& PRECEDENCE SIMPLE CALCULATION · INTRODUCTION TO MATLAB PROGRAMING SIMPLE CALCULATION &...

25
INTRODUCTION TO MATLAB PROGRAMING SIMPLE CALCULATION & PRECEDENCE Operators + บวก - ลบ * คูณ / หาร ^ ยกกําลัง Precedence 1 st วงเล็บ เริ่มจากวงเล็บในสุดกอน 2 nd ยกกําลัง จากซายไปขวา 3 rd คูณและหาร จากซายไปขวา 4 th บวกและลบ จากซายไปขวา Example 1 3^2-5-6/3*2 3^2 -5-6/3*2 9-5-6/3 *2 9-5-2*2 9-5 -4 4-4 0 3^2-5-6/(3*2) 3^2-5-6/(3*2) 3^2 -5-6/6 9-5-6/6 9-5 -1 4-1 3

Transcript of & PRECEDENCE SIMPLE CALCULATION · INTRODUCTION TO MATLAB PROGRAMING SIMPLE CALCULATION &...

INTRODUCTION TO

MATLAB PROGRAMING

SIMPLE CALCULATION& PRECEDENCE

Operators+ บวก- ลบ* คูณ/ หาร^ ยกกําลัง

Precedence1st วงเลบ็ เริ่มจากวงเล็บในสดุกอน2nd ยกกําลัง จากซายไปขวา3rd คูณและหาร จากซายไปขวา4th บวกและลบ จากซายไปขวา

Example 1

3^2-5-6/3*2 ⇒ 3^2-5-6/3*2 ⇒ 9-5-6/3*2

⇒ 9-5-2*2 ⇒ 9-5-4 ⇒ 4-4 ⇒ 0

3^2-5-6/(3*2) ⇒ 3^2-5-6/(3*2)

⇒3^2-5-6/6⇒9-5-6/6⇒9-5-1⇒4-1 ⇒ 3

VARIABLES

• การตั้งชื่อตัวแปรตองประกอบดวยตัวอักษรตัวเล็ก, ตัวใหญ, ตัวเลข หรือ “_” โดยตองขึ้นตนดวยตัวอักษรเทานั้น และ ถือวาอักษรตัวเล็กและตัวใหญตางกัน

• หากชื่อตัวแปรยาวมากกวา 31 ตัวอักษร ตัวอักษรตัวที่ 32 เปนตนไปจะถูกตัดทิ้ง

VARIABLES

• คําที่หามนํามาตั้งเปนชื่อตัวแปร คือ for, end, if, while, function, return, elseif, case, otherwise, switch, continue, else, try, catch, global, persistent, break

• ไมควรนําชื่อฟงกชั่น และ ตัวแปรพิเศษของ MATLAB มาตั้งเปนชื่อตัวแปร โดยตัวแปรพิเศษของ MATLAB มีดังนี้ ans, beep, pi, eps, inf, NaN, nan, i, j, nargin, nargout, realmin, realmax, bitmax, varargin, varargout

SPECIAL VARIABLES

ans คําตอบลาสุด

piคาคงที ่ π= 3.14159265358979

i,j หนวยจินตภาพinf คาที่เกิดจากการหารดวย 0 (Infinity)

NaN,nan

การคํานวณทีห่าคาไมได (Not a Number) เชน 0/0 หรือ inf-inf

varargin cell ของ input argument

varargout cell ของ output argumentnargin จํานวน input argument

nargout จํานวน output argument

epsระยะหางที่นอยที่สุดระหวาง 2 จํานวน = 2.2204e-016

realminตัวเลข floating point บวกทีน่อยที่สดุ= 2.2251e-308

realmaxตัวเลข floating point บวกทีม่ากที่สดุ = 1.7977e+308

bitmaxตัวเลขจํานวนเต็ม floating point ทีม่ากที่สดุ = 9.007199254740991e+015

clock ใชบอก ป-เดือน-วัน-ชั่วโมง-นาที-วินาที

date วันที่ ในรูปแบบ วัน-เดือน-ป

VARIABLES

Example 2

tile_length = 1tile_width = 0.5tile_area = tile_length*tile_width

floorarea = 1FLOORAREA = 2FloorArea = 3

TileCost_1 = (15*(floorarea/tile_area))+50TileCost_2 = (15*(FLOORAREA/tile_area))+50TileCost_3 = (15*(FloorArea/tile_area))+50

VARIABLES

Example 3

realmax

eps

clock

date

Example 4

pi

r = 1.2

pi*(r^2)

pi = 3

pi

pi*(r^2)

clear pi

pi

pi*(r^2)

VARIABLES

Example 5

2*2+5

ans

-2^2;

ans

2*ans;

ans

Example 6

z1 = -1+i

z2 = -1+j

z1*i

i = 2

z1*i

clear i

i

z1*i

ARRAYS & MATRICES

การสราง array หรอื Matrix ใน MATLAB สามารถกําหนดไดดวย [ ]คาระหวางหลักจะถกูคั่นดวย space หรือ ,การขึ้นแถวใหมสามารถทําไดดวยการกด Enter หรือ คั่นดวย ;

Example 7.1

a = [1,2,3]a = [1 2 3]

b = [-1;0;1]b = [-1

01]

C = [1,0,-1;0,1,0;0,0,2]C = [1 0 -1;0 1 0;0 0 2]C = [1 0 -1

0 1 00 0 2]

Example 7.2

ARRAYS & MATRICES

d = 1:1:3d = 1:3

e = 1:2:6

f = 1:2:5

g = 3:-1:1

h = 3:1

Array แบบไลตวัเลขสามารถกําหนดไดดงันี้

Start:Step:StopStart คือ คาตวัเลขเริ่มตนStep คือ ระยะหางระหวางหลักถัดไปกับหลักปจจุบนัStop คือ การกําหนดใหคาสดุทายของการไลตวัเลข ไมเลยคา Stop Start:Stop ⇒ Start:1:Stop

ARRAYS & MATRICES

การอางตําแหนงใน Array 1 มิตสิามารถทําไดโดยA(index)

A คอื ชื่อ Array และ index คือ ตําแหนงที่ตองการindex สามารถเปน Array ไดเมือตองการอางตําแหนงที่ตองการมากกกวา 1 ตําแหนงการอางตําแหนงใน Array n มิตสิามารถทําไดโดย

A(index_1, index_2,…, index_n)

ARRAYS & MATRICES

Example 7.3

a(1)b(2)a(end)b(end)a(end-1)

a(1:2)b(3:-1:2)a([1 3])a([1 3 2])a([1 3 2 3])b(2:end)b(1:end)b(:)

Example 7.4

C(3,2)C(end,2)C(end,end)

C(1:2,1)C(1:2,2:3)C([1 3],[1 3])C(1,2:end)C(1,1:end)C(1,:)C(:,1)C([1 3],:)C(:,[1 3])C(:,:)

ARRAYS & MATRICES

Example 7.5 Example 7.6

a(1,3) b(2,1)

C(:)C(5)C(end)C(1:8)C(1:end)

a'[a;e][b a']L = [C b;a 7]

L(1,1) = 5L(2:3,2:3) = [-1 -2;-4 -6]L(end,:) = 2:2:8L([5 10 end]) = 10

save Example_07.mat

CHARACTER ARRAYS (STRINGS)

Example 8

s1 = 'DSP's2 = ['D' 'SP']

s3 = '371'[s1 s3]['s1' s3]

s4 = 100s5 = '100's4+1s5+1

s1(1)s1([1 3])

การสรางตัวแปรประเภทตัวอักษรสามารถระบุไดโดยใช ' '

OPERATORS AND SPECIAL CHARACTERS

= การกําหนดคาตัวแปร == เทากับ

( )แสดงลาํดับในการคํานวณ

+ บวก ~= ไมเทากับ แสดงอนิพุตในฟงกชั่น

- ลบ > มากกวา อางตําแหนงในเมตริกซ

* คูณแบบเมตริกซ >= มากกวาหรือเทากับ [ ] สรางเมตริกซ

.* คูณแบบอาเรย < นอยกวา { } สรางหรืออางตําแหนงใน cell

^ ยกกําลังแบบเมตริกซ <= นอยกวาหรือเทากับ ‘ ’ กําหนดตัวแปรประเภท String

.^ ยกกําลังแบบอาเรย & และ , ใชเปนตัวแบงหรือตัวแบงหลกั

/ หารทางขวาแบบเมตริกซ | หรือ;

ใชเปนตัวแบงแถว

./ หารทางขวาแบบอาเรย ~ นิเสธ ไมแสดงผลของบรรทัดนี้

\ หารทางซายแบบเมตริกซ.

จุดทศนิยม : ใชสรางลําดับเลขคณติ

.\ หารทางซายแบบอาเรย เรียกคาของ field ใน structure % แสดง comment

’ transpose & conjugate .. parent directory ใชกบัคําสัง่ cd @ สราง function handle

.’ transpose … คําสัง่ตอในบรรทัดถัดไป ! เรียกใชคําสัง่ของ OS

OPERATORS AND SPECIAL CHARACTERS

Example 9

M1 = [1 2;3 4]M2 = [-2 1;-1 2]

M1+M2M1-1

2*M1M1.*M2M1*M2

M1./M2M1/M2

M1.\M2M1\M2

M1.^2M1^2

211 MM −

121−MM

Operator ทีม่ ี. อยูขางหนาเชน .* ./ .\ .^ จะเปน Array Operator ซึ่งการคํานวณจะทํากับสมาชิกตาํแหนงตอตาํแหนง Operator ทีไ่มม ี. อยูขางหนาเชน * / \ ^ จะเปน Matrix Operator ซึ่งการคํานวณอิงตามหลักการของ Matrix

GENERAL PURPOSE COMMAND

help แสดงวธิีใชคําสัง่หรือฟงกชั่น

lookfor คนหาชือ่คําสัง่หรือฟงกชัน่

demo เรยีกใช Demo

clear ลบคาตัวแปรใน Workspace

save บันทึกคาตัวแปรใน Workspace

load ดึงคาจากไฟล .mat มาใวใน Workspace

clc ลบ Command window

format กําหนดรูปแบบการแสดงผลของตัวเลข

warning แสดงหรือไมแสดงคําเตือน

beep สงเสยีง Beep

quit ออกจากโปรแกรม MATLAB

NUMBER DISPLAY FORMAT

format short(default)

เลข 5 หลัก 3.1416

format long เลข 15 หลัก 3.14159265358979

format short e เลข 5 หลักมีเลขยกกาํลังฐาน 10 3.1416e+000

format long e เลข 15 หลักมีเลขยกกําลงัฐาน 10 3.14159265358979e+000

format bank ทศนิยม 2 หลัก 3.14

format + เครื่องหมาย (+,-) +

format hex เลขฐาน 16 400921fb54442d18

format rat เศษสวน (โดยประมาณ) 355/113

FUNCTIONS

การเรยีกใช Function ใน MATLAB สามารถทําไดโดยF(input_1, input_2,…,input_n)

F คือ ชื่อ Function และ input คือ คาอินพุตของ Function (จํานวนของตัวแปรอินพุตจะถกูกาํหนดโดย Function)

Example 10.1

sqrt(2)

gcd(10,15)

max([1 5 6 2])

inv([1 2;3 4])

FUNCTIONS

การกําหนดตัวแปรมารับคา Output ของ Function ทําไดโดย out = F(input_1, input_2,…,input_n)

[out_1,out_2,…,out_n] = F(input_1, input_2,…,input_n)[out_1 out_2 … out_n] = F(input_1, input_2,…,input_n)

Example 10.2

out_a = sqrt(2)

out_b = mean([1 5 6 2])

out_c = inv([1 2;3 4])

[out_1,out_2] = size(out_c)

M-FILES

เขียนในโปรแกรมประเภท Editor แลวสั่งเกบ็เปนไฟลเพื่อนํามาสั่งทาํงานไดในภายหลงัใน MATLABMATLAB มขีอบังคับวาจะตองระบุนามสกุลของไฟลเปน .m และจะตองเก็บไวในไดเรกทอรขีอง MATLABสามารถเรียกโปรแกรมไฟลทีเ่ก็บเปนชนิด .m นั้นใน

หนาตางรับคําสั่งของ MATLAB ดวยการปอนชื่อไฟลนั้นลงไปหรอืสามารถเรียกใชไฟล .m จากไฟล .m อื่นก็ได

M-FILES

ขอระวังก็คือ จะตองบันทึกไฟลนี้ไวในไดเรกทอรีที่ MATLAB สามารถมองเหน็ หรือเรียกวา MATLAB Path ซึ่งสามารถตรวจดูไดจากคําสั่ง pathหรืออาจจะเก็บไวใน ไดเรกทอรีปจจุบันของ Window ก็ได ซึ่งจะแสดงออกมาเมื่อใชคําสั่ง pwd หรือ Tab Current Directoryในกรณีที่ตองการเก็บไวในไดเรกทอรีอื่น ๆ ก็สามารถเติมชื่อเพิ่มลงไปใน MATLAB Path โดยใชคําสั่ง addpath (ดู help addpath)

M-FILES

Script Fileโดย Script File เปนชดุคําสั่ง

Function FileFunction File เปนการสรางฟงกชันใหม ซึ่งโดยทั่วไปจะมกีารสงผานคาตัวแปรเขา และ ตัวแปรออก

SCRIPT FILE

เราสามารถเก็บชุดคาํสั่งที่ปอนใหกับ MATLAB ไวในไฟลที่มีนามสกุล .m และสัง่ให MATLAB ไปเรียกชุดคําสั่งจากไฟลนี้เสมือนกับเราปอนคาํสั่งเขาไปทีละคาํสั่งไดการเรียกใชไฟลที่บนัทึกไวเปนชุดคาํสั่งที่ Command Window สามารถทําไดโดย พมิพชื่อไฟลโดยไมตองมี .m แลวกด Enter

SCRIPT FILE

Example 11

Editor

% Find x from Ax = bclear A b x

A = [1 2 3;1 0 -1;-2 3 -1];b = [1;0;-5];

x = A\b

Save as ex11.m

Command Window

ex11

Comment

FUNCTION FILES

Function เปน m-file ที่มกีาร ‘สงคา’ ไปยัง Function และ ‘รับคา’ จาก Function Function มกีารรบัสงคาตัวแปรได script รับสงตัวคาตัวแปรไมได Function ใชตัวแปรของตัวเองไมรวมกบั Command Window หรอื Function อื่นๆ (ตัวแปรจะถกูสรางใหมทุกครัง้ทีม่ีการใช Function)

FUNCTION FILES

Example 12

Editor

function x = ex12(A,b)

C = A^2;d = b/2x = C\b;

Save as ex12.m

Command Window

L=[1 2;3 4];v = [1 ; -1];ex12(L,v)

FUNCTION FILES

Example 13

Editor

function [x,y] = ex13(a,b)

x = (a+b)/2;y = sqrt(a*b);

Save as ex13.m

Command Window

ex13(5,3)[out1,out2]=ex13(5,3)

CONTROL FLOW

if (condition 1)(command 1)

elseif (condition 2)(command 2)...

else(command n)

end

IF-ELSE

switch (variable)case (value 1)

(command 1)case (value 2)

(command 2)...

otherwise(command n)

end

SWITCH-CASE

try (command 1)

catch (command 2)

end

TRY-CATCH

CONTROL FLOW

Example 14

Editor Save as ex14.m

Command Window

ex14

Tryx = 0x = 1x = 5x = -2x = -5

x = input('x = ');

if x == 0 disp('command 1')

elseif x> 0 & x <= 3 disp('command 2')

elseif x > 3disp('command 3')

elseif x >= -3disp('command 4')

elsedisp('command 5')

end

CONTROL FLOW

Example 15

Editor Save as ex15.m

Command Window

ex15

Tryx = 1x = 2x = ‘2’x = ‘a’x = ‘abc’x = ‘f’

x = input('x = ');

switch xcase 1

disp('command 1')case {2,3}

disp('command 2')case 'abc'

disp('command 3')case {'de','f'}

disp('command 4')otherwise

disp('command 5')end

CONTROL FLOW

Example 16

Editor Save as ex16.m

Command Window

ex16(1)ex16(2)ex16([1 0 1])ex16([3 2 1])ex16([1 2;3 4])

function y = ex16(x)

tryy = x+[1 2 3];

catchy = 0

end

CONTROL FLOW

for (variable)(command)

end

FOR LOOP

while (condition)(command)

end

WHILE-LOOP

break ออกจากลูปดานในสดุ 1 ลูปpause หยุดการทํางานจนกวาจะมีการกดคีย

CONTROL FLOW

Example 17

Editor Save as ex17.m

Command Windown = input('n = ');s = 0;for k = 1:n

s = s+k;ends

ex17

Tryn = 3n = 1n = 0n = -1

CONTROL FLOW

Example 18

Editor Save as ex18.m

Command Windown = input('n = ');s = 0;k = 1;while k <= n

s = s+k;k = k+1;

ends

ex18

Tryn = 3n = 1n = 0n = -1

INPUT AND OUTPUT FUNCTIONS

input แสดงตัวอักษรโดยจะรออินพุตจากคียบอรดแลวเก็บคาไวdisp แสดงรายละเอียดของตัวแปร หรือขอความตาง ๆ

LOGICAL FUNCTIONS

xor exclusive orall ตรวจสอบวาสมาชิกทกุตัวไมเปน 0any ตรวจสอบวามีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวไมเปน 0find หาตําแหนงทีไ่มเปน 0

isempty ตรวจสอบวาเมตริกซมีขนาดเทากบั 0 หรือไมexist ตรวจสอบวามีตัวแปรหรือฟงกชั่นชื่อเดียวกบัที่ระบหุรือไม

Example 19

LOGICAL FUNCTIONS

all([1 1 1 1 1])all([1 0 1 1 1])

any([1 0 0 0 0]) any([0 0 0 0 0])

A = [2 5 3 9];all(A>1)all(A>3 & A<=10)any(mod(A,2)==0)

B = [0 0 1 1;0 1 0 1];all(B)all(B,1)all(B,2)all(all(B))all(B(:))

find([1 0 1 0])find(A>3)find(B)[x,y] = find(B)

NUMERIC FUNCTIONS

fix ปดเลขใหเปนจํานวนเต็ม โดยปดเขาหา 0floor ปดเลขใหเปนจํานวนเต็ม โดยปดเขาหา -∞ceil ปดเลขใหเปนจํานวนเต็ม โดยปดเขาหา +∞

round ปดเลขใหเปนจํานวนเต็ม โดยปดเขาหาจํานวนเต็มที่ใกลทีส่ดุabs หาคาสัมบรูณsign หาเครื่องหมาย (+,-)rem หาเศษจาการหารmod modulo

COMPLEX NUMBER FUNCTIONS

real หาสวนจรงิimag หาสวนจนิตภาพ

conj หา conjugateangle หามุมเฟสเปนเรเดียน

EXPONENTIAL AND LOGARITHM FUNCTIONS

sqrt หารากที่ 2exp ยกกําลังฐาน elog คา log ฐาน e

log10 คา log ฐาน 10

log2 คา log ฐาน 2sqrtm หารากที่ 2 แบบเมตริกซexpm ยกกําลังฐาน e แบบเมตริกซlogm คา log ฐาน e แบบเมตริกซ

TRIGONOMETRY AND HYPERBORIC FUNCTIONS

sin sinecos cosinetan tangentcsc cosecantsec secantcot cotangent

asin arcsineacos arccosineatan arctangentacsc arccosecantasec arcsecantacot

arccotangent

sinh hyperboric sinecosh hyperboric cosinetanh hyperboric tangentcsch hyperboric cosecantsech hyperboric secantcoth hyperboric cotangent

asinh hyperboric arcsineacosh hyperboric arccosineatanh hyperboric arctangentacsch hyperboric arccosecantasech hyperboric arcsecantacoth hyperboric arccotangent

อินพตุเปนเรเดียน

STATISTICTIC FUNCTIONS

min หาคาต่ําสุดmax หาคาสงูสดุ

range หาพิสยัmean หาคาเฉลี่ย

median หามัธยฐานsort เรียงขอมูลsum หาผลรวมprod หาผลคูณ

STRING FUNCTIONS

cumsum หาผลรวมสะสมcumprod หาผลคูณสะสม

diff หาผลตางระหวางสมาชิกตัวทีต่ิดกันstd หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

str2num แปลงตัวอักษรเปนตัวเลขnum2str แปลงตัวเลขเปนตัวอักษรstrcmp เปรียบเทยีบตัวอักษร

strcmpiเปรียบเทยีบตัวอักษร โดยถือวาตัวอักษรตัวเล็กกับตัวใหญเหมือนกัน

strfind หาตําแหนงตัวอักษรตามที่กําหนด

bin2dec แปลงเลขฐาน 2 เปน ฐาน 10dec2bin แปลงเลขฐาน 10 เปน ฐาน 2hex2dec แปลงเลขฐาน 16 เปน ฐาน 10dec2hex แปลงเลขฐาน 10 เปน ฐาน 16base2dec แปลงเลขฐานทีก่ําหนดเปน ฐาน 10dec2base แปลงเลขฐาน 10 เปนฐานทีก่ําหนด

Example 20

A = [2 5 3 9];min(A)max(A)mean(A)sum(A)prod(A)

sort(A)

diff(A)

B = [1 2 1 3;2 4 1 0];min(B)min(B,1)min(B,2)min(min(B))min(B(:))

sum(B)sum(B,1)sum(B,2)sum(sum(B))sum(B(:))

STATISTICTIC FUNCTIONS

MATRIX FUNCTIONS

zeros สรางเมตริกซมีสมาชิกเปน 0 ทั้งหมดones สรางเมตริกซมีสมาชิกเปน 1 ทั้งหมดeye สรางเมตริกซเอกลักษณ

linspace สรางเวคเตอรของลําดับเลขคณิตlogspace สรางเวคเตอรของลําดับเรขาคณิต

randสรางเมตริกซมีสมาชิกไดจากการสุมคา 0-1 ที่มีการกระจายแบบ Uniform

randn

สรางเมตริกซมีสมาชิกไดจากการสุมคาที่มีการกระจายแบบ Normal มีค า เ ฉลี่ ย เ ป น 0 มีส วน เบี่ ย ง เบนมาตรฐานเปน 1

diag สรางเมตริกซทะแยงreshape เปลี่ยนขนาดของเมตริกซ

length หาความยาวของเมตริกซsize หาขนาดของเมตริกซfliplr กลับเมตริกซในทิศทาง ซาย-ขวาflipud กลับเมตริกซในทิศทาง บน-ลางflipdim กลับเมตริกซในทิศทางทีก่ําหนดrot90 หมุนเมตริกซ ±90°, ±180°,...tril สรางเมตริกซสามเหลี่ยมลางtriu สรางเมตริกซสามเหลี่ยมบนdet หาดีเทอรมิแนนทของเมตริกซ inv หาเมตริกซผกผนัpinv หาเมตริกซผกผนัเสมือนrank หาแรงคของเมตริกว

Example 21

zeros(3,5)

ones(1,7)

eye(5)

diag([1 2 3 4])

linspace(0,pi,20)

rand(1,7)

randn(1,7)

B = [1 2 1 3;2 4 1 0];

length(B)

size(B)

reshape(B,4,2)

C = [1+i 1+2i ; 3-i 2];

C’

transpose(C)

MATRIX FUNCTIONS

SET FUNCTIONS

unique ตัดสมาชิกตัวทีซ่้าํกันออกพรอมทัง้เรียงขอมูลunion set union

intersect set intersection

setdiff set differencesetxor set exclusive union

ismember ตรวจสอบการเปนสมาชิก

POLYNOMIAL FUNCTIONS

roots หารากของพหุนามpoly หาพหุนามจากราก

polyval หาคาของพหุนามconv คูณพหุนาม

deconv หารพหุนาม

residue หา partial fractionpolyder หาอนุพนัธของพหุนามpolyint หาปฏิยานุพนัธของพหนุาม

polyfitหาพหุนามทีจ่ากคูอันดบัทีก่ําหนด (ประมาณ)

SPARSE MATRIX FUNCTIONS

sparseสราง sparse matrix ที่เปน เมตริกซศูนย หรอื แปลงเมตริกซธรรมดาเปน sparse matrix

speye สราง sparse matrix ที่เปน เมตริกซเอกลักษณ

sponesเปลี่ยนสมาชิกในตําแหนงที่ไมเทากับ 0 ใน sparse matrix ใหเทากับ 1

full แปลง sparse matrix เปนเมตริกซธรรมดา

Example 22

A = [2 3 4 2 4 3 1];B = [0 3 5 3 2];

unique(A)

union(A,B)

intersect(A,B)

setdiff(A,B)

setdiff(B,A)

ismember(A,B)

SET FUNCTIONS

CELL FUNCTIONS

cell สราง cell วางdeal กําหนดคาตัวแปรไดที่ละหลายตัว

iscell ตรวจสอบวาเปนตัวแปรประเภท cell หรือไมnum2cell หาอนุพนัธของพหุนาม

STRUCTURE FUNCTIONS

struct สราง structurefieldnames เรียกดูชื่อ field ใน structure

getfield เรียกคาของ field ใน structure

setfield กําหนดคาของ field ใน structure

rmfield ลบ field

isfield ตรวจสอบวามชีื่อ field ที่กําหนดหรอืไม

isstructตรวจสอบวาเปนตัวแปรประเภท structure หรอืไม

struct2cell แปลง structure เปน cell

cell2struct แปลง cell เปน structure

SYMBOLIC FUNCTIONS

sym,syms สรางตัวแปรประเภท symbolicsubs แทนคาตัวแปร symbolic

sinplify เปลี่ยนใหอยูในรปูทีส่ัน้ทีส่ดุ

expand กระจายพจนออกมา

numden หาเศษ และ สวนsolve แกสมการdsolve แกสมการเชิงอนพุนัธ

finverse หา inverse ของ fnction

compose หา composite ของ function diff หาอนุพนัธint หาปฎิยานุพนัธ

limit หาลิมิต

fourier Fourier Transform

laplace LaplaceTransform

ztrans Z Transform

taylor Taylor Series

GRAPH DISPLAY FUNCTIONSplot การพล็อตกราฟเชงิเสน x-yaxis กําหนดลักษณะแกนgrid แสดง grid หรือไมhold คงรปูเดิมอยูหรือไม

xlabel กําหนดคําอธบิายบนแกน xylabel กําหนดคําอธบิายบนแกน ytitle กําหนดหัวขอกราฟ

legend กําหนดชื่อของกราฟแตละเสนtext พิมพขอความเพิม่เติมline วาดเสนตรงเพิ่มเติม

semilogx เหมือน plot แตคาในแกน x เปน log ฐาน 10semilogy เหมือน plot แตคาในแกน y เปน log ฐาน 10

loglog เหมือน plot แตคาเปน log ฐาน 10 ทัง้ 2 แกน

polar พล็อตกราฟในรูปเชงิขั้วpie สรางแผนภูมิวงกลมbar สรางแผนภูมิแทง

stem พล็อตในรูปขบวนอิมเพาสhist สราง histogram

scatter พล็อตจุดแบบกระจายตัวcontour สรางเสน contour

fill ระบายสีใหรูป polygonezplot พล็อตกราฟจากฟงกชัน่figure เปดหนาตางรปูภาพใหม

subplot แบงหนาตางรปูภาพclf ลบรูปในหนาตางรปูภาพ

close ปดหนาตางรปูภาพ

FILE I/O FUNCTIONS

fopen เปดไฟลfclose ปดไฟล

fgetl รับขอมูลในบรรทดัตอไปfprintf เขียนขอมูลลงในไฟล

GRAPHIC HANDLING FUNCTIONS

get อาน handle set ตัง้คา handle

IMAGE I/O FUNCTIONSimread รับขอมูลประเภทรูปภาพimwrite สรางไฟลรูปจากขอมูลimage พล็อตรูป

imagesc พล็อตรูปโดยการทํา scaling ขอมูลกอนcolormap เปลี่ยนโทนสีcolorbar แสดงแถบสเีทียบคา

AUDIO I/O FUNCTIONS

wavread อานขอมูลจากไฟล .wavwavwrite สรางไฟลเสยีงจากขอมูล

wavrecord อัดเสยีงจากอุปกรณอินพุตwavplay สงเสยีงออกทางลําโพง