1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham...

12
ลักษณะทางสังคมอีสาน อีสานภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ เพราะมี พรมแดนอยู่ติดกับหลายชาติอีกทั้งมีการอพยพของประชาชนจากถิ่น อื่นๆทั้งในและนอกประเทศมาตั้งรกรากอยู่ภาคอีสานเป็นเวลานาน บวกกับ ประชากรที่อาศัยอยู่เดิมที่ก็มีความหลากหลายมาตั้งแต่รุ่น บรรพบุรุษแล้ว ทาให้ยิ่งมีความหลากหลาย มากยิ่งขึ้น ประชากรทีของภาคอีสานมีหลายเผ่าพันธุ์ ที่มีมากที่สุดก็คงเป็นชาวไทอีสาน คือ ชาวคนอีสาน ที่พบได้ทั่วไป และพบมากที่สุดในภาคอีสานเป็นคน พื้นเมืองดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในแผ่นดินอีสาน ชาวผู้ไทเดิมมาจากคาว่า พุไท หรือ วุไท ซึ่งหมาย ถึงคนเผ่าไทกลุ่มหนึ่งที่มีอยู่ในแคว้นสิบสองจุ ไท และอาณาจักรล้านช้างมีการเคลื่อนย้ายเข้ามาในภาคอีสานหลาย ครั้งและจากที่ต่าง ๆกันและ แยกย้ายกันไปอาศัยอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของพื้นดินอีสาน (ส่วนใหญ่เป็นอีสานตะวันออก) แถบจังหวัด 1 วัฒนธรรมอีสาน

Transcript of 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham...

Page 1: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

ลักษณะทางสังคมอีสาน

อีสานภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ เพราะมีพรมแดนอยู่ติดกับหลายชาติอีกทั้งมีการอพยพของประชาชนจากถิ่นอ่ืนๆทั้งในและนอกประเทศมาตั้งรกรากอยู่ภาคอีสานเป็นเวลานาน บวกกับ ประชากรที่อาศัยอยู่เดิมที่ก็มีความหลากหลายมาตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษแล้ว ท าให้ยิ่งมีความหลากหลาย มากยิ่งขึ้น ประชากรที่ของภาคอีสานมีหลายเผ่าพันธุ์ ที่มีมากที่สุดก็คงเป็นชาวไทอีสาน คือชาวคนอีสาน ที่พบได้ทั่วไป และพบมากที่สุดในภาคอีสานเป็นคนพ้ืนเมืองดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในแผ่นดินอีสาน ชาวผู้ไทเดิมมาจากค าว่า พุไท หรือ วุไท ซึ่งหมาย ถึงคนเผ่าไทกลุ่มหนึ่งที่มีอยู่ในแคว้นสิบสองจุไท และอาณาจักรล้านช้างมีการเคลื่อนย้ายเข้ามาในภาคอีสานหลายครั้งและจากที่ต่าง ๆกันและ แยกย้ายกันไปอาศัยอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของพ้ืนดินอีสาน (ส่วนใหญ่ เป็นอีสานตะวันออก) แถบจังหวัด

1 วัฒนธรรมอีสาน

Page 2: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

2

สกลนคร นครพนม (ที่เด่นมากคือ ผู้ไทเรณู) และจังหวัดมุกดาหาร และชาวอีสานเผ่าอ่ืน ๆ อีกมากมายที่พบในเขตภาคอีสาน ซึ่งมีวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ในที่นี้ผู้วิจัยจะได้กล่าวถึงวัฒนธรรมอีสานของกลุ่มหมอล าหมอแคน ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิจัยนี้ โดยแบ่งตามลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1. ความเชื่อ ชุมชนหมู่บ้านในภาคอีสานว่า ชุมชนหมู่บ้านอีสานมีความเป็นอิสระ เป็นตั ว ข อ ง ตั ว เ อ ง อ านาจปกครองของรัฐมีอยู่ เบาบาง ท าให้ ชุ ม ช น ส าม า รถก า ห น ด แ บ บ แ ผ นระเบียบชุมชนตามความเหมาะสม โดยตกลงกันขึ้นเอง ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (2541 : 112) ได้ศึกษาชุมชนในภาคอีสาน ที่จะเน้นอุดมการณ์แห่งความเป็นพ่ีน้องแบบสังคมโคตรวงศ์ ความสัมพันธ์หลักในชุมชนเป็นความสัมพันธ์ในระบบเครือญาติ นั บถือสายโลหิ ต ผู้ อาวุ โส ได้ รับการยอมรับสู งสุ ด ในชุมชนความสัมพันธ์ชนิดนี้ท าให้ชาวบ้านอยู่ร่วมกันอย่างพ่ีอย่างน้อง พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ชุมชนยังคงรักษาความคิด ความเชื่อ การนับถือผีของชุมชนอ่างเหนียวแน่น ผีเป็นสัญลักษณ์ของอ านาจเหนือธรรมชาติ ที่อยู่เหนืออ านาจการควบคุมของมนุษย์ เมื่อมนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มนุษย์

Page 3: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

3

มีความผูกพันกันและได้แสดงพฤติกรรมร่วมกันเกิดเป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องผี คติความเชื่อเรื่องผีเป็นคติความเชื่อที่มีอยู่ในปัจเจกชนแต่ละคน ซึ่งพยายามหาค าตอบในปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้น ในทัศนคติของชาวบ้านเป็นผีที่มีความส าคัญต่อวิถีการด าเนินชีวิตของคนในชุมชน ผีเป็นผู้ให้ความหมายหรืออาจกล่าวได้ว่า ผีเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการด าเนินชีวิตของชาวบ้าน ผีเป็นสิ่งที่รู้สึกสัมผัสได้ อาจจะไม่ใช่ด้วยระบบประสาททั้งห้า หากมันเกิดขึ้นด้วยความเชื่อมั่นและศรัทธา ที่ท าให้เกิดดุลยภาพในสังคมระดับชาวบ้าน ในสังคมของชาวอีสานแล้วผีแถนและผีปู่ตาเป็นคติความเชื่อของสังคมโคตรวงศ์ที่นับถือความเป็นพ่ีเป็นน้อง ท าให้ความขัดแย้งแตกแยกทางสังคมและทางชนชั้นเกิดขึ้นอย่างล่าช้า

ความเชื่อเรื่องผีที่สิ ง ส ถิ ต อ ยู่ ใ นธ ร ร ม ช า ติ เช่ น ดิน น้ า และต้นไม้ ช่ ว ย ส ร้ า งความสั ม พันธ์ที่ ดีเหมาะสมระหว่าง

ชาวบ้านกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับ เอกวิทย์ ณ ถลาง (2544 :44) ซึ่งได้กล่าวไว้ว่าในสังคมอีสานให้ความส าคัญแก่ผู้ที่อาวุโสและผู้ที่มีความรู้ความช านาญ ผู้ที่อาวุโสมากที่สุดในหมู่บ้านจะถูกแต่งตั้งขึ้นให้เป็นเจ้าโคตร ในขณะผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีความรู้ความช านาญเฉพาะทางก็จะได้รับการยอมรับนับถือให้เป็นผู้น าในด้านต่างๆ ได้แก่ หมอธรรม หมอยา หมอล่อง หมอผีฟ้า หมอแคน หมอล าเป็นต้น

Page 4: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

4

ในการด าเนินชีวิตของชาวนาจ าเป็นจะต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความช านาญเหล่านี้ดังที่ได้กล่าวมาซึ่งได้รับการยกย่องแล้วว่าเป็นผู้มีภูมิปัญญา หน้าที่ส าคัญของผู้เฒ่าผู้แก่เหล่านี้ คือ ช่วยเหลือ รักษา ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่างๆ ไม่ให้ลุกลามบานปลายออกไป โดยจะน าหลักฮีตสิบสอง คองสิบสี่มาเป็นเหตุผลที่ท าให้คนเหล่านั้นยินยอมรับฟังได้ การนับถือกันเสมือนญาติพ่ีน้องรวมทั้งให้ความเคารพแก่ผู้ที่มีอาวุโส จึงท าให้คนในหมู่บ้านมีความรักใคร่กลมเกลียวกันตลอดจนมีความสามัคคีแม้เมื่อการปฏิรูปการปกครองได้แผ่ขยายเข้ามายังภูมิภาคนี้แต่ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติของชาวอีสานยังคงถูกรักษาและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน

มีนักวิชาการได้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อของชาวอีสานและได้ให้ความเห็นดังนี้

สุภณ สมจิตศรีปัญญา (2536 : 42-43) ชาวที่อีสานของประเทศไทยมีพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อหลายอย่างและเชื่อในเรื่องผีสางเทวดาเคารพเชื่อฟังผู้เฒ่าผู้แก่เชื่อในศาสนาพราหมณ์และเชื่อในศาสนาพุทธดังนั้นภิกษุในศาสนาพุทธจึงได้จัดระเบียบความเชื่อในศาสนาพุทธมากที่สุดส าหรับผลการประกอบพิธีที่หมุนเวียนกันไปภายใน 12 เดือนของแต่ละรอบปีของชาวอีสานเรียกว่า “ฮีตสิบสอง” ซึ่งมีลักษณะเป็นจารีตประเพณีประจ าในแต่ละเดือนและได้ก าหนดแนวทางหรือครรลองปฏิบัติต่อกันระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้านและระหว่างชาวบ้านกับวัดมีสาระส าคัญ 14 ข้อเรียกว่า “คองสิบสี่” และทั้งสองอย่างได้น ามารวมไว้ในหนังสือผูกฉบับเดียวกันเชื่อว่า “ฮีตสิบสองคองสิบสี่” แต่ในเนื้อหาจะมีชื่อเรียกย่อออกไปว่า ฮีตวัดคองวาคองสิกขาบทบ้างและสิกขาบทบ้างส่วนชาวบ้านบางครั้งก็เรียกตามภาษาปากว่าฮีตยี่คองเจียงบางทีก็เรียกสั้นๆว่าฮีตคองซึ่ง

Page 5: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

5

เป็นค าที่มีความหมายกว้างออกไปอีกอย่างไรก็ตามหลักในฮีตสิบสองคองสิบสี่ส่วนมากชาวบ้านก็ยังถือปฏิบัติอยู่ในชีวิตประจ าวันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. ประเพณี นอกจากความความเชื่อความสัมพันธ์แบบเครือญาติจะเป็นลักษณะเด่นของสังคมอีสานแล้ว ส าลี รักสุทธี (2544 : 98) ยังได้กล่าวไว้อีกว่าขนบธรรมเนียมประเพณีก็เป็นปัจจัยที่ช่วยรักษาสภาพสังคมให้เกาะเกี่ยวยึดแน่นกัน ในอดีตอ านาจการปกครองของอาณาจักรสยามที่มีต่อภูมิภาคนี้เป็นไปแบบค่อนข้างหลวม รัฐจะดูแลอย่างใกล้ชิดเฉพาะการเรียกเก็บส่วยเท่านั้น ส่วนเรื่องการปกครองภายในและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ยงคงปล่อยให้เป็นไปอย่างที่เคยปฏิบัติกันมาตั้งแต่อดีต ดังนั้นชาวนาจึงยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีดังกล่าวจนถึงปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีส าคัญในภาคอีสาน คือ ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ ฮี ต สิ บสองเป็ นประเพณี ในรอบหนึ่งปีที่ชาวอีสานจะต้องปฏิบัติตามเพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ตน เอ งและห มู่ บ้ าน ฮีตสิบสองถือว่าเป็ นประเพณีที่เกี่ยวกับการท าบุญในแต่ละเดือนของภาคอีสาน หากสังเกตความหมายของประเพณีพบว่า งานบุญทั้ง 12 เดือนมีการผสมผสานแนวความคิด

Page 6: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

6

ระหว่างศาสนาพุทธ พราหมณ์และการนับถือผี แต่การปฏิบัติจะเน้นไปทางพราหมณ์และการนับถือผีเสียส่วนใหญ่ เนื่องจากชาวอานเชื่อในเรื่องภูตผีหรือสิ่งที่ไม่มีตัวตนที่สถิตยอยู่ในธรรมชาติซึ่งมนุษย์ต้องการพ่ึงพาในการด าเนินชีวิตประจ าวัน อย่างไรก็ตามเนื่องจากมีการรับพุทธศาสนามาเป็นศาสนาประจ าท้องถิ่นจึงท าให้งานบุญต่างๆ จะต้องมีพิธีการทางพุทธศาสนาเสียก่อนถึงแม้ว่าจะเป็นประเพณีเกี่ยวกับพราหมณ์และการนับถือผีก็ตาม ซึ่งก่อนจะท าพิธีดังกล่าวจะเริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัย ฟังเทศน์ ถวายภัตตาหาร จากนั้นจึงเริ่มพิธีกรรมต่างๆ ตาประเพณีต่อไป คองสิบสี่เป็นข้อบังคับหรือกฎระเบียบส าหรับทุกคนในหมู่บ้านปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพ่ือให้สังคมมีความสงบสุข ซึ่งได้จ าแนกไว้ทุกคนปฏิบัติทั้งหมด 14 ข้อ ตามฐานะที่ต่างกัน หลักของคองสิบสี่เน้นให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขไม่ว่าจะเป็นกษัตริย์ ขุนนาง เจ้าเมือง พระสงฆ์แลประชาชน โดยใช้หลักธรรมเป็นแนวทางในการก าหนดวิธีการด าเนินชีวิต นอกจากนี้แล้วเนื่องจากภาคอีสานมีอิสระในการปกครองตนเองจึงไม่ได้น าวิธีการลงโทษแบบที่ส่วนกลางน ามาใช้กับบุคคลที่กระท าความผิด แต่ขณะเดียวกันกลับพบว่า จ านวนผู้ที่กระท าความผิดน้อยมาก เนื่องด้วยสังคมอีสานเป็นสังคมที่ ยึดมั่นในหลักพุทธศาสนา ท าให้ประชาชนในภูมิภาคนี้กลัวบาปกรรมมากกว่าการลงโทษอย่างอ่ืน ดังนั้น คองสิบสี่จึงเปรียบเสมือนกฎหมายที่อาศัยความส านึกชั่วดีของมนุษย์เป็นบทลงโทษนั่นเอง

ดังที่จารุบุตร เรืองสุวรรณ (252 : 7-15) ได้ ก ล่ า ว ว่ า ค อ ง สิ บ สี่

Page 7: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

7

ได้บรรจุเนื้อหาข้อก าหนดเรื่องหน้าที่ต่างๆ ตลอดจนสิ่งที่พึงกระท าห รื อละ เว้ น กระท า ห ากผู้ ใดท าต ามก็ จ ะมี ค วามสุ ขความเจริญก้าวหน้าในทางตรงกันข้ามหากไม่ท าตามก็จะพบแต่ความทุกข์ซึ่งก็ไม่เฉพาะแก่ตนเองเท่านั้นแต่จะส่งผลไปถึงคนทั้งหมู่บ้าน ดังนั้น นอกจากชาวอีสานจะประพฤติตนให้เป็นคนดีแล้วยังต้องสอดส่องตักเตือนและห้ามปรามไม่ให้คนในหมู่บ้านประพฤติผิดฮีตคอง ตัวอย่างของฮีตสิบสอง คองสิบสี่ที่แสดงให้เห็นถึงความมักใคร่กลมเกลียวของสังคมอีสาน เช่น วันเข้าพรรษาเป็นวันที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติให้พระภิกษุสงฆ์จ าพรรษาเป็นเวลา 3 เดือนในฤดูฝนระหว่างแรม 1 ค่ า เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ า เดือน 11 เพ่ือไม่ให้พระสงฆ์ไปเหยียบย่ าข้าวกล้าของชาวนาให้ได้รับความเสียหายประเพณีแห่งเทียนพรรษานั้นเนื่องจากสมัยก่อนพระภิกษุสงฆ์ไม่มีไฟฟ้าใช้ชาวบ้านจึงหล่อเทียนต้นใหญ่ขึ้นเพ่ือถวายพระภิกษุสงฆ์จุดให้แสงสว่างในการปฏิบัติกิจวัตรต่างๆเป็นพุทธบูชาตลอดเวลา 3 เดือนการน าเทียนไปถวายชาวบ้านมักจัดขบวนแห่กันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานและปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกลายเป็นประเพณี การจัดให้มีการท าบุญข้าวสากในเดือน 10 เพ่ือเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ปู่ยาตายายและญาติพ่ีน้องที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นต้น พิธีกรรมดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงความกตัญญูกตเวทีของชาวอีสานตลอดจนความรักใคร่กลมเกลียวกันในหมู่ญาติพ่ีน้อง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสังคมอีสาน 3. การแสดงการละเล่น ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูงค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพ้ืนดินไม่เก็บน้ า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้ าจะท่วม แต่ชาว

Page 8: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

8

อีสานก็มีอาชีพท าไร่ท านาและเป็นคนรักสนุก จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาสการแสดงของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจ าวันหรือประจ าฤดูกาล เช่น แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ ร าลาวกระทบไม้ ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะในการก้าวเท้ามีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและสะบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของเซิ้ง แต่ที่เป็นจุดเด่นและชาวอีสานให้ความส าคัญมาเป็นอันดับแรกคือการขับร้องเพลงพ้ืนบ้านอีสาน หรือท่ีชาวอีสานเรียกว่า

“หมอล า” หมอล าหมอล าเป็นมหรสพพ้ืนบ้านที่ส าคัญที่สุดของชาวอีสานค าว่า “ล า” แปลว่า “ขับร้อง” มาจากค าเดิมว่า “ขั บ ล า น า ” ทั้ ง นี้

วิเคราะห์ได้จากหลักฐานที่ปรากฏในท้องถิ่นต่างๆของชาวไทยและชาวลาวดังนี้คือในภาคเหนือของไทยใช้ค าว่า “ขับ” เช่นขับซอซึ่งหมายถึงการขับร้องที่ประสานด้วยเสียงซอแต่ปัจจุบันนิยมเรียกแต่เพียงว่า “ซอ” เช่นซอจับนกซึ่งหมายถึงขับร้องชมธรรมชาติแทนที่จะเรียกว่าขับซอจับนกในตอนเหนือของลาวใช้ค าว่า “ขับ” เช่นเดียวกันเช่นขับงึ่มขับซ าเหนือขับทุ้มหลวงพระบางขับเซียงขวางในภาคอีสานของไทยใช้ค าว่า “ล า” เช่นล าพ้ืนล ากลอนล าหมู่และล าซิ่งส่วนในภาคใต้ของลาวใช้ค าว่า “ล า” เช่นล าบ้านซอกล ามหาชัยล าสีพันดอนและล าคอนสวันส่วนในภาคกลางของไทยเดิมใช้ค าว่า “ขับล าน า”

Page 9: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

9

ปัจจุบันใช้ค าว่า “ขับร้อง” (เจริญชัย ชนไพโรจน์ และสิทธิศักดิ์ จ าปาแดง. 2543 : 1) 4. อาหารการกิน พัฒนาการทางอาหารอีสานจะอยู่กับธรรมชาติ ที่มีค ว าม ห ล าก ห ล าย ข อ งวัตถุดิบในการท าอาหาร ทั้งพื ช ผั ก สั ต ว์ จนกระทั่ งแมลงโดยวัฒนธรรมการกินอาหารแบบสุกๆ ดิบๆ ก็มีม าช้ าน าน ส่ วน อ าห ารต้องห้าม คืออาหารที่ เป็นของเหลือเดน อีกทั้งผู้น้อย หนุ่มสาว จะไม่กินอาหารก่อนผู้ใหญ่ครูบาอาจารย์ ซึ่งแฝงค าสอนให้รู้จักเคารพผู้อาวุโสรู้จักการนอบน้อมถ่อมตน แต่เนื่องจากอีสานเป็นภาคที่แห้งแล้ง ท าให้วัฒนธรรมการกิน การท ากับข้าวจะกินกันอย่างพอเพียง โดยมีกับข้าวไม่กี่อย่างแต่แบ่งกินกันหลายคนซึ่งก็มีนัยแฝงว่าทุกคนใน ครอบครัวจะได้พูดคุยกันแต่ปัจจุบันคนในครอบครัวต่างก็แยกย้ายกันไป ท าให้วิถีในอดีตหายตามไปด้วย ส่วนข้อห้ามต่างๆ

ในส่วนของงานพิธีกรรมจะไม่ นิ ย ม น าสั ต ว์ ให ญ่ ม าท าอาหารและคนที่มีของ มีวิชาอาคมจะไม่กินอาหารที่เลี้ยงในงานศพเชื่อว่าจะท าให้วิชาเสื่อม และยิ่งในหญิง

Page 10: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

10

ตั้งครรภ์ก็จะมีความเข้มงวดอย่างมาก เช่น แม่ลูกอ่อนที่อยู่ไฟต้องกินปลา เกลือ ไข่ และข่าเพ่ือช่วยสมานแผลแต่ห้ามกินของทะเล ของที่มีกลิ่นเหม็น เช่น ชะอม ของหมักดองจนกระทั่งห้ามกินสัตว์ที่อยู่ใต้ดินอย่าง ตุ่น เต่า และห้ามกินต่อ แตนเพราะจะท าให้ลูกอารมณ์ร้าย เป็นต้น โดยความเชื่อบางความเชื่อนั้นต่างก็มากับหลักการด าเนินชีวิตของแต่ละคนนอกจากนั้นสภาพแวดล้อมลักษณะภูมิประเทศก็เป็นตัวก าหนดวัฒนธรรมชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในถิ่นนั้นให้เข้ากับสภาพพ้ืนที่เพ่ือความอยู่รอดได้เป็นอย่างดี นอกจากการอยู่ที่เรียบง่ายแล้วการกินของชาวอีสานก็มีความเรียบง่ายเช่นกันอาหารในแต่ละมื้อของชาวอีสานไม่ค่อยแตกต่างกันนักและมักจะมีเพียงอย่างเดียวหรือสองอย่างต่อมื้อ บางมื้ออาจจะมีเพียงน้ าพริกหรือที่ชาวอีสานเรียกว่า “แจ่ว” (ส่วนใหญ่จะเป็นน้ าพริกปลาร้า) กับผักพ้ืนบ้านที่เก็บได้ริมรั้วบ้านและอาหารที่ชาวอีสานนิยมรับประทานกันมากที่สุดนอกจากแจ่วแล้วก็คงจะเป็นส้มต าที่นิยมกินกันทั่วภาคอีสานส้มต าของชาวอีสานจะใส่น้ าปลาร้าเป็นเครื่องปรุงหลักโดยรับประทานส้มต ากับข้าวเหนียวและผักพวกกระถินถั่วฝักยาวและผักอ่ืนที่หาได้ใกล้บ้านเวลามีงานเทศกาลงานบุญหรืองานสังสรรค์ต่างๆชาวอีสานนิยมต าส้มต าเป็นอาหารหลักการรับประทานส้มต านั้นชาวอีสานเชื่อว่าต้องรับประทานหลายๆคนถึงจะอร่อยนี่เป็นเคล็ดลับหนึ่งในการผูกมิตรของชาวอีสาน (โดยใช้ส้มต า) อาหารอ่ืนๆก็จะเป็นพวกแกงที่นิยมกันมากคือแกงหน่อไม้และแกงปลาและอ่อมเนื้อหรือกบเขียดปลาไก่ (แล้วแต่ว่าจะมีอะไรในครัวมื้อนั้น) โดยชาวอีสานจะรับประทานข้าวเหนียวกับอาหารทุกชนิดและสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในการปรุงอาหารของชาวอีสานก็คือปลาร้าหรือที่ชาว

Page 11: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

11

อีสานเรียกว่า “ปลาแดก” เป็นเครื่องปรุงหลักอย่างหนึ่งในการประกอบอาหารพื้นบ้าน (น าใจ อุทรักษ์. 2553 :11 - 12) 5. ภาษาอีสาน ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีส าเนียงที่แตกต่างกันออกไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับถิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษสุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติด กับเขมรส าเนียงและรากเหง้าของภาษาก็จะมีค าของภาษาเขมรปะปนอยู่ด้วยทางด้านจังหวัด สกลนครนครพนม มุกดาหาร หนองคายเลยที่ ติ ดกับประเทศลาว และมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศัยอยู่ค่อนข้างมากก็จะมีอีกส าเนียงหนึ่งชนเผ่าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีส าเนียงที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ตราบจนปัจจุบัน เ ช่ น ช า ว ภู ไ ท ใ น จั ง ห วั ด มุ ก ด า ห า ร แ ล ะ น ค ร พ น ม ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่นแต่ในภาษาอีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือลักษณะของค าและความหมายต่างๆที่ยังคงสื่อความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงท าให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็นอย่างดีถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงของชาวอีสานใช้กันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะภาษาที่คนในท้องถิ่นต่างๆใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแม้จะเป็นภาษาที่มีความแตกต่างกัน แต่ก็มีร า ก ศั พ ท์ ใ น ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ที่ ค ล้ า ย ค ลึ ง กั น ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ ได้ รั บ การศึ กษ าที่ ดี เที ยบ เท่ ากั บ คน ใน ภ าคกลางห รือ

Page 12: 1 วัฒนธรรมอีสาน - Mahasarakham Universityrms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5807011_8684(1).pdfภาคอ สาน ค อ ฮ ตส บสอง คองส

12

ก รุ ง เท พ ม ห าน ค รท า ให้ ภ าษ า อี ส าน เริ่ ม ล ด ค ว าม ส า คั ญลง เช่นเดียวกันกับภาษาพ้ืนเมืองของภาคอ่ืนๆ แต่ผู้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป็นภาษาหลักอยู่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาอีสานของท้องถิ่นตนเองและภาษาไทยกลาง หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีสานจะพบการใช้ภาษาถิ่นที่แตกต่างกันไปดังที่กล่าวมาแล้ว แต่คนอีสานเหล่านี้โดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป็นภาษาไทยกลางได้อีกด้วย ทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานใหญ่จะเข้ามาหางานท าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อก่อนจะไปหางานท าเฉพาะหลังฤดูท านา แต่ในปัจจุบันวัยรุ่นส่วนใหญ่จะเข้ากรุงเทพฯและท างานที่นั่นตลอดทั้งปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานท าแล้วก็ยังมีการเผยแพร่วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัว จะเห็นได้จากในปัจจุบันชาวไทยจ านวนมากเริ่มเข้าใจภาษาอีสาน ทั้งจากเพลงลูกทุ่ งภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป็นคนอีสาน ท าให้ภาษาอีสานยังคงสามารถสืบสานต่อไปได้อยู่ถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้