คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

59
สาระที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เนื้อหา 1. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต จัดทาโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. คาศัพท์ 2. องค์ประกอบของระบบนิเวศ 3. การสารวจระบบนิเวศ

description

สื่อการเรียนการสอนชีววิทยา, ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม, ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา, สื่อการสอน

Transcript of คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Page 1: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สาระที่ 2 สิง่มชีีวิตกับสิ่งแวดล้อม หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

เนื้อหา

1. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

4. ค าศัพท์

2. องค์ประกอบของระบบนิเวศ

3. การส ารวจระบบนิเวศ

Page 2: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาต ิ

Page 3: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ระดับประเทศ และระดับโลกได้

Page 4: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้

2. อภิปรายแนวทางในการป้องกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

Page 5: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้

3. วางแผนและด าเนินการเฝ้าระวัง อนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติได้

Page 6: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

Page 7: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

จ านวนสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน?

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

2,000,000 species

Page 8: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

นักเรียนคิดว่าอะไรเป็นปัจจัยที่มีผลต่อระบบนิเวศ ท าให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Question1

Page 9: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ชาลส์ ดาร์วนิ

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ทฤษฎีการคัดเลือกพันธุ์ตามธรรมชาติ

(natural selection)

Page 10: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง

หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งที่อยู่อาศัย (Habitat) แหล่งใดแหล่งหนึ่ง

สิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต สภาวะแวดล้อม

องค์ประกอบทางชีวภาพ + องค์ประกอบทางกายภาพ

Page 11: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ประชากร (Population)

หมายถึง

สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน ณ เวลาใด เวลาหนึ่ง

Page 12: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

กลุ่มสิ่งมีชีวิต หรือ สังคมของสิ่งมีชีวิต (Community)

หมายถึง

สิ่งมีชีวิตหลายชนิด มีอาศัยอยู่ร่วมกัน

Page 13: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

แหล่งที่อยู่อาศัย(Habitat)

ยกตัวอย่าง?

กระป๋องน้ า

ขอนไม้ผุ

ล าไส้ของสัตว์

รัง

ป่า

ทุ่งนา

แนวปะการัง พื้นดิน ทะเล,มหาสมุทร ต้นไม้ สระน้ าจืด ทะเลทราย

ถังข้าวสาร

Page 14: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

องค์ประกอบทางชีวภาพ

Biotic component หมายถึง

องค์ประกอบของระบบนิเวศที่มีชีวิต ยกตัวอย่าง?

Page 15: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

องค์ประกอบทางกายภาพ

Physical component หมายถึง

องค์ประกอบของระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิต ยกตัวอย่าง?

Page 16: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ระดับของระบบนิเวศ

level of ecosystem

ระดับตัวตน (Individual)

ระดับประชากร

ระดับกลุ่มสิ่งมีชีวิต

(Population)

(Community)

ระดับโลกของสิ่งมชีีวิต (ชีวภาค) Biosphere

Page 17: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต สภาวะแวดล้อม

การศึกษา “ระบบนิเวศ” เป็นการศึกษา เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง?

Question5

Page 18: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การบ้าน กิจกรรมที่ 1 ระบบนิเวศในท้องถิ่น

1. แบ่งกลุ่มๆละ 5 คน 2. แต่ละกลุม่ ศึกษาระบบนิเวศบริเวณใดบริเวณหนึ่งใน ชุมชน /ท้องถิ่น 3. บอกบริเวณ และลักษณะของพื้นที่ที่ศึกษา 4. ส ารวจตรวจสอบว่าในบริเวณที่ส ารวจมีสิ่งมีชวีิตอะไรบ้าง และอธิบายว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านัน้มีความสัมพันธก์ันอย่างไร

5. น าเสนอข้อมูลในชั้นเรยีน

Page 19: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สิ่งมีชีวิต จ ำนวน ลักษณะของสิ่งมีชีวิต

พฤติกรรม

บริเวณที่ส ารวจ ............................... วันที่ ............................................เวลา ........................ รายชื่อสมาชิก

สรุป

Page 20: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บริเวณที่ส ารวจ ............................... วันที่ ............................................เวลา ........................ รายชื่อสมาชิก

สรุป

Page 21: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ บทบาทหน้าที่หรือวิถีเฉพาะ (niche)

1. ผู้ผลิต (Producer)

3. ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saprophyte)

2. ผู้บริโภค (Consumer) 2.1 สัตว์ที่กนิพืช (Herbivore) 2.2 สัตว์ที่กินสัตว์ (Carnivore) 2.3 สัตว์ที่กนิทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)

Page 22: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

หมายถึง

สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ ด้วยกระบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis)

เช่น พืช สาหร่าย แพลงตอนพืช เป็นต้น

ผู้ผลิต (producer)

Page 23: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้

ผู้บริโภค (Consumer)

สัตว์ที่กินพืช (Herbivore) สัตว์ที่กินสัตว์ (Carnivore)

สัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)

Page 24: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

สัตว์ที่กินซากสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว

Scavenger

Page 25: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

แร้ง (griffon)

Scavenger

Page 26: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ไฮยีนา (hygena)

Scavenger

Page 27: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้

ได้รับอาหารจากการปล่อยเอนไซม์ ออกมาย่อยสลาย ซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ แล้วดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย

ได้แก่ แบคทีเรีย เห็ด รา

ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saprophyte)

Page 28: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ล าดับขั้นในการบริโภค (Trophic level)

Producer

1st Consumer

2nd Consumer

3rd Consumer/ top consumer

Page 29: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Producer

1st Consumer

Top consumer

Page 30: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การหมุนเวียนสารและพลังงานในระบบนิเวศ

ผู้บริโภคอันดับ 1

ผู้บริโภคอันดับ 2

ผู้บริโภคอันดับสุดท้าย

Page 31: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

โซ่อาหาร (food chain)

หมายถึง

การถ่ายทอดพลังงาน

จาก ผู้ผลิต ไปยัง ผู้บริโภค ล าดับตา่งๆ

Page 32: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1st consumer 2nd consumer 3rd consumer

4th consumer Top consumer

Page 33: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Law of ten percent

Page 34: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Page 35: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ถ้าในโซ่อาหารแห่งหนึ่งมีล าดับขั้นตอนการกินอาหาร

4 ล าดับ คือ ผักคะน้า --> หนอน --> ไก่ --> คน

ถ้าค านวณพลังงานในการถ่ายทอดในโซ่อาหารนี้เป็นแคลอรี

โดยมีพลังงานเริ่มแรกในผู้ผลติคือผักคะน้าเท่ากับ 2,400 แคลอรี ดังนั้นสิ่งมีชีวิตในล าดับถัดไปจะได้รับพลังงานกี่แคลอรี

Question6

Page 36: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

นักเรียนคิดว่าถา้มีสารพิษปนเปื้อน อยู่ในผู้ผลิต สารพิษจะถูกถ่ายทอด ไปสู่ผู้บริโภคได้หรือไม่ อย่างไร?

Question7

Page 37: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การถ่ายทอดพลังงานไปตามล าดับขั้นการบริโภค สิ่งที่ผ่านมาตามห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารนั้น มิได้มีเพียงสารอาหารเท่าน้ัน แต่มีสารอื่นปะปนมาด้วย เช่น ดีดทีี ปรอท แคดเมยีม ฯลฯ

สารเหล่านี้ไม่ได้ถูกน าไปใช้ในการสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ จึงสะสมอยู่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต แล้วถ่ายทอดต่อ ๆ ไป

ตามล าดับขัน้การบริโภคเข้ามาสู่ผู้บริโภคล าดับสุดท้ายหรือเข้าสู่มนุษย์นั่นเอง

นั่นหมายความว่า ห่วงโซ่อาหารยิ่งยาวการสะสมสารพษิยิ่งมีมากขึน้

Page 38: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สัตว์ที่กินอาหารโดยการกรอง (Filter Feeding) จะสะสมพิษได้สูงมาก โดยเฉพาะหอยนางรมซึง่กินอาหารโดยการกรองอยู่ในน้ าตื้นใกล้ฝั่งทีม่ี

การทิ้งของเสียลงมามากและยังไมท่ันแพร่กระจาย ดังนั้น หอยนางรมจึงมีสารพษิสูงกว่าในน้ ามาก

เช่น พบว่ามียาฆ่าแมลงชนิดคลอริเนทเตท ไฮโดรคาร์บอน (Chlorinated Hydrocarbon) ได้แก่ ดีดทีี (DDT.) ดัลดริน (Duldrin) เอนดริน (Endrin) อัลดริน (Aldrin) คลอเดน (Chlordane) เป็นต้น

ในหอยนางรมสูงกว่าในน้ าถึง 70,000 เท่า ดังนั้นสารจะแพร่กระจายไปตามล าดับขั้นการบริโภคเข้าสู่ผู้บริโภคล าดับ

สุดท้ายหรือเข้าสู่มนุษย์นั่นเอง

Page 39: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ

Page 40: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1. การระเหย = evaporation

3. หยาดน้ าฟ้า = precipitation 2. การคายน้ า = transpiration

4. ธารน้ าแข็ง = glacier

5. น้ าใต้ดิน = underground water

Page 41: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Page 42: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1. การหายใจ = respiration

3. การเผาไหม้ = burning

2. การสังเคราะห์ด้วยแสง = photosynthesis

4. บรรยากาศ = atmosphere

Page 43: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1310

Page 44: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ปัจจัยบางประการทีส่่งผลต่อส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ

จะสรา้งจติส านึกให้เกิดขึ้นได้อย่างไร?

Page 45: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

1. ความสมัพันธ์ทางด้านชีวภาพ

2. ความสัมพันธ์ทางด้านกายภาพ

Page 46: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความสัมพันธ์ทางด้านชีวภาพ

แบ่งความสัมพนัธ์ ได้ 4 ลักษณะ คือ

1. ได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย (+,+)

2. ฝ่ายหนึ่งไดป้ระโยชน์อีกฝ่ายเสียประโยชน์ (+,-)

3. ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์ (-,-)

4. ฝ่ายหนึ่งไดป้ระโยชน์ อีกฝ่ายไม่ได้เสียประโยชน์ (+,0)

Page 47: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ไลเคน (รา + สาหร่าย)

Page 48: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ควาย กับ นกเอี้ยง

นกเอี้ยงกับควาย

Page 49: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ดอกไม้ กบั แมลง

• โดยแมลงกินน ้ำหวำนจำกดอกไม้ และแมลงช่วยผสมเกสรให้กับ

ดอกไม ้

Page 50: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ฉลาม + เหาฉลาม

Page 51: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

นักเรียนลองพิจารณาปัจจัยทางกายภาพต่อไปนี้ ว่ามีผลต่อการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอย่างไร?

• อุณหภูมิ

• แสง

• ความชื้น

• แก๊ส

• ดิน

• แร่ธาตุ

• เสียง

• ความเป็นกรด-เบส

Page 52: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความหลากหลายทางชีววทิยา

ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ความหลากหลายทางพันธกุรรม

Page 53: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Question 7

การอนุรักษ์ธรรมชาติ หมายความว่าอย่างไร และนักเรียนมีแนวทางในการอนุรักษ์ป่าไม้ให้มีความ

สมบูรณ์ได้อย่างไร ?

ตอบเป็นกลอนสุภาพ 2 บท

อ่านให้เพื่อนฟังวันละ 5 คน

Page 54: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Page 55: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การอนุรักษ์ธรรมชาติ หมายความว่าอย่างไร และนักเรียนมีแนวทางในการอนุรักษ์ป่าไม้ให้มีความสมบูรณ์ได้อย่างไร ?

ดิน น้ า อากาศ และปา่ไม ้ เธอรู้ไหมให้คุณค่ามหาศาล

เป็นทรัพยากรเลี้ยงชวีามายาวนาน อนุบาลรักษาไวใ้ห้ยืนยาว

ป่าไม้ไทย สมบัติชาติ พินาศแล้ว คนถางแผ้ว ท าลาย มลายสูญ

เร่งปลูกป่า หาส านึก อยา่อาดูร จงเพิ่มพูน จติอนุรักษ์ พทิักษเ์อย... ณิชัชฌา อาโยวงษ์

Page 56: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ (Ecological succession)

ธรรมชาต ิ มนุษย ์

การเปลี่ยนแปลงของสภาพของระบบนิเวศจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหน่ึง

ชุมชีพขั้นสูงสุด (Climax community)

Page 57: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ

(Ecological succession)

1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ระยะแรก (Primary succession)

2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ระยะที่สอง (Secondary succession)

Immediate, Rapidly

Proceed gradually, slowly

Page 58: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ (Ecological succession) แบบที่ 1

Page 59: คลิก Download บทที่ 5 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

แบบที่ 2