดวาการสอบเปนวิกฤติอยางหนึ่งของผูที่เรียนวิชานี้ นั่นก็คือวิกฤติของการเปลี่ยนแปลง การเติบโตและงอกงามทั้งทางฝมือและจิตใจ เมื่อการสอบผานพนไปสิ่งที่ตามมาจึงความภาคภูมิใจ ความเชื่อมั่นและความมุงมั่นที่จะเรียนรูเพิ่มขึ้นตอไป

      มีผูกลาวไววาเมื่อไหรที่ไดสายดำ  เมื่อนั้นเปนเปนการเริ่มตนชีวิตการเรียนไอคิโดใหมหรืออาจจะ ถือเปนจังหวะของการสังคายนาตนเองใหม

      เราทุกคนตางยินดีที่ปอมมาถึงจุดนี้ได แมจะเปนกาวเล็กๆแตก็เปนกาวที่ยิ่งใหญและขอใหปอมกาวตอไปเรื่อยๆรวมทั้งเปนตัวแบบที่ดีของนองๆโดยเฉพาะนองๆที่เปนผูหญิง สำหรับผมแลว ผมคิดวาชีวิตจริงของปอมแมจะไมมีการสอบเลื่อนสาย แตปอมก็ไดสายดำไปตั้งนานแลวครับ

หน้า ๑๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 11: #21 AikidoCMU

ในท่ีสุด งานไอคิโดสัมพันธคร้ังท่ี 7 (AF 7th ) ท่ีชมรมไอคิโดมหาวิทยาลัยเชียงใหมเปนเจาภาพก็ผานไปดวยดี เม่ือมองยอนกลับไปตอนท่ีพวกเราชวยกันเตรียมงานแลว ทำใหรูสึกวาพวกเราไมไดทำงานกันเหน่ือยเปลาจริงๆ นับต้ังแตปใหม (ช่ือประธานชมรมฯ)ไดนัดพวกเรามาประชุมเพ่ือเตรียมงานกัน แมวาการประชุมแตละคร้ังจะไมสามารถอยูกันพรอมหนา เพราะแตละคนก็ตองมีภาระท่ีจะตองรับผิดชอบ ไมวาตองไปทำงานตางจังหวัด การติดภาระหนาท่ีๆทำใหมารวมวางแผนงานไมได หรือไมวาจะเปนการติดสอบประจำกลางภาคการศึกษา แต ดวยความเปนหน่ึงเดียวกัน ระยะทางจึงไมเปนอุปสรรคแตอยางใด และดวยเทคโนโลยีไรสาย ไมวาจะเปนการติดตอหรือการติดตามงานท่ีไดรับมอบหมายไปก็

ทำใหพวกเรายังดำเนินการเตรียมงานกันตอไปได ชางเปนเร่ืองท่ีนายินดีจริงๆกับผลงานคร้ังน้ี # เตย เปนหัวหนางานในการทำปายประชาสัมพันธ และปายหลักของงาน พอเร่ิมจัดทำ ทีมงาน(ไมใสรายแตชอบปายสี) อันประกอบดวย เอคูหู แจงและหยีทีมเดิมท่ีเปนมือปายสีต้ังแตงาน AF 5th ก็บังคับ เอย ชักชวนนองๆ อันมีนามสมมุติตามท่ีถูกต้ัง วา นองเงาะ นองมังคุด และนองสมมาชวยงานดวย (ไมทราบวาตกกระไดพลอยโจนรึเปลา) แลวก็ยังมี เปา ปใหม ขัวญ เปล และมีพ่ีปอมเปนฝายสงขาวสงน้ำ ดูแลวเหมือนโรงงานนรกยังไงก็ไมรูนะ เพราะเร่ิมทำงานกันตอนเย็นๆ แลวก็เลิกตอนงวงโนนแหละ ดวยความท่ีกลัวงานไมเสร็จกัน เลยไมมีเวลาออกไปหาขาวหาน้ำกินเองแนๆ 

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido Friendship 7thไอคิโดสัมพันธ ครั้งที่ ๗

หน้า ๑๑

ออม... รายงาน

Page 12: #21 AikidoCMU

หน้า ๑๒

# พ่ีปอมนอกจากจะเปนคนคอยดูแลเร่ืองอาหารการกินใหกับทีมงานแลว ยังเปนแมงานในการดูแลสถานท่ีอีกดวยหละ พ่ีแกก็นัดนองๆมาชวยกันต้ังแตประสานงานกับเจาหนาท่ีดูแลอาคารไปจนถึงขัดพ้ืนทำความสะอาดสถานท่ีกันเลยทีเดียว นับวาเปนทีมงานท่ีแข็งแกรงมากเลยเชียวหละ เร่ิมต้ังแต เดือนเจาแมมือหน่ึงแหงการทำความสะอาด ปงหนุมหุนกำยำสูงใหญประจำชมรมฯ (มีปงหน่ึง คน เทากับมีคนขัดพ้ืนสามคน) เบญ ม้ิน  และปใหม (อีกแลว ประธานคนขยัน) มือตีฝุนออกจากเบาะฝกไอคิโด ตีเบาะฯต้ังแตเชา ยันหาทุม (ก็มันเม่ือย ก็เลยตีๆ หยุดๆไปจนเสร็จ) 

# สวนพ่ีเล็ก ชายรางล่ำบึกแตใจดี เปนพองานเร่ืองระบบไฟฟาและงานท่ีตองใชพลังมาก เชน ขนไม ขนเวที ขนตนไมตางๆ และแนนอน แรงงานคือหนุมๆท้ังหลายในชมรมฯน่ันเอง 

# สำหรับงานส่ือส่ิงพิมพ แมงานคือพ่ีกบ เจาแมไอทีประจำชมรมฯ (อันน้ีออมยกยองเองนะ ไมเก่ียวกับใคร เพราะพ่ีแกเปนคนกอต้ังเมลลกรุปของชมรมฯหนะ) และมีพ่ีจรัลเปนผูจัดพิมพ # สวนอาจารยผูใหญท้ังหลายท่ีมารวมงานน้ัน ไดรับการดูแลอยางอบอุนโดย อาจารยท่ีปรึกษาของชมรมฯ คือ อาจารยสมบัติ อาจารยธีระรัตต และพ่ีคริส ขัวญใจของนองๆ  นอกจากน้ี ยังมีพ่ีรัตนพล อ้ัม ไต เวา แบงค ออป และทานอ่ืนๆท่ียังเปน ฝายสนับสนุนงานอีก 

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 13: #21 AikidoCMU

# วันแรกท่ีเราเร่ิมงาน คือ วันท่ี 15 มกราคม 2553 กอนเร่ิมงานสัก 1 ช่ัวโมง พวกเรากำลังสาละวนชวยกันปูเบาะสำหรับฝกไอคิโดน้ัน พ่ีปอมก็โทรมาบอกวาปายขนาดใหญท่ีพวกเราอุตสาหชวยกันทำอยางต้ังใจน้ันคงตอง

เอาออกจากจุดติดต้ัง เพราะจากการสอบถามผูอาวุโสในชมรมฯหลายทานน้ัน ไดลงมติเกรงวาอาจไมเหมาะสมท่ีจะเอาไปต้ังเปนฉากดานหลังของรูปโอเซนเซ ใหเราดำเนินการแกปญหาตรงน้ีเปนการดวน  

# แยละซี จะทำไงดีหวา เร่ืองแรงงานขนยายน้ันไมใชปญหา แตปญหาทางดานจิตใจของคนทำน่ีซี อุตสาหต้ังใจทำกันมาต้ังหลายคืนขนาดน้ี  จะตองโดนดับดาวรุงซะแลว  ดวยความชาญฉลาดของระดับมันสองของนักบิน อ้ัมเลยออกความคิดหาวัสดุมาบังฉากน้ีไว ดังน้ัน การเปดเบาะฝกในภาคเชาซ่ึงนำการฝกโดย อาจารยสมบัติ เจาสำนักชมรมไอคิโดมหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงผานไปไดดวยดี ดวยฉากหลังรูปโอเซนเซท่ีมีรูปตารางส่ีเหล่ียมผืนผาขนาดใหญสีขาว  ท่ีเกิดจากการหันปายดานหลังของปายท่ีเอาไปปดทับออกมา 

# พอใกลจะถึงการเปดเบาะอยางเปนทางการในภาคบาย ฮัตโตริเซนเซ อาจารย ซ่ึงเพ่ิงไดรับ 7th Dan และคุณคัตซึโกะ ภรรยาของทาน ท่ีอุตสาหเดินทางมาจากประเทศญ่ีปุนเพ่ือมารวมงานในคร้ังน้ี ไดมาถึงและใหความสนใจวาอะไรอยูหลังปายสีขาวท่ีปดทับไว หลังจากท่ีทานท้ังสองไดชมภาพท่ีซอนอยูฉากหลังของรูปปรมาจารยและทราบถึงความหมายและความต้ังใจสรางสรรคภาพน้ันของทีมงาน ทานก็เสนอวาควรจะเอาปายท่ีปดไวออก เพราะไมนาจะมีปญหาอะไร 

# เม่ืออาจารยใหญฟูคาคูซา ชิฮันไดเดินทางมาถึงท่ีโดโจ อาจารยญ่ีปุนท้ังสองทานจึงปรึกษากันและสงสัญญาณใหพวกเราเผยแผนปายน้ันใหเปนฉากหลังได และแลว เวลาเปดงานงานไอคิโดสัมพันธคร้ังท่ี 7 (AF 7th ) อยางเปนทางการก็ไดมาถึง 

หน้า ๑๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 14: #21 AikidoCMU

f วันน้ีอาจารยใหญฟูคาคูซา ชิฮัน ทานมีอาการเร่ิมๆของการเปนหวัด คือเจ็บคอ แตก็ไมมีอะไรนาเปนหวง เพราะมีพ่ีคริส นายแพทยพิเศษคอยดูแลอยางใกลชิด พิธีการเปดงาน AF 7th จึงไดเร่ิมข้ึนอยางเรียบงายโดยการกลาวของทานอาจารยใหญ ฟูคาคูซา ชิฮัน และการแนะนำเทคนิคไอคิโดอยางเปนกันเอง สวนในชวงท่ีสอง ฮัตโตริ เซนเซเปนผูแนะนำเทคนิคไอคิโดจนเสร็จส้ินการฝกวันน้ีในเวลาบาย 4 โมง f และในเวลา 6 โมงเย็น ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหมก็ตอนรับผูท่ีมารวมงานในวันน้ีอยางไมเปนทางการดวยอาหารไทยๆ ท่ีรานท่ีไดจัดเตรียมไว 

f วันท่ี 2 ของงาน พวกเราทีมงานเบาแรงขึ้นเยอะเลย เม่ือมีชาวไอคิโด มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณจากเมืองหลวงมาสมทบเพ่ิม หลังจากท่ีมีบางสวนไดเดินทางมารวมงานแลวต้ังแตวันแรก เพราะวันน้ีพวกเราตองชวยกันปูบาะสำหรับการฝกฯจนเต็มพ้ืนท่ีใตตึกใหม อ.มช.(อาคารกิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม) กันเลยทีเดียว แตก็ยังดูเหมือนพ้ืนท่ีเล็กลงไปถนัดเพราะจำนวนของผูรวมฝกมีเกือบๆ 60 คนเลยทีเดียว f การฝกชวงเชาของวันท่ีสองของกิจกรรมน้ี นำฝกไอคิโดโดย ฮัตโตริ เซนเซ สวนภาคบายนำฝกโดยทานอาจารยใหญ ฟูคาคูซา ชิฮัน และกิจกรรมพิเศษของเย็นวันน้ีคือ งานเล้ียง

ตอนรับผูเขารวมกิจกรรมฯอยางเปนทางการพรอมกิจกรรมแลกของขวัญในหัวขอ ”ของประดิษฐมือสอง” f สวนวันสุดทาย  เพ่ือใหผูรวมงานฯไดพักผอนกันอยางเต็มท่ีตามอัธยาศัย จึงไมมีการฝกไอคิโดรวมกันในภาคเชา แตเร่ิมฝกรวมกันเฉพาะภาคบายเวลาเดิม คือบายสองโมงตรง

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑๔

Page 15: #21 AikidoCMU

f แลวปดทายการฝกซอมดวยการเปนพยานในการสอบเล่ือนสายข้ึนสองข้ันเปน Sho-dan ของพ่ีปอม ท่ีจะเปนความภาคภูมิใจของชาวไอคิโด ดวยการเปนไอคิโดสายดำหญิงคนแรกของชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม (นองๆบางคนก็โลงใจซะที ท่ีพ่ีปอมดองสายอยูต้ังหลายปเพราะตองการพัฒนาฝมือตัวเองใหคูควรกับการเปนไอคิโดสายดำอยางแทจริง) 

f ในการสอบเล่ือนสายฯคร้ังน้ี  ทำใหพวกเราไดเห็นเทคนิคไอคิโดท่ีแทจริง คือการท่ีพ่ีปอมตองฝกฝนพัฒนาตัวเองมาโดยตลอดเพ่ือใหสามารถรวมกำลังทางกาย(พลังทางกาย)และจิตใจ(พลังทางจิตวิญญาณ)ใหเปนหน่ึงเดียวกัน f ท่ีกลาวไดเชนน้ีเพราะพ่ีปอมตองเหน็ดเหน่ือยกับการดูแลความเรียบรอยของงานกิจกรรมคร้ังน้ีมาต้ังแตการเตรียมงานจนถึงงานลุลวงมาวันสุดทายมาตลอดสัปดาห  ถาพูดถึงพลังกายพ่ีปอมมีไมเต็ม 100%

แนนอนสำหรับการสอบมหาโหดในคร้ังน้ี เพราะฉะน้ัน ใจ ใจลวนๆ(คราบ พ่ีนอง) ในการใชเทคนิคตางๆของไอคิโด ดวยการประสานพลังใจกับการเคล่ือนไหวของรางใหสมบูรณท่ีสุดเขาควบคุมฝายตรงขาม  f เตย ปง และแบงคจากชมรมไอคิโด  มหาวิทยาลัยเชียงใหม รับอาสาเปน Uke (ฝายเขาโจมตี) ใหกับพ่ีปอมในการสอบคร้ังน้ี หมุนเวียนผลัดเปล่ียนกันประมาณ 30 นาที ในขณะท่ีพ่ีปอมเปน Nage (ผูรับมือจากการโจมตี)ลำพัง f ดวยความเมตตาของ อาจารยใหญ ฟูคาคูซา ชิฮัน พ่ีปอมจึงไดรับอนุญาตใหพักได แตพ่ีปอมก็พักประมาณ 1 นาทีแลวดำเนินการสอบตอ โดยอาจารยใหญฟูคาคูซา ชิฮัน ไดเชิญคุณณัฐพรรธและคุณธงชัย นักไอคิโดสายดำจากสมาคมไอคิโดแหงประเทศไทย (Renbukan) มาเปน Uke ไหพ่ีปอม โดยท้ังสองฝายผลัดกันทุมดวยเทคนิคไอคิโดอยางอิสระ คนละ 10 คร้ัง 

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 16: #21 AikidoCMU

หน้า ๑๖

f บรรยากาศการสอบคร้ังน้ีเปนไปดวยความระทึก ทุกคนตางสงกำลังใจชวยพ่ีปอมอยางเต็มท่ีจนการสอบลุลวงผานไปดวยดี ดวยเวลาท่ีใชในการสอบเกือบ 50 นาที หลายคนในท่ีน้ันถึงกับน้ำตาร้ืนดวยความยินดีท่ีพ่ีปอมสามารถดำเนินการสอบไดลุลวงสำเร็จอยางงดงาม f แลวเวลาก็ไดดำเนินมาถึงชวงสุดทาย คือการกลาวปดกิจกรรม  AF 7th 2010 โดย ทานอาจารยใหญ ฟูคาคูซา ชิฮัน f จากงานคร้ังน้ี ทำใหเราไดรูวา ความรัก ความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันของทุกคน ท้ังฝายเจาภาพและผูรวมงานน้ัน ทำใหงานสำเร็จและลุลวงไปไดดวยดีอยางสมบูรณ 

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 17: #21 AikidoCMU

สุภาษิตโกะกับขาพเจา

(๓)โดย Nounours’ Mom

! จากสำนวนสุภาษิตนี้ ทำใหขาพเจานึกถึง “การอาเตมิ (Atemi)” ของไอคิโด! Atemi เปนการรับมือของ นาเงะ (Nange) โดยตรงเขาใส อูเกะ(Uke) เจตนาเพียงเพื่อ เบี่ยงเบนความสนใจของอูเกะเทานั้น ไมไดมีเจตนาเพื่อทำราย เมื่ออูเกะถูกนาเงะอาเตมิเขาใส ก็จะเกิดการชะงัก หรือเสียสมดุล ! ดังนั้น ชวงจังหวะที่อูเกะเกิดอาการนี้ขึ้น จึงเปนชองทางใหนาเงะสามารถใชเทคนิคไอคิโดทำการเขาควบคุมอูเกะ ดวยความปลอดภัยทั้งสองฝาย

<http://NounoursMom.hi5.com>

! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลนโกะเทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกนแทของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิตวิญญาณของไอคิโดแลว ขาพเจาไมปฏิเสธเลยวามันเปนธรรมชาติและชีวิตของขาพเจาไปแลว

! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกมแหงภิภพ โดย วันชัย ประชาเรืองวิทย ที่ขาพเจาไดรับมาจากเพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบสุภาษิตโกะบางขอที่จุดประกายความคิดใหขาพเจาไดเขียนบทความนี้ขึ้นมา

เพื่อเผยแพรสุภาษิตโกะที่ขาพเจาเห็นวาสอดคลองกับหลักไอคิโดที่ขาพเจายึดถือเปนแนวทางในการใชชีวิตอยางสงบสุขตามความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึดติดวาผูใดจะตองเห็นดวย”

“การตัดหมากคูตอสูเพียงครั้งเดียว อาจเปนกุญแจไขสูประตูชัย”

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑๗

Page 18: #21 AikidoCMU

<http://NounoursMom.hi5.com>

! ในชีวิตของคนเราก็เชนกัน เมื่อมีปญหาที่เราคิดวารายแรงจนเราไมสามารถรับมือไดไหวเกิดขึ้นกับเรา เราจะมองไมเห็นทางออกเลยตราบใดที่เรายังวาวุน และหมกมุนอยูกับการแกปญหานั้น เหมือนการรับมืออูเกะอยางชุลมุนจนไมสามารถใชเทคนิคใดๆของไอคิโดในการควบคุมอูเกะไดเลย หากเราไมทำใหอูเกะเกิดการชะงักงัน

ปญหาก็เชนกัน ตราบใดที่เราไมหยุดหมกมุนอยูกับมัน มันก็ยิ่งเหมือนดายเสนยาวที่พันกันไป พันกันมาจนยุงเหยิงแทบจะแกะไมออกเลย ดายที่ยุงเหยิงใครเห็นคงไม

คิดที่อยากจะแกไขใหมันออกจากกัน คงคิดเพียงแความันใชไมไดแลว ! ตัดดายที่มันพันกันทิ้งไปก็หมดปญหา แตสำหรับขาพเจาแลว ดายเสนหนึ่ง ดองผานกระบวนการสูญเสียตางๆมาหลายขั้นตอนตั้งแตการเพาะปลูก การ

ดูแลฝายดวยหยาดเหงื่อของเกษตรกร และกระบวนการทำเปนเสนดาย ตองใชทรัพยากรดิน น้ำ เวลา และแรงกายของชีวิต

ติดต่อ Nounours’ Mom ได้ที่

หน้า ๑๘

! ดังนั้น เราจึงตองใชใหมันอยางคุมคาดวยชีวิตของเราเชนกัน การแกะดายที่พันกันนั้นก็ไมใชเรื่องยาก เพียงแตเราตองหยุดที่จะแกะมันออกอยางไรทิศทาง แลวเราจึงตองดูวาดายมันสอดประสานกันเชนไรแลวคอยแกะหรือดึงมันใหคลายตัวกันออกไปทีละขั้นทีละตอนตามทิศทางของมัน ! ปญหาที่แกไมได ก็เชนกัน ลองหยุดที่จะแกไขปญหานั้น แลวลองมาตรึกตรองดูถึงสาเหตุและที่มาของปญหานั้นด ูแลวเราก็จะพบวาเราควรจะเริ่มตนการแกปญหานั้นจากจุดไหนกอน เพื่อใหปญหานั้นคลี่คลายลงไปทีละขั้น ทีละตอน แลวในที่สุดปญหานั้นก็จะหมดไป

ภาพยืมมาจาก http://babadoll.exteen. com/20090823/entry-1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 19: #21 AikidoCMU

! บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อบอกเลาประสบการณของกบที่ไดมีโอกาสไปสัมผัสกับการฝกไอคิโดที่ประเทศญี่ปุน ตั้งแตปลายป ๒๐๐๘ เปนตนมา ตองขอขอบคุณทุนปญญาชนสาธารณะ จากนิปปอนฟาวเดชั่นที่ใหทุนไปทำวิจัยเรื่อง “บทบาทศิลปนกับการทำเมือง นาอยู” ณ ประเทศญี่ปุนและอินโดนีเซียเปนเวลาหนึ่งปเต็มคะ

อาทิตย ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๒

! วันนี้ตอนบายโมงเดินทางไปที่บูโดกังเพราะเพื่อนสนิทชื่อโคอิจิโรและหนุมธิเบตชื่อดอรจีองครักษทะไลลามะไดรับบัตรฟรีจากฟูจิมากิเซนเซ แตดอรจีไมวางก็เลยเปนโชคของเรา

วันนี้มีการสาธิตบูโดแบบตางๆของญี่ปุน

เดือนนี้เมื่อปที่แลวประสบการณ์จากการฝึกที่ฮมบุโดโจ นฤมล ธรรมพฤกษา

หน้า ๑๙

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 20: #21 AikidoCMU

หน้า ๒๐

มีเพื่อนๆจากฮมบุมาชมดวย แตไมมากเทางานคากามิ บิรากิเมื่อเดือนกอน นายแทนหนุมมาเลยสามดั้งก็มาถายวีดีโอดวย การแสดงสวนใหญเปนการใชอาวุธ โดโจศิลปะการปองกันตัวตางๆก็ทะยอยกันมาสาธิต มีทั้งดาบ งาว เคียว ลูกตุม และจบลงที่ปนใหญสมัยยุคเอโดะ โห… ตื่นเตนมาก เสียงดังสุดๆ

พุธ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๒

โทริอุมิเซนเซก็เขามาพรอมถาดใสใบประกาศ เราเอาตั่งเตี้ยๆมาวาง โยโกตะเซนเซก็เขามา จากนั้นโดชูและนองชิโดอินตัวโต(ฮิโนเซนเซ-สามดั้ง)ก็เขามาถายรูปให

! โดชูมอบใบประกาศใหนายนาโอโตะนิก้ิว ซึ่งตอนนี้สอบไดอิกกิ้วแลว สำหรับอีกสิบคนที่เหลือก็สอบผานนิกิ้ว โดยมีคาดิสาวจากเอสโทเนียเปนตัวแทนของพวกเราไปรับใบประกาศ จากนั้นก็ถายรูปรวม โดชูใหโอวาท พวกเราก็คำนับ แลวทานก็ออกไป

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 21: #21 AikidoCMU

! จากนั้นโทริอุมิเซนเซก็มอบใบประกาศใหกับพวกเราทุกคนที่ผานชั้นเรียนไอคิโดกักโก แลวก็มอบใบประกาศใหกับทุกคนที่สอบสายผาน แลวโยโกตะเซนเซก็ใหโอวาท จบดวยโอวาทของโทริอุมิเซนเซ

! เรารูสึกอยากรองไห วันนี้เปนวันที่เราจะเจอกันเปนวันสุดทายแลว ใจหายเหมือนกัน ทั้งที่เราไมไดเจอกันมากไปกวาสัปดาหละสองวัน และก็ไมไดมีปฏิสัมพันธกันมากไปกวาฝกไอคิโดเทานั้น แตก็ยังรูสึกผูกพันอยางมาก

หน้า ๒๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

จากนั้นเราก็พากันไปกินเลี้ยงขอบคุณเซนเซที่รานอาหารซูโมใกลโดโจ

Page 22: #21 AikidoCMU

ใช้เรขาคณิคเพื่อประสิทธิผลของไอคิโดสโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน

อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

f วันนี้ไมไดตั้งใจมาสอนวิชาคณิตศาสตรนะครับ ทั้งสวนตัวผมเองไมชอบวิชาคณิตเทาไร ตั้งแตมอปลายก็ไดเกรดต่ำกับคณิตศาสตรมาตลอด แตเดือนธันวาที่ผานมา ทานบกกอของเราก็เอาบทความหนึ่งมาใหอาน  เปนเรื่องเกี่ยวกับ เรขาคณิตในไอคิโด อานแลวนาสนใจมาก ทั้งยังเปนเรื่องที่อาจารยฟูคาคูซาไดเลาถึงในการฝกไอคิโดสัมพันธเมื่อ 15-17 มกราคมที่ผานมาอีก ทำใหผมเกิดแรงบันดาลใจไปแปลบทความนี้มาสูสายตาผูอานทุกทาน หากสำนวนแปลไมเพรียวลม แข็งๆไปบางก็ขออภัยดวยนะครับ  

f บทความนี้แปลจาก Principles of the Circle, Square and Triangle  เนื้อหาการแปลมีดังนี้ ครับ 

หน้า ๒๒

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 23: #21 AikidoCMU

Principles of the Circle, Square and Triangle 

f ปรมาจารยใชเรขาคณิตมาชวยอธิบายใหศิษยทั้งหลายเขาใจไอคิโดมากขึ้น แนวคิดนี้มาจากจักรวาลวิทยาตามขนบของลัทธิชินโต เรียกวา “โกเกียว โกเกน (Gogyo Gogen) ที่พูดถึงสภาพการมีอยูของธาตุตางๆทั้ง น้ำ ของแข็ง และอากาศ ที่สามารถเลื่อนไหล เปลี่ยนสภาพและเชื่อมโยงกัน

f “ซันมิ-ซันเกน (Sanmi-Sangen)” คือ องคประกอบหลักสามประการที่กอรปกันขึ้นเปนทุกสิ่งที่ดำรงอยูในโลกในทุกรูปแบบ สัญลักษณสามประการใชในการอธิบายความหมายและชี้แนวทางไปสูชะตากรรมของมนุษย เราสามารถมองเห็น “ซันมิ-ซันเกน” ไดในหลายระดับ

f รูปทรงที่เปนแกนสำคัญของไอคิโดก็คือ “วงเกลียวรูปกนหอย” แทนดวยสัญลักษณวงกลม สิ่งนี้ปรากฏอยูทั่วจักรวาล เชน เราจะเห็นวงขดรูปกนหอย (5/7 logarithmic spiral) นี้ ในการเรียงตัวของจักรวาล เชน ทางชางเผือก เกลียวของดีเอ็นเอ และอนุภาคของอะตอม

f โอเซนเซไดสอนวา พลัง“คิ” เคลื่อนอยูในกายในรูปแบบการหมุนเปนวงเกลียวจากลางสูบนเพื่อดึงพลังงานแหงจักรวาล

f โอเซนเซ ไดมองเห็น ความสัมพันธระหวางทฤษฏีนี้กับหลักการของไอคิโด โดยใชสัญลักษณทางเรขาคณิตสามอยาง ไดแก วงกลม (มารุอิ), สี่เหลี่ยม (ชิกากุ) , สามเหลี่ยม (ซันกากุ)  ในการอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และเทคนิคที่แตกตางกัน หน้า ๒๓

รูปจาก http://integrationtraining.blogspot. com/ 2008_06_01_archive.html

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 24: #21 AikidoCMU

“รางกายควรมีลักษณะเปนเหมือนรูปสามเหลี่ยม สวนจิตใจควรมีลักษณะเปนเหมือนรูปวงกลม

สามเหลี่ยมสะทอนภาพของจุดกำเนิดพลัง และลักษณะกายภาพที่มีความมั่นคงสูงสุด วงกลมเปนสัญลักษณของความสงบ สมบูรณ และเทคนิคที่ไมรูจบสิ้น 

สวนสี่เหลี่ยมสะทอนภาพความหนักแนน ซึ่งเปนพื้นฐานของการควบคุมประยุกตใชอยางมีประสิทธิภาพ”

โอ เซนเซ

สามเหลี่ยม : ปรมาจารยเปรียบรูปสามเหลี่ยมเหมื่อนการเคลื่อนที่ของน้ำ น้ำเปนสัญลักษณของการตอตานที่นอยที่สุด   ซึ่งผูฝกไอคิ

โดทุกคนควรถือเปนแบบอยาง  ตัวอยางของการเคลื่อนที่แบบสามเหลี่ยมก็คือเทคนิคการเขาหา(อิริมิ) ในรูปแบบตางๆ เชน

เดียวกับการรับมือกับดาบที่ฟนดาบลงมา ผูฝก(นาเงะ) จะเคลื่อนที่เขาไปในตำแหนงที่สามารถปองกันตัวเองไดอยาง

เหมาะสม

f ซึ่งถาเราพิจารณาดูรูปสามเหลี่ยม ก็จะพบวามันประกอบไปดวยสามมุม คือ สองมุมอยูดานลาง และมุมหนึ่งเปนมุมยอดอยูดานบน สะทอนใหเราเห็นวามุมสองมุมที่อยูบนฐานลางนั้นดูหนักแนน มั่นคงมาก และเปนตำแหนงที่นำไปสูการใชเทคนิค“อะเตมิ”1

f เราสามารถเปรียบรูปสามเหลี่ยมเหมือนเทคนิคการอิริมิ เพราะมันเปนการเคลื่อนเขาหาอยางฉับไวในแนวตรง ไมมีการหมุนตัวใดๆ การเคลื่อนที่ในแบบนี้ บางครั้ง ไมเพียงแตจะมีประสิทธิผลมาก แตยังทำใหคูตอสูเสียสมดุลไดอยางยอดเยี่ยม 

หน้า ๒๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 25: #21 AikidoCMU

 วงกลม : วงกลมมาจากภาษาญี่ปุนวา “จู” (Ju) ซึ่งมีความหมายวา ความสุภาพออนโยนและนุมนวล แนวคิดเรื่อง “จู” เปนหลักของการดึงเมื่อถูกดัน และดันเมื่อถูกดึง แนวคิดเรื่องวงกลมก็เหมือนกับลูกบอล  เวลาโดนปะทะ ลูกบอลก็จะกลิ้งไปเหมือนการหมุนตัว  ไปขางๆในระยะประชิด (ไท-สบาคิ) การหมุนตัวไปดานขางในระยะประชิดทำใหคูตอสูจูโจมลำบาก เทียบกับการปะทะกันดานหนา จะเปดโอกาสใหคูตอสูโจมตีเราไดซ้ำแลวซ้ำเลา 

f หลังจากการจูโจมครั้งแรก ควรเคลื่อนที่เหมือนวงกลมไปอยูดานขางของคูฝก แตอยาแชอยูนาน ใหตามการเคลื่อนไหวของฝายตรงขามและเขาควบคุม เวลาเหมาะที่จะใชเทคนิคนี้ คือในชวงกอนที่อีกฝายจะสงแรงกลับมา  ไมวาอีกฝายจะยังคงเขามาหาหรือวาเขาจะดึงตัวกลับ นี่เปนเหตุผลวาทำไมเทคนิคจำนวนมากในไอคิโดจึงดูเหมือนการรับเขามาสูความรวมมือกัน เหมือนวามันชวยใหเกิดเทคนิคแหงความรวมมือซึ่งเชื่อมโยงไปถึงการรับและรวมมือทางความรูสึกนึกคิดอีกดวย เทคนิคเหลานี้เปดโอกาสไปสูความเขมแข็งซึ่งเราไมคอยไดสัมผัส หากไมมีการถูกจูโจมมากอน  

f สำหรับไอคิโด บางเทคนิคสามารถกระทำไดทั้งจากดานในและดานนอกลำตัวของฝายตรงขาม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับตำแหนงของตัวเราและจุดสมดุลของคูตอสู เทียบกับสี่เหลี่ยมแลว  วงกลมเปนภาพของความไมแนนอน แตวงกลมมีเสถียรภาพในแบบของมัน ที่ตัวมันเองไมเคยลมหรือเสื่อมลง  ทั้งนี้เพราะวงกลมมันเคลื่อนไหวอยูเสมอ เหมือนลูกบอลที่กลิ้งไปตลอดเมื่อมีแรงมากระทำ   

f ตัวอยางของหลักการเคลื่อนที่เปนวงกลมใชในการรับการจูโจมจากดาบ หากนักดาบฟนดาบลงมา  การเคลื่อนที่ที่เหมาะสมคือการนำเขาไปขางหนา แตหากผูจูโจมหันเหวี่ยงตัวกลับมาเพื่อจูโจมซ้ำ ใหใชเทคนิคไปทางดานหลังของเขาจะมีประสิทธิผลมากกวา โดยทั่วไป เรามักจะไดยินคนบอกวา “ไฟตองดับดวยไฟ” "fight fire with fire"  (หรือ “แคนนี้ตองชำระดวยแคน”) หรือ สิ่งนี้กลับมันชางตรงกันขามกับปรัชญาของไอคิโด ควรจะมีประโยคที่เหมาะสมกวา เชน ไฟตองดับดวยน้ำ  (หรือ แคนนี้ตองชำระดวยคุณธรรม) เหมือนเสนวงกลมที่วาดไปไมปะทะ เราเองก็ไมทำรายคูตอสู  หน้า ๒๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 26: #21 AikidoCMU

สี่เหลี่ยม : ในกรณีที่ผูจูโจมไมไดเคลื่อนไปขางหนา และไมไดถอยไปขางหลัง   แตตรึงแนนอยูกับที่ เราจะทำอยางไร  โดยทฤษฏีเราตองทำใหเขาเคลื่อนไหว อาจโดยการใชเทคนิค “อะเตมิ” ชก ฟน หรือดัน ไปที่ผูจูโจม เปนการสลายเสถียรภาพหรือจุดสมดุลของเขาลงเสียกอน แลวจึงใชเทคนิคอื่นๆตามมา 

f ยามที่ปรมาจารยวาดรูปสี่เหลี่ยม  บอยครั้งที่ทานเขียนคำที่มีความหมายวาเขมแข็ง (strength) ลงไป 

ทานมักจะอธิบายวาเมื่อเราดูรูปสี่เหลี่ยม จะเห็นวามันประกอบไปดวยมุมสี่มุม แตละมุมกางออกเกาสิบองศา ซึ่งเปนทิศทางที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการฟนหรือชก  สี่เหลี่ยมแสดงลักษณะของความมั่นคง หนักแนน หยุดนิ่งมีเสถียรภาพ ตางจากสามเหลี่ยมและวงกลมซึ่งมีลักษณะความเคลื่อนไหว 

f สี่เหลี่ยมยังสะทอนภาพความสงบเปนกลางของจิตใจ  จากแนวคิดเหลานี้  เมื่อเราถูกจูโจม เราสามารถใชรูปแบบสามเหลี่ยม ในการเขาหา , ตามดวยรูปแบบวงกลมในการกลมกลืนกับคูตอสู จากนั้นจึงนำเขาลงเขาสูรูปแบบสี่เหลี่ยมใหเกิดความสงบ หยุดนิ่ง

f อยางไรก็ตาม  แมแนวคิดเรื่องรูปรางเรขาคณิตเหลานี้จะเปนพื้นฐานที่จะชวยใหผูเริ่มฝกไอคิโดเขาใจและมองเห็นไอคิโดไดชัดเจนขึ้น แตไมตองคร่ำเครง เปนกังวลมาก หรือยึดติดจนเปนระบบมากเกินไป หากควรรูวารูปแบบเหลานี้สลับสับเปลี่ยนได เชน เราสามารถเริ่มตนการจัดการกับคูตอสูหรือความขัดแยงดวยรูปแบบสี่เหลี่ยม ตามดวยการใช “อะเตมิ” ในแบบสามเหลี่ยม แลวไปจบที่วงกลมก็ยอมได ไมมีระบบที่ตายตัว

f ในการฝกไอคิโด หากเรานึกถึงภาพรูปรางเรขาคณิตดังกลาวมาชวยในการฝก ไมวาจะเปนเพียงการอุนเครื่อง (วอรม อัพ) หรือชวงการใชเทคนิคตางๆ ก็ใหนึกถึงรูปรางเหลานี้  การนึกภาพดังกลาวชวยการฝกไดเปนอยางมาก เหมือนศิลปน เวลาเริ่มตนในการสรางงานศิลป ก็จะลดทอนสิ่งตางๆออกมาเปนรูปเรขาคณิตกอน  การฝกไอคิโดก็เชนกัน หน้า ๒๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 27: #21 AikidoCMU

f สามเหลี่ยมเปนรูปแบบที่เห็นไดชัดมาก  มันเปนรูปแบบสามารถมองเห็นไดจากตำแหนงที่เรายืนอยู ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของสามเหลี่ยม ซึ่งสามารถพาเราไปสูการเคลื่อนไหวที่ตอเนื่องอื่นๆ

f สวนวงกลมก็มองเห็นไดงายเชนกัน  โดยสังเกตจากลักษณะการเคลื่อนที่ของลำตัว

และแขน  การใชรูปแบบวงกลมชวยกำจัดแรงตานของอีกฝาย  มันเปนไปไมไดเลยที่จะตานแรงที่มีลักษณะเปนวงกลมเชนนี้ ทั้งนี้เพราะแรงดังกลาวมีลักษณะเปนพลวัตร ปรับเปลี่ยนไดอยางกะทันหัน

อยูรอบๆตัว เราและเขาควบคุมเราอยางรวดเร็วเกินกวาที่จะตั้งตัว

f สำหรับรูปสี่เหลี่ยมนั้น มักไมคอยไดยินใครพูดถึงนัก เนื่องจากมันเปนรูปแบบที่มีเสถียรภาพมากที่สุดและโดยปกติแลวมันก็ไมเกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวแตอยางใด  สี่เหลี่ยมเปนความมั่นคงที่ขาดไมไดในทายืนแบบคาไม (Kamae) ซึ่งตองตั้งมั่นทั้งรางกายและจิตใจ เทคนิคของเราจะมีประสิทธิผลได ก็ดวยจุดเริ่มตนจากความตั้งมั่นทั้งจากรางกายและจากจิตใจ ดังรูปสี่เหลี่ยมเชนกัน 

บทความนี้แปลมาจาก

http://www.geocities.com/Athens/Oracle/4449/shapes.html

http://aikidoforbeginners.blogspot.com/2008/04/aikido-and-triangle-circle-square.html

(Note: ๑. เวบ geocities ของ yahoo ไดถูกยกเลิกไปหลายเดือนแลว ปจจุบันไมสามารถเปดได

๒. ในบทความนี้มีโครงสรางไมเหมือนกับตนฉบับ เนื่องจากมีการสลับตำแหนงเพื่อให

อานไดเชื่อมโยงขึ้น)

หน้า ๒๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 28: #21 AikidoCMU

Aikido(ka) in Focus ชมรมไอคิโดมช. ต้องสูญเสียสมาชิกไปทุกปีแต่หาได้เป็นเรื่องร้าย กลับเป็นเรื่องน่ายินดีที่สมาชิกได้สําเร็จการศึกษา แต่เราก็มีสมาชิกใหม่ทุกปีและส่วนมากเป็นนักศึกษาที่ภายภาคหน้าต้องจบและจากไป

ส่วนสมาชิกจํานวนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในเชียงใหม่ ยังคงฝึกและสนับสนุนกิจกรรมชมรมฯ

มีเพียงไม่กี่คนที่ทําให้ชมรมไม่เงียบเหงาเมื่อนักศึกษาปิดเทอมและกลับบ้านกันหมด ได้แก่ อ.สมบัติ อ.ธีระรัตน์ หมอกฤษณะชัย ป๋อม เล็ก จรัล อ้อม กบ ปิง มิ้นท์ เบญ แบ้งค์ เหล่านี้เป็นสมาชิกที่ไม่ต้องมีวันปิดเทอมและกลับบ้านต่างจังหวัด

           แบงค (นายวศกร มหิทธาฤทธิไกร) เพิ่งจบทางศิลปะจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม อารมณศิลปนแบบนี้ยังเคยเปนนักบอลตัวเขตฯสมัยเปนนักเรียน แลวจับพลัดจับผลูมาฝกไอคิโดไดยังไงไมรูเหมือนกัน 

FOCUS : แบงคคิดวาไอคิโดยากตรงไหนและงายตรงไหน?

แบงค : สำหรับแบงคตอนนี้นะ แบงควา ยากทั้งหมดนั่นแหละ ถานับมาถึงตอนนี้ฝกมา 4-5 ปแลวเรื่องที่ยากที่สุดก็เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ แตเรื่องแรงนาจะยากกวา อยางเชนวาเราถูกจับแนนๆแลวเราไปไหนไมได ถาเราฝกกับคนใหมๆใหจับแนนๆเราก็ยังไปไดอยู แตถาใหคนเกาๆสายสูงๆจับแนนๆก็ไปไมไดแลว ถึงแมจะจับแนนเหมือนกันสุดแรงของเคาแลวแตมันรูสึกวาตางกันกับสายสูงๆเราจะ

โดนเคาดักแรง ทีนี้ก็จะตองมีวิธีของการเคลื่อนที ่ การนำแรง สำหรับแบงคมันก็เปนเรื่องขั้นกวาที่ยากขึ้นไปอีก  ก็เปนเรื่องที่ตองเรียนรูตอไป........ยากมาก

FOCUS : แลวงายตรงไหน?

แบงค : ไมคอยงายนะ อืม!! บางทีมันงายตรงที่เรารูวารางกายมันมีขอตอหรือสวนที่มันฝนธรรมชาติไมได ถาเราทำตรงนั้นไดมันก็เปนเรื่องที่งายมาก ถาเราทำถูกปุบ แหม!!คนตัวใหญยังโอดครวญเลย มันเจ็บ มันตองลม มันตองไป ก็เลยคิดวา ตรงเนี้ย ถาเราทำถูกแลวมันจะงายมาก 

หน้า ๒๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 29: #21 AikidoCMU

  FOCUS : สำหรับเรื่องไอคิโดแลว ชอบตรงไหนแลวไมชอบตรงไหน?

แบงค : ชอบตรงการล็อคตามขอตออะไรพวกนี้แหละ แตถาจะวาตามจริงแลว ชอบเพราะมันเหมือนภาพหลอกตา

FOCUS : ภาพหลอกตา!! หลอกยังไง?

แบงค :  เหมือนกับไมไดทำอะไรเลย แตอูเกะ ลมไป  ลอยไป เหมือนโกหกแหละ จับนิดเดียวลอยขาชี้ฟาออกไปแลว ชอบตรงนี้แหละ เหมือนหลอกตา  แตนั่นแหละ....ประสิทธิภาพสุดๆเลย

สวนเรื่องที่ไมชอบ....ไมรูนะ  เรียนไอคิโด รักไอคิโด  ใหตอบวาไมชอบอะไร  มันยากนะ  ยังคิดไมออกเลยวาไมชอบตรงไหน 

FOCUS : ชอบฝกกับใคร ไมชอบฝกกับใคร ?

แบงค  :  ชอบฝกกับคนที่ฝกดวยแลวคุยดวยไดวิเคราะหกันได เชนพี่อั้ม แมพี่เคาจะสายสูงกวาเรามากแลวแตรูสึกเหมือนฝกไปดวยกัน คุยกันได ถามกันได ไมมีการกดหรือดักแรงเรา เคาจะอธิบายเปนการชวยเราไปในตัว ตรงที่เราไมเขาใจก็จะนำเรา พาเราไปดวย เหมือนรุนพี่ที่นำทางเราได

แบงคไมคอยชอบฝกกับคนที่ไมพูดอะไรตอนฝกรวมกัน  มันนาจะมีปฏิสัมพันธกันบาง หรือกับสายสูงที่คอยดักแรงสายต่ำตลอดเวลา  คนใหมที่ยังทำไมไดแลวถูกดักแรงทุกๆรอบ แบงความันไมไดอะไร แบงคเคยโดนเหมือนกันแลวรูสึกวาเสียกำลังใจ 

FOCUS : แบงคไปสอนคลาสไอคิโดเด็กที่ ALL GYM ดวยนี่ รูสึกยังไงบาง ?

แบงค :    โห!! เมื่อกอนแบงคไมชอบเด็กเลยนะ กลัวที่จะสอนเด็กมาก แตครั้งนึง เมื่อซัก 2 ปกวาที่ผานมาเคยไปดูพี่ปอมสอนเด็กที่วังคำ แลวแบงคถามพี่ปอมวา “พี่อยูไดยังไงแบบเนี้ย  พี่สอนไดยังไง เปนแบงค  แบงคไมเอานะเนี่ย”  พี่ปอมเคาก็บอก “คิดอะไรมาก มันเปนธรรมชาติของเด็ก”

หน้า ๒๙

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 30: #21 AikidoCMU

John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

The Art of Peace # ๖๓ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens

! The techniques of the Art of Peace are neither fast nor slow, nor are they inside or outside. They transcend time and space.

หน้า ๓๐

แบงค : พี่เคาพูดสั้นๆงายๆ  พูดปุบ เขาใจเลย หลังจากนั้นก็มีทัศนคติที่ดีขึ้น  พอไดมีโอกาสสอนเด็ก ตอนแรกก็กลัวจะทำไมได แตมันก็ตองลอง เลยรูวามันไมใชแบบที่เราคิดเรากลัว คำที่พี่ปอมพูดวา ธรรมชาติของเด็ก มันทำใหเรารูสึกวางายมากเลย เราเขาใจตรงนี้ปุปเราอยูกับเด็กไดเลย สอนเด็กไดก็เพราะคำพูดคำนี้แหละ 

FOCUS : ธรรมชาติของเด็กจะไมนิ่งไมอยูเฉย แลวจะไมเปนการปลอยปละละเลยเหรอ ?

แบงค  :    ไมคอยนะ บางทีเด็กมีวิ่งเลนบางก็นาจะดี ดีกวาอยูในกรอบเกินไป แตถาผิดระเบียบผิดประเพณีบนเบาะก็ตองมีการเตือนกันบาง เชนการขึ้นเบาะลงเบาะตองทำอยางไรตองบอกเด็กเสมอ และเรื่องที่ตองเปนระเบียบที่สุดก็เรื่องการเคารพกอนและหลังฝก เรื่องนี้ตองดุ ตองวานิดหนอย 

FOCUS : เคยโกรธเด็กมั้ยถาเด็กดื้อไมฟงเรา ?

แบงค  :    แรกๆก็มีโกรธนะ แตวาโกรธไปมันก็ไมไดอะไร เราคอยๆบอกเคา สะกิดเคา อยูใกลๆเคา เคาก็จะเงียบเอง ดีกวาไปจองจับผิดมากไปเด็กจะทำอะไรไดไมดี

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 31: #21 AikidoCMU

นิฮงไซ

วันที่ ๑๓ มกราคมที่ผ่านมา ชมรมไอคิโดได้รับเชิญไปสาธิตในงาน “นิฮงไซ” ของภาควิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีนี้เราได้รับเกียรติจากอาจารย์ฮัตโตริมาร่วมสาธิตด้วย จากนั้นก็เป็นการสาธิตของอาจารย์ธีระรัตน์และคุณหมอกฤษณชัย โดยมี เต้ย ปิง และแบ้งค์ ผลัดกันเข้ามาเป็นอูเกะอย่างขมักเขม้น

หน้า ๓๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 32: #21 AikidoCMU

!หน้า ๓๒

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 33: #21 AikidoCMU

หน้า ๓๓

โทโมจังและชัค เคเซอร ์แวะมาเที่ยวเมืองเชียงใหม่สี่วันและได้มีโอกาสแวะมาฝึกกับพวกเราด้วยครั้งนึงช่วงปลายเดือนธันวาคม ทั้งคู่รู้สึกขอบคุณนักไอคิโดเชียงใหม่ทุคนที่ให้การต้อนรับอย่างดี ตัวชัคเองก็เพิ่งจะฝึกไอคิโดได้ไม่นาน ตัวออกเกร็งๆนิดและขอออกตัวว่าบางท่านั้นค่อนข้างยากสําหรับเขา แต่เขาก็ตั้งใจอย่างมาก จนเหงื่อท่วมตัวเลยทีเดียว ทั้งคู่ก็รู้สึกประทับใจกับทักษะไอคิโดของสมาชิกม.ช. เค้าชมว่าแม้ไม่ใช่สายดําแต่ล้มสวยและฝีมือดีมากทีเดียว ทั้งคู่ฝึกอยู่ที่ไอคิโดเกียวโต (Aikido Kyoto) ภายใต้ Yoko Okamoto sensei

มาเยี่ยมมาเยือน

Tomoko Kayser (sho-dan)

Charles Maximilian Kayser (3 kyu)

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 34: #21 AikidoCMU

หน้า ๓๔

Aikido Kyoto602-8319(Zip code) Kyoto-shi Kamigyo-kuMizomae-cho 966-30Website: http://www.aikidokyoto.com/index.html

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 35: #21 AikidoCMU

! สายคาดหรือโอบิในภาษาญี่ปุนในสมัยนี้นาจะเปนที่คุนตาของคนทั่วไปแลว โดยเฉพาะชื่อของสายดำ

! ในศิลปะการตอสูญี่ปุนการขึ้นใหถึงสายดำอาจจะเปนที่คาดหวังของคนหลาย ๆ คน บางคนอาจจะบอกวาสายคาดจริง ๆ แลวไมมีความหมายหรือที่คนชอบกลาวกันอยางติดตลกวาเอาไวกันกางเกงหลุดนั้น จริง ๆ แลวสายคาดเองถูกนำมาใชดวยความหมายหลาย ๆ อยางที่ซอนอยู

! ในอดีตกอนที่จะมีการแบงลำดับสายนั้น วิชาศิลปะการตอสูญี่ปุนมักจะมีการใหประกาศนียบัตรที่แสดงวาสำเร็จวิชานั้น ๆ หรือ อาจจะมีการแบงขั้นเปนขั้นตน ขั้นกลางและสูง บางวิชาการสืบทอดก็เปนไปแบบปากเปลา

! การใชการแบงระดับดวยสายคาดถูกนำมาใชไมนานโดย ปรมาจารยจิโกโร คาโน ผูที่คิดคนวิชายูโดประมาณชวงป 1880 โดยมีการใชเฉพาะสายดำเทานั้นที่ใหกับผูฝกระดับสูง หลังจากนั้นจึงมีการนำมาใชในวิชาอื่น ๆ ตอมา การใชสายสีอื่น ๆ นั้นมีขึ้นมาหลังจากนั้นประมาณยี่สิบป เพื่อแบงระดับของผูฝกยอยลงไปอีก ในตอนนั้นวิชาอื่น ๆ นั้นรับการนำสายมาใชเพื่อแบงระดับผูฝกดวยโดยเฉพาะวิชาที่ยังไมมีการแบงขั้นผูฝก

! จนถึงปจจุบันการแบงสายในวิชาการตอสูสมัยกอนสวนมากในตนกำเนิดที่ประเทศญี่ปุนยังนิยมการใชสายเพียงสองสีคือขาวและดำเทานั้น ผูฝกจะฝกโดยใสสายขาวไปเรื่อย ๆ !

! การไดสายดำโดยมากจะใชเวลาไมต่ำกวาสองปในวิชาทั่ว ๆ ไป แตในตางประเทศนั้นนิยมใชสายสีเขามาดวย ซึ่งแตละที่ก็มีเหตุผลตาง ๆ กันไป ในบางวิชาลำดับสายในประเทศญี่ปุนและตางประเทศก็มีลำดับไมเทากันก็มี (ทำใหผูฝกจากตางประเทศบางคนกลายเปนจุดสนใจเมื่อเดินทางไปฝกที่ญี่ปุนอีกที)

! หลายคนยังไมรูวาการรับสายดำนั้นไมใชหมายถึงการจบการฝก ในระบบวิชาการตอสูญี่ปุนนั้นจะเรียกสายดำวาระดับ Dan หากเรียกเปนภาษาไทยก็มักเรียกอยางงาย ๆ วา “ดั้ง” ซึ่งมีความหมายวา ระดับ

! จากผูฝกสายสีเมื่อไดรับสายดำขั้นแรกนั้นจะเรียกวา โชดั้ง หรือ แปลวาขั้นเริ่มตน หลังจากนั้นเมื่อฝกตอไปเรื่อย ๆ ก็จะเปนขั้นที่สองหรือที่สามตอไป

! การไดรับ โชดั้ง หรือขั้นเริ่มตนนั้นก็มีความหมายตรงตัววา “เปนขั้นเริ่มตนที่ผานพื้นฐานการฝกทั่วไป”มาแลว ไมไดหมายถึงวา “เกงแลว” หรือ “เรียนจบแลว” อยางที่บางคนคิด ในความหมายจริงเปนแคการจบการฝกพื้นฐานเทานั้นเอง การคิดแบบผิด ๆ นี่เองทำใหผูฝกบางคนที่ไมเขาใจตรงนี้ก็เลิกฝกวิชาไปเมื่อไดสายดำขั้นแรก

! สวนระดับกอนสายดำ ลำดับสายมักเรียก Kyuu ภาษาไทยเรียก คิว หรือ กิ้วตามสะดวกปากคนไทยนั่นเอง

เรื่องจาก http://www.aikidoharmony.webs.com/

หน้า ๓๕

สายคาด

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 36: #21 AikidoCMU

Aikido Family

หน้า ๓๖ชาวไอคิโดม.ช.ขอร่วมแสดงความยินดีด้วยค่ะ

คุณพ่ออั้มกับคุณแม่ออยได้ต้อนรับสมาชิกใหม่เป็นลูกชายชื่อ

“น้องสกาย”

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๑ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

อีกข่าวดีจาก แคนาดาคือครอบครัวของบู้ สมาชิกเก่าแก่ของชมรมฯ ก็ต้อนรับลูกสาวชื่อน้อง ณดา ชื่อเล่น นาด้า = NADA คลอดเมื่อวันที่ 10 มกรา

ขอแจ้งข่าวให้สมาชิกฯทราบเรื่องที่น่ายินดีในช่วงต้นปีนี้ค่ะ