02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท...

50
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ 2. รายละเอียดโครงการ มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc หนา 2-1 2 รายละเอียดโครงการ 2.1 บทนํา บริษัท แพน โอเรียนท รีซอสเซส ( ประเทศไทย) จํากัด วางแผนดําเนินการขุดเจาะสํารวจ ปโตรเลียมจํานวน 1 หลุม เพื่อประเมินปริมาณสํารองของสารปโตรเลียมไฮโดรคารบอน วามีความคุมคาใน การพัฒนาเพื่อการผลิตตอไปหรือไม โดยหลุมสํารวจที่จะดําเนินการนั้นตั้งอยูในพื้นที่ดานตะวันตกเฉียงใตของ แปลงสํารวจปโตรเลียมหมายเลข L33/43 ตั้งอยูในเขตอําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ หางจากกรุงเทพ ประมาณ 250 กิโลเมตรทางทิศเหนือ (รูปที2-1) 2.2 ความเปนมาของแปลงสํารวจ และสถานภาพทางกฎหมาย บริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด ไดรับสัมปทานในแปลงสํารวจ L33/43 ตั้งแตวันที17 กรกฎาคม .. 2546 ตามสัญญาสัมปทานปโตรเลียม หมายเลข 5/2546/62 จากนั้น ในเดือน ตุลาคม .. 2548 บริษัท แพน โอเรียนท เอ็นเนอรยีคอรปอเรชั่น จากประเทศแคนาดา ไดเขาซื้อหุนทั้งหมด ของ Tiger Petroleum Inc. ซึ่งเปนบริษัทแมของบริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอรสเซส (ประเทศไทย) จํากัด โดยไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท แพน โอเรียนท รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด เมื่อวันที5 กันยายน .. 2549 ในพื้นที่แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 ไดมีการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนมาแลว 5 ครั้ง ตั้งแตในปพ. . 2531 รวมระยะทางประมาณ 800 กิโลเมตร โดยผูดําเนินการ 3 ราย โดยสวนใหญใช วัตถุระเบิด ( ไดนาไมต ) เปนแหลงกําเนิดคลื่น การสํารวจครั้งลาสุดเปนการสํารวจดวยการวัดความไหว สะเทือนแบบ 3 มิติ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร ตามแนวขอบพื้นที่สัมปทานดานทิศใต ดําเนินการโดยบริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด นอกจากนี้ยังเคยมีการขุดเจาะหลุมสํารวจจํานวน 1 หลุม คือ หลุมเขาเล็ง -1 ตั้งอยูที่ละติจูด 15 องศา 40 ลิปดา 39 พิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 101 องศา 10 พิลิปดา 09 พิลิปดา ตะวันออก โดยทําการขุด เจาะในเดือนกรกฎาคม .. 2533 โดยบริษัท Petrocorp Exploration (Thailand) Ltd ซึ่งการสํารวจในครั้งนั้น พบวามีน้ํามัน แตมีปริมาณไมเพียงพอที่จะพัฒนาตอในเชิงพาณิชยจึงทําการสละหลุมหลังสิ้นสุดการทดสอบ หลุม 2.3 หลักการ และความจําเปนของโครงการ สัญญาสัมปทานการสํารวจในแปลงสํารวจ L33/43 ลงวันที17 กรกฎาคม .. 2546 กําหนดให ผูรับสัมปทานดําเนินการขุดเจาะหลุมสํารวจ 1 หลุม ภายในปที3 ของภาระผูกพันในชวงแรกของสัญญา เมื่อพิจารณาภาพรวมของการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ความตองการน้ํามันและกาซ ธรรมชาติในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตามการพัฒนาและเติบโตของอุตสาหกรรมในประเทศไทย อัตรา การใชพลังงานในประเทศไทยเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 25 ในชวง 5 ปที่ผานมา (ตารางที2-1)

Transcript of 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท...

Page 1: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-1

2 รายละเอยีดโครงการ

2.1 บทนํา

บริษัท แพน โอเรียนท รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด วางแผนดําเนินการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมจํานวน 1 หลุม เพื่อประเมินปริมาณสํารองของสารปโตรเลียมไฮโดรคารบอน วามีความคุมคาในการพัฒนาเพื่อการผลิตตอไปหรือไม โดยหลุมสํารวจที่จะดําเนินการนั้นตั้งอยูในพื้นที่ดานตะวันตกเฉียงใตของแปลงสํารวจปโตรเลียมหมายเลข L33/43 ตั้งอยูในเขตอําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ หางจากกรุงเทพ ประมาณ 250 กิโลเมตรทางทิศเหนือ (รูปท่ี 2-1)

2.2 ความเปนมาของแปลงสํารวจ และสถานภาพทางกฎหมาย

บริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด ไดรับสัมปทานในแปลงสํารวจ L33/43 ตั้งแตวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ตามสัญญาสัมปทานปโตรเลียม หมายเลข 5/2546/62 จากนั้น ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 บริษัท แพน โอเรียนท เอ็นเนอรยี่ คอรปอเรช่ัน จากประเทศแคนาดา ไดเขาซื้อหุนทั้งหมดของ Tiger Petroleum Inc. ซึ่งเปนบริษัทแมของบริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอรสเซส (ประเทศไทย) จํากัด โดยไดเปลี่ยนช่ือเปน บริษัท แพน โอเรียนท รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549

ในพื้นที่แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 ไดมีการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนมาแลว 5 ครั้ง ตั้งแตในปพ.ศ. 2531 รวมระยะทางประมาณ 800 กิโลเมตร โดยผูดําเนินการ 3 ราย โดยสวนใหญใชวัตถุระเบิด (ไดนาไมต) เปนแหลงกําเนิดคลื่น การสํารวจครั้งลาสุดเปนการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนแบบ 3 มิติ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร ตามแนวขอบพื้นที่สัมปทานดานทิศใตดําเนินการโดยบริษัท แปซิฟก ไทเกอร รีซอสเซส (ประเทศไทย) จํากัด

นอกจากนี้ยังเคยมีการขุดเจาะหลุมสํารวจจํานวน 1 หลุม คือ หลุมเขาเล็ง-1 ตั้งอยูท่ีละติจูด 15 องศา 40 ลิปดา 39 พิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 101 องศา 10 พิลิปดา 09 พิลิปดา ตะวันออก โดยทําการขุดเจาะในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยบริษัท Petrocorp Exploration (Thailand) Ltd ซึ่งการสํารวจในครัง้นัน้พบวามีน้ํามัน แตมีปริมาณไมเพียงพอที่จะพัฒนาตอในเชิงพาณิชยจึงทําการสละหลุมหลังสิ้นสุดการทดสอบหลุม

2.3 หลักการ และความจําเปนของโครงการ

สัญญาสัมปทานการสํารวจในแปลงสํารวจ L33/43 ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 กําหนดใหผูรับสัมปทานดําเนินการขุดเจาะหลุมสํารวจ 1 หลุม ภายในปท่ี 3 ของภาระผูกพันในชวงแรกของสัญญา

เมื่อพิจารณาภาพรวมของการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ความตองการน้ํามันและกาซธรรมชาติในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตามการพัฒนาและเติบโตของอุตสาหกรรมในประเทศไทย อตัราการใชพลังงานในประเทศไทยเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 25 ในชวง 5 ปท่ีผานมา (ตารางที่ 2-1)

Page 2: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-2

รูปที่ 2-1: แผนผังแปลงสัมปทานปโตรเลยีมบนบก ในประเทศไทย

Page 3: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-3

ตารางที ่2-1: อัตราการใชพลังงานในประเทศไทย

ปพ.ศ. อัตราการใชพลังงานทั้งหมด (1018J)

2543 2.719

2544 2.847

2545 3.043

2543 3.169

2547 3.412

ที่มา: U.S. DOE Data (http://www.iaea.org/inis/aws/eedrb/data/TH-enc.html)

ขอกําหนดทางการเงินของสัมปทานปโตรเลียม จะทําใหรัฐบาลไทยไดรับคาภาคหลวงจากการผลิต ในอัตรารอยละ 5 ถึงรอยละ 15 โดยขึ้นอยูกับปริมาณของกาซ และคอนเดนเสทที่ผลิตได และภาษีเงินไดนิติบุคคล ในอัตรารอยละ 50 ของกําไร รายไดของรัฐบาลเหลานี้ กรมเช้ือเพลิงธรรมชาติเปนผูรับผิดชอบในการกระจายคาภาคหลวงที่ไดรับใหกับหนวยงานระดับจังหวัด และอําเภอ ในบริเวณพ้ืนที่ท่ีดําเนินการผลิต เพื่อเปนการสงผลประโยชนจากโครงการใหกับชุมชนในทองถ่ินโดยตรง

หากบริษัท แพน โอเรียนท สามารถยืนยันไดวาแหลงกักเก็บไฮโดรคารบอนท่ีหลุมขุดเจาะที่จะดําเนินการนี้มีแนวโนมท่ีจะมีความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจหากจะดําเนินการผลิตแลว การผลิตจากแหลงกักเก็บนี้จะชวยใหประเทศไทยเพิ่มศักยภาพในการพึ่งพาตนเองในดานแหลงพลังงานไดอีกดวย

2.4 เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ต้ังโครงการ

โครงการฯ ไดกําหนดทางเลือกที่ตั้งหลุมเจาะสํารวจไว 2 แหง เพื่อทําการคัดเลือกพื้นท่ีท่ีเหมาะสมที่สุดสําหรับดําเนินโครงการ พิกัดภูมิศาสตรของหลุมเจาะสํารวจทั้งสองแหง ไดแก L33-A และ L33-D แสดงไวในตารางที่ 2-2 และแสดงไวในภาพถายทางอากาศในภาพรวมของพื้นที่ (รูปท่ี 2-2)

ตารางที ่2-2: พิกัดภูมิศาสตรของหลุมขุดเจาะสํารวจ

หลุมเจาะสํารวจ ละติจูด Northing

ลองจิจูด Easting

L33-A (ที่ตั้งที่คาดวาจะดําเนินการ)

15 40' 16.52581'' UTM 47P 725328

101 06' 09.05759'' UTM 47P 1733550

L33-D (ที่ตั้งทางเลือก)

15 40' 26.91304'' UTM 47P 725194.

101 06' 04.66120'' UTM 47P 1733868

หลักฐานทางแนวนอน (Datum) Indian 1975 สเฟยรอยด Everest 1830

Page 4: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-4

รูปที่ 2-2: ที่ตั้งทางเลือกของโครงการทั้ง 2 แหง (L33-A และ L33-D)

ที่มา: โปรแกรม Google Earth ใชโปรแกรมเพื่อเก็บขอมูล วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ภาพถายดาวเทียมถายเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2549

100 เมตร

Page 5: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-5

หลักเกณฑท่ีบริษัท แพน โอเรียนท ใชในการเลือกพื้นที่โครงการมี 3 ดาน คือ ดานเทคนิค ดานเศรษฐศาสตร และดานสิ่งแวดลอม

2.4.1 เกณฑดานเทคนิคและดานเศรษฐศาสตร

1. เปนตําแหนงท่ีมีแนวโนมวาจะพบแหลงกักเก็บปโตรเลียม โดยใชแผนที่ธรณีวิทยา และขอมูลจากการสํารวจดวยวิธีวัดความไหวสะเทือน ซึ่งพบวา เปาหมายของการขุดเจาะ คือ แหลงกักเก็บปโตรเลียมในช้ันทราย F (“F” reservoir sand level)

2. พิจารณาขอกําหนดทางวิศวกรรมปโตรเลียมเพื่อกําหนดตําแหนงท่ีเหมาะสมที่สุดในการขุดเจาะหลุมสํารวจ เพื่อใหสามารถคนพบแหลงกักเก็บปโตรเลียมใหมีมูลคาทางเศรษฐกิจใหมากที่สุด และหลีกเลี่ยงอันตรายจากแหลงกักเก็บกาซระดับตื้น

ขอมูลจากการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือน แสดงใหเห็นวามีช้ันโครงสรางปด (Structural Closure) วางตัวตามแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต ตามขอบแปลงสํารวจ L33/43 ดานทิศใต ตอเนื่องเขาไปในแปลงสํารวจ L44/43 ทางทิศตะวันออกเฉียงใต ดังนั้น หากตองการเพิ่มสัดสวนการผลิตจากหลุมขุดเจาะสํารวจที่เสนอใหมากท่ีสุดนั้น หลุมขุดเจาะสํารวจควรจะตั้งอยูเหนือโครงสรางนี้ ซึ่งท้ังหลุม L33-A และ L33-D ตั้งอยูในบริเวณดังกลาวทั้ง 2 หลุม ดังแสดงในรูปท่ี 2-3

2.4.2 เกณฑดานสิ่งแวดลอม

1. เปนตําแหนงที่อยูหางจากแหลงรับผลกระทบที่สําคัญ ไดแก โรงเรียน วัด ชุมชน แหลงน้ํา สถานที่ราชการ และแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญ มากเพียงพอที่จะไมกอใหเกิดผลกระทบอยางมีนัยสําคัญ

2. มีถนนเขาพื้นที่โครงการโดยไมตองมีการตัดถนนใหมเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

จากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของหลุมสํารวจ L33-A และ L33-D พบวาหลุม L33-D มีระยะหางจากแหลงรับผลกระทบที่สําคัญมากกวา ท้ังเขตชุมชน วัด โรงเรียน แหลงน้ํา และสถานที่ราชการ (ดงัจะแสดงรายละเอียดตอไปในบทที่ 3) ดังนั้น การดําเนินโครงการที่ตําแหนงหลุมสํารวจ L33-D จึงจะสงผลกระทบตอแหลงรับผลกระทบเหลานั้นนอยกวา

เมื่อพิจารณาทั้งหลักเกณฑทางดานเทคนิค ดานเศรษฐศาสตร และดานสิ่งแวดลอม จึงสามารถสรุปไดวาหลุมท่ีเหมาะสมในการดําเนินโครงการ คือ หลุม L33-D เนื่องจากจะสงผลกระทบตอแหลงรับผลกระทบเหลานั้นนอยกวา และต้ังอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสมทางดานเทคนิคใกลเคียงกัน

2.5 ที่ต้ังโครงการ

หลุมสํารวจ L33-D ตั้งอยูท่ีตําแหนงละติจูด 15 องศา 40 ลิปดา 26.9 ฟลิปดา เหนือ ลองติจูด 101 องศา 06 ลิปดา 4.6 พิลิปดา ตะวันออก หรือ UTM (725194 E, 1733868N) (รูปท่ี 2-4) อยูในเขตการปกครองของเทศบาลตําบลวิเชียรบุรี ตําบลทาโรง อําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ มีลักษณะเปนที่ราบลุม

Page 6: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-6

ท่ีระดับความสูงประมาณ 70 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง โดยรอบเปนพื้นที่เกษตรกรรม สวนใหญเปนนาขาวในเขตชลประทาน โดยนาขาวแตละแปลงจะมีแนวคันนาสูงประมาณ 0.5-1 เมตร ลอมรอบ มีไมพุมและไมยืนตนขึ้นกระจายตามแนวคันนา และในฤดูการเพาะปลูกขาวคลองสงน้ําชลประทานขนาดเล็กจะทําหนาที่ผันน้ําเขา-ออกนาขาวแตละแปลง

ท่ีตั้งของโครงการปจจุบัน (ตุลาคม พ.ศ. 2549) เปนพื้นที่สวนราง ซึ่งเคยมีการปรับพื้นที่เปนรองสวนเพื่อปลูกพุทรา ลอมรอบดวยนาขาว สลับกับทุงหญา มีไมพุมและไมยืนตนกระจายอยูท่ัวไป โดยรอบของพื้นที่โครงการ ดังนี้ (รูปท่ี 2-5)

ดานเหนือ: พื้นที่ของเอกชน ซึ่งปจจุบันเปนที่วางเปลา แตเดิมเคยใชปลูกขาวนาป

ดานตะวันตก: พื้นที่ของเอกชน ซึ่งปจจุบันใชประโยชนในการทํานาขาว

ดานใต: พื้นที่ของเอกชน ซึ่งปจจุบันเปนพื้นที่วางเปลา มีไมยืนตนกระจายอยูท่ัวไป และมีบอน้ําขนาดเล็ก 1 บอ

ดานตะวันออก: เปนพื้นที่ของเอกชน ซึ่งปจจุบันเปนสวนรางเชนเดียวกับในพื้นที่โครงการ

สภาพน้ําทวม

จากการสํารวจพื้นที่โครงการในชวงเดือนตุลาคม พ.ศ.2549 ซึ่งเปนชวงที่ภาคเหนือและภาคกลางของประเทศไทยมีฝนตกหนักและมีปริมาณน้ําสูงมากกวาในอดีต ทําใหหลายพื้นที่ประสบภาวะน้ําทวม รวมทั้งในเขตอําเภอวิเชียรบุรี ซึ่งเปนพื้นท่ีลุมริมฝงแมน้ําปาสัก พบวาในบริเวณพื้นท่ีโครงการไมประสบกับปญหาน้ําทวมขังในพื้นที่ เนื่องจากโดยรอบมีคลองชลประทานและบอเก็บน้ําขนาดเล็กทําหนาที่เปนพื้นที่รบัน้าํกระจายอยูท่ัวไป ดังนั้นเมื่อโครงการปรับพื้นที่ใหสูงกวาระดับพื้นที่ในปจจุบัน 1.3 เมตร จึงจะไมเกิดปญหาน้ําทวมในพื้นที่โครงการ เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวไมเคยมีน้ําทวมขังมากอน และการดําเนินโครงการก็มีกําหนดการจะเริ่มขุดเจาะสํารวจในชวงฤดูแลงอีกดวย

การใชประโยชนและกรรมสิทธ์ิที่ดิน

การดําเนินโครงการตองใชท่ีดินขนาด 5,250 ตารางเมตร (กวาง 70 เมตร ยาว 75 เมตร) หรือประมาณ 3.3 ไร และพื้นท่ีขนาดกวาง 4 เมตร ยาว 200 เมตร เพื่อกอสรางถนนเขาโครงการ ท่ีดินทั้งหมดมีเอกสารสิทธ์ิประเภทโฉนด 3 แปลง โดยผูครอบครองที่ดิน คือ คุณสมควร บุญแจง คุณออน แขวงแขงขัน และ คุณเกิน เสนหรอด

บริษัท แพน โอเรียนท จะทําการซื้อท่ีดินท้ังหมดจากเจาของกรรมสิทธ์ิปจจุบันหลังจากรายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไดรับการพิจารณาอนุมัติ

Page 7: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-7

รูปที่ 2-3: ลักษณะโครงสราง ชั้นทราย “F”

ที่มา: แปซิฟก ไทเกอร, 2549

L33-D

L33-A

Page 8: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc หนา 2-8

รูปที่ 2-4: แนวเสนการสํารวจดวยความไหวสะเทือนบรเิวณโครงการและแนวเสนการสํารวจใกลเคียง

Page 9: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-9

รูปที่ 2-5: สภาพพื้นที่โดยรอบของที่ตั้งโครงการ

Page 10: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-10

2.6 กําหนดการโครงการ

โครงการฯ จะสามารถเริ่มดําเนินการไดหลังจากรายงานรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมไดรับการพิจารณาอนุมัติ ซึ่งคาดวาจะอยูในชวงปลายป พ.ศ. 2549 – ตนป พ.ศ. 2550 โดยจะใชเวลาในการดําเนินโครงการประมาณ 90 วัน (12 สัปดาห) โดยชวงเวลาของการดําเนินโครงการระยะตางๆ แสดงไวในตารางที่ 2-3

ตารางที ่2-3: กําหนดการโครงการ

เดือนท่ี 1 เดือนท่ี 2 เดือนท่ี 3 กิจกรรมหลักของโครงการ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

จัดซ้ือที่ดิน 2 สัปดาห

ปรับถนนทางเขาและพื้นที่ฐานขุดเจาะ 3 สัปดาห

ขนสงและเตรียมติดตั้งฐานเจาะ 1 สัปดาห

เจาะหลุมสํารวจ 2 สัปดาห

การหยั่งธรณีหลุมเจาะ 1 วัน

การทดสอบหลุม 4 สัปดาห

2.7 แรงงาน

ในโครงการนี้ คาดวาจะมีการจางงาน 52 ตําแหนง ตามที่แสดงไวในตารางที่ 2-4 โดยสวนใหญจะดําเนินการจัดจางจากในพื้นที่อําเภอวิเชียรบุรี และอาจมีการเชาที่พักในบริเวณหมูบานใกลเคียง หรือในโรงแรมในพื้นที่ใกลเคียง

ในโครงการนี้ จะไมมีการกอสรางบานพักพนักงาน

ตารางที ่2-4: การจางงานในโครงการ

ระยะดําเนนิการของโครงการ จํานวน (คน)

การเขาสูพื้นที่ และการเตรียมพื้นที่ 15-20

การดําเนินการขุดเจาะ 14 (แบงเปน 2 กะ กะละ 7 คน)

การดําเนินการขุดเจาะ – ผูเชี่ยวชาญ 4 (เดินทางจากกรุงเทพฯ เปนครั้งคราว)

การสละหลุม 15-20

Page 11: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-11

2.8 การขุดเจาะสํารวจ – การดําเนินการโครงการระยะตางๆ

2.8.1 การสรางถนนเขาพื้นที่โครงการ

ถนนสาธารณะที่มีอยูในปจจุบันยังไมสามารถเขาสูพื้นที่โครงการได ดังนั้นโครงการจะตองสรางถนนเขาโครงการ เปนระยะทางประมาณ 200 เมตร (รูปท่ี 2-6) โดยมีลักษณะเปนถนนลูกรังบดอัดขนาดกวาง 4 เมตร ซึ่งไมมีทางน้ํา หรือสิ่งกีดขวางใดๆ ในเสนทาง ดังแสดงภาพตัดขวางถนนเขาสูพื้นท่ีโครงการในและตัวอยางถนนเขาสูพื้นที่โครงการในรูปท่ี 2-7 และ รูปท่ี 2-8

ในชวงที่มีการกอสรางจําเปนตองใชรถบรรทุกสิบลอเททาย รถไถปรับดิน รถบดอัดดิน และรถบรรทุกน้ํา และคาดวาจะตองใชดินลูกรังประมาณ 1,200 ลูกบาศกเมตร หรือ 60 คันรถ (บรรทุกคันละ 20 ลูกบาศกเมตร) โดยคาดวาจะใชเวลาในการดําเนินการปรับปรุงถนนประมาณ 1-2 สัปดาห

โครงการจะนําแผนการทํางาน และการออกแบบขั้นสุดทายของถนนเขาสูพื้นที่โครงการ และพื้นที่ฐานขุดเจาะ เสนอตอเทศบาลวิเชียรบุรี เพื่อใหความเห็นชอบกอนจะเริ่มดําเนินการกอสราง

Page 12: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-12

รูปที่ 2-6: ถนนเขาพ้ืนที่โครงการทีต่องปรบัปรุง

ที่มา ดัดแปลงจากภาพถายดาวเทียม: โปรแกรม Google Earth, เรียกดูขอมูลวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2549: ถายภาพเมื่อ 13 มกราคม พ.ศ. 2549

Page 13: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-13

รูปที่ 2-7: แผนภาพหนาตัดถนนเขาสูโครงการที่จะกอสราง

รูปที่ 2-8: สภาพถนนเขาสูพ้ืนที่โครงการ

ที่มา: ภาพถายถนนเขาสูพื้นที่โครงการฯ หวยไผ ของแปซิฟก ไทเกอร อําเภอวิเชียรบุรี ถายโดย IEM เม่ือวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2544

นาขาว

ถนนเขาสูโครงการ

ความกวางไหลทาง 2 เมตร

ความกวางที่ระดับพื้น 8 เมตร

ความกวางผิวถนน อยางนอย 4 เมตร

ยกระดับสูง 1 เมตร

Page 14: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-14

2.8.2 การกอสรางพื้นที่แทนขุดเจาะ

โครงการจะปรับระดับพื้นที่บริเวณหลุมขุดเจาะใหเรียบ และยกระดับพื้นดวยวิธีการถมและบดอัดดิน แลวจึงปดผิวหนาดวยดินลูกรังโดยยกระดับใหมีความสูงจากพื้นที่โดยรอบอยางนอย 1.3 เมตร พื้นที่ท่ียกระดับขึ้นนี้มีขนาดกวาง 65 เมตร ยาว 70 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4,550 ตารางเมตร (2.84 ไร) และจะติดตั้งรั้วลวดหนามลอมรอบพื้นที่โครงการทั้งหมด โดยเวนระยะปลอดภัยหางจากพื้นที่ท่ียกระดับขึ้นอีกอยางนอย 2.5 เมตร เพื่อปองกันผูไมไดรับอนุญาต และปศุสัตวเขามาในพื้นที่โครงการ โดยจัดเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยประจําที่พื้นที่โครงการตลอด 24 ช่ัวโมงทั้งในระยะกอสราง และระยะดําเนินการขุดเจาะ

ดังนั้นพื้นที่ในเขตรั้วลวดหนามของพื้นที่โครงการจึงมีความกวาง 70 เมตร ยาว 75 เมตร รวมพื้นที่ 5,250 ตารางเมตร (3.3 ไร) ดังแสดงแผนผังของฐานขุดเจาะในรูปท่ี 2-9 และภาพตัดขวางของฐานขุดเจาะในรูปท่ี 2-10

รอบบริเวณท่ียกพื้นสูงจะมีการระบบรองระบายน้ําลอมรอบ กวางและลึกประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อบังคับใหน้ําที่ไหลบาหนาดินในพื้นท่ีไหลลงสูบอเก็บโคลนและเศษหินจากการขุดเจาะ ซึ่งมีขนาดกวาง 8 เมตร ยาว 28 เมตร ลึก 3 เมตร (ขนาดความจุ 672 ลูกบาศกเมตร) รองพื้นดวยแผนยางบิวทิล (Butyl rubber) และมีคันกั้นรอบบอสูง 0.5 เมตร ดังนั้นน้ําที่อาจมีการปนเปอนของน้ํามันและสารเคมีตางๆ ในบริเวณพื้นที่โครงการนี้จึงจะไมเกิดการปนเปอนสูภายนอกพื้นที่โครงการแตจะถูกรวบรวมไวในบอเก็บโคลนและเศษหินจากการขุดเจาะ (รูปท่ี 2-11 และ รูปท่ี 2-12)

นอกจากนี้โครงการจะติดตั้งกําแพงกันเสียงตามแนวขอบพื้นที่แทนขุดเจาะดานทิศใต เพื่อลดผลกระทบจากเสียงจากโครงการที่จะมีตอชุมชนที่ตั้งอยูทางทิศใต (ภาพตัวอยาง แสดงในรูปท่ี 2-13)

ท้ังนี้บริษัท แพน โอเรียนท จะดําเนินการจัดจางผูรับเหมา แรงงานกอสราง และเชาเครื่องจักรในการกอสรางจากผูใหบริการในทองถ่ิน หลังจากรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมไดรับการพิจารณาอนุมัติตอไป

ในบริเวณพ้ืนที่ฐานขุดเจาะมีองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้ (รูปท่ี 2-9)

• แทนขุดเจาะ – ตั้งอยูเหนือหลุมเจาะ พรอมกับติดตั้งชุดอุปกรณปองกันการพลุง (Blowout preventer stack – BOP)

• อุปกรณผลิตซีเมนต

• พื้นที่เก็บสารเคมีสําหรับโคลนขุดเจาะ – เก็บไวในตูคอนเทนเนอร ขนาด 40 ฟุต ซึ่งจะวางไวบนแทนคอนกรีตยกพื้นสูงประมาณ 6 นิ้ว พรอมติดตั้งชองระบายอากาศ

• ถังเก็บโคลนขุดเจาะ (ความจุ 600 บารเรล หรือ 95 ลูกบาศกเมตร)

• อุปกรณควบคุมของแข็ง – ไดแก ตะแกรงเขยา (Shale Shaker) และเครื่องสูบโคลน เพื่อใชแยกเศษหินจากโคลนขุดเจาะ

• สํานักงานสนาม (รวมท้ังหองน้ํา อุปกรณปฐมพยาบาล อุปกรณสื่อสาร)

Page 15: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-15

• ถังเก็บน้ําใชเพื่อการอุปโภคบริโภค ขนาด 15 ลูกบาศกเมตร

• บอเก็บเศษหินและโคลนจากการขุดเจาะ (กวาง 8 เมตร ยาว 28 เมตร ลึก 3 เมตร) ความจุ 672 ลูกบาศกเมตร

• ถังเก็บเช้ือเพลิงขนาดความจุ 35 ลูกบาศกเมตร โดยจะติดตั้งถังเก็บเช้ือเพลิง จํานวน 1 ถัง บนพื้นคอนกรีตท่ีติดตั้งไวนอกแทนขุดเจาะ ซึ่งรองดานลางดวยแผน Geo-Membrane รอบพื้นคอนกรีตนี้จะลอมดวยคันกั้นสูง 0.5 เมตรเพื่อกักเก็บเช้ือเพลิงที่อาจรั่วไหลออกมา และจะเติมทรายไวภายในคันกั้นนี้เพื่อใหดูดซับการหกรั่วไหลท่ีอาจเกิดขึ้น และชวยในการทําความสะอาดดวย รวมท้ังจะสรางหลังคาคลุมถังเก็บเช้ือเพลิง เพื่อปองกันไมใหน้ําฝนตกลงไปในพื้นที่ภายในคันกั้น

Page 16: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-16

รูปที่ 2-9: แผนภาพพื้นที่ฐานหลุมขุดเจาะ

Page 17: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-17

รูปที่ 2-10: ภาพตัดขวางของฐานขุดเจาะ

Page 18: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-18

รูปที่ 2-11: ภาพตัวอยางบอเก็บเศษหิน

รูปที่ 2-12: ภาพตัวอยางรองระบายน้ํารอบพื้นที่โครงการ ที่ระบายลงบอเก็บน้ํา

ที่มา: ภาพถายพื้นที่ขุดเจาะ WB-A1 ของแปซิฟกไทเกอร อําเภอวิเชียรบุรี ภาพถายโดย IEM วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544

Page 19: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-19

รูปที่ 2-13: ภาพถายคันกั้น และกําแพงกนัเสียง

ที่มา: ภาพถายพื้นที่ขุดเจาะ WB-N1 ของแปซิฟกไทเกอร อําเภอวิเชียรบุรี ภาพถายโดย IEM วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2544

แทนขุดเจาะ

กําแพงกันเสียง

Page 20: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-20

2.8.3 ดินลูกรังที่ใชในการกอสรางถนนและพื้นที่โครงการ

2.8.3.1 แหลงดินลูกรัง

ดินลูกรังที่ใชในการกอสรางฐานขุดเจาะและทางเขาโครงการนั้น บริษัทไดทําการขอซื้อดินลูกรังจากพื้นที่ท่ีอยูใกลกับบริเวณพ้ืนท่ีโครงการ โดยหางจากหลุมสํารวจ L33-D ประมาณ 380 เมตร (รูปท่ี 2-14) ซึ่งไมตองมีการขนสงผานเขตชุมชน จึงจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอเสนทางคมนาคมของประชาชนและประหยัดเช้ือเพลิงในการขนสงอีกดวย

2.8.3.2 ปริมาณลูกรังที่ใชในโครงการ

ดินลูกรังที่ตองใชในการกอสรางฐานเจาะมีปริมาณประมาณ 7,280 ลูกบาศกเมตร (คํานวณจากความสูง 1.6 เมตร กอนการบดอัด) เนื่องจากฐานเจาะมีขนาดกวาง 65 เมตร ยาว 70 เมตร สูง 1.3 เมตร ดังนั้น

ดินท่ีใชในการกอสรางถนนทางเขาโครงการ คาดวาจะมีปริมาณประมาณ 1,200 ลูกบาศกเมตร (หัวขอ 2.8.1)

ดังนั้นจึงคาดวาตองใชดินลูกรังท้ังหมดในการดําเนินโครงการ ประมาณ 8,480 ลูกบาศกเมตร

รูปที่ 2-14: ตําแหนงของบอลูกรังที่ใชในโครงการ

Page 21: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-21

2.8.4 การขนสงและติดตั้งอุปกรณแทนขุดเจาะ

ปจจุบันบริษัท แพน โอเรียนท กําลังดําเนินการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจหมายเลข L44/43 อยูหลายหลุม โดยคาดวาหลุมท่ีจะดําเนินการสํารวจกอนยายแทนขุดเจาะมายังหลุม L33-D ของโครงการ คือ หลุม POE 7 ตั้งอยูในพื้นที่ บานหนองไมสอ ตําบลบอรัง อําเภอวิเชียรบุรี หางจากพื้นที่โครงการโดยทางรถยนตประมาณ 21 กิโลเมตร โดยการขนสงแทนขุดเจาะนี้จะใชรถบรรทุกขนาดใหญจํานวน 10 เท่ียว ซึ่งจะใชเวลาไมเกิน 3 วัน

เสนทางที่จะใชในการขนยายแทนขุดเจาะแสดงในรูปท่ี 2-15 โดยเริ่มตนจากหลุมสํารวจ POE 7

• ออกจากหลุม POE 7 โดยใชทางลูกรัง ซึ่งขณะนี้ (ตุลาคม 2549) บริษัทฯ อยูในระหวางการปรับปรุงสภาพถนนดวยการถมและบดอัดผิวดวยลูกรัง เปนระยะประมาณ 5 กิโลเมตร

• จากนั้นเลี้ยวซายไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเขาถนนลาดยาง 2 ชองทาง ผานหมูบานหนองไมสอ ซึ่งมีบานเรือนกระจายอยูหางๆ เปนระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร

• เลี้ยวซายไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือท่ีแยกเขาบานบอรัง ตามทางหลวงหมายเลข 2275 เปนระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร

• เลี้ยวซายไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตเขาถนนในเขตเทศบาลตําบลวิเชียรบุรีประมาณ 1 กิโลเมตร ซึ่งเปนถนนลาดยาง 2 ชองทางผานเขตชุมชน มีตลาด วัด โรงเรียน สถานีอนามัย และสถานที่ราชการตลอดสองขางทาง แตมีปริมาณจราจรคอนขางเบาบาง ยกเวนชวงเวลาโรงเรียนเขาและโรงเรียนเลิก คือ 07.30-08.30 และ 15.30-16.30 น

• เลี้ยวขวาไปทางทิศเหนือบริเวณขางสถานีตํารวจภูธร อําเภอวิเชียรบุรี เขาสูถนนคอนกรีต 2 ชองทาง ประมาณ 1.7 กิโลเมตร กอนเปลี่ยนเปนทางลูกรังประมาณ 300 เมตร

• เลี้ยวซายเขาทางเขาโครงการประมาณ 200 เมตร ซึ่งปจจุบันเปนทางดินใชเขาทุงนา โดยโครงการจะทําการกอสรางทางลูกรังกวาง 4 เมตร เพื่อใชเปนทางเขา-ออกของโครงการ

การขนสงแทนขุดเจาะน้ีจะดําเนินการเฉพาะในชวงเวลากลางวัน ยกเวนชวงเวลาโรงเรียนเขาและโรงเรียนเลิก คือ 07.30-08.30 น. และ 15.30-16.30 น ซึ่งมีการจราจรมากกวาในชวงเวลาปกติ โดยจะแจงใหเจาหนาที่ในพื้นที่ทราบกอนการดําเนินการอยางนอย 2 สัปดาห และประสานกับเจาหนาที่ในการใหสัญญาณจราจรเพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุ และใชเวลาสั้นท่ีสุดในการเคลื่อนยาย เพื่อใหเกิดผลกระทบตอประชาชนในพื้นที่นอยท่ีสุด

นอกจากนี้หากมีเรื่องรองเรียนเกิดขึ้นจะติดตามตรวจสอบและแกไขทันที สําหรับผิวการจราจรท่ีเสียหายจากการดําเนินการของโครงการบริษัทจะทําการซอมแซมหลังการดําเนินการขนยายเสร็จสิ้น

Page 22: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มกราคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-22

รูปที่ 2-15: เสนทางขนสงแทนขุดเจาะ

Page 23: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-23

การติดตั้งพื้นท่ีโครงการ และอุปกรณแทนขุดเจาะนั้นจะตองใชรถปนจั่น 2 คัน ดังแสดงในรูปท่ี 2-16 คาดวาการดําเนินการนี้จะใชเวลาประมาณ 5 วัน

การขนสงท่ีจะเกิดขึ้นในระหวางที่ดําเนินกิจกรรมการขุดเจาะ ไดแก การขนสงพนักงาน เช้ือเพลงิ สารเคมี และวัสดุตางๆ โดยจะใชรถกระบะ และรถตูในการขนสงพนักงาน และคาดวาจะตองใชรถบรรทุกเช้ือเพลิง 1 เท่ียว ทุกชวงเวลา 4 วัน สารเคมีสําหรับโคลนขุดเจาะ และวัสดุอื่นๆ จะมีการขนสงตามที่จําเปน โดยจัดใหมีพื้นที่จอดรถสําหรับรถกระบะ หรือรถบรรทุก 5 – 6 คันในพื้นที่หลุมเจาะ โดยตองมีใบอนุญาตเขาพื้นที่ เพื่อจํากัดไมใหผูไมไดรับอนุญาตเขาสูพื้นที่โครงการ

2.8.5 การขุดเจาะหลุมเจาะสํารวจ

การขุดเจาะหลุมเจาะสํารวจ และกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของจะดําเนินการตลอด 24 ช่ัวโมง พนักงานที่ดําเนินการขุดเจาะจะทํางานผลัดเปล่ียนกันเปนกะ กะละ 12 ช่ัวโมง โดยมีตัวแทนของบริษัท แพน โอเรียนท ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานในพื้นที่ขุดเจาะ

บริษัทผูรับเหมาขุดเจาะจะจัดหาพนักงานที่ปฏิบัติงานในการขุดเจาะ โดยเจาหนาที่ระดับสูงสุดของผูรับเหมาขุดเจาะ คือ ตําแหนง Tool Pusher มีหนาที่รับผิดชอบรวมกับหัวหนาดูแลการขุดเจาะของบริษัท แพน โอเรียนท เพื่อตรวจสอบวาการขุดเจาะนั้นเปนไปอยางปลอดภัย และดําเนินการโดยไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

ในการขุดเจาะ จะใชแทนขุดเจาะชนิดเคลื่อนท่ีได แบบ Wilson 42 Mobile Rig แทนขุดเจาะนี้จะติดตั้งอยูบนตําแหนงหลุมขุดเจาะ พรอมกับชุดควบคุมอุปกรณปองกันการพลุง อุปกรณผลิตซีเมนต ถังเก็บโคลน ตะแกรงเขยา และเครื่องสูบโคลน ซึ่งจะติดตั้งอยูดานขางแทนขุดเจาะ

แทนขุดเจาะ ประกอบดวยมอเตอรไฟฟา เพื่อใชในการหมุนกานเจาะ (Drill String) ซึ่งรับกระแสไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซล มอเตอรจะหมุนกานเจาะ และสงกําลังใหกับหัวขุดเจาะใหตัดเขาไปในช้ันหิน แทนขุดเจาะนี้หนัก 200 ตัน โดยมีสวนสูงสุดของแทน (Mast) อยูสูงจากระดับพื้นดิน 31 เมตร

ระบบเครื่องสูบและถังเก็บโคลน – ประกอบดวยชุดเครื่องสูบโคลนสามเครื่อง จํานวนสองชุด และถังเหล็กเก็บโคลนขุดเจาะ 2 ถัง เช่ือมตอกันดวยระบบวาลว มีความจุรวม 600 บารเรล (95 ลูกบาศกเมตร)

อุปกรณควบคุมของแข็ง (อุปกรณทําความสะอาดโคลน) – ประกอบดวย ตะแกรงเขยาสองชั้น สองชุด เครื่องแยกทราย เครื่องแยกทรายแปง (Desilter) ซึ่งจะใชในการควบคุมของแข็งในโคลนขดุเจาะ

อุปกรณผลิตซีเมนต – อุปกรณผลิตซีเมนตประกอบดวยเครื่องสูบ ถังผสม และถังเก็บซีเมนตผงปริมาณมาก ซึ่งจะใชเพื่อหลอซีเมนตในทอกรุภายในหลุมเจาะสํารวจ

ชุดอุปกรณหยั่งธรณีหลุมเจาะ – จะใชชุดอุปกรณหยั่งธรณีหลุมเจาะที่ติดตั้งบนรถบรรทุก (Mobile Truck-mounted wireline logging unit) เพื่อการตรวจสอบทางธรณีฟสิกสในหลุมเจาะ

Page 24: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-24

ชุดอุปกรณบันทึกขอมูลน้ําโคลน – จัดเปนศูนยกลางของระบบในการดําเนินการขุดเจาะ ทําหนาที่ติดตามตรวจสอบหลุมเจาะ และพารามิเตอรในการขุดเจาะอยางตอเนื่อง

หองปฏิบัติการตรวจสอบโคลนขุดเจาะ – ประกอบดวยอุปกรณและเครื่องมือวัดตางๆ เพื่อตรวจสอบ และตรวจวัดคุณสมบัติของโคลนขุดเจาะ

2.8.5.1 การขุดเจาะ

อุปกรณการเจาะ – อุปกรณการขุดเจาะมีสวนประกอบที่สําคัญ คือ หัวเจาะ ทําหนาที่ในการเจาะเจาะผานช้ันดินและหิน โดยจะตอเขากับกานเจาะซึ่งมีลักษณะเปนทอเหล็กกลวง สามารถตอดวยเกลียวตอใหมีความยาวเพิ่มขึ้น โดยใชระบบกวานบนแทนท่ีอยูเหนือหลุมเจาะยกกานเจาะขึ้น-ลง เพื่อประกอบหรือถอดกานเจาะ เมื่อตองการปรับขนาดความยาวของกานเจาะใหเหมาะสมในแตละชวงของการปฏิบัติงาน

ระบบของเหลวในการขุดเจาะ –ของเหลวในการขุดเจาะทําหนาที่เปนสารหลอลื่น และสารหลอเย็น ใหกับกานเจาะ และหัวขุดเจาะ ของเหลวในการขุดเจาะน้ีเรียกทั่วไปวา โคลนขุดเจาะ ซึ่งปกติจะเก็บรวมไวในถังเก็บขนาดใหญท่ีตั้งอยูขางแทนขุดเจาะ เมื่อจะนํามาใชงานจะสูบผานทอยางทนแรงดันสงลงไปตามกานเจาะ รายละเอียดของระบบโคลนในการขุดเจาะนี้จะอธิบายโดยละเอียดในหัวขอตอไป

อุปกรณทําความสะอาดโคลน - เมื่อเศษหินจากการขุดเจาะถูกโคลนขุดเจาะนําขึ้นมาที่ระดับผิวดิน โคลนและเศษหินจะถูกสงผานตะแกรงเขยา (Shale Shaker) 2 ชุด ซึ่งจะกรองเศษหินสวนใหญออกจากโคลนดวยตะแกรงละเอียดที่ติดตั้งบนแทนเขยา โคลนที่ผานตะแกรงเขยาแลวจะถูกหมุนเวียนกลับไปใชใหม สวนเศษหินจะรวบรวมไวในบอเก็บเศษหินที่ตั้งอยูใกลเคียง เพื่อรอการบําบัดและนําไปกําจัดตอไป

นอกจากอุปกรณท่ีกลาวมาขางตน จะใชอุปกรณแยกทราย และหินทรายแปง (Desander and Desilter) เพื่อแยกเศษหินที่มีขนาดเล็กกวาออกจากโคลน อุปกรณดังกลาวประกอบดวยกรวยแยกที่ออกแบบมาพิเศษ ใหใชแรงเหว่ียงหนีศูนยในการทําใหของแข็งท่ีมีน้ําหนักมากกวาตกลงมาเมื่อโคลนถูกสูบใหไหลผานกรวยแยกนี้ แผนภาพแสดงลักษณะทั่วไปของระบบการขุดเจาะแสดงไวในรูปท่ี 2-17

Page 25: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-25

รูปที่ 2-16: รถปนจั่น และการติดตั้งแทนขุดเจาะ

Page 26: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-26

รูปที่ 2-17: แผนภาพลักษณะทั่วไปของระบบขุดเจาะ และระบบโคลนขดุเจาะ

การใสทอกรุ และการหลอซีเมนต – การขุดเจาะหลุมเจาะสํารวจในชวงตางๆ นั้นจะปรับใหมีเสนผาศูนยกลางตางกัน โดยเมื่อขุดเจาะลึกลงไปจะมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ และในแตละชวงหลุมเจาะนัน้จะใสทอเหล็กหนาที่เรียกวา ทอกรุ และจะหลอดวยซีเมนตเพื่อยึดใหอยูกับท่ี กระบวนการนี้จะชวยเพิ่มความมั่นใจในเสถียรภาพของหลุมเจาะ และเสถียรภาพของโครงสรางธรณีวิทยาโดยรอบ โดยเฉพาะในบริเวณท่ีอาจเปนช้ันหินอุมน้ํา และปองกันไมใหเกิดการปนเปอนในน้ําใตดิน นอกจากนั้น ทอกรุยังชวยในกระบวนการควบคุมแรงดันของกาซที่หลุมเจาะอาจตัดผาน โดยจะเปนการปองกันการไหลเขาสูช้ันหินท่ีอยูในระดับตื้นกวา และมีแรงดันต่ํากวา กระบวนการและแผนการดําเนินการเกี่ยวกับทอกรุในการขุดเจาะสํารวจครั้งนี้ แสดงไวในตารางท่ี 2-5 และรูปท่ี 2-18

Page 27: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-27

ตารางที ่2-5: แผนดําเนินการใชทอกรุ และการหลอซเีมนต

Cementing Program 7” Casing – Cementing Proposal Spacer 20 bbls drill water Lead Slurry Cement to surface Slurry Weight 12.0 ppg Slurry Volume 150 cu/ft, 50% excess Slurry Yield 2.05 cu/ft/sx Cement 75 sacks Class A + 3% BWOC Pre-hydrated Bentonite Water Type Fresh Water Mix-Water Requirement 14 gals/sx/1,050 gals or 25 bbls fresh water Additives 0.06 gal/sx FP-9L defoamer / 4.5 gallons 0.75/sx A-3L extender/56 gallons 4% (b wow) KCL/253 lbs 1.5% (bwoc) CaCl2 196 lbs Tail Slurry Slurry Weight 13.2 ppg Slurry Volume 162 cu/ft, 50% excess Slurry Yield 1.88 cu/ft/sx Cement 86 sacks Class A + 3% BWOC Pre-hydrated Bentonite Water Type Fresh Water Mix-Water Requirement 9.5 gals/sx/ 817 gals or 19.45 bbls fresh water Additives 0.04 gal/sx FP-9L defoamer / 3.5 gallons 0.49/sx A-3L extender/42 gallons 4% (b wow) KCL/290 lbs Displacement Vol:@500 m 65.09 bbls Displacement to FC 7” Casing – Cementing Proposal Spacer 10 bbls drill water Lead Slurry Cement to surface Slurry Weight 13 ppg Slurry Volume 330 cu/ft, 20% excess Slurry Yield 1.95 cu/ft/sx Cement 169 sacks Class A + 1% BWOC Pre-hydrated Bentonite Water Type Fresh Water Mix-Water Requirement 10.25 gals/sx/1,732 gals or 41.24 bbls fresh water Additives 0.04 gal/sx FP-9L defoamer / 6.7 gallons 0.38/sx A-3L extender/64 gallons 3% (b wow) KCL/500 lbs Tail Slurry Slurry Weight 15.8 ppg Slurry Volume 169 cu/ft, 20% excess Slurry Yield 1.19 cu/ft/sx Cement 142 sacks Class A + 1% BWOC Pre-hydrated Bentonite Mix-Water Requirement 5 gals/sx/710 gals or 16.9 bbls fresh water Additives 0.03 gal/sx FP-9L defoamer / 4.2 gallons 1.5% FL-25S/200 lbs 1.8% (bWOW) KCL / 241 lbs Displacement Vol:@500 m 51.64 bbls Displacement to FC

Page 28: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-28

รูปที่ 2-18: แผนภาพแบบหลมุเจาะสํารวจ และการติดตั้งทอกร ุ

หมายเหตุ: การติดตั้งทอกรุน้ี จะติดตั้งเฉพาะเม่ือพบวาสามารถทําการผลิตจากหลุมเจาะสํารวจได

Page 29: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-29

ขนาดหลุมและทอกรุ

ทอนําขนาด 13 3/8 นิ้ว จะถูกตอกลงไปในพื้นดินจนถึงระดับความลึก 10 เมตร เพื่อทําใหเกิดความปลอดภัยดานแรงดัน และความเสถียรของหลุมเจาะ จากนั้นจะขุดเจาะหลุมขนาด 8 ½ นิ้ว จนถึงระดับความลึกประมาณ 450 – 520 เมตร (ระดับความลึกสุดทาย จะพิจารณาจากสภาพตางๆ ในการเจาะ และชนิดของช้ันหินที่เหมาะสมสําหรับการติดตั้งทอกรุขนาด 7 นิ้ว) ใชเวลาการขุดเจาะชวงนี้ประมาณ 3 วัน จากนั้นจะติดตั้งทอกรุทนแรงดันสูง ขนาด 7 นิ้ว ลงไปจนสุดหลุมเจาะ และหลอซีเมนตยึดไว (ซีเมนตท่ีหลอนี้ จะหลอรอบบริเวณฐานทอขนาด 7 นิ้ว ในหลุมขนาด 8 ½ นิ้ว) เพื่อใหหลุมเจาะมีเสถียรภาพ และความปลอดภัยดานแรงดัน จากนั้นจะติดตั้งอุปกรณปองกันการพลุง (Blowout Preventer) ไวบนทอกรุขนาด 7 นิว้ กอนจะขดุเจาะหลุมขนาด 6 นิ้ว จากฐานทอกรุ ลงไปถึงระดับความลึกประมาณ 1,050 เมตร

การขุดเจาะ การหลอซีเมนต และการติดตั้งอุปกรณปองกันการพลุง จะใชเวลาประมาณ 3 ถึง 5 วัน การตรวจสอบวาในหลุมมีน้ํามันหรือไมจะทําโดยการตรวจสอบทางธรณีวิทยาระหวางการขุดเจาะ และทําการหยั่งธรณีหลุมเจาะ (wireline logging) เพื่อตรวจสอบความพรุน ความหนาแนน ความตานทาน (resistivity) กัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติ และการนําไฟฟาของหิน และของเหลวที่ขุดเจาะผานไป การขุดเจาะ และการหยั่งธรณีหลุมเจาะในหลุมขนาด 6 นิ้วนี้ คาดวาจะใชเวลาประมาณ 5 วัน

ตารางที ่2-6: ขนาดหลุมเจาะ

ชวงหลุมเจาะ ขนาดหลุมเจาะ (นิ้ว) ขนาดทอกรุ (นิ้ว) ระดับความลึกจริงทางด่ิง

(True Vertical Depth) (TVD เมตร)

ปากหลุม ตอกทอกรุ 13⅜ 10

หลุมชวงพื้นผิว 8½ 7 450-520

หลุมชวงแหลงกักเก็บ 6 4½ 1050

2.8.5.2 โคลนขุดเจาะ

โคลนขุดเจาะ ทําหนาที่ตางๆ มากมาย ซึ่งนอกจากการพาเอาเศษหินขึ้นมาจากหลุมเจาะแลว โคลนขุดเจาะยังทําหนาที่

• สงกําลัง และการหลอลื่นไปท่ีหัวขุดเจาะ

• สรางแรงกด (Hydrostatic Head) เพื่อปองกันไมใหโครงสรางช้ันหินยุบตัว

• ปองกันของเหลวในชั้นหินไหลเขามาในหลุมเจาะ (ซึ่งจะทําใหเกิดการพลุง)

• ทําใหวัสดุตางๆ ในหลุมเจาะ เชน เศษหิน และแบไรท อยูในสภาพสารแขวนลอยในหลุมเจาะ เพื่อรักษาแรงกดในหลุมเจาะ หากการหมุนเวียนโคลนขุดเจาะหยุดชะงักลง (เชน เมือ่มีการตอกานเจาะเพิ่มเติม)

การขุดเจาะสํารวจในโครงการนี้จะใชโคลนขุดเจาะท่ีมีน้ําเปนองคประกอบหลัก (WBM) ชนิด Potassium Sulphate PHPA Polymer ซึ่งดัดแปลงจากโคลนชนิดเดิมมีองคประกอบของโพแทสเซียมคลอไรด

Page 30: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-30

และใชกันโดยทั่วไปในชวงหลายปท่ีผานมา ซึ่งไมถูกจัดวาเปนสารอันตรายหรือมีพิษตอสิ่งมีชีวิต แตพบวา คลอไรดสงผลกระทบตอการเกิดดินเค็ม ดังนั้นจึงไดมีการปรับเปล่ียนองคประกอบเดิมจากโพแทสเซียมคลอไรด มาเปนโพแทสเซียมซัลเฟต เพื่อปองกันการเกิดดินเค็มจากการรั่วไหลของโคลนขุดเจาะ

ชนิด ปริมาณและหนาที่ของสารเคมีท่ีใชเปนองคประกอบของโคลนขุดเจาะชนิด Potassium Sulphate PHPA Polymer แสดงในตารางที่ 2-7

ตารางที ่2-7: องคประกอบของโคลนขุดเจาะ

องคประกอบ

ชื่อการคา ชื่อสามัญ หนาท่ี

ความเขมขน (ปอนด/บารเรล)

ปริมาณที่เก็บในพ้ืนท่ีโครงการ

(ตัน)

Caustic Soda Sodium Hydroxide ปรับคาความเปนกรด-ดาง 0.15 0.1 Soda Ash Sodium carbonate ควบคุมความกระดาง 0.15 0.1 Drill Gel Bentonite cement slurries for well casings 10 9 Potassium Sulphate Potassium Sulphate Shale inhibitor 12 5 Hydro Pac UL

Cellulose polyanion acts as water binder, thickener, suspending agent and emulsion stabiliser

1 0.5

Hydro-Star NF Modified starch derivative

Thickening and gelling agent. 3 5

XC-EED Xantham gum ปรับความหนืด และชวยใหเกิดการแขวนลอย 1 0.5 ENCAPSUL-8

(PHPA - Partially Hydrolysed Polyacryl Amide)

Shale inhibitor 1 0.5

Drill Bar Barium Sulfate เปนสารแตเติมเพื่อเพิ่มความถวงจําเพาะ ข้ึนกับปริมาตรที่ใช 125

สําหรับปริมาณสารเคมีท่ีเปนองคประกอบบางสวน คือ น้ํา และ Drill Bar (Barium Sulphate) จะยังไมสามารถระบุปริมาณท่ีตองใชไดอยางชัดเจนในขณะนี้ เนื่องจาก Drill Bar มีหนาที่ในการเพิ่มความถวงจําเพาะของโคลนขุดเจาะใหเหมาะสมกับความดันที่เกิดขึ้นภายในหลุม ขนาดของหิน และชนิดของหินในแตละชวงความลึกของหลุม ดังนั้นปริมาณที่ตองใชจึงขึ้นอยูกับคุณสมบัติของโคลนที่ตองการในระหวางการขุดเจาะ โดยปริมาณน้ําที่ใชก็จะเปลี่ยนไปดวยตามปริมาณของ Drill Bar ท่ีเปลี่ยนไป เนื่องจากน้ําตองทําหนาที่ในการปรับปริมาตร และความหนาแนนของโคลนขุดเจาะ

ดังนั้นโครงการจึงยังไมสามารถระบุปริมาณสารเคมีท่ีตองใชไดอยางชัดเจน และจะจัดเก็บสารเคมีไวในพื้นที่โครงการมากกวาปริมาณที่คาดวาจะใช (ตารางที่ 2-7) และจะเก็บสารเคมีท่ีเหลือไปใชในโครงการตอไป โดยจะเก็บไวในตูคอนเทนเนอรเก็บสารเคมีท่ีใชในพื้นที่โครงการ และรอการขนยายไปเก็บไวท่ีพื้นที่หลุมผลิต WB-1 เพื่อใชในโครงการตอไป

องคประกอบของโคลนขุดเจาะทุกชนิดไมถูกจัดวาเปนวัตถุอันตราย ยกเวน Caustic soda หรือโซเดียมไฮดรอกไซด ดังแสดงขอมูลคุณสมบัติขององคประกอบตางๆ ในตารางที่ 2-8 ซึ่งโซเดียมไฮดรอกไซดจะเปนอันตรายตอมนุษยเมื่อสัมผัสโดยตรงที่ความเขมขนมากกวา 0.5 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร และจะเปน

Page 31: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-31

พิษตอปลาหรือสัตวน้ํา โดยมีคา LC50(96) เทากับ 43 มิลลิกรัมตอลิตร (รายละเอียดของเอกสารขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑของโซเดียมไฮดรอกไซดแสดงในภาคผนวก 2)

โซเดียมไฮดรอกไซดท่ีใชในโครงการอยูในรูปของแข็งและจัดเก็บในตูคอนเทนเนอร สําหรับเก็บสารเคมีท่ีใชในการผสมโคลนขุดเจาะ ขนาด 40 ฟุต ซึ่งจะวางไวบนแทนคอนกรีตยกพื้นสูงประมาณ 6 นิ้ว พรอมติดตั้งชองระบายอากาศ ดังนั้นการรั่วไหลหรือแพรกระจายจากการจัดเก็บจึงมีโอกาสเกิดขึ้นนอยมาก และการผสมโคลนขุดเจาะก็ทําในถังเก็บโคลนซึ่งมีขนาด 95 ลูกบาศกเมตร โดยปริมาณโซเดียมไฮดรอกไซดท่ีใชในการผสมกับโคลนขุดเจาะมีปริมาณ 0.15 ปอนดตอบารเรล หรือมีปริมาณที่ตองใชประมาณ 41 กิโลกรัม

นอกจากนี้หากถังเก็บโคลนเกิดการรั่วไหลก็จะไหลลงรองระบายน้ํารอบฐานเจาะ และไหลไปรวมกันที่บอเก็บเศษหินที่ปูพื้นดวยแผนยางบิวทิล (Butyl rubber) ซึ่งจะไดรับการกําจัดอยางถูกวิธีโดยบริษัทผูรับเหมากําจัดที่ไดรับอนุญาต คือ บริษัท BYL Environmental เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

ท้ังนี้บริษัท แพน โอเรียนทจะทําการเก็บเอกสารอางอิงถึงคุณสมบัติของสารเคมี (MSDS) ไวท่ีสํานักงานในพื้นที่รวมถึงสํานักงานใหญของบริษัท แพน โอเรียนทท่ีตั้งอยูในกรุงเทพฯ ดวย

Page 32: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-32

ตารางที ่2-8: คุณสมบัติขององคประกอบของโคลนขุดเจาะชนิด Potassium Sulphate PHPA Polymer

องคประกอบ

ชื่อการคา ชื่อสามัญ การจัดประเภทอันตราย1 CAS No.2 อันตรายอื่นๆ การจัดเก็บและการขนสง

Caustic Soda Sodium Hydroxide กัดกรอน (ดวงตา, ผิวหนัง, การสูดดม และการกลืนกิน)

001310-73-2 ไมสะสมในสิ่งมีชีวิต เปนอันตรายตอมนุษยเมื่อมีความเขมขนสูงกวา 0.5 มก./ลบ.ม. และจะเปนพิษตอปลาLC50(96) 43 มก./ลบ.ม.

เก็บหางจากอะลูมิเนียม สังกะสี ตะกั่ว ดีบุก และกรด เก็บในภาชนะที่ปดสนิทและแหง

Soda Ash Sodium carbonate ไมเปนอันตราย 497-19-8

ระคายเคือง เปนฝุนรําคาญ ความเปนพิษต่ํา เก็บในที่แหง

Drill Gel Bentonite ไมเปนอันตราย 1302-78-9

หลีกเลีย่งการสูดดมฝุน เก็บในที่แหง

Potassium Sulphate Potassium Sulphate ไมเปนอันตราย 7778-80-5 หลีกเลีย่งการสูดดมฝุน เก็บในที่แหง Hydro Pac UL

Cellulose polyanion ไมเปนอันตราย ไมกําหนด ความเปนพิษ LD50>27000mg/kg (จากการกลืนกิน ในหนู) ยอยสลายไดทางชวีภาพ

เก็บในที่แหง

Hydro-Star NF Modified starch derivative ไมเปนอันตราย 9005-25-8 ความเปนพิษตอปลาต่ํา ยอยสลายไดทางชีวภาพ เก็บในที่แหง XC-EED Xantham gum ไมเปนอันตราย ไมกําหนด เปนฝุนรําคาญ เก็บในที่แหง ENCAPSUL-8

PHPA - Partially Hydrolysed Polyacryl Amide

ไมเปนอันตราย 31212-13-2

เปนฝุนรําคาญ เก็บในที่แหง

Drill Bar Barium Sulfate แบไรทไมเปนอันตราย การสุดดม แต quartz อาจทําใหเกิดมะเร็ง

ไมกําหนดสําหรับแบไรท Quartz: 238-876-4

เปนฝุนรําคาญ เก็บในที่แหง

หมายเหต:ุ 1 จัดตามขอกําหนด the UK Chemicals (Hazardous Identification and Packaging) Regulations for protecting the health & safety of industrial and commercial users of chemicals

2 CAS Number อางอิงจาก the US Chemical Abstract Service registry number, ซึ่งกําหนดใหกับสารเคมีเฉพาะแตละชนิดตามการใชงาน ซึ่งแบงออกเปน เปนพิษรุนแรง(Very Toxic), เปนพิษ (Toxic), อันตราย(Harmful), ระคายเคือง (Irritant) หรือกัดกรอน (Corrosive) ระดับอันตราย หมายถึงสารที่หากสูดดม กลืนกิน หรือซึมผานผิวหนังแลวอาจทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยอยางจํากดั

Page 33: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-33

ปริมาณเศษหินและโคลนจากการขุดเจาะ

เศษหินจากการขุดเจาะ คืออนุภาคของช้ันหินท่ีเกิดขึ้นเมื่อหัวขุดเจาะตัดผานในระหวางการขุดเจาะ และมีขนาดตางกันตั้งแตเปนสะเก็ดเล็กๆ (ความยาวนอยกวา 10 มิลลิเมตร) จนมีลักษณะคลายโคลนเหลว หรืออนุภาคที่มีความละเอียดมาก (เล็กกวา 0.002 มิลลิเมตร) คุณสมบัติท่ีแทจริงของเศษหินนี้จะขึ้นอยูกับองคประกอบของชั้นหินท่ีขุดเจาะผานไป หลังจากที่แยกเศษหินออกมาดวยกระบวนการแยกของแข็ง (ใชตะแกรงเขยา) จะท้ิงเศษหินลงสูบอเก็บ

การประเมินปริมาณเศษหินและโคลนที่จะตองท้ิงลงในบอเก็บเศษหินมีความสําคัญ เนื่องจาก ตองนําปริมาณดังกลาวมาใชในการออกแบบขนาดของบอเก็บเศษหินของโครงการ ใหมีความจุเหมาะสมและเพียงพอกับปริมาณเศษหินที่จะเกิดขึ้นจากการขุดเจาะ

ดังนั้นโครงการจึงเลือกใชอัตราตัวคูณท่ีใหญกวาหลุม หรือ อัตราสวนเศษหินที่ออกมา (Wash out factor) เทากับรอยละ 20 ของปริมาตรหลุมเจาะเพื่อประเมินปริมาตรเศษหินที่จะเกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และใชอัตราสวนโคลนที่ติดบนเศษหิน (CBFR) เทากับรอยละ 15 สําหรับประเมินเศษหินและโคลนที่จะเกิดข้ึนไดสูงสุดจากการขุดเจาะโดยใชเทคนิคทั่วไป เพื่อออกแบบบอเก็บเศษหินใหสามารถรองรับไดแมวาอยูในสภาวะที่เลวรายที่สุด

อยางไรก็ตาม ในการดําเนินการขุดเจาะของโครงการคาดวาจะเกิดปริมาณเศษหินและโคลนนอยกวาที่ประเมินไว เนื่องจากโครงการจะใชแทนขุดเจาะแบบ Wilson Mogul-42 Model 500 และอุปกรณตางๆ ของบริษัท Aztec International จํากัด ซึ่งเปนบริษัทผูรับเหมาท่ีมีความเช่ียวชาญดานการดําเนินการสํารวจและผลิตปโตรเลียมในระดับนานาชาติ และยังเปนสมาชิกของ International Association of Drilling Contractors (IADC) ซึ่งจะมีการพัฒนาเทคนิคการดําเนินงานอยางตอเนื่องเพื่อลดปริมาณเศษหินท่ีเกิดขึ้นจากการขุดเจาะ การสูญเสียน้ําโคลน และการเกิดของเสียจากการขุดเจาะ

โดยในโครงการนี้ไดมีการออกแบบหลุมเจาะใหมีขนาดเสนผานศูนยกลางตางกันเปน 3 ชวง คือ 12 ½ นิ้ว 8 ½ นิ้ว และ 6 1/8 นิ้ว ตามลําดับ ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 2-9 โดยปริมาตรของหลุมหรือปริมาตรของเศษหินที่ออกจากหลุมมีประมาณ 36.7 ลูกบาศกเมตร มีปริมาณโคลนที่ติดอยูบนเศษหิน (CBRF 15%) เทากับ 5.5 ลูกบาศกเมตร และมีปริมาณโคลนที่สูญเสียไปในระหวางการขุดเจาะประมาณรอยละ 10 ของปริมาตรหลุมขุดเจาะ หรือปริมาตรเทากับ 3.7 ลูกบาศกเมตร ดังนั้นจึงมีปริมาณโคลนที่สามารถนํากลับมาใชใหมไดประมาณ 85.8 ลูกบาศกเมตร ซึ่งจะถูกหมุนเวียนมาจัดเก็บในถังเก็บโคลน (ขนาดความจุ 95 ลูกบาศกเมตร) และมีปริมาณเศษหินและโคลนขุดเจาะที่ออกจากหลุมหลังผานตะแกงรอนซึ่งตองท้ิงลงในบอเก็บเศษหินโดยประมาณเทากับ 42.2 ลูกบาศกเมตร (รูปท่ี 2-19)

Page 34: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-34

ตารางที ่2-9: ขนาดของหลุมและปริมาณของเศษหินและโคลนขุดเจาะโดยประมาณ

ชวงของหลุม ขนาดเสน

ผานศูนยกลาง

ระดับ ความลึก (เมตร)

ชวง ความลึก (เมตร)

ปริมาตรหลุมเจาะ (ลบ.ม.)

ปริมาตรเศษหิน1

(ลบ.ม.)

ปริมาณโคลนที่ติดบนเศษหิน2

(ลบ.ม.)

ปากหลุม 12 ½ ”

(0.318 ม.) 45 45 3.6 4.3

หลุมชวงพื้นผิว 8 ½”

(0.216 ม.) 45-520 475 17.4 20.9

หลุมชวงแหลงกักเก็บ 61/8”

(0.156 ม.) 520-1025 505 9.6 11.5

รวม 30.6 36.7

5.5

ปริมาณเศษหินและโคลนท่ีติดบนเศษหินท่ีตองท้ิงลงในบอเก็บเศษหิน 42.2

หมายเหต:ุ 1 = ปริมาณเศษหินเม่ือรวมกับ wash out 20%

2 = ปริมาณโคลนที่ติดบนเศษหินที่ CBRF 15%

รูปที่ 2-19: สมดุลมวลของโคลนขุดเจาะที่ใชในโครงการ

Page 35: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-35

อัตราการไหลของน้ําฝนหรือน้ําไหลบาหนาดิน (Run off)

จากการคํานวณแสดงใหเห็นวามีปริมาณเศษหินและโคลนขุดเจาะที่ติดอยูบนเศษหินทั้งหมดที่ตองทิ้งลงในบอเก็บเศษหินรวม 42.2 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น เมื่อโครงการจะเริ่มติดตั้งแทนขุดเจาะและดําเนินการขุดเจาะในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ซึ่งขอมูลอุตินิยมวิทยาในชวงป พ.ศ.2529-2548 แสดงใหเห็นวาในชวงเดือนดังกลาวเปนชวงฤดูแลงมีปริมาณฝนสูงสุดตอวันเทากับ 42.5-100.4 มิลลิเมตรตอวัน

ดังนั้น เมื่อคํานวณอัตรการไหลของน้ําฝน (Run off) ในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ โดยใชสูตร

Q = CIA/3.6

เมื่อ

Q = อัตราการไหลนองของน้ําฝน (Rate of Run off): ลูกบาศกเมตรตอวินาที

C = คาสัมประสิทธ์ิของการไหลนอง (Run off coefficient) ในพื้นที่เกษตรกรรมเทากับ 0.3

I = อัตราการตกของฝนโดยเฉลี่ย (Average Rainfall Intensity) เทากับ 100.4 มิลลิเมตรตอวัน (4.18 มิลิเมตรตอช่ัวโมง)

A = พื้นที่รับน้ํา เทากับ 0.00455 ตารางกิโลเมตร

(กวาง 65 เมตร ยาว 70 เมตร หรือ พื้นที่ 4550 ตารางเมตร)

เมื่อแทนคาในสูตร

Q = 0.3 x 4.18 x 0.00455

= 0.0057 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

หรือ = 492.48 ลูกบาศกเมตรตอวัน

จากสมการขางตนแสดงใหเห็นวาในพื้นที่โครงการจะมีอัตราการไหลนองของน้ําฝนเทากับ 492.48 ลูกบาศกเมตรตอวัน ในขณะที่ขอมูลอุตุนิยมวิทยาในชวงป พ.ศ.2529 – 2548 แสดงใหเห็นวาจํานวนวันเฉลี่ยท่ีฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ เทากับ 0.5-1.2 วัน

ดังนั้น จึงสามารถประมาณปริมาณน้ําฝนหรือน้ําไหลบาหนาดินท่ีคาดวาจะเกิดในชวงดําเนินโครงการเทากับ 590.97 ลูกบาศกเมตร

ประสิทธิภาพของบอเก็บเศษหิน

บอเก็บเศษหินสามารถรองรับเศษหิน โคลนขุดเจาะ และนํ้าไหลบาหนาดินท่ีอาจมีการปนเปอนจากพื้นที่โครงการทั้งสิ้น 672 ลูกบาศกเมตร ในขณะที่ปริมาณเศษหินและโคลนที่ติดอยูบนเศษหินที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการขุดเจาะ (42.2 ลูกบาศกเมตร) และมีปริมาณน้ําไหลบาที่คาดวาจะเกิดขึ้นสูงสุด (590.97 ลูกบาศกเมตร) ซึ่งมีปริมาตรรวม 633.17 ลูกบาศกเมตร

Page 36: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-36

แสดงใหเห็นวาบอเก็บเศษหินของโครงการมีประสิทธิภาพในการรองรับปริมาณเศษหิน โคลนที่ติดอยูบนเศษหิน และปริมาณน้ําไหลบาหนาดินทั้งหมดที่คาดวาจะเกิดขึ้นในพื้นที่โครงการ ซึ่งจะไดไดรับการเก็บขนและกําจัดโดยบริษัทที่ไดรับอนุญาต คือ บริษัท BYL Environmental จํากัด ดวยวิธีท่ีเหมาะสมตอไป

ดังนั้นจึงจะไมมีการปนเปอนของโคลนและน้ํามันสูสิ่งแวดลอมภายนอกจากการดําเนินโครงการ

2.8.6 การหยั่งธรณีหลุมเจาะ (Wireline Logging)

เมื่อสิ้นสุดการขุดเจาะหลุมในแตละชวง จะทําการบันทึกขอมูลทางปโตรฟสิกส (Petrophysical Log) ในหลุมเจาะ เพื่อระบุคุณสมบัติของหิน และโอกาสที่จะมีสารไฮโดรคารบอนอยู โดยจะหยอนเครื่องมือตรวจวัดทางปโตรฟสิกส (Petrophysical Tools) ลงไปในหลุมเจาะดวยสายเคเบิล และกวาน อุปกรณตรวจวัดท่ีหยอนลงไปในหลุมบางชนิดจะมีแหลงกําเนิดกัมมันตภาพรังสีอยูดวย จึงจะตองดําเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัยอยางเครงครัด เมื่อนําวัตถุกัมมันตภาพรังสีมาใชและจัดเก็บบนพื้นดิน ซึ่งจะเก็บไวในภาชนะทาํดวยตะกั่ว และเก็บไวหางจากพนักงาน และพื้นที่ทํางานหลัก

ในการบันทึกขอมูลหลุมเจาะ มีอุปกรณหลักที่ใช 4 ประเภท ไดแก

• อุปกรณบันทึกในหลุมเจาะ (Downhole instrument): ทําหนาที่วัดขอมูล

• อุปกรณคอมพิวเตอรบันทึกขอมูลท่ีระดับพื้นดิน (Computerized surface data acquisition): ทําหนาที่บันทึก และวิเคราะหขอมูล

• สายเคเบิล หรือสาย Wire line: ทําหนาที่เช่ือมตอท้ังดานขอมูล และเช่ือมตอทางไกล กับอปุกรณบันทึกในหลุมเจาะ

• อุปกรณยก เพื่อยก หรือสงอุปกรณลงในหลุมเจาะ

(http://www.bakerhughes.com/bakeratlas /about/log4.htm)

การบันทึกขอมูลจะเริ่มดวยการหยอนอุปกรณบันทึกในหลุมเจาะ (บางครั้งเรียกวา Tool หรือ sonde) ลงไปจนถึงกนหลุมเจาะ แลวนํากลับขึ้นมาชาๆ และตรวจสอบชั้นหินอยางตอเนื่องดวยเทคนิคการตรวจวัดแบบไมทําลาย (non-destructive techniques) กระบวนการบันทึกขอมูลนี้จะสงขอมูลผานทางสาย wireline ขึ้นมาอยางตอเนื่อง และบันทึกไวท่ีระบบคอมพิวเตอรท่ีระดับผิวน้ํา ขอมูลจะถูกบันทึกไวใน log และแสดงขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางช้ันหินเทียบกับความลึก

ขอมูลในหลุมเจาะที่บันทึกได จะนําไปใชเพื่อ

1. กําหนดลักษณะทางกายภาพของชั้นหิน เชน ชนิดหิน ความพรุน ลักษณะทางเรขาคณิตของรูพรุน และการซึมน้ํา

2. บงช้ีบริเวณท่ีสามารถผลิตไฮโดรคารบอนได

3. ประเมินความลึก และความหนาของแตละชวง

4. แยกแยะบริเวณที่เปนน้ํามัน กาซ และนํ้าในแหลงกักเก็บ

Page 37: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-37

5. ประเมินความสันพันธระหวางลักษณะภายนอกของชั้นหนิ

ท้ังนี้บริษัท แพน โอเรียนท จะทําการบันทึกขอมูลหลุมเจาะ เพื่อชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินการพัฒนาเปนการผลิต

2.8.7 การทดสอบหลุม (Well Testing)

การทดสอบหลุมจะมีการติดตั้งอุปกรณคลายกับอุปกรณการผลิตขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ตรวจสอบวามีน้ํามันอยูในบริเวณหลุมขุดเจาะหรือไม และทดสอบคาดัชนีผลผลิต (Productivity Index-P.I.) โดยจะดําเนินการหลังจากสิ้นสุดการขุดเจาะและหยั่งธรณีหลุมเจาะ ซึ่งจะใชอุปกรณท่ีเรียกวา GR/CCL เปนตัวนําทางเขาไปในทอกรุกอนท่ีจะยิงทอกรุ (perforation) ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้วา Gun Correlation หลังจากนั้นจึงใชปน TCP ยิงเขาไปในทอกรุรวมกับวิธี under-balance เพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสภาพแวดลอมของช้ันหิน เนื่องจากการยิงปนนี้เสมือนเปนการทําความสะอาดหลุม ดวยการกําจัดเศษหินตางๆ ท่ีเกิดขึ้น จากนั้นจะมีการตรวจสอบแรงดันระดับพื้นผิวของอุปกรณปองกันการพลุง เนื่องจากของเหลวภายในทอกรุมีโอกาสที่จะรั่วหรือไหลมายังวาลว หรืออุปกรณทําความรอนและ gauge tank (อุปกรณท่ีมีการทําเครื่องหมายวัดปริมาณการไหลเขาสูหลุมหรือไหลออกหลุม) หากน้ํามันในหลุมสามารถไหลไดคลอง ทางโครงการจะปลอยใหน้ํามันไหลแบบนั้นในชวงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อทําความสะอาดหลุมและตรวจวัดอัตราการไหลเบ้ืองตน

จากการทดสอบหลุมเจาะในโครงการอื่นที่อยูในพื้นที่แปลงสํารวจเดียวกันนี้ พบวา น้ํามันท่ีไดจากหลุมเจาะมีอัตราการไหลไมคงที่ คือ 2-320 บารเรลตอวัน เนื่องจากมีกาซซึ่งทําหนาที่เพิ่มแรงดันใหน้ํามันไหลออกจากหลุมนอยมาก

เนื่องจากมีกาซเจือปนออกมากับน้ํามันนอยมาก จึงทําใหหลุมขุดเจาะสํารวจสวนใหญในแปลงสํารวจ L33/43 ไมจําเปนตองมีการเผากาซทิ้ง โดยน้ํามันและกาซที่ออกจากหลุมสํารวจในระหวางการทดสอบหลุมนี้ จะถูกแยกดวยเครื่องแยกสถานะ (Gas liquid Separator) โดยน้ํามันที่แยกไดจะถูกนําไปเก็บถังเก็บขนาด 200 บารเรล สวนกาซที่ไดซึ่งมีปริมาณนอยและมีแรงดันต่ําจะถูกสงไปใชเปนแหลงพลังงานใหกับอุปกรณทําความรอนท่ีใชในการอุนน้ํามันดิบใหมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากน้ํามันมีอุณหภูมิจุดไหลเทที่สูง ทําใหเปลี่ยนสถานะเปนของแข็งไดงาย และเกิดการอุดตัน

2.8.8 การสละหลุม หรือการเตรียมหลุมเพื่อการผลิต (Well Completion or Abandonment)

2.8.8.1 ในกรณีที่พบน้ํามัน

หากคนพบนํ้ามัน จะติดตั้งทอกรุขนาด 4½ นิ้วลงไปจากระดับผิวดิน จนถึงระดับความลึก 1,025 เมตร และหลอซีเมนตยึดใหเขาที่ จากนั้นจะใชวัตถุระเบิดเพื่อกระจายการเจาะใหเปนรูพรุนรอบผนังทอกรุในชวงระดับความลึกที่จะทําการผลิต เพื่อใหน้ํามันจากบริเวณน้ีไหลเขาทอผลิตใหไดมากที่สุด โดยใชวิธี Tubing Conveyed Perforation Techniques ซึ่งจะติดตั้งทอขนาด 2 3/8 นิ้ว ลงในหลุม รวมท้ังติดตั้งอุปกรณ

Page 38: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-38

ทนแรงดันที่ปากหลุมเจาะ (High Pressure Wellhead) และชุด control valve ท่ีเรียกวา Christmas tree ท่ีปากหลุมเจาะ แลวจึงทดสอบแรงดัน การเตรียมหลุมใหพรอมสําหรับการผลิตนี้คาดวาจะใชเวลา 4 วัน

หากพื้นท่ีนี้มีความสามารถที่จะดําเนินการผลิตเชิงพาณิชยได จะจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ท่ีครอบคลุมถึงการพัฒนา และการผลิตน้ํามันจากพื้นท่ีนี้แยกตางหาก และนําเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.8.8.2 ในกรณีที่ไมพบน้ํามัน หรือไมสามารถผลิตเชิงพาณิชยได

หากพบวาไมสามารถผลิตจากหลุมเจาะสํารวจได จะดําเนินการสละหลุม ซึ่งกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ เปนผูวางขอกําหนดเกี่ยวกับการสละหลุมสํารวจปโตรเลียมในประเทศไทย โดยกอนท่ีจะสละหลุมนั้น ผูรับสัมปทานจะตองแจงการดําเนินการตอกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และใหขอมูลแผนการสละหลุมกับกรมฯ ดวย

การปดและสละหลุม (Plugged and Abandoned)

ในกรณีท่ีไมพบปโตรเลียมหรือมีปริมาณปโตรเลียมไมพอเพียงตอการผลิตในเชิงพาณิชย จะดําเนินการปดและสละหลุม (Plugged and Abandoned) ตามวิธีการมาตรฐานที่กรมเช้ือเพลิงธรรมชาติกําหนด (รูปท่ี 2-20) โดยตองแจงแผนการดําเนินการตอกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกอนการดําเนินการดวย

ขั้นตอนการปฏิบัติในการสละหลุม และฟนฟูสภาพพื้นที่หลุมขุดเจาะนั้น จะทําการรื้อถอนวาลวท่ีปากบอ แลวเติมซีเมนตลงไปในทอ และทดสอบความแข็งแรง เพื่อปดช้ันหินท่ีอาจมีสารไฮโดรคารบอน และอุดบริเวณท่ีอาจเปนช้ันหินอุมน้ําในแกนหลุมเจาะ โดยจะติดตั้ง Bridge Plug รวมกับซีเมนตเหลวเพื่อปองกันไมใหซีเมนตท่ีมีความหนาแนนสูงกวาไหลลงไปในแกนหลุมเจาะ จากนั้นจึงตัดทอนําออกที่ระดับต่ํากวาพื้นดิน และอุดหลุมท่ีระดับผิวดินโดยใชดินกลบทับ จากนั้นจึงฟนฟูสภาพพื้นที่ใหอยูในสภาพกอนการดําเนินโครงการตอไป

การสละบอเก็บเศษหิน

เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการขุดเจาะสํารวจของโครงการ เศษหินและโคลนที่อยูในบอเก็บเศษหินจะถูกปลอยท้ิงไวใหแหงดวยการระเหย หลังจากนั้นบริษัท BYL Environmental Service จะเขามาทําการเก็บขนและนําไปกําจัด (แสดงรายละเอียดในหัวขอตอไป) โดยในกรณีท่ีตองมีการปดและสละหลุม บริษัทฯ จะทําการปรับสภาพบริเวณบอเก็บเศษหินใหคืนสูสภาพเดิมกอนดําเนินโครงการ ดวยการเก็บวัสดุปูพื้นออกจากกนบอ แลวถมบอและปรับระดับพื้นที่ใหอยูในระดับเดิม

Page 39: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-39

รูปที่ 2-20: แผนภาพการสละหลุมแบบทัว่ไป

CASING CUT BELOW GROUND LEVEL 0

CEMENT PLUGS AND CEMENT CAP COMPACTED SOIL AT SURFACE 9 5/8"CASING CAP WITH NAME PLATE WELDED TO TOP OF CASING

100

200

300

40029 lb/ft BTC N80 7" CASING 4.5-440M

8 1/2" HOLE 4.5-450m 500

600

700

800

900

TARGET 'F' SANDS

965-995m 1000

2 7/8" TUBING 4.5-1050m 4 1/2" CASING 4.5-1055m api 8 rnd STC

6" HOLE 450-1060m 1100

Page 40: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-40

2.9 ของเสียและการกําจัด

ของเสียแตละชนิดที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการขุดเจาะสํารวจ โครงการจะทําการคัดแยกตามประเภทดังนี้ เศษหิน โคลนที่ไมไดใชงาน ภาชนะบรรจุน้ํามันหลอลื่น สารเคมีท่ีไมไดใชงาน ของเสียจากสํานักงาน และน้ําเสียและสิ่งปฏิกูล เพื่อรอใหบริษัทผูรับเหมามาทําการเก็บขนและกําจัด โดยไดทําสัญญากับบริษัท BYL Environmental Service จํากัด ใหเปนบริษัทผูรับเหมาในการกําจัดของเสียท้ังหมดที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ ท้ังของเสียอันตรายและของเสียไมอันตราย ซึ่งสามารถสรุปไดดังตารางที่ 2-10

ตารางที ่2-10: สรุปขอมูลรายการของเสยีที่เกิดข้ึนจากการดําเนนิโครงการ

ชนิดของเสีย ปริมาณในโครงการขุดเจาะสํารวจ

ผูรับเหมา กําจัดของเสีย

วิธีการกําจัด

โคลนที่เหลือจากการขุดเจาะ 85.8 ลบ. ม. แพน โอเรียนทเกบ็ไวใชงาน หมุนเวียนมาเก็บไวในถังเก็บโคลนเพื่อเคลื่อนยายไปใชในโครงการขุดเจาะครั้งตอไปพรอมกับอุปกรณอื่นๆ

สารเคมีที่ไมไดใชงาน ยังประเมินไมได แพน โอเรียนทเกบ็ไวใชงาน เก็บไวเพื่อใชในการขุดเจาะครั้งตอไป

เศษหินและโคลนขุดเจาะ 42.2 ลบ. ม. BYL Environmental นําไปกําจัดดวยการเผาในเตาเผาซีเมนตที่โรงงานของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด

ภาชนะบรรจุนํ้ามันหลอลื่น ขนาด 20 x 20 ลิตร BYL Environmental ทําความสะอาด แลวกําจัดโดยการกลบในพื้นที่ฝงกลบของเทศบาล

นํ้ามันหลอลื่นที่ใชแลว 400 ลิตร BYL Environmental เก็บไวในถังขนาด 200 ลิตร จํานวน 2 ถัง เพื่อรอการนําไปกําจัดดวยการเผาในเตาเผาซีเมนตที่โรงงานของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด

ของเสียจากสํานักงาน 1 ลบ.ม./วัน BYL Environmental นําไปกําจัดโดยการกลบในพื้นที่ฝงกลบของเทศบาล

นํ้าเสียและส่ิงปฏิกลู 1 – 2 ลบ.ม./วัน นาย สิงโต จันการุญ จางผูรับเหมาสูบของเสียจากถังเก็บส่ิงปฏิกูลทุกสัปดาห

สําหรับเศษหินจากการขุดเจาะและโคลนขุดเจาะในบอเก็บเศษหิน เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนการขุดเจาะแลวจะปลอยใหเศษหินและโคลนขุดเจาะในบอเก็บเศษหินแหงดวยการระเหย หลังจากนั้นบริษัทผูรับเหมาซึ่งไดรับการอนุญาต (บริษัท BYL Environmental Service จํากัด) จะเขามาทําการเก็บขนเพื่อนําไปกําจัดโดยกระบวนการใชความรอนดวยการเผาในเตาเผาซีเมนตท่ีโรงงานของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ซึ่งตั้งอยูในอําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี โดยเอกสารตางๆ ท่ีเกี่ยวของไดแก เอกสารการลงนามในสัญญาวาจางระหวางบริษัท เแพน โอเรียนท และ BYL เอกสารการไดรับอนุญาตกําจัดของเสียอันตรายของ BYL เอกสารการไดรับอนุญาตกําจัดของเสียบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด จะแสดงไวในภาคผนวก 3

2.9.1 การปลอยมลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นจากโครงการสวนใหญ จะเกิดขึ้นจากฝุนละอองในระหวางการกอสรางพื้นที่หลุมขุดเจาะ และการปรับปรุงถนนเขาสูโครงการ รวมท้ังมลสารจากการเผาไหม จากการใชเครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซล และเครื่องจักรอื่นๆ ในพื้นที่หลุมขุดเจาะ

Page 41: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-41

2.9.1.1 ฝุนละออง

ระหวางการปรับปรุงถนนเขาสูโครงการ และการกอสรางพื้นที่ขุดเจาะ ปญหาดานคุณภาพทางอากาศสวนใหญจะเกี่ยวของกับการควบคุมปริมาณฝุนละออง

ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐานของบริษัท แพน โอเรียนท กําหนดใหผูรับเหมางานโยธาจะตองทําการฉีดพรมน้ําบนถนนที่ไมลาดยางทุกวัน เพื่อลดปริมาณฝุนท่ีจะเกิดขึ้น และจะตองจํากัดความเร็วการจราจรบนถนนที่ยังไมไดลาดยาง ผูรับเหมางานโยธาควรจะปรึกษากับประชาชนในพื้นที่ทุกวันเพื่อใหมั่นใจไดวาไดรับทราบปญหาที่มีนัยสําคัญ และไดดําเนินการแกไข

การจัดเก็บและใชงานสารเติมแตงโคลนขุดเจาะที่เก็บไวปริมาณมาก เชน แบไรท เบนโทไนท แคลเซียมคารบอนเนท และผงซีเมนต อาจทําใหเกิดฝุนละอองฟุงกระจายในปริมาณที่ไมมากนัก ฝุนละอองที่อาจเกิดขึ้นนี้จะสามารถลดลงไดอยางมีนัยสําคัญตามขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน ท่ีกําหนดใหติดตั้งระบบถุงกรองอากาศ (Bag Filter) ไวท่ีโรงเก็บ

2.9.1.2 มลสารจากการเผาไหม

มลสารจากการเผาไหมน้ํามันดีเซลจะถูกปลอยออกมาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ใชงานในพื้นที่โครงการ และจากยานพาหนะตางๆ ปริมาณมลสารที่ปลอยออกมานั้นจะแตกตางกันตามแตละชวงเวลา ขึ้นอยูกับกิจกรรมของโครงการที่ดําเนินอยู และความตองการกําลังไฟฟา ระดับการปลอยมลสารเมื่อมีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดในระหวางการขุดเจาะ ประเมินและแสดงผลไวในตารางที่ 2-11

ในการดําเนินการโครงการนี้ คาดวาจะเกิดมลสารขึ้นทั้งหมด 266 ตัน เทียบเทา CO2 โดยจะอธิบายรายละเอียดของผลกระทบในบทการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

ตารางที ่2-11: มลสารทางอากาศจากการใชพลังงาน

อุปกรณ/มลสารที่ปลอยออกมา คาตัวเลข

เครื่องกําเนิดไฟฟา 4 x 450 hp diesel units

อัตราการใชเชื้อเพลิง 2,000 litres per day

Carbon Dioxide (CO2) 5.7 tonnes/day

2.9.2 น้ําเสีย

2.9.2.1 นํ้าไหลบาหนาดิน

บริเวณฐานขุดเจาะที่ยกพื้นนั้น จะสรางโดยใหมีความลาดเอียงเล็กนอย จากบริเวณกลางพื้นที่ ไปทางขอบของพื้นที่ เพื่อชวยใหน้ําไหลบาหนาดินไหลไปยังรองระบายน้ํารอบขอบเขตดานในของพื้นที่ น้ําที่ไหลลงรองระบายน้ํานี้จะไหลลงสูบอเก็บเศษหิน (รูปท่ี 2-11)

ท่ีบริเวณขอบของสวนที่ยกพื้น จะปรับใหมีความลาดเอียง (รูปท่ี 2-12) โดยที่รอบนอกจะจัดทํารองเปดไวท่ีฐานของสวนที่ยกพื้น เพื่อบังคับใหน้ําที่ไหลบาหนาดินจากบริเวณที่ดินโดยรอบพื้นที่โครงการ ได

Page 42: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-42

ไหลตอเนื่องไปตามความลาดเอียงของที่ดินโดยรอบ อยางไรก็ดี พื้นท่ีโดยรอบนั้นเปนบริเวณท่ีราบ และมีทุงนาลอมรอบพื้นที่โครงการทุกดาน

2.9.2.2 นํ้าเสียสุขาภิบาล และสิ่งปฏิกูล

ในบริเวณพ้ืนที่โครงการ จะมีน้ําเสียสุขาภิบาล และสิ่งปฏิกูลซึ่งรวมรวมจากหองน้ํา น้ําเสียสุขาภิบาล และสิ่งปฏิกูลนี้จะรวบรวมลงในถังเก็บสิ่งปฏิกูลคอนกรีตแบบปดความจุ 8 ลูกบาศกเมตร (8,000 ลิตร) โดยคาดวาในระหวางที่มีพนักงานปฏิบัติงานอยูในอัตราสูงท่ีสุดนั้น จะมีน้ําเสียสุขาภิบาลและสิ่งปฏิกูลเกิดขึ้นประมาณ 1 - 2 ลูกบาศกเมตร (1,000 ถึง 2,000 ลิตร) ตอวัน จึงจะตองสูบของเสียจากถังเก็บสิ่งปฏิกูลนี้เมื่อเต็มดวยรถบรรทุกพรอมเครื่องสูบ โดยผูใหบริการดานการจัดการน้ําเสียสุขาภิบาลและสิ่งปฏิกูลนี้ คือ นายสิงโต จันการุญ

2.10 สาธารณูปโภคตางๆ

2.10.1 แหลงน้ํา และการใชน้ํา

2.10.1.1 นํ้าประปา

น้ําประปาที่ใชในโครงการ จะขนสงมาทางรถบรรทุกน้ํามายังพื้นที่โครงการทุกวัน โดยผูรับเหมาในทองถ่ิน ซึ่งจะจัดซื้อมาจากระบบน้ําประปาของเทศบาลในพื้นที่

คาดวาจะตองใชน้ําประปาประมาณ 7.5 ลูกบาศกเมตร ตอวันในพื้นที่โครงการ โดยจะเก็บไวในถังเก็บน้ําขนาด 15 ลูกบาศกเมตร

น้ําดื่มท้ังหมดจะจัดซื้อมาจากผูจําหนายปลีกในพื้นที่ คาดวาจําเปนจะตองใชน้ําดื่มประมาณ 350 ลิตรตอวัน ซึ่งจะทําใหเกิดผลประโยชนในพื้นที่เนื่องจากการขายน้ําดื่มบรรจุขวด

2.10.1.2 นํ้าใชอุตสาหกรรม

ในการดําเนินการการขุดเจาะ จะตองใชน้ําดิบเพื่อผสมโคลนขุดเจาะ โดยมีปริมาตรสูงสุด 95 ลูกบาศกเมตร

โครงการไดดําเนินการติดตอขอซื้อน้ําจากบอเก็บน้ําของเอกชนในบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่โครงการ ซึ่งมีปริมาณน้ํากักเก็บในบอตลอดป ดังนั้น โครงการจึงมีแหลงน้ําดิบเพียงพอตอการดําเนินโครงการถึงแมวาจะดําเนินการในชวงฤดูแลงโดยไมสงผลกระทบตอการใชน้ําของประชาชนในพื้นที่

นอกจากนี้แหลงน้ําดังกลาวยังอยูใกลกับพื้นที่โครงการ (รูปท่ี 2-21) การขนสงน้ําดวยรถบรรทุกน้ําของโครงการจึงมีระยะทางใกลมาก (ประมาณ 380 เมตร) ดังนั้นจึงจะไมสงผลกระทบตอการคมนาคมเสนทางสาธารณะของประชาชนอีกดวย

เอกสารการขอใชน้ําแสดงในภาคผนวก 4

Page 43: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-43

รูปที่ 2-21: ตําแหนงแหลงน้าํดิบของโครงการ

2.10.2 ไฟฟา

พลังงานไฟฟาที่ใชในพื้นท่ีโครงการ ท้ังที่ใชสําหรับแทนขุดเจาะ ไฟแสงสวาง และสํานักงาน จะไดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซลของแทนขุดเจาะ

Page 44: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-44

2.11 การจัดการสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม

บริษัท แพน โอเรียนท ไดจัดทําแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อใชสําหรับการดําเนินโครงการที่อําเภอวิเชียรบุรี ใหสามารถรับมือกับเหตุการณตางๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยในแผนดังกลาวนี้รวมถึงการรับมือกับเหตุการณการหกรั่วไหลของน้ํามัน เหตุเพลิงไหม และการปฐมพยาบาลเบื้องตน ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

2.11.1 แผนระงับเหตุฉุกเฉิน (Emergency Response Plan: ERP)

แผนระงับเหตุฉุกเฉินในโครงการนี้เปนแผนที่บริษัทฯ จัดทําขึ้นเพื่อใชในการรับมือกับเหตุการณตางๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น เชน เหตุการณแผนดินไหว เหตุการณรุนแรงที่กอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสินและสิ่งแวดลอม เชน การพลุง การหกรั่วไหลของวัตถุอันตราย/มีพิษ ความเสียหายตอสิ่งกอสรางตางๆ เหตุไฟไหม การระเบิด การแผรังสี ไฟฟาดับ อุบัติเหตุรายแรงบนเสนทางจราจร การเกิดสงคราม และเหตุการณท่ีเปนภัยตอความมั่นคง

การจําแนกระดับของเหตุฉุกเฉิน

แผนระงับเหตุฉุกเฉินนี้จําแนกระดับของเหตุการณฉุกเฉินเปน 2 ระดับ คือ

• เหตุการณฉุกเฉินที่มีอันตรายนอย (Minor) หมายถึงเหตุการณท่ีฝายระงับเหตุการณฉุกเฉินในพื้นที่ปฏิบัติงาน (Sites Incident Response Team: SIRT) สามารถควบคุมสถานการณได ไดแก o การบาดเจ็บเพยีงเล็กนอยท่ีสามารถตรวจรกัษาไดโดยแพทยและพยาบาลในทองถ่ิน o เหตุการณท่ีกอใหเกิดความเสยีหายตอทรัพยสินและสิ่งแวดลอมเพยีงเล็กนอย o การปรากฏการณท่ีของไหลจากช้ันหินไหลทะลักเขาสูหลมุเจาะเนื่องจากการเสียสภาพ

สมดุลความดันท่ีกนหลมุเจาะ (Well kick)

• เหตุการณฉุกเฉินท่ีมีอันตรายรายแรง (Major) หมายถึง เหตุการณท่ีฝายระงับเหตุการณฉุกเฉินในพื้นที่ปฏิบัติงานไมสามารถควบคุมสถานการณได จําเปนตองไดรับความชวยเหลือจากหนวยระงับเหตุฉุกเฉินจากสํานักงานในกรุงเทพ และหนวยงานภายนอก (Emergency Response Group: ERG) ไดแก o การพลุง การหกรั่วไหลของวัตถุอันตราย/มีพษิ ความเสียหายตอสิ่งกอสรางตางๆ ท่ีมี

ความรุนแรง o การชวยชีวิตจากเหตุอนัตราย อาการบาดเจ็บ และการเจ็บปวย o เหตุการณรุนแรงที่กอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสินและสิง่แวดลอม o บุคคลสูญหาย o เหตุเพลิงไหม ระเบิด หรอืการแผรังสีท่ีรุนแรง o การอพยพในเหตุการณภัยธรรมชาติ สงคราม หรอืเหตกุารณท่ีเปนภัยตอความมั่นคง

Page 45: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-45

ข้ันตอนการรับมือกับเหตุฉุกเฉิน

เมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นผูท่ีมีหนาทีเกี่ยวของจะมีวิธีการรับมือกับเหตุการณตางๆ ดังนี้

• ระบุระดับของเหตุฉุกเฉินและอพยพไปยังท่ีปลอดภัย

• รวบรวมกําลังคนเพื่อปฏิบัติหนาที่ในหนวยระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองตน

• ประสานงานกับหนวยระงับเหตุฉุกเฉินจากสํานักงานในกรุงเทพ (EGR)

• ประเมินความตองการความชวยเหลือจากหนวยงานในทองถ่ิน

• บุคคลที่มีหนาที่โดยตรงเริ่มปฏิบัติการดวยวิธีท่ีเหมาะสม

• นําวิธีการเบื้องตนในการระงับเหตุตางๆ มาปรับใชใหเหมาะสม

• ประสานความรวมมือกับหนวยงานราชการในทองถ่ิน

• ตรวจสอบและยืนยันประสิทธิผลของการอพยพไปยังท่ีปลอดภัย

• ระบุสาเหตุของเหตุการณฉุกเฉินและวิธีการระงับเหตุฉุกเฉินอื่นๆ หากจําเปน

• ประสานงานดานการขนยายเบ้ืองตนจากสํานักงานในกรุงเทพโดยผูประสานงานในอําเภอวิเชียรบุรี

• ประเมินความเสียหายเบื้องตนทั้งตอทรัพยสินของบริษัท ทรัพยสินของประชาชน และทรัพยสินสาธารณะ

• แจงขอมูลของเหตุการณท่ีเกิดขึ้นตอสํานักงานในกรุงเทพ

• รายงานสถานการณของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น

• รายงานสถานการณหรือจํานวนผูไดรับบาดเจ็บหรือสูญหาย

• รายงานเกี่ยวกับความชวยเหลือท่ีไดรับจากหนวยงานตางๆ เชน ตํารวจ และสถานีดับเพลิงในทองท่ีนั้น เปนตน

• ระบุความชวยเหลืออื่นๆ ท่ีตองการเพิ่มเติม

โดยหนาที่ความรับผิดชอบและแผนผังของแผนระงับเหตุฉุกเฉินนี้แสดงในรูปท่ี 2-22 และรายละเอียดและวิธีการระงับเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ปฏิบัติการแสดงในภาคผนวก 6

Page 46: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-46

รูปที่ 2-22: แผนระงับเหตฉุุกเฉิน

ผูควบคุมการขดุเจาะ บริษัทแพนออเรียนท ฯ (POE) Bill Ohison Don Rogers โทร. 09-813-4769 โทร. 01-945-0795 1. ควบคุมใหมีการดําเนนิการบรรลุตามแผนงานและนโยบาย 2. แจงเหตุฉุกเฉินตอผูจัดการฝายขุดเจาะ 3. ทํางานรวมกับบริษัท Aztec 4. ประสานความรวมมือระหวาง ERG และ Aztec 5. ใหมีการหยุดการดําเนินงานชั่วคราวเพื่อความปลอดภัย 6. ควบคุมการทํางานในบริเวณหลุมเจาะทั้งของพนักงาน POE และหนวยงานภายนอก 7. ทํางานรวมกับหัวหนาหนาพนักงาน/ฝายความปลอดภัยดานความชวยเหลือทางการแพทยหากจําเปน

Aztec International

คุณสาโรจน โทร. 01-649-1585 1. รับผิดชอบดานความปลอดภัยของแทนขุดเจาะและบุคคลที่อยูภายในพ้ืนที่หลุมสํารวจ 2. ควบคุมการปฏิบัติงานในกรณีฉุกเฉินในบริเวณหลุมสํารวจ 3. แจงเตือนเหตุฉุกเฉินและทํางานรวมกับผูควบคมุการขุดเจาะของ POE ในการระงับเหตุฉุกเฉิน 4. ควบคุมเจาหนาที่ขุดเจาะในการระงับเหตุฉุกเฉิน 5. ใหคําปรึกษาและทํางานรวมกับบริษัทผูรับเหมาในการจัดการ

แจงใหทราบ / ทํางาน

พ้ืนท่ีหลุมเจาะ

หมายเลขโทรศัพทหนวยงานที่สําคัญ ในจังหวัดเพชรบูรณ

ท่ีวาการอําเภอวิเชียรบุรี 056-791-567 สถานีตํารวจ 056-791-306 056-754-075 สถานีดับเพลิง 056-791-388 056-791-887 โรงพยาบาลวิเชียรบุรี 056-791-211 โรงพยาบาลเพชรบูรณ 056-712-235-7 โรงพยาบาลเมืองเพชร 056-748-031-3 โรงแรมปยะมิตร 056-791-031 โรงแรมมิสาลี 056-791-179 สํานักงาน POE วิเชียรบุรี 056-754-275 บานพักพนักงาน 056-718-316-7 สํานักงานสวนผลิต 056-718-318-9

กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ สํานักงาน 02-791-8300 คุณวรสิทธิ์ 09-503-3229 คุณพีรพงษ 09-671-2605

บริษัทผูใหบริการ Aztec (John Robinson) 01-916-3418 Ml (Gordon Perie) 01-846-7438 ILO (Ian Beardsworth) 01-917-3604 Schlumberger Pitsanulok 01-896-4251 (Matt Sanderson) Owen Oil Tools 01-926-1678 (Big Poolprasert)

สํานักงานกรุงเทพฯ หนวยระงับเหตุฉุกเฉิน

ผูจัดการฝายขุดเจาะ / ผูจัดการฝายผลิต (POE) Denver W Allbritton Spencer Lock โทร. 09-893-4024 โทร. 07-038-6990 1. รายงานเหตุให Country Manager ทราบ 2. ควบคุมการทํางานของหัวหนาฝายขุดเจาะ 3. ทํางานรวมกับบริษัท Aztec ผานหัวหนาฝายขุดเจาะ 4. ดูแลการจัดทําเอกสารสําหรับการรับมือกับเหตฉุุกเฉิน 5. ประสานดานการจัดการรวมกับหนวยงานภายนอก 6. ดูแลใหเจาหนาที่มีการเคลื่อนยายและสนับสนนุดานเทคนิคอยางรวดเร็วและมีประสทิธิภาพ 7. ดูแลใหมีการจัดทําเอกสารเกี่ยวกับการเคลื่อนยายและสนับสนุนดานเทคนิค

Country Manager (POE) Ian Halstead สํานักงาน 02-961-0551-3 Ext: 106 มือถือ 09-893-4021 1. รายงานเหตุใหกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของกับการรับมือเหตุฉุกเฉินนั้นรับทราบ 2. รายงานเหตุตอ Calgary 3. รายงานเหตุใหผูรวมทนุรับทราบ 4. จัดเตรียมขอมูลสําหรับสื่อตางๆ และทํางานรวมกับสื่อตางๆ 5. จัดใหมีการสนับสนุนอ่ืนๆ หากมีความจําเปน 6. ใหขอมูลกับสื่อตางๆ 7. กําหนดใหเปนภาวะฉุกเฉินในกรณีที่จําเปน

Aztec International John Robinson กรรมการผูจัดการ โทร. 01-916-3418 สํานักงาน โทร. 02-381-1688-9 1. ทํางานรวมกับหัวหนาหนวยอาวุโส 2. ใหการสนับสนุนการปฏิบัติงานที่หลุมสํารวจ 3. ดูแลใหพนักงานปฏิบัติตามคําสั่งและประกาศตางๆ

แจงใหทราบ ควบคุม แจงใหทราบ ควบคุม

แจงใหทราบ

แจงใหทราบ ทํางานรวมกัน

แจงใหทราบ ทํางานรวมกัน

CALGARY แจงใหทราบ

Page 47: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-47

2.11.2 มาตรการปองกันการพลุง

อุปกรณปองกันการพลุง (Blowout Preventer) เปนอุปกรณกลไกในการควบคุมหลุมเจาะ (รูปท่ี 2-23) โดยเปนชุดวาลวท่ีติดตั้งตอกัน แตทํางานเปนอิสระจากกัน และเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะปด เพื่อสรางเครื่องปองกันและแยกหลุมขุดเจาะออกจากระบบอื่นๆ เพื่อท่ีจะสามารถวางแผนการดําเนินการเพื่อควบคุมหลุมเจาะตอไป

ชุดวาลวปองกันการพลุงนี้ ติดตั้งอยูบนสวนปลายทอนํา ใตพื้นแทนขุดเจาะ และชุดทอกรุท่ีติดตั้งหลังจากนี้จะเช่ือมตอกับระบบวาลวปองกันการพลุงดวย โดยระบบวาลวและแผน Ram นี้ทํางานโดยระบบ ไฮดรอลิกแรงดันสูง ท่ีจะปดทอกานเจาะ เพื่อแยกหลุมเจาะออกจากระบบหากพบวาเกิดแรงดันสูงขึ้นในช้ันหินโดยไมคาดคิด ซึ่งหากแรงดันนี้เกินกวาแรงกดของโคลนขุดเจาะ อาจทําใหเกิดการไหลอยางรุนแรงขึ้นจากหลุม หรือเรียกวาการ “Kick” ซึ่งการ Kick นี้อาจเกิดขึ้นไดจากอีกกรณีหนึ่ง เมื่อการขุดเจาะผานเขาไปในชั้นหินท่ีมีความพรุนสูง เชน ช้ันหินปูนท่ีมีรอยแยก ทําใหสูญเสียโคลนขุดเจาะปริมาณมากเขาไปในช้ันหินอยางฉับพลัน

2.11.3 ระบบดับเพลิง

ในพื้นท่ีแทนขุดเจาะ จะมีระบบดับเพลิง 2 ระบบที่ทํางานแยกจากกัน และออกแบบมาใหรองรับวัตถุประสงคท่ีตางกัน ระบบแรก คืออุปกรณดับเพลิงตางๆ และระบบที่สอง คือ ระบบฉีดละอองน้ํา

2.11.3.1 อุปกรณดับเพลิง

ในพื้นที่โครงการ จะติดตั้งชุดอุปกรณดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง อเนกประสงคไวรอบพื้นที่หลุมเจาะ โดยประกอบดวย

• อุปกรณดับเพลิงชนิดหิ้วถือ ขนาดมาตรฐาน 9 กิโลกรัม จํานวน 15 ชุด สําหรับการควบคุม หรือดับเพลิงขนาดเล็ก

• อุปกรณดับเพลิงขนาด 25 กิโลกรัม จํานวน 3 ชุด เพื่อใชสํารองในกรณีท่ีเกิดเพลิงขนาดใหญ หรือตองควบคุมเพลิงเปนเวลานาน

• อุปกรณดับเพลิงชนิดโฟม ขนาด 50 กิโลกรัม จํานวน 2 ชุด (ติดตั้งใกลกับบริเวณเก็บเช้ือเพลิง)

ผูรับเหมาแทนขุดเจาะ ตองรับผิดชอบในการดูแลใหอุปกรณดับเพลิงท้ังหมดสามารถใชงานได และไดรับการตรวจรับรองกอนจะเคลื่อนยายเขามาในพื้นท่ีโครงการ และตรวจสอบเปนระยะตลอดระยะเวลา ดําเนินการ รวมทั้งตองรับผิดชอบในการฝกอบรมใหพนักงานรูจักเทคนิคในการดับเพลิง และจัดการฝกซอมอยางสม่ําเสมอ ผูดูแลการขุดเจาะ (Drilling Superintendent) ของบริษัท แพน โอเรียนท จะเปนผูตรวจสอบกระบวนการนี้

Page 48: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-48

รูปที่ 2-23: ชุดอุปกรณปองกนัการพลุง

ที่มา: http://www.glossary.oilfield.slb.com/Display.cfm?Term=blowout%20preventer

Page 49: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-49

2.11.3.2 ระบบฉีดละอองน้ํา

จะมีระบบฉีดละอองน้ําติดตั้งไวบนแทนขุดเจาะ โดยจะมีชุดหัวฉีดลอมรอบบริเวณปากหลุม และชุดอุปกรณปองกันการพลุง (BOP)

น้ําที่ใชในระบบฉีดละอองน้ํา นํามาจากบอเก็บน้ํา โดยผานเครื่องสูบน้ํา 3 เครื่องซึ่งติดตั้งเปนการถาวร และมีเครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซลแยกไวเฉพาะ เพื่อรับรองการทํางานอยางตอเนื่องแมวาเครื่องกําเนิดไฟฟาที่แทนขุดเจาะจะไมทํางาน หรือสายสงไฟฟาขาดในระหวางที่เกิดอุบัติเหตุ

2.12 ทางเลือกโครงการ

2.12.1 กรณีไมมีโครงการ

หากไมมีการสํารวจตามโครงการนี้ ผลประโยชนทางเศรษฐกิจท่ีจะไดจากโครงการก็จะไมเกิดขึ้น ผลประโยชนท่ีสูญเสียไป ไดแก

• การจางงาน และการใชจายของโครงการในระหวางการขุดเจาะ

• การผลิตน้ํามันจากพื้นที่โครงการ อาจลาชา หรือหายไป

• รัฐบาลไทย และหนวยงานราชการในทองถ่ินสูญเสียรายไดท่ีจะไดจากคาภาคหลวง

• ปริมาณน้ํามันดิบท่ีอาจจะไดจากพื้นท่ีนี้ จะตองถูกชดเชยดวยน้ํามันดิบในปริมาณที่เทากันจากตะวันออกกลาง หรืออินโดนีเซีย ซึ่งการนําเขาน้ํามันดิบจากตางประเทศนั้นมีผลกระทบเกี่ยวเนื่อง จากการขนสง (มลสารทางอากาศ และอาจเกิดการรั่วไหล) และปญหาความผันแปรของราคาน้ํามัน

• การจางงาน และการใชจายของโครงการในระหวางการดําเนินการผลิต

2.12.2 ทางเลือกในระยะขุดเจาะสํารวจ

2.12.2.1 ชนิดของแทนขุดเจาะ

แทนขุดเจาะบนบกทุกแบบนั้นจะสรางผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีคลายคลึงกัน โดยบริษัท แพน โอเรียนท ไดเลือกใชแทนขุดเจาะแบบ Wilson 42 Mobile Rig เนื่องจากมีขนาดเล็ก และใชเช้ือเพลิงอยางคุมคา ประหยัด (ทําใหมีมลพิษทางอากาศต่ําดวย)

2.12.2.2 การเลือกใชโคลนขุดเจาะ

โคลนที่ใชสําหรับการขุดเจาะน้ันมีหลายประเภทใหเลือกใช โดยการเลือกใชชนิดที่เหมาะสมสําหรับโครงการแตละโครงการนั้นจะขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะทางธรณีวิทยาในหลุมเจาะ และเมื่อพิจารณาจากประเด็นดานสิ่งแวดลอมแลว ควรเลือกใชโคลนที่มีองคประกอบหลักเปนน้ํา (Water Based Mud – WBM)

Page 50: 02 PD PanO L33 43 Th 02eiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/L33_43/02_PD_PanO...ตารางท 2-1: อ ตราการใช พล งงานในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L33/43 จังหวัดเพชรบูรณ

2. รายละเอียดโครงการ

มีนาคม 2550 แฟมขอมูล : I:\Reports_2006\Pan Orient Energy (Pacific Tiger)\Integrate Report\Thai\02_PD_PanO_L33_43_Th_02.doc

หนา 2-50

แทนที่จะเลือกใชโคลนที่มีองคประกอบหลักเปนน้ํามัน (Oil based Mud – OBM) ในโครงการนี้ บริษัท แพน โอเรียนท เลือกใชเฉพาะ WBM เทานั้น

นอกจากนั้น บริษัท แพน โอเรียนท เลือกใชสาร Potassium Sulphate – PHPA polymer ในโคลนขุดเจาะแทนที่จะใช Potassium Chloride ซึ่งการที่สารนี้ไมมีคลอไรดอิออน ทําใหเปนโคลนขุดเจาะที่เหมาะสมตอสิ่งแวดลอมมากกวา เนื่องจากคลอไรดอาจสงผลกระทบตอดิน โดยทําใหเกิดดินเค็ม

2.13 แผนชดเชยเจาของที่ดิน

เนื่องจากที่ดินในบริเวณพื้นที่โครงการ และถนนเขาสูโครงการ เปนท่ีดินเอกชน บริษัท แพน โอเรียนท จะดําเนินการจัดซื้อท่ีดินแปลงนี้ และในบริเวณใกลเคียงจากเจาของที่ดิน ในราคาที่ไดตกลงรวมกันระหวาง บริษัท แพน โอเรียนท และเจาของที่ดิน หลังจากรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไดรับการพิจารณาอนุมัติ