158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 ›...

12
158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018 การศึกษากระบวนการขั้นตอนการวางแผนออกแบบผิวทางแบบยืดหยุ ่น ชนิดพอรัสแอสฟัลท์ STUDY OF PROCESS RELATED TO THE PLANNING OF POROUS ASPHALT FLEXIBLE PAVEMENT DESIGN ธรรมมา เจียรธราวานิช 1 และ สุวิมล เจียรธราวานิช 2 1 รองผู้อํานวยการ สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120, [email protected] 2 ประธานหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และนวัตกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900, [email protected] Thamma Jairtalawanich 1 and Suwimol Jairtalawanich 2 1 Deputy Director, Center of Academic Resources and Information Technology, Rajamangala University of Technology Krungthep, Sathorn, Bangkok, 10120, Thailand, [email protected] 2 Head of Curriculum, Department of Logistics Management and Innovation, Faculty of Engineering, Saint John’s University, Chatuchak, Bangkok, 10900, Thailand, [email protected] บทคัดย่อ งานวิจัยนี ้นําเสนอความเป็นไปได้ในการขยายผิวทางเดิมในซอยเทพารักษ์ 116 โดยใช้วัสดุพอรัส แอสฟัลต์คอนกรีตในการปรับปรุงผิวหน้าถนน ซึ ่งการออกแบบพอรัสแอสฟัลต์คอนกรีตตาม มาตรฐานพอรัสแอสฟัลต์คอนกรีต กรมทางหลวง โดยการศึกษาครั้งนี ้มีจุดมุ่งหมาย เนื ่องจากถนน ที ่ก่อสร้างและถูกใช้งานมาระยะหนึ ่ง ไม่สามารถรองรับจํานวนปริมาณรถที ่สัญจรเข้าออกเป็น จํานวนมากได้ โดยใช้วิธีการขยายถนน เพิ่มขึ ้นจากของเดิม ออกแบบโครงสร ้างชั ้นถนนใหม่ ตัด ถนนใหม่เพื ่อความสะดวกและปลอดภัย และเปลี ่ยนหน้าถนนเดิม โดยการศึกษาการใช้วัสดุพอรัส แอสฟัลต์คอนกรีตมาปรับปรุงหน้าถนน ได้ทําการนับปริมาณจํานวนรถที ่สัญจรในแต่ละวันและแต่ ช่วงเวลา,คํานวนค่าในแต่ละชั้นของถนน,ศึกษาวัสดุพอรัสแอสฟัลต์คอนกรีตที ่เหมาะสมในการ ปรับปรุงผิวหน้าถนน, เขียนรายละเอียดของชั้นถนน โดยใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ จําลองการ ขยายถนน การตัดผ่านถนน ชั้นของถนน ออกมาในรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ จากการ Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Transcript of 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 ›...

Page 1: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

การศึกษากระบวนการขัน้ตอนการวางแผนออกแบบผิวทางแบบยืดหยุ่น

ชนิดพอรสัแอสฟัลท ์

STUDY OF PROCESS RELATED TO THE PLANNING OF POROUS

ASPHALT FLEXIBLE PAVEMENT DESIGN

ธรรมมา เจยีรธราวานิช1 และ สวุมิล เจยีรธราวานิช2 1รองผูอ้าํนวยการ สาํนกัวทิยบรกิารและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคล

กรุงเทพ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120, [email protected] 2ประธานหลกัสตูร สาขาวชิาการจดัการโลจสิตกิสแ์ละนวตักรรม คณะวศิวกรรมศาสตร ์

มหาวทิยาลยัเซนตจ์อหน์ เขตจตุจกัร กรุงเทพฯ 10900, [email protected]

Thamma Jairtalawanich1 and Suwimol Jairtalawanich2

1Deputy Director, Center of Academic Resources and Information Technology,

Rajamangala University of Technology Krungthep, Sathorn, Bangkok, 10120, Thailand,

[email protected] 2Head of Curriculum, Department of Logistics Management and Innovation,

Faculty of Engineering, Saint John’s University, Chatuchak, Bangkok, 10900, Thailand,

[email protected]

บทคดัย่อ

งานวจิยัน้ีนําเสนอความเป็นไปไดใ้นการขยายผวิทางเดมิในซอยเทพารกัษ์ 116 โดยใชว้สัดุพอรสั

แอสฟัลต์คอนกรีตในการปรบัปรุงผิวหน้าถนน ซึ่งการออกแบบพอรสัแอสฟัลต์คอนกรีตตาม

มาตรฐานพอรสัแอสฟัลตค์อนกรตี กรมทางหลวง โดยการศกึษาครัง้น้ีมจีุดมุง่หมาย เน่ืองจากถนน

ที่ก่อสร้างและถูกใช้งานมาระยะหน่ึง ไม่สามารถรองรบัจํานวนปริมาณรถที่สญัจรเขา้ออกเป็น

จํานวนมากได ้โดยใชว้ธิกีารขยายถนน เพิม่ขึน้จากของเดมิ ออกแบบโครงสรา้งชัน้ถนนใหม่ ตดั

ถนนใหม่เพื่อความสะดวกและปลอดภยั และเปลีย่นหน้าถนนเดมิ โดยการศกึษาการใชว้สัดุพอรสั

แอสฟัลต์คอนกรตีมาปรบัปรุงหน้าถนน ไดท้ําการนับปรมิาณจํานวนรถทีส่ญัจรในแต่ละวนัและแต่

ช่วงเวลา,คํานวนค่าในแต่ละชัน้ของถนน,ศกึษาวสัดุพอรสัแอสฟัลต์คอนกรตีที่เหมาะสมในการ

ปรบัปรุงผวิหน้าถนน, เขยีนรายละเอยีดของชัน้ถนน โดยใชโ้ปรแกรมทางคอมพวิเตอร ์จาํลองการ

ขยายถนน การตดัผ่านถนน ชัน้ของถนน ออกมาในรูปแบบโปรแกรมทางคอมพวิเตอร์ จากการ

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 2: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 159

สํารวจและศกึษาความเป็นไปไดใ้นการขยายผวิทางเดมิในซอยเทพารกัษ์ 116 โดยใชว้สัดุพอรสั

แอสฟัลต์คอนกรตี มโีอกาสที่สามารถนําไปใช้งานไดจ้รงิ โดยอ้างองิการออกแบบผวิทางพอรสั

แอสฟัลต ์ตามที ่มาตรฐานพอรสัแอสฟัลตก์รมทางหลวงไดก้าํหนดไว ้

คาํสาํคญั: พอรสัแอสฟัลต,์ การออกแบบผวิทางแบบยดืหยุน่, การจาํลองการขยายถนน

ABSTRACT

This research to presentation possibility in expansion of the original surface in Soi Thepharak

116. By use Porous Asphalt concrete material to improve road surface. Which design from

Porous Asphalt concrete to standard Porous Asphalt concrete of Department of Highways.

This study it has a goal because the street that construct and was used a period time to

can’t accommodate number of cars that can be to entrance and out that using the road

extension method increase from the original. Design the structure the new road. Intersect

new road for comfortable and safety and change the original surface. By studying the use

of Porous Asphalt concrete material to improve road surface. To make counted number of

car traffic in transit in each a day and in each the time, Calculate the value of each floor of

the road. Study Porous Asphalt concrete material that suitable to improve road surface, write

detail of floor of road by used Computer Programing, Road expansion simulator, Intersect

through the road, floor of road to design in form Computer Programing. From the survey and

study possibility in expansion of the original surface in Soi Thepharak 116. By use Porous

Asphalt concrete material. The opportunity to use it to reference design Porous Asphalt

pavement to standard Porous Asphalt concrete of Department of Highways defined.

KEYWORDS: Porous Asphalt, Flexible Pavement Design, Simulation of the Extended Road

1. ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา

การศกึษากระบวนการขัน้ตอนการออกแบบผวิทางแบบยดืหยุน่ชนิดพอรสัแอสฟัลทค์อนกรตี

ในตวัเมอืงจะทาํไดน้ัน้ จาํเป็นตอ้งมขีอ้มลูทางภมูปิระเทศเดมิก่อนทาํการศกึษาออกแบบ ตอ้งมกีาร

สํารวจพื้นที่และรายละเอียดต่างๆของขอ้มูลพื้นที่ไปใช้ในการพจิารณาออกแบบแสดงตวัอย่าง

จําลองของการออกแบบโดยใช ้โปรแกรมคอมพวิเตอร์ในการออกแบบจําลอง ใหม้คีวามถูกต้อง

ใกล้เคียงในการใช้จริงมากที่สุดความเป็นไปได้ในการออกแบบผิวทางมเีป็นงานด้านหน่ึงทาง

วศิวกรรมซึง่เกีย่วขอ้งกบัวชิาวศิวกรรมการทางและวศิวกรรมการขนสง่ เป็นการประยุกตใ์ชค้วามรู้

ความเขา้ใจในการนําไปใชอ้ย่างถูกตอ้งเหมาะสมในการออกแบบและแกไ้ขปัญหาการสาํรวจพืน้ที่

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย

Page 3: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

160 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

ภูมปิระเทศและพืน้ทีใ่นโครงการเพื่อกําหนดตําแหน่งทางราบและทางดิง่เพื่อใหไ้ดร้ายละเอยีดสิง่

ปลูกสรา้งทีม่นุษยส์รา้งขึน้ พืน้ทีท่ีเ่ป็นธรรมชาตหิรอืถูกปล่อยใหร้กรา้งและเสน้ชัน้ความสูง ระดบั

ความสูงพื้นที่ไปใช้ในการออกแบบ ซึ่งการสํารวจภูมปิระเทศนัน้ทําได้ยากเน่ืองจากใช้จํานวนผู้

ปฏบิตัลิงงานภาคสนาม อุปกรณ์ เครื่องมอื เป็นจํานวนมาก ใชร้ะยะเวลาในการลงภาคสนามนาน

อาจมคีวามคลาดเคลื่อนในการเก็บรายละเอยีดในการปฏบิตังิาน อาจเกดิจากสภาพบุคคล เช่น

บุคคลไม่ชํานาญในการใชอุ้ปกรณ์เครื่องมอื การอ่านค่าผดิ การจดค่าผดิ อุปกรณ์เครื่องมอืมคีวาม

ผดิเพีย้นมปัีญหา เป็นตน้

2. วตัถปุระสงค ์

เพื่อศกึษาการบวนการขัน้ตอนการออกแบบผวิทางยดืหยุ่น และเพื่อศกึษาการออกแบบผวิ

ทางดว้ยโปรแกรมทางคอมพวิเตอร ์

3. ขอบเขตของการศึกษา

โดยมขีอบเขตการศกึษาคอื การศกึษาน้ีเกบ็ขอ้มลูเฉพาะพืน้ที ่ซอยเทพารกัษ์ 116 (มงักร-ขนั

ด)ี อําเภอเทพารกัษ์ จงัหวดัสมุทรปราการ ดงัแสดงในรูปที ่1 พืน้ทีท่ีท่ําการศกึษา ซึ่งการศกึษาน้ี

เป็นการออกแบบถนนเฉพาะผวิทางพอรสัแอสฟัลทค์อนกรตีทีเ่กี่ยวขอ้งกบัวศิวกรรมการทางและ

การศกึษาน้ีใชโ้ปรแกรมคอมพวิเตอรใ์นการออกแบบแสดงตวัอยา่งจรงิเทา่นัน้

ทีม่า: https://www.google.co.th/maps

รปูท่ี 1 ความยาวจากทางเข้าซอยจนถึงจดุท่ีมีการขยายถนนภายใน

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 4: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 161

4. ขัน้ตอนการศึกษา [1]

4.1 การสาํรวจปริมาณการจราจร

จากตารางการสํารวจปริมาณการจราจรภาคสนาม สามารถนํามาเขียนกราฟแสดง

ความสมัพนัธ์ของปริมาณการจราจรในช่วงเวลาวิกฤติ เป็นเวลา 2 สปัดาห์โดยแบ่งรถเป็น 2

ประเภท คอื 1) รถจกัรยานยนต ์และ 2) รถยนต ์(เพลาเดีย่ว)

จากการสาํรวจปรมิาณการจราจรในช่วงเวลาวกิฤต ิ2 สปัดาห ์สามารถนํามาเขยีนกราฟแสดง

ความสมัพนัธ ์ของช่วงเวลา ประเภทรถ ของแต่ละสปัดาห ์ทัง้ 4 กรณี คอื กรณีที ่1 ความสมัพนัธ์

รถยนตเ์ขา้-ออก ช่วงเชา้ กรณีที ่2 ความสมัพนัธร์ถยนตเ์ขา้-ออก ช่วงเยน็ กรณีที ่3 ความสมัพนัธ์

รถจกัรยานยนต์เขา้-ออก ช่วงเชา้ และกรณีที่ 4 ความสมัพนัธ์รถจกัรยานยนต์เขา้-ออก ช่วงเยน็

โดยตวัอยา่งกราฟ กรณทีี ่1 แสดงผลความสมัพนัธร์ถยนตเ์ขา้-ออก ชว่งเชา้ ดงัแสดงในรปูที ่2

รปูท่ี 2 กราฟแสดงผลเข้า-ออก ของรถยนต ์เวลา 7.00 น. - 9.00 น.

จนัทร์ องัคาร พธุ พฤหสับดี ศุกร์ เสาร์ อาทติย์

เขา้ สปัดาหท์ี ่1 1098 1123 1197 1134 1111 1247 1084

ออก สปัดาหท์ี ่1 1901 1739 1751 1777 2006 1726 1802

เขา้ สปัดาหท์ี ่2 1236 1198 1173 1222 1260 1236 1073

ออก สปัดาหท์ี ่2 1888 1795 1742 1814 1897 1660 1785

0

1000

2000

3000

จาํน

วนรถ

ยนต

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย

Page 5: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

162 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

4.2 การออกแบบโครงสร้างถนนลาดยางโดยวิธี Asphalt Institute Method 1970 [2]

ซึ่งจากปรมิาณการเขา้ออกแล้วนํามาเป็นขอ้มูลในการออกแบบโครงสร้างถนนลาดยางใน

กรณีศกึษาน้ีใชผ้วิทางแบบ Asphalt Institute Method 1970 ในการออกแบบ โดยปรมิาณรถจาก

การสาํรวจในชว่งเวลาวกิฤตชว่งเวลา 2 สปัดาห ์ดงัแสดงในตารางที ่1 และ 2

ตารางท่ี 1 ปริมาณรถจากการสาํรวจในช่วงเวลาวิกฤตช่วงเวลา 2 สปัดาห ์

ค่าเฉล่ียจาํนวนรถระหว่าง 2 สปัดาห ์

รถยนต ์ รถจกัรยานยนต ์

ช่วงเวลารถเข้า 7.00 น. - 9.00 น. 1,171 825

16.00 น.- 18.00 น. 1,660 1,056

ช่วงเวลารถออก 7.00 น. - 9.00 น. 1,804 1,165

16.00 น.- 18.00 น. 1,240 895

ตารางท่ี 2 ปริมาณรถจากการสาํรวจในช่วงเวลาวิกฤตช่วงเวลา 2 สปัดาห ์(คนั/วนั)

จาํนวน(คนั) ค่าเฉล่ียจาํนวนรถเข้า-ออก ทัง้หมด

(คนั/วนั) ในเวลา 2 ชัว่โมง ในเวลา 1 ชัว่โมง

ช่วงเวลารถเข้า 1,660* 1,732 866 20,784

ช่วงเวลารถออก 1,804*

คาํนวณ Design Traffic Number

(1) Initial Daily Traffic (IDT) = 866 คนั × 24 ชัว่โมง = 20,784 คนั/วนั

(2) Percent of Heavy Trucks = 5.0 %

(3) Percent of Traffic in Design Lane = 0.50

(4) Number of Heavy Trucks = 12,124 x 0.05 x 0.50 = 303 คนั

(5) Average Gross Weight of Heavy Trucks = 21.0 ตนั = 46,200 ปอนด ์

(6) Single Axle Load Limit = 18,000 ปอนด ์

(7) Initial Traffic Number (ITN) = 12.59 > 10.00 O.K.

(8) จากขอ้มลูจะได ้Traffic Growth Rate = 5.0 %

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 6: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 163

(9) ITN Adjustment Factor = 1,259

(10) Design Traffic Number (DTN) = 1,259 x 0.628 = 790.65

ประมาณคา่ความหนา TA ความหนาของแอสฟัลทค์อนกรตีทัง้หมดทีต่อ้งการได ้

TA = 11.05 น้ิว

จากการตรวจสอบความหนา TA ที่ต้องการเหนือแต่ละชัน้ พบว่า โครงสร้างชัน้ทางที่

ออกแบบไวม้คีวามหนาเพยีงพอ โดยสรุปการออกแบบโครงสรา้งชัน้ทางเป็นดงัรปูที ่3

รปูท่ี 3 รปูตดัความหนาชัน้ทางของตวัอย่างถนนท่ีออกแบบ

4.3 การตรวจสอบการออกแบบส่วนผสมผิวทางพอรสัแอสฟัลทค์อนกรีต [3-5]

การตรวจสอบการออกแบบสว่นผสมผวิทางพอรสัแอสฟัลทค์อนกรตี โดยแสดงผลการตรวจสอบ

สว่นผสม ดงัตารางที ่3 และแสดงผลการปรมิาณแอสฟัลทซ์เีมนตท์ีเ่หมาะสม ดงัตารางที ่4

ตารางท่ี 3 ผลการตรวจสอบส่วนผสม

Gradation

Type

Percentage

Passing of

2.36 mm

Asphalt

cement

Average

Density

Average

volume of

Asphalt

Average

Air Void

(%) (%) (g/cm3) (%) (%)

Gradation A 18.2 4.8 2.036 9.5 19.8

Gradation B 15.2 4.5 1.955 8.6 23.4

Gradation C 12.2 4.2 1.905 7.7 25.7

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย

Page 7: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

164 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

- นําภาชนะและส่วนผสมพอรสัแอสฟัลต์ที่เกลี่ยไว้แล้ว นําเขา้ตู้อบโดยให้อุณหภูมทิี่ 170

องศาเซลเซยีสใชเ้วลาในการอบ 1 ชัว่โมง

- นําภาชนะออกจากตู้อบ เทส่วนผสมพอรสัแอสฟัลต์ออกให้เหลอืเฉพาะยางส่วนที่ตดิกบั

ภาชนะ (Asphalt Mortar) ทีต่ดิบนภาชนะเทา่นัน้

- ทาํการชัง่น้ําหนกัภาชนะและบนัทกึขอ้มลู

ตารางท่ี 4 ผลการปริมาณแอสฟัลทซี์เมนตท่ี์เหมาะสม

Asphalt content Asphalt Mixture

Before test Asphalt Mortar Run-off Loss

(%) (g) (g) (%)

3.5 1,980.4 1.8 0.09

4.0 1,973.2 12.3 0.62

4.5 1,982.1 25.0 1.26

5.0 1,973.6 59.7 3.02

5.5 1,968.8 83.9 4.26

ในที่น้ีได้ค่าปรมิาณแอสฟัลท์ซีเมนต์ที่เหมาะสมเท่ากบั 4.5 เปอร์เซนต์ นําผลปรมิาณยาง

แอสฟัลตน้ี์ไปเตรยีมตวัอยา่งเป็น 2 กลุม่ เพือ่ทดสอบคุณสมบตัทิางดา้นวศิวกรรมต่อไป

เตรยีมตวัอยา่งออกเป็น 2 กลุม่ตวัอยา่ง เพือ่ทดสอบคุณสมบตัทิางดา้นวศิวกรรม ดงัน้ี

1. กอ้นตวัอย่างพอรสัแอสฟัลต์สาํหรบัทดสอบ ใหบ้ดอดัโดยวธิมีารแ์ชลทําการอดัดา้นละ 50

ครัง้ ตามวธิกีารทดลองที ่ทล.-ท.604/2517

2. แผน่ตวัอยา่งพอรสัแอสฟัลตค์อนกรตี สาํหรบัทดสอบคา่เสถยีรภาพความตา้นทานการเกดิ

รอ่งลอ้ ขนาด 30.5 x 40 เซนตเิมตร เตรยีมโดยเครือ่ง Roller Compactor

ทดสอบคุณสมบตัทิางวศิวกรรมของตวัอย่างทัง้ 2 กลุ่ม โดยกอ้นตวัอย่างตามขอ้ 1 จะนําไป

ทดสอบค่าความหนาแน่น, ค่าช่องวา่งอากาศ, ค่าความต่อเน่ืองช่องวา่งอากาศ, ค่าเสถยีรภาพกอ้น

ตวัอย่าง, ค่าการไหล และค่าความคงทนต่อการขดัสขีองกอ้นตวัอย่าง ส่วนแผ่นตวัอย่างตามขอ้ 2

จะทดสอบคา่เสถยีรภาพความตา้นทานการเกดิรอ่งลอ้ในหอ้งปฏบิตักิาร

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 8: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 165

5. ผลการดาํเนินงานวิจยั

ผลการทดลองและนํามาออกแบบดว้ยโปรแกรมคอมพวิเตอร ์จากผลการดําเนินการออกแบบ

โครงสรา้งถนนลาดยางไดค้วามหนาชัน้ทางทีเ่หมาะสม และส่วนผสมพอรสัแอสฟัลทค์อนกรตีตาม

มาตรฐานแลว้นัน้ นํามาเขยีนรปูแบบโมเดลเสมอืนจรงิสาํหรบัการก่อสรา้งทางตามกรณีศกึษาไดด้งั

รปูที ่4 ถงึ รปูที ่7

รปูท่ี 4 รปูแบบถนนใหม่จากมมุสงู (Top View)

รปูท่ี 5 ถนน 2 ช่องทางจราจร

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย

Page 9: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

166 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

รปูท่ี 6 ระยะความกว้างถนน ช่วงทางเข้าซอย

รปูท่ี 7 ระยะความกว้าง ช่วงกลางซอย

6. สรปุผลการดาํเนินงาน

จากการศกึษา วเิคราะหแ์ละคาํนวณโครงสรา้งถนนลาดยางโดยวธิ ีAsphalt Institute Method

พบวา่ ไดค้า่การออกแบบชัน้ทาง ดงัน้ี

1. ชัน้วสัดุคดัเลอืก ก. มคีวามหนา 15 เซนตเิมตร คา่ CBR 10 %

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 10: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 167

2. ชัน้วสัดุมวลรวม มคีวามหนา 15 เซนตเิมตร คา่ CBR 25 %

3. ชัน้หนิคลุก มคีวามหนา 15 เซนตเิมตร คา่ CBR 80 %

4. ชัน้ผวิพอรสัแอสฟัลทค์อนกรตี มคีวามหนา 15 เซนตเิมตร

จากการคํานวณโครงสร้างถนนลาดยางโดยวิธี Asphalt Institute Method ค่าที่ได้มานัน้

ยอมรบัได้จากการตรวจสอบทางทฤษฎี สามารถนําไปใช้ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการ

ออกแบบโครงสรา้งทางลาดยางไดจ้รงิ เน่ืองจากมกีารอา้งองิในการออกแบบตามมาตรฐาน ช่วยใน

การพิจารณาในการออกแบบ การปรับปรุงพัฒนาความก้าวหน้าทางการคมนาคม บรรลุ

วตัถุประสงคต์ามเป้าหมายทีต่อ้งการ ตามนโยบายทีว่างไว ้ดงัแสดงในรปูที ่8 ถงึ รปูที1่0 ดงัน้ี

รปูท่ี 8 รปูแบบการใช้วสัดใุนแต่ละชัน้ทาง

รปูท่ี 9 รปูหน้าตดัด้านกว้างในแต่ละชัน้ทาง

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย

Page 11: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

168 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018

รปูท่ี 10 รปูหน้าตดัด้านยาวของชัน้ทาง

References

[1] Thamma Jairtalawanich. Transportation engineering. Bangkok: Rajamangala University

of Technology Krungthep; 2013. (In Thai)

[2] Worapan Kaelpittayaporn. Project schedule evaluation system for road construction.

[Thesis/Master of Civil Engineering]. Bangkok: Kasetsart University; 2006. (In Thai)

[3] DRR. 237-2545. Standard pavement porous asphalt concrete. Bangkok: Department of

Rural Roads. Bangkok; 2002. (In Thai)

[4] Warut Rassameekobkul, Thanongsak Imjai, Thaworn Takaikeaw. Porous asphalt

pavement design using material available in Thailand. Rajamangala University of

Technology Tawan-Ok Research Journal 2016;2:50-9. (In Thai)

[5] Warut Rassameekobkul, Thanongsak Imjai, Thaworn Takaikeaw. Performance of

porous asphalt pavement with Tafpack-Super additives. Engineering Journal of

Research and Development 2017;1:5-16. (In Thai)

ประวติัผูเ้ขียนบทความ

ผศ.ธรรมมา เจียรธราวานิช ปัจจุบนัดํารงตําแหน่งรองผู้อํานวยการ

สํานักวทิยบรกิารและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาช

มงคลกรุงเทพ สงักดัภาควชิาวศิวกรรมโยธา สําเร็จการศึกษาในระดบั

ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ระดบั

ปรญิญาตร ีสาขาวชิาวศิวกรรมโยธา มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ ระดบั

Faculty of Engineering, Kasem Bundit University Research Article

Page 12: 158 2 May-August 2018eng.kbu.ac.th › kbej › docs › articles › Vol.8_2 › KBEJ-8-2-12.pdf · 2018-09-18 · 158 Kasem Bundit Engineering Journal Vol.8 No.2 May-August 2018.

วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 169

ปรญิญาตร ีสาขาวชิาวศิวกรรมทรพัยากรน้ํา มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์

ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ข า วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

มหาวทิยาลยัสุโขทยัธรรมาธริาช ระดบัปรญิญาตร ีสาขาวชิาการวดัและ

ประเมนิผลการศกึษา มหาวทิยาลยัสโุขทยัธรรมาธริาช งานวจิยัทีส่นใจ คอื

วศิวกรรมขนส่งและจราจร วศิวกรรมการทาง การทดสอบวสัดุก่อสร้าง

และงานวจิยัเชงิสาํรวจ ทีอ่ยู ่เลขที ่2 ถนนนางลิน้จี ่ แขวงทุง่มหาเมฆ เขต

สาทร กรุ ง เทพฯ 10120 โทรศัพท์ / โทรสาร 02 287 9638 E-Mail:

[email protected], [email protected]

สวิุมล เจียรธราวานิช ปัจจุบนัดาํรงตําแหน่งประธานหลกัสตูร สาขาวชิา

การจดัการโลจสิตกิส์และนวตักรรม คณะวศิวกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยั

เซนตจ์อหน์ สาํเรจ็การศกึษาในระดบัปรญิญาโท สาขาวชิาวศิวกรรมอุตสา

หการ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั ระดบัปรญิญาตร ีสาขาวชิาวศิวกรรมอุต

สาหการ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ์ระดบัปรญิญาตร ีสาขาวชิาวศิวกรรม

ทรพัยากรน้ํา มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ์ระดบัปรญิญาตร ีสาขาวชิาการ

วดัและประเมนิผลการศกึษา มหาวทิยาลยัสุโขทยัธรรมาธริาช งานวจิยัที่

สนใจ คือ การควบคุมคุณภาพการผลิต เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม และ

งานวจิยัเชงิสํารวจ ที่อยู่ เลขที่ 1110/5 ถนนวภิาวดรีงัสติ แขวงจอมพล

เขตจตุจกัร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพัท ์02 938 7058-65 ต่อ 285 โทรสาร

02 938 7071 E-Mail: [email protected]

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความวิจัย