โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

126

description

 

Transcript of โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

Page 1: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

ผลงานวิจัยเดน ประเด็นนาวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โจทยวิจัยสพฐ.4ใหม

Page 2: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

โจทยใหม วิจัย สพฐ.

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2555

Page 3: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาต ิNational Library of Thailand Cataloging in Publication Data.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. โจทยใหม วจิยั สพฐ..-- กรุงเทพฯ : สํานักงาน, 2555. 120 หนา.

1. การศึกษาข้ันพื้นฐาน. I. ชือ่เร่ือง.

370.111 ISBN 978-616-202-611-9

พิมพครั้งที่ 1 มิถุนายน 2555 จํานวนพิมพ 500 เลม จัดพิมพโดย สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0 2288 5882 โทรสาร 0 2281 5216 Website: http://inno.obec.go.th/ พิมพที่ หจก.ศรีบูรณคอมพวิเตอร-การพิมพ 338/3-4 ซ.จุฬา40 ถ.พระราม 4 แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท 0 2215 4506 โทรสาร 0 2611 9043 E-mail: [email protected]

Page 4: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

คํานํา

การจัดการศึกษาในยุคปจจุบันตองเทาทันความเปนไปของโลก นโยบายการศึกษาตองเหมาะกับสภาพการณและมีประสิทธิผล สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปนหนวยงานหลักรับผิดชอบการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศไทย เล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการวิจัยเพื่อกําหนดนโยบายและขับเคล่ือนการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ จึงมอบหมายใหสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาแสวงหาแนวทางการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน หนังสือ “โจทยใหม วิจัย สพฐ.” ฉบับน้ี จัดทําข้ึนเพื่อนําเสนอโจทย ทิศทาง การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเผยแพรผลงานวิจัยสวนหน่ึงท่ีสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษารับผิดชอบแกครู บุคลากรทางการศึกษาและผูเก่ียวของ เพื่อใหเกิดความเขาใจและเห็นภาพท่ีชัดเจนรวมกันในทิศทางการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานในปจจุบันและอนาคต สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือน้ีจะชวยใหครู บุคลากรทางการศึกษาและผูเก่ียวของเห็นโจทยการทํางาน และทิศทางการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน และรวมมือรวมพลังกัน “ตอบโจทย” เพื่อใหการจัดการศึกษาบรรลุสูความสําเร็จตอไป

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 5: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข 1. ขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพฒันาการศึกษาข้ันพื้นฐาน: มมุมองของ

ผูทรงคุณวุฒิ…………………………………………………………… 1 2. การสังเคราะหการบริหารจดัการงานวิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรม

การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) …………………………………………………………… 23

3. แนวทางการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ………….…… 43 4. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัย

ของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา………………………………..……. 69 5. การพฒันาสูตรการจัดสรรงบประมาณเพือ่พัฒนาประสิทธภิาพการใชจายเงิน

งบประมาณในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และการจัดทําตัวชีว้ัดสถานะเศรษฐกิจ และสังคมระดับโรงเรียน ระยะท่ี 1………………..………… 93

6. การศึกษาเกณฑมาตรฐานความสามารถดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ของประเทศตะวันตก…………….…… 103

7. การพัฒนามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลาย สําหรับการศึกษาข้ันพื้นฐาน……………………………………………. 111

Page 6: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 1

ขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน: มุมมองของผูทรงคุณวุฒ ิ

กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา1

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (กพฐ.) ไดแตงต้ังคณะอนุกรรมการดานวิจัย

การศึกษาข้ันพื้นฐาน2 เมื่อ 26 กุมภาพันธ 2552 มี ดร.กฤษณพงศ กีรติกร เปนประธาน และผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาเปนเลขานุการ ในป พ.ศ.2552 คณะอนุกรรมการฯ ไดรวมประชุม จํานวน 6 คร้ัง เพื่อกําหนดทิศทางและโจทยการวิจัยใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความคาดหวังของการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีมีเปาหมายคือเด็กวัยเรียนท้ังประเทศ ในการกําหนดทิศทางการวิจัยคร้ังน้ี กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา ซึ่งมีบทบาทเปนผูชวยเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ ไดดําเนินการขอความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ เก่ียวกับมุมมองตอแนวทางการวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสรุปนําเสนอใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณา ซึ่งขอคิดท่ีไดมีคุณคาและยังคงทันสมัย จึงนํามาเสนอไวในตอนท่ี 1-2 และตอนท่ี 3 เปนกรอบการวิจัยและโครงการวิจัยท่ีดําเนินการในป 2553-2554 ตอนที่ 1 ขอคิดในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษาไดสรุปขอคิดของผูทรงคุณวุฒิ แตละทาน ซึ่งเปนมุมมองที่เปนประโยชนยิ่งในการนํามาพิจารณาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผูเก่ียวของในการจัดการศึกษาทุกระดับ ดังน้ี 1 ดร.วิภาพร นิธิปรีชานนท, ดร.อรนุช มั่งมีสุขศิริ, สุดจิตร ไทรนิ่มนวล, พิทักษ โสตถยาคม และดร.พลรพี ทุมมาพันธ

2 ดร.กฤษณพงศ กีรติกร, ดร.ประพัฒนพงศ เสนาฤทธิ์, รองเลขาธิการ กพฐ., ดร.สีลาภรณ บัวสาย, ศ.ดร.สุวิมล

วองวาณิช, รศ.ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, รศ.ดร.ส.วาสนา ประวาลพฤกษ, รศ.ดร.นาตยา ปลันธนานนท, ดร.อมรวิชช นาครทรรพ, ดร.มลิวัลย ธรรมแสง, ดร.เพชรา พิพัฒนสันติกุล, ดร.พรชัย อินทรฉาย, สุรางค โพธิ์พฤกษาวงศ, ที่ปรึกษาดานมาตรฐานการศึกษา, ที่ปรึกษาดานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน, ผอ.สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ผอ.สํานักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน, ผูเช่ียวชาญดานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู, ผูเช่ียวชาญดานวิเคราะหวิจัยการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ผอ.สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

Page 7: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

2 | หนา

ศาสตราจารย นพ.ดร.ไกรสิทธ์ิ ตันติศิรนิทร สภาพปจจุบัน&ปญหา เด็กไทยออนท้ังทักษะการแกปญหา ทักษะการเรียนรู

ทักษะการเอาตัวรอด ทักษะภาษา ทักษะการส่ือสาร ทักษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ แนวทางพัฒนา

(1) เนนท่ีตัวเด็ก ควรมีการ Screen ความพรอมของเด็ก เชน ดานกาย อารมณ สังคม สติปญญา อาจมีเคร่ืองชี้วัดความเจริญเติบโตดานตางๆของเด็ก เปนระยะ/ชวงเวลา เชน ป.1, ป.3, ป.6 เพื่อรู&พัฒนา และสงตอเด็กไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังเปนฐานขอมูลทางการศึกษาท่ีสําคัญของประเทศ (2) คิดเชิงระบบเพื่อคุณภาพการศึกษา ดูวาระบบบริหารจัดการเอื้อหรือไม แนวคิดบางอยางไมถูกนําไปปฏิบัติเพราะ Top down หรือไม ความตอเน่ืองของการสงตอเด็กจากปฐมวัยสูประถมศึกษาสูมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาดีพอหรือยัง กระบวนการเรียนการสอนเปนแบบ Problem Based/ Process Based ท่ีควบคูกับ Content Based (เทาท่ีจําเปน) แลวหรือไม ในการแกปญหาโดยการวิจัยควรใชแนวคิดเชิงระบบเปน Education System Research หรือ Education Research System ท่ีเนนคุณภาพของเด็ก ท้ังน้ีการพัฒนาระบบการศึกษา หรือ Education Service System อาจเทียบเคียงกับการพัฒนาระบบสาธารณสุขท่ีทําไดสําเร็จ และศึกษาแนวคิดระบบการศึกษาของ UNESCO รวมท้ังประเทศท้ังโลกตะวันตก/ ออก นอกจากน้ันมองหา Risk หรือ Bottle Neck แลวพัฒนาจาก Minimum ขึ้นไป และมุงพัฒนาคุณภาพและ cost effectiveness (3) นํา Operation Research มาใชทุกระดับเพื่อใหเกิด Innovation ดู Good Practices ใช Result Based ดู Cost Effectiveness และประเมินตาม Profile ท้ังโรงเรียนและสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

Page 8: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 3

คุณปยะบุตร ชลวิจารณ สภาพปจจุบัน&ปญหา การบริหารจัดการไมมุงคุณภาพผูเรียน, ผูบริหารโรงเรียน

ขาดความเปนผูนําทางวิชาการ, การสอนยึดเพียงตํารา, ครูไมไดใชเวลาเพื่อการเตรียม การสอนและพัฒนาเด็กจริงจัง, ครูมีความรูไมเพียงพอในบางเน้ือหาสาระท่ีควรสอนเด็ก

แนวทางพัฒนา สรางความรวมมือของภาคีเครือขาย (พอแมผูปกครอง ชุมชน ภาควิชาการ ภาคเอกชน อปท.), เปาหมายที่ตัวเด็กเนนเรียนใหรูจริงและคิดเปน, เนน Research Based/ Project Based/ Activity Based/ Experimental Based Learning, สราง source of multimedia เพื่อการเรียนรูของครูและเด็ก, สรางแรงจูงใจครูสาขาขาดแคลนดวยการเพิ่มเงินพิเศษ, กําหนดเกณฑและวิธีการประเมินวิทยฐานะครูใหม, พัฒนาเด็กปฐมวัย, กระจายอํานาจการดูแลโรงเรียนของ สพฐ.ไปยัง อปท.อยางจริงจัง เพื่อใหโรงเรียนเปนของชุมชน, ปรับปรุงระบบ operation ลดขั้นตอน/ กระจายอํานาจ คุณอมเรศ ศลิาออน

สภาพปจจุบัน&ปญหา ศธ.ขาด Discipline ในการใชงบประมาณ/ทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา, ไมไดเรียนรูจากความผิดพลาดในอดีต, การศึกษาสรางคนใหทําอะไรไมเปน(เชิงวิชาชีพ), ปญหาคุณภาพเด็ก เด็กไมรูวาตนเองถนัดอะไร ควรเรียนอะไร มีเด็กจํานวนมากเรียนในส่ิงท่ีไมถนัด เด็กมีปญหาในการตัดสินใจ, ปญหาคุณภาพครู เปนผลจากเมื่อ 20 ปท่ีแลวปลอยใหใครก็ไดมาเปนครู เพื่อแกปญหาขาดแคลนครู และปจจุบันความกาวหนาของครูไมไดขึ้นอยูกับความสามารถทางวิชาชีพท่ีแทจริง

แนวทางพัฒนา เร่ืองเด็ก ควรแบงกลุมเด็กตามความถนัด ตองวัดความถนัดของเด็กใหพบ วาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็กเลือกใหเรียน/ทําในส่ิงท่ีเด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน เชนเดียวกับวิธีของประเทศเยอรมัน, เร่ืองครู ตองหาวิธีวัดฝมือครู/ หาวิธี identifyครูดี อาจใชการสอบเพื่อพิสูจนทักษะฝมือ ใหสอนแลวมีคนไป observe หรือใหมีคนสักกลุมหน่ึง/นักวิชาชีพเปนผูตัดสิน

Page 9: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

4 | หนา

วามีฝมือถึงหรือยังในการเล่ือนระดับ นอกจากน้ันควรใชหลักปาเรโต 20/80 คือ หาใหพบวาครูดี 20% คือใคร แลวนํามาพัฒนาดานความสามารถการสอน ใหกลับไปทํางานและพัฒนาคนอื่นตอไป ซึ่งควรทําอยางเปนทางการ สําหรับการสรางครูพันธุใหม ควรทําแนวของประเทศฟนแลนด/ไอรแลนดคือ ต้ังเงินเดือนครูใหเทาหมอ, ใหอัตราข้ึนเงินเดือนครูใหเร็วกวาอาชีพอื่น, รับคนเปนครูจาก 5%ของกลุม Top ของมหาวิทยาลัย เปนตน สุดทายไดใหหลักในการพัฒนางานวา ควรทําในสิ่งท่ีสําคัญจําเปนจริงๆกอน เพราะเรามีทรัพยากรจํากัด ตองจัดลําดับความสําคัญ สําหรับเร่ืองการศึกษาตองทําเร่ืองเด็กเปนอันดับหน่ึง เร่ืองครูเปนอันดับสอง และเร่ืองโรงเรียนเปนอันดับสาม ศาสตราจารย นพ.วิจารณ พานิช

การศึกษาข้ันพื้นฐานตองเอาใจใสเร่ืองอาชีพ หลักสูตรตองไม one size fit all ควรเปดใหหลากหลาย ทําอยางไรการพัฒนา

หลักสูตรจะไมใหทําแตในกระดาษ ควรไปหาวาท่ีไหนทําดีแบบท่ีเราอยากเห็น และเปดใจกวางใหเขาปรับตามเง่ือนไขของเขา ใหไดตามเปาหมาย แตวิธีปฏิบัติแตกตาง ใหไปจับภาพ (หา best practices) หาความสําเร็จท่ีเราอยากเห็น เราตองหาวิธีการสืบเสาะใหได แตระวังจะโดนตม (เอาของเทียมมายอมแมว)

ตองวิจัยวาทําไมคนเหลาน้ีทําไมจึงทํา เราจะ facilitate เขาอยางไร และจะขยายไดอยางไร เราตองเอาใจใสหัวขบวนที่ดี (ครูดีๆ)

ปญหาครูดีๆ ออกไปเพราะ early retry เปนเพราะระบบ HRD (Human Resource Development) ของเราผิด และระบบไมลุมลึกพอ น่ันคือ ไมยกยอง ไมใหเกียรติ ไมให reward ครูดี หากครูท่ีสอนดีๆ เราจะใหเงินเดือน 2 เทาไดหรือไม แตเรากลับ treat ครูดีเย่ียมกับครูเลวเหมือนกัน

ทําอยางไรเราจะแยกครูดีจริงๆ ออกจากครูท่ัวไปได ท่ีสําคัญคือตองดูท่ีลูกศิษย เราตองการระบบหลักสูตร ระบบบริหารจัดการ ระบบ HRD ท่ีหนุนคนดี และชวย

Page 10: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 5

แยกแยะครูดี/ ไมดี ปจจุบันเราใหคุณคากับบริบทมากกวาการดูแลลูกศิษย ควรเนนท่ีการเรียนรู ไมใชเนนท่ีการสอน การเรียนรูน้ีตองการความรูแบบ tacit knowledge ถาใหครูเลาถึงเด็กเกเรแลวสามารถชวยได ครูเลาดวยความภูมิใจในความเปนครู เขาจะเปน somebody จะทําชั่วไมได จะทําแตส่ิงดี

เราจะหาศึกษานิเทศกท่ีริเร่ิมสรางสรรค /สงเสริมการออกนอกกรอบ เพื่อส่ิงดีๆ ชวยใหครูทําหนาท่ีครูใหดีขึ้นอยางไร เปนการหาการนิเทศเพื่อใหเกิดคุณภาพไดอยางไร/ หาวิธีการนิเทศท่ีดี

วิธีคิด (paradigm) ท่ีเก่ียวกับการเรียนรู ท่ีครอบงําคนวงการศึกษาคือ การเรียนรูแบบถายทอด/ ฝก เปนแบบ training mode แบบ transfer mode ซึ่งไมถูกตอง ตองเปน Learning Mode ตองงอกงามมาจากภายในใจ/ ภายในสมอง ผานการปฏิบัติดวยตนเอง (Action) คอยๆ งอกงามมาจากภายใน

ครูสอนดี ทําไมเราจึงคิดวาสอนดี ตองชวย/ กระตุนใหลูกศิษยเกิดแรงบันดาลใจ เกิดความใฝฝน ใหความฝนลุกโชนข้ึนมา สรางความมั่นใจ มุมานะ วาเราจะสามารถทําได ครูจะรูวาลูกศิษยคนไหนจะจุดประกายแบบไหน ซึ่งแตกตางกัน

โจทยการวิจัยน้ีวาดวยการเรียนรู วิจัยไมใชเพื่อรู แตเพื่อการเปล่ียนแปลง ตองหาความสําเร็จ มาตอยอด ขยายผล

ควรวิจัยระบบการเงินการคลังเพื่อระบบการศึกษา ทําไมเราใชเงินมากข้ึน แตคุณภาพลดลง เราใชทรัพยากรอยางฉลาดหรือยัง เราควรออกแบบระบบใหเงินลงไปยังโรงเรียนโดยตรงเลยหรือไม เชน สมศ.ประเมินวามีโรงเรียน 8,000 แหงพรอม นาจะใหเปนนิติบุคคล แต สพฐ.ยังไมปลอย

ระบบบริหารงานบุคคลท่ีดีของ สพฐ.คืออะไร ซึ่งระบบท่ีดีตองใหทุกคนรวมรับผิดชอบ

เร่ือง เขตพื้นท่ีการศึกษา เปนการออกแบบโครงสรางทางการศึกษาท่ีถูกหรือผิด การกระจายอํานาจท่ีดีควรเปนแบบใด ควรจะไปเขตหรือควรตรงไปยังโรงเรียน

Page 11: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

6 | หนา

รองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ โรงเรียนเล็ก จะทําใหเกิดคุณภาพข้ึนมาไดจะตองทําอยางไร อาจหลอมรวม

โรงเรียน หรืออะไร ถาคําตอบคือการหลอมรวมโรงเรียนจะตองทําอยางไร ควรคนหาความจริงวา การมีโรงเรียนขนาดเล็กมีผลเสียตอคุณภาพการศึกษาอยางไร หรือจะมีวิธีการอยางไรทําใหการศึกษามีคุณภาพ คะแนนทดสอบท่ีฉุดผลประเทศมาจากโรงเรียนเล็ก จะทําอยางไร/ มีวิธีการอะไรในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในเวลาอันรวดเร็ว ขณะน้ีเรามีโรงเรียนมากเกินไปจริงๆ ปญหาคือเราปดโรงเรียนไมได

Governance ของ สพฐ. ควรศึกษาวาขณะน้ีมีปญหาอะไรบาง เร่ืองหนึ่งท่ีมีปญหาคือ สพฐ.ไมสามารถดําเนินการเรื่อง การยายครู/ บุคลากรได เพราะติดกฎ ก.ค.ศ. ท่ีระบุวา จะไมสามารถยายครูได ถาครูไมอยากยาย ซึ่งทําใหไมสามารถเกล่ียอัตราได

ระบบ IT ทําอยางไรท่ีจะกดแลวสามารถรูขอมูลตางๆ ของการศึกษาไดอยางรวดเร็วทันความตองการใชงาน เชน ขอมูลการเกษียณของครูและบุคลากร

ตอง Motivate ใหครูทํางานเต็มท่ี แตตองไมใชเร่ืองเงินอีกแลว ตองปลุกครูท่ีหลับใหต่ืนขึ้นมา ตองใหเห็นวา งานครูมีคุณคาสูงสง โดยทองถิ่นมีสวนรวม/ บีบบังคับ ชุมชนตรวจสอบเอง ตองชี้ใหเห็นวาไดเงินเดือนเทาไรก็ตองรับผิดชอบ และเร่ืองครูน้ีทําอยางไรจะจูงใจใหครูยายไปในสถานท่ีท่ีควรไป ไมกระจุกตัวอยูเฉพาะในเมือง

ควรมีการติดตามดูวาการถายโอนโรงเรียนไปยัง อปท.มีการจัดการ และคุณภาพเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง

อะไรเปน consensus ของหลักสูตรท่ีหลายๆ หนวยงานทําหลักสูตร วาควรสอนอะไรเด็กบาง และทําอยางไรใหเปนไปตามความคาดหวัง

ควรมีการศึกษาวามีเครือขายครูและบุคลากรทางการศึกษาอยูกี่เครือขาย เพราะมักมีการใชเครือขายเหลาน้ีในการตอรอง และแสวงหาผลประโยชนเขากลุม ควรมีวิธีการจัดการกับกลุมการเมืองเหลาน้ีท่ีจะเขามามีผลประโยชนเก่ียวพันทางการศึกษา

ควรศึกษาวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญของความแตกตางเร่ืองคุณภาพการศึกษา

Page 12: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 7

คุณนิพนธ สุรพงษรักเจริญ จะทําอยางไรใหมีความสมดุลระหวางการทองจํา และการคิดเปน การสอนตองสนุก ตองใช project based learning มาใช พัฒนาขีดความสามารถ

ของเด็กใหมีความสามารถท้ัง Global และ Local ตองสอน learn how to learn เนน competency ของผูเรียน ครูตองเปน facilitator ตองออกแบบใหเด็กคิด ทํา นําเสนอ

การพัฒนาเด็กตองเปนเร่ืองของ learning (ไมใช teaching) เมื่อเนนท่ีการเรียนรูเด็กจะไดฝกความเปนผูนํา การทํางานเปนทีม ฝกนิสัยอดทนอดกล้ัน แบงปนความรูกันและกัน คิดเปนระบบ และมีนิสัยใฝรู เราตองฝกเด็กใหทันการเปล่ียนแปลง มี self learning จึงจะสามารถสู global ได

ควรมีการเชื่อมโยงความรูของการพัฒนาจากหนวยงานตางๆ เชน สสวท. สวทช. หรือจาก สพฐ.เองมาใชในการพัฒนาเด็ก

การปฏิรูปการศึกษาควรปฏิรูปท่ีวัฒนธรรม แตปญหาคือ รากเหงาของระบบราชการเปล่ียนยาก การจะพัฒนาไดน้ัน คนในหนวยงานตองรูปญหาและจุดพัฒนาของตนเอง เชนเดียวกับคนไขจะรักษาไดตองรูตัวเอง/ยอมรับวาตนเองปวยกอน ส่ิงท่ีสะทอนความลมเหลวของการศึกษาท่ีชัดเจนคือ การท่ีพอแมวิ่งหาโรงเรียนดีใหลูก

แนวทางพฒันาคือ ใหทําโครงการโรงเรียนนํารอง เชนเดียวกับโครงการหลวง ทําเล็กๆ ใหสําเร็จ มีระบบอัดฉีดใหผูบริหาร ครู มกีระบวนการประเมินผลงานท่ีเหมาะสม

ควรทํายุทธศาสตรของ สพฐ. อีก 20 ปขางหนา ใหชัดเจน ควรใหบอรด กพฐ. เลขาธิการ กพฐ. และ รมว.ศธ.ใหฝนใหเหมือนกันกอน

Page 13: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

8 | หนา

คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา แบงเปน 2 สวน คือ (1) ประเภทของการวิจัย และ(2) ขอคิดตอการวิจัย ดังน้ี 1. ประเภทของการวิจัย ท่ีตองการเห็นมี 4 ประเภท ไดแก 1.1 สรางองคความรูใหม ซึ่งไมจําเปนตองเปน สพฐ.ทําเสมอไป เชน เร่ือง Brain Based Learning, พฤติกรรมการเรียนรูแบบไทย, child development, การเรียนรูภาษาไทย เปนตน ซึ่งเปนเร่ืองท่ียังเปนชองวางอยู และสวนใหญมักอาศัยงานวิจัยตางประเทศ ซึ่งงานวิจัยประเภทน้ีไมคอยมีใครทํา นาจะประสานงานกับมหาวิทยาลัยเพื่อใหเกิดการสรางองคความรูใหม 1.2 การสรางนโยบายใหม มองไปขางหนา ในลักษณะเชนเดียวกับท่ีอาจารยกฤษณพงศ ไดชวย สกอ. เร่ืองแผน 15 ป โดยท่ีมาของแผน15 ป ก็มาจากงานวิจัยประเภท Future Oriented งานวิจัยประเภทน้ีกลุมผูทรงคุณวุฒินาจะชวยดําเนินการได 1.3 การขับเคลื่อนนโยบาย การถอดประสบการณจากการขับเคล่ือนนโยบาย งานวิจัยประเภทน้ี สพฐ.นาจะมีขอมูลท่ีวาจุดออนอยูตรงไหน ซึ่ง คน สพฐ.นาจะเปนหัวหนาทีมได 1.4 การวิจัยปฏิบัติการ(action research) เชน การสอน การทํางานฝายการเงิน 2. ขอคิดตอการวิจัย มีดังน้ี 2.1 ตองสงเสริมใหคนในองคกรทํางานแบบ evidence based และให ทุกคนทํางานวิจัย ไมวาบุคคลน้ันจะอยูในตําแหนงไหน จะจบการศึกษาระดับใด ควรสามารถทํางานวิจัยได ยกตัวอยางเชน นักการภารโรงท่ีวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม เมื่อ 20 ปท่ีแลว ภารโรงทํางานวิจัย เขาไปในหองโรนียวเอกสาร ภารโรงคนนี้ขึ้นขอมูลบนชารตขางฝาหองเลยวา เดือนท่ีหน่ึง ใชกระดาษเทาน้ี ใชหมึกเทาน้ี แลวเขาไดปรับเปล่ียนวิธีการอยางไร เพราะฉะน้ันเดือนท่ีสองกระดาษ เขาเสียนอยลงอยางไร แลวหมึกเสียนอยลงอยางไร ดังน้ันถาเราสามารถพัฒนาคนของเราใหมีความรูสึกวาเขา

Page 14: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 9

สามารถทํา action research ปรับปรุงตัวเอง ทดลองวิธีใหมๆ อันน้ีเปนวิธีท่ีควรจะปลูกฝงคนของเราทํางานเชิงวิจัย ทํางานเชิง evidence based 2.2 งานวิจัยบางอยางท่ีคนอื่นทํายาก แต สพฐ.ทําได โดยเฉพาะเร่ืองเด็ก เพราะไมมีใครท่ีน่ังอยูกับเด็กปละ 200 วันตอเน่ือง และถาเราไมรูเร่ืองเด็กดีท่ีสุด แสดงวานาจะมีอะไรนาผิดปกติ ดังน้ันงานวิจัยระยะยาวตอเน่ืองนานๆ เฝาเด็ก ต้ังแตเร่ิมหลักสูตรใหมจนถึงวันสุดทาย งานประเภทน้ีเรานาจะทําได หรือวางานวิจัยท่ีเก่ียวกับเยาวชนวัยรุน ใหพยายามคิดงานวิจัยท่ีคนอื่นทําไมได ซึ่งตองทําอยางลึกซึ้งตอเน่ืองและไมฉาบฉวย 2.3 การทํางานรวมกับองคกรอื่น ความพยายามท่ีทีมงานวิจัยริเร่ิมทําในคร้ังน้ีเปนจุดเร่ิมตนท่ีดี เพียงแตบอยคร้ังท่ีเรามอบใหมหาวิทยาลัยทํางานแลว counterpart ของเราไมเขมแข็งเทาท่ีควร แทนที่เราจะไดเรียนรูจากวิธีการทํางานของเขา และวิธีการถอดบทเรียนลงสูการปฏิบัติ ชองวางตรงนั้นมันมากไป แตถาทุกสํานักใน สพฐ.มี counterpart เปนมหาวิทยาลัย คิดวานาจะเกิดผลดีกับท้ังสองฝายคือ มหาวิทยาลัยก็เขาใจงานของเรามากข้ึน และคนท่ีรับชวงหรือรับลูกไมควรไปกองอยูท่ีสํานักเดียว อยากเห็นสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (หนวยงานกลางดานวิจัยของ สพฐ.) เปน quarterback ในอเมริกัน ฟุตบอล คือ สงใหลูกใหกับคนอื่น/สํานักอื่น ซึ่งคิดวา quarterback เปนตําแหนงท่ีสําคัญมากในการวางแผนและสงลูก 2.4 การทํา Meta Analysis Research วาใครเคยทําอะไรในแตละเร่ือง นาจะจางใครทํา และมีหัวขอท่ีเก่ียวของกับการศึกษาข้ันพื้นฐานอกีมาก ซึ่งเรานาจะใชประโยชนได 2.5 ควรกระจายงานวิจัยใหผูอํานวยการเขตพื้นท่ีการศึกษาทํา และจัดใหมี พี่เล้ียง โดยเฉพาะงานวิจัยประเภทท่ี 3 (การถอดบทเรียนการขับเคล่ือนนโยบาย) สวนบุคลากรของ สพฐ. ท่ีไปเรียนตอปริญญาโท ปริญญาเอกควรกระตุนใหทํางานวิจัยประเภทท่ี 1 (การสรางองคความรูใหม) และประเภทท่ี 2 (การสรางนโยบายใหม)

Page 15: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

10 | หนา

ตอนที่ 2 ประเด็นนาวิจัยที่ไดจากผูทรงคณุวุฒิ

จากการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับประเด็นท่ีนาวิจัยท่ีไดจากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการฯ 17 คน การประชุมกลุมผูทรงคุณวุฒิ 6 กลุม จําแนกตามเปาหมายของการวิจัย 4 ประการคือ (1) การวิจัยเพื่อสรางองคคามรูใหม (2) การวิจัยเพื่อสรางนโยบายใหม (3) การวิจัยเพื่อขับเคล่ือนนโยบาย และ(4) การวิจัยเพื่อเทาทันสภาวการณ และจําแนกตามกลุมเปาหมายหรือกลุมเร่ือง ซึ่งมีผลดังตอไปน้ี 2.1 ดานผูเรียน (เปาหมาย มาตรฐาน และการประเมนิ)

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/

R&D -การพัฒนามาตรฐานหลักสูตร/ New Setting Standard -การวิเคราะห/ ประเมินความเหมาะสมของมาตรฐานหลักสูตรแตละกลุมสาระฯ -การศึกษา/วัดสมรรถนะดานตางๆ ของเด็กแตละชวงวัย -เปาหมายดานคุณภาพการเรียนรูของเด็กที่เห็นสอดคลองตรงกันของ stakeholder -อีก 10 ปขางหนา เราตองการใหเด็กไทยเปนอยางไร -เปาหมายที่ตัวเด็กเนนเรียนใหรูจริงและคิดเปน -วิจัยพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุมเด็กพิเศษ

สรางนโยบายใหม/ ช้ีทิศทาง

-การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ -การคนหาความถนัดของเด็กใหพบวาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็กเลือก ใหเรียน/ทําในส่ิงที่เด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน

ขับเคล่ือนนโยบาย/Action Research

-พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก /เด็กการศึกษาพิเศษ -พัฒนาเด็กความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตรดวยระบบพ่ีเล้ียงและเครือขายครู

Page 16: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 11

เปาหมายการวิจัย ประเด็น เทาทันสภาวการณ

(เฝาระวัง) -สไตลการเรียนรูของเด็ก -ควรมีการ Screen ความพรอมของเด็ก เชน ดานกาย อารมณ สังคม สติปญญา อาจมีเคร่ืองช้ีวัดความเจริญเติบโตดานตางๆของเด็ก เปนระยะ/ชวงเวลา เชน ป.1, ป.3, ป.6 เพื่อรู&พัฒนา และสงตอเด็กไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนฐานขอมูลทางการศึกษาท่ีสําคัญของประเทศ -ติดตามเด็กระยะยาวตอเนื่อง/เฝาดู/เฝาระวัง

2.2 ดานครู (ลักษณะครู การพัฒนาครู และการเรียนรูของครู)

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/

R&D -ศึกษา concept/ ความเขาใจของครูเก่ียวกับการประเมินอิงมาตรฐาน -วัดสมรรถนะ/ความรูความสามารถของครู -พัฒนาระบบ/กลไกสนับสนุนการสอนของครู เชน coaching node,reward system -วิจัยพัฒนาครูจําแนกกลุมเปาหมายดวยวิธีการท่ีแตกตางกัน เชน กลุมนักศึกษาครู, ครูใหม 2 ปแรก, ครูในระบบ, ครูที่เรียนบัณฑิตศึกษา, ครูที่มีวิทยฐานะ, ครูเกษียณฯ -วิจัยพัฒนาครูใหเกง ดี มีสุข โดยวิจัยเอกสาร, ศึกษา how to, การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา -ตองหาวิธีวัดฝมือครู/ หาวิธี identifyครูดี อาจสอบเพื่อพิสูจนทักษะฝมือ โดยใหสอนแลวมีคนไปสังเกต หรือใหนักวิชาชีพเปนผูตัดสินวามีฝมือถึงหรือยังในการเล่ือนระดับ

Page 17: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

12 | หนา

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/

ช้ีทิศทาง -การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ -กําหนดเกณฑและวิธีการประเมินวิทยฐานะครูใหม / หาวิธีที่เหมาะสมในการประเมินผลงานครู ดูจากครูดีๆที่ทําเพื่อศิษยจริงๆ ควรยกเลิก report based -สรางแรงจูงใจครูสาขาขาดแคลนดวยการเพิ่มเงินพิเศษ - Motivate ใหครูทํางานเต็มที่ ปลุกครูใหต่ืน ใหเห็นวางานครูมีคุณคาสูง - หาใหพบวาครูดี 20% คือใคร แลวนํามาพัฒนาความสามารถการสอน ใหกลับไปทํางานและพัฒนาคนอื่นตอไป ซึ่งควรทําอยางเปนทางการ -การสรางครูพันธุใหมแบบฟนแลนด/ไอรแลนดคือ ต้ังเงินเดือนครูเทาหมอ, เงินเดือนขึ้นเร็วกวาอาชีพอื่น, รับคนเปนครูจาก 5%ของกลุม Top ของมหาวทิยาลัย เปนตน -พัฒนาระบบ Human Resource Development แยกครูดี/ไมดี ให reward ครูสอนดี

ขับเคล่ือนนโยบาย/Action Research

-พัฒนาบรรยากาศการเรียนรูและสังคมแหงการเรียนรูของครู -พัฒนาระบบขอมูลครูมืออาชีพ รวมนวัตกรรมการแกไขปญหา รูวาครูเกงคือใคร อยูที่ใด เกงเร่ืองอะไร เปนแบบ portfolio เปน resource ของ สพท.และมหาวิทยาลัย -การจัดทําฐานขอมูลการวิจัยของเด็กและครู -วิธีการจัดการศึกษาใหผูเรียนเรียนรูไดดวยตนเอง -การใชการวิจัยปฏิบัติการเพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมการสอนของครู -รูปแบบการสงเสริมการวิจัยในช้ันเรียนของครูที่เหมาะสมในแตละขนาดโรงเรียน -แลกเปล่ียนเรียนรู สราง CoP กลุมโรงเรียนผานการประชุม/website

เทาทันสภาวการณ (เฝาระวัง)

-การทํางาน/ การใชเวลาของครู การจัดการเรียนการสอน การนิเทศ -เปรียบเทียบการสอนของครูทําผลงานวิทยฐานะกับครูที่ไมทําผลงาน

Page 18: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 13

3. ดานผูบริหารและผูเก่ียวของ (โรงเรียน สพท. ผูปกครอง และชุมชน)

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/

R&D -พัฒนาระบบการบริหารจัดการการประเมินอิงมาตรฐาน -ควรมีการบริหารจัดการเพ่ือใหเกิดการจัดการศึกษาท่ีเนนการทํางานไ ด จ ริ ง เ ช น ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย / ศู น ย พั ฒ น า ฝ มื อ แ ร ง ง า น /สถาบันอุดมศึกษาเพื่อรับและสงตอเด็ก -วิจัยพัฒนาผูบริหารใหเกง ดี มีสุข โดยวิจัยเอกสาร, ศึกษา how to, การประกันคุณภาพภายในโรงเรียน

สรางนโยบายใหม/ ช้ีทิศทาง

-การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ -พัฒนาระบบการแตงต้ัง/ การเล่ือนระดับ/ การลดระดับ/ การปลดผูบริหารโรงเรียน -พัฒนาผูบริหารสถานศึกษาใหเปนผูนําทางดานวิชาการ/ เนนวิชาการ -การบริหารจัดการของเขตพื้นที่การศึกษาท่ีเหมาะสมเก่ียวกับการเรียนรวมสําหรับเด็กการศึกษาพิเศษ

ขับเคล่ือนนโยบาย/Action Research

- Empowerment บทบาทของศึกษานิเทศกในเขตพื้นที่การศึกษา -จะหาศึกษานิเทศกที่ริเร่ิมสรางสรรค /สงเสริมการออกนอกกรอบ เพื่อส่ิงดีๆ ชวยใหครูทําหนาที่ครูใหดีขึ้นอยางไร เปนการหาการนิเทศเพื่อใหเกิดคุณภาพไดอยางไร/ หาวิธีการนิเทศที่ดี -เสริมพลังอํานาจ (Empowerment) ผูปกครอง ชุมชน องคกรทองถ่ินพัฒนาการเรียนรูของเด็ก -สงเสริมให ผอ.สพท.ถอดบทเรียนการขับเคล่ือนนโยบาย โดยสพฐ.สนับสนุนพี่เล้ียง -ศึกษากระบวนการปฏิบัติงานของผูบริหารสถานศึกษา -พัฒนาวัฒนธรรมการสรางนวัตกรรมใหอยูในวิถีชีวิตของบุคลากร

เทาทันสภาวการณ (เฝาระวัง)

-การมีสวนรวมของคณะกรรมการสถานศึกษา , การได รับการสนับสนุนชวยเหลือจาก สพท., การบริหารงานดานตางๆของโรงเรียน

Page 19: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

14 | หนา

4. ดานหลักสูตร การสอน และส่ือการเรยีนรู

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/

R&D -พัฒนาส่ิงอํานวยใหผูเรียนบรรลุมาตรฐาน (Opportunity to Learn: OTL) -สรางศูนยส่ือ/รวบรวมส่ือการเรียนรูที่เช่ือมโยงกับมาตรฐานหลักสูตร -สราง source of multimedia เพื่อการเรียนรูของครูและเด็ก -ทําอยางไรครูจึงจะใชส่ือในการสอนอยางหลากหลาย -พัฒนามาตรฐานส่ือแตละประเภท -พัฒนาส่ือที่เหมาะสมกับบริบทและวัย/ กลุมเด็ก เชน เด็ก LD, เด็กพิการ -พัฒนาผูผลิตส่ือใหสามารถพัฒนาส่ือที่มีคุณภาพ -การซึมซับ/ การส่ือความหมายและความเขาใจจากส่ือไปยังเด็ก -พัฒนาหลักสูตรการสอนที่ยืดหยุนเนนอาชีพและการทํางานเปน -การจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย/การพัฒนาเด็กปฐมวัย -การเรียนปรับพื้นฐาน (transition program) ที่ดีควรเปนอยางไร -ศึกษากระบวนการปนเด็กหัวกะทิ -กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและหนวยการเรียนรูของโรงเรียนนํารองใชหลักสูตรแกนกลาง 2551 -พัฒนาหลักสูตร/การสอน/ประเมินการศึกษาทางเลือก/ตามอัธยาศัย -แสวงหา/จดัหา/พัฒนาส่ือและหนังสือดีๆสําหรับเด็ก -วิเคราะหคุณภาพของตัวช้ีวัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 วาเปนแบบ Performance Standard หรือไม -ทํา comparative study กับตางประเทศ เร่ือง ออกแบบ ร.ร.โดยใชทฤษฏีสมอง, โฮมสคูล, ตนทุนจริงของการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ, การสอนทักษะชีวิต, การศึกษาคนกลุมนอย, พัฒนาเด็ก talented ที่ไมใช Gifted, การศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพ -หา consensus ของหลักสูตรตางๆ วาควรสอนอะไรเด็กและอยางไร -วิจัยเพื่อแกปญหาพฤติกรรมเด็กกลุมวัยเรียน

Page 20: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 15

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/

ช้ีทิศทาง -สรางนโยบายผลิต/พัฒนาส่ือระดับชาติ เนนปญญานิยม, สรางคานิยมความเปนไทย (เชนเดียวกับที่ประเทศเกาหลีใชส่ือเปนเคร่ืองมือสรางชาติสรางรายได) -นโยบายส่ือเสรี ทําอยางไรจึงจะเสรี และเสรีอยางเหมาะสมควรเปนอยางไร -คัดเลือก/จัดอันดับ/นําเสนอรายช่ือหนังสือดีเพื่อเด็ก -Paradigm ดานการเรียนรูของคนการศึกษาตองเปน learning mode (ไมใช training mode/ transfer mode) งอกงามจากภายในใจ/สมอง ผานการปฏิบัติดวยตนเอง -พัฒนา magnet school รวมมือของสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการ

ขับเคล่ือนนโยบาย/Action Research

-หา best practicesวิธีพัฒนาหลักสูตร วาที่ไหนทําดีแบบที่เราอยากเห็น และเปดใจกวางใหเขาปรับตามเงื่อนไขของเขา ใหไดตามเปาหมาย แตวิธีปฏิบัติแตกตาง -การจัดการเรียนรูเนน Research Based/ Project Based/ Experimental Based Learning -ถอดบทเรียนการพัฒนาดานวิทยาศาสตรของหนวยงาน สสวท. สวทช.

เทาทันสภาวการณ (เฝาระวัง)

-สํารวจส่ือที่มีอยูในประเทศไทย -ความคิดเห็นของเด็กตอส่ือตางๆ/ Needs assessment ดานส่ือของเด็ก

Page 21: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

16 | หนา

5. ดานประสิทธิภาพของระบบการศึกษา

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/

R&D -ทํา Historical Research ศึกษาการเปล่ียนแปลงดานการศึกษาต้ังแตป 2503 เพื่อ Problem Identification/ดูวามี Factor อะไรที่ทําใหการศึกษาเปล่ียนทิศทาง -ทดลองนํารองโรงเรียนเนนองครวม เนนอาชีพ -การใชประโยชนรอง ผอ.สพท.ใหเต็มศักยภาพ -นํารองการกระจายอํานาจเต็มรูปใหกับ สพท. -วิเคราะหกิจกรรมโครงการท่ี ศธ/ สพฐ/ สพท. ดําเนินการวาลงถึงเด็กเพียงใด -เปรียบเทียบแนวคิดระบบการศึกษาไทยกับ UNESCO และประเทศโลกตะวันตก/ ออก -ควรศึกษาวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญของความแตกตางเรื่องคุณภาพการศึกษา -ศึกษากลยุทธหรือเทคนิควิธีในการพัฒนาครู ผูเรียน และผูบริหาร จากงานวิจัยของตางประเทศ รวมและทําแจกจายใหครูและผูเก่ียวของ นําไปทดลองใชในการทํางาน -ศึกษาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการจัดการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต -รูปแบบที่ เหมาะสมในการประเมินคุณภาพภายนอกในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต

Page 22: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 17

เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/

ช้ีทิศทาง -การบริหารจัดการแบบ Area Based Reform -ความรวมมือจัดการศึกษาระหวางสถาบันอุดมศึกษา ครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ โดยรัฐกํากับดวยมาตรฐานหลักสูตร -การสรางเครือขายความรวมมือพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน สพท. -พัฒนาเอกลักษณการจัดการศึกษา/ model เฉพาะของ แตละ สพท. - ระบบการใหรางวัลแกขาราชการท่ีขยาย KM จัดเวทีเลาเร่ืองเสริมพลังเครือขายครู -งบประมาณที่เหมาะสมของการลงทุนในโรงเรียนของรัฐ -กระจายอํานาจการดูแล ร.ร.ไปยัง อปท.อยางจริงจัง เพื่อให ร.ร.เปนของชุมชน -ปรับปรุงระบบ operation เปนลดขั้นตอน/ กระจายอํานาจ -ควรวิจัยระบบการเงินการคลังเพื่อระบบการศึกษา (Financing) -ออกแบบระบบจัดสรรทรัพยากรใหไปสูโรงเรียนและผูเรียนโดยตรง -ระบบบริหารงานบุคคลที่ดี/ที่ควรจะเปน ของ สพฐ. ควรเปนอยางไร -โครงสรางทางการศึกษาที่ใหมี สพท. เปนการออกแบบระบบท่ีถูกหรือผิด -การพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก -ทํายุทธศาสตรของ สพฐ. ในอีก 20 ปขางหนา

Page 23: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

18 | หนา

เปาหมายการวิจัย ประเด็น ขับเคล่ือนนโยบาย/Action Research

-สังเคราะหความรู/ถอดบทเรียนจากการขับเคล่ือนงาน นโยบาย สูการปฏิบัติ -กํากับติดตาม สพท.อยางจริงจังเพื่อดูแลการบรรลุมาตรฐานของผูเรียนในพื้นที่ -บริหารจัดการ/ขับเคล่ือนใหทุกสวนสัมพันธกับมาตรฐานหลักสูตรฯเพื่อใหเด็กมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น -การประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ป อยางมีคุณภาพ -สรางความรวมมือของภาคีเครือขาย(ผูปกครอง ชุมชน วิชาการ ภาคเอกชน อปท.) -นํา Operation Research มาใชเพื่อใหเกิด Innovation ดู Good Practices ใช Result Based ดู Cost Effectiveness และประเมินตาม Profile ทั้ง ร.ร.และ สพท. -สงเสริมใหคนในองคกรทํางานแบบ evidence based -ควรมีการติดตามดูวาการถายโอนโรงเรียนไปยัง อปท.มีการจัดการ และคุณภาพเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง -สรางวัฒนธรรมการทํางานแบบใหม -ทํา Meta Analysis Research/ สังเคราะหความรูงานวิจัยในหัวขอเร่ืองตางๆ ที่เก่ียวของกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Page 24: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 19

เปาหมายการวิจัย ประเด็น เทาทันสภาวการณ

(เฝาระวัง) -ระบบรายงานคุณภาพประจําปของสพท.และโรงเรียนที่มีความหมาย -พัฒนานวัตกรรมดาน ICT/ประดิษฐกรรมดานการบริหารจัดการที่ทําใหผูบริหารทราบสภาพปจจุบันปญหาและสามารถใชขอมูลเพื่อการตัดสินใจไดอยางทันทวงที -School watch -พัฒนาระบบเช่ือมฐานขอมูลทะเบียนราษฎร/ ฐานขอมูลเด็กวัยเรียนเพื่อ Update ขอมูล/ ตรวจสอบการตกหลน/ โอกาสเขาถึงการศึกษาของเด็ก -ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใชทรัพยากรเพื่อการศึกษา/ การจัดสรรงบประมาณ -เครือขายครูและบุคลากรทางการศึกษามีก่ีเครือขาย ควรมีวิธีการจัดการกับกลุมการเมืองเหลานี้ที่จะเขามามีผลประโยชนเก่ียวพันทางการศึกษา -comparative study นวัตกรรมการศึกษา ของประเทศในกลุมประเทศเอเชียที่ใกลเคียงกับเรา ดู best practices หรือ thinking ของประเทศอื่น จัดทําเปน intelligent report ปละคร้ัง

ตอนที่ 3 กรอบการวิจัยและโครงการวิจยัที่ไดดําเนินการในป 2553-2554

กรอบการวิจัยและโครงการวิจัยท่ีผานการพิจารณาของคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานนําไปพิจารณาจัดทําเปนโครงการวิจัยและใชเปนกรอบการดําเนินงาน ประกอบดวยชุดโครงการวิจัย จํานวน 5 ชุด คือ

ชุดโครงการท่ี 1 ผูเรียน: ขับเคล่ือนดวยมาตรฐาน ชุดโครงการท่ี 2 ครูและบุคลากร: ปลุกพลังการเรียนรูดวย KM

Page 25: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

20 | หนา

ชุดโครงการท่ี 3 หลักสูตรและส่ือการเรียนรู: เชื่อมโยงการศึกษาเพื่อการมีงานทํา ชุดโครงการท่ี 4 พื้นท่ี : ระดมสรรพกําลังเชิงพื้นท่ีเพื่อผูเรียน ชุดโครงการท่ี 5 บริหารจัดการ : เพิ่มประสิทธิภาพระบบการศึกษา

3.1 ชุดโครงการที่ 1 ผูเรียน: ขับเคลื่อนดวยมาตรฐาน ดําเนินการโดยมี รศ.ดร.นาตยา ปลันธนานนท เปนท่ีปรึกษาโครงการ ชุดโครงการน้ีเปนการศึกษา องคความรูและพัฒนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบดวย 8 โครงการ ดังน้ี (1) วิจัยพัฒนามาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลาย (2) วิจัยพัฒนามาตรฐานเพื่อการอาชีพ (3) วิจัยพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาสําหรับเด็กท่ีมีความตองการพิเศษ (4) การสังเคราะหการประเมินคุณภาพมาตรฐาน การเรียนรู 8 กลุมสาระ (5) วิจัยพัฒนามาตรฐานการประเมิน (6) วิจัยพัฒนามาตรฐานการเรียนรูรายวิชา(Course standards) (7) วิจัยพัฒนา Curriculum alignment และ (8) การพัฒนาระบบบริหารจัดการการประเมินแบบอิงมาตรฐาน ระดับชาติ 3.2 ชุดโครงการที่ 2 ครูและบุคลากร: ปลุกพลังการเรียนรูดวย KM เปนชุดโครงการท่ีมีจุดมุงหมายเพื่อตอยอดระบบการพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาดวยกระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management: KM) ซึ่งเปนเคร่ืองมือท่ีมีความสําคัญในการสรางสังคมแหงการเรียนรู เร่ิมจากการเรียนรูวิธีปฏิบัติท่ีดี (best practices) จากเพื่อนรวมวิชาชีพ กอเกิดจากความภาคภูมิใจและกําลังใจใหเจาของผลงานไดสรางสรรคงานตอไป และผูรับฟงไดรับการจุดประกาย เกิดพลังและแรงบันดาลใจในการลุกข้ึนพัฒนางาน หากมีการออกแบบกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู/ Show & Share ท่ีดี และมีระบบสนับสนุนใหระบบขับเคล่ือนอยางจริงจัง จะกอใหเกิดสังคมฐานความรูและวัฒนธรรมการเรียนรูแบบใหมของครูและบุคลากรการศึกษา ซึ่งคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน เห็นวา ควรเชื่อมโยง/เสนอแนวคิดของการพัฒนาครูดวยกระบวนการจัดการความรูกับโครงการพัฒนาครูท้ังระบบ ตามโครงการ SP2 ท่ีมีแผนงานและงบประมาณดําเนินการอยูแลว

Page 26: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 21

3.3 ชุดโครงการท่ี 3 หลักสูตรและสื่อการเรียนรู: เชื่อมโยงการศึกษาเพื่อการมีงานทํา คณะอนุกรรมการฯ ไดเห็นชอบในหลักการใหคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.สิริพันธ สุวรรณมรรคา เปนหัวหนาคณะนักวิจัย มีกรอบงาน อาทิ สังเคราะหองคความรูจากตางประเทศ ศึกษาจากโรงเรียนท่ีปฏิบัติไดดี ซึ่งตอมาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดอนุมัติใหดําเนินการโครงการวิจัย “แนวทางการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ” เปนความรวมมือระหวางคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 3.4 ชุดโครงการที่ 4 พื้นที่ : ระดมสรรพกําลังเชิงพื้นที่เพื่อผูเรียน คณะอนุกรรมการฯเห็นชอบใหรวมสนับสนุนงบประมาณในชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเครือขายเชิงพื้นท่ีเพื่อหนุนเสริมการพัฒนาการเรียนรู (Local Learning Enrichment Network – LLEN) รวมกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย โดยมีวัตถุประสงคหลัก 4 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาความเปนไปไดและขอจํากัดของแนวคิดในการบูรณาการความรวมมือเชิงพื้นท่ี (Area-based Integration) เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรูสําหรับนักเรียนในพื้นท่ี (2) เพื่อศึกษารูปแบบและแนวทางตลอดจนนวัตกรรมการจัดการใน การสรางเครือขายและระดมสรรพกําลังจากภาคสวนตางๆในพื้นท่ีเพื่อรวมสนับสนุน การยกระดับคุณภาพการเรียนรูของนักเรียนในพื้นท่ี (3) เพื่อศึกษาถึงขีดความสามารถ เง่ือนไขและขอจํากัดของมหาวิทยาลัยในพื้นท่ีในการประสานเครือขายและระดมสรรพกําลัง และ(4) เพื่อสังเคราะหบทเรียนและองคความรูจากโครงการเพื่อการขยายผลในวงกวาง และจัดทําขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนตอผูเก่ียวของ ซึ่งชุดโครงการวิจัยน้ีมี 15 มหาวิทยาลัยเปนแกนหลักในการบริหารจัดการความรวมมือ โดยทดลองทํางานรวมกับโรงเรียน 8-40 แหงในพื้นท่ี 3.5 ชุดโครงการที่ 5 บริหารจัดการ : เพิ่มประสิทธิภาพระบบการศึกษา

จากกรอบของชุดโครงการวิจัยน้ี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดอนุมัติโครงการวิจัย จํานวน 3 โครงการคือ (1) การพัฒนาสูตรการจัดสรรงบประมาณ

Page 27: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

22 | หนา

เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการใชจายเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและการจัดทําตัวชี้วัดสถานะเศรษฐกิจและสังคมระดับ ระยะท่ี 1 และ 2 (2) การสังเคราะหการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) และ (3) รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

สําหรับขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน: มุมมองของผูทรงคุณวุฒิ ท่ีไดเกิดขึ้นจากขอเสนอแนะของคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน นับวามีประโยชนยิ่งตอทิศทางการดําเนินงานท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานต้ังแตป 2552 จนถึงปจจุบัน รายการอางองิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุยา, คุณหญิง. 2552. “ประเด็นการวจิัยเพื่อพฒันาการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน.” ในเอกสารประกอบการประชมุคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน คร้ังท่ี 3 / 2552 วันท่ี 26 มิถุนายน 2552

ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร. 2552. สัมภาษณ, 19 พฤษภาคม. นิพนธ สุรพงษรักเจริญ. 2552. สัมภาษณ, 1 มิถุนายน. ปยะบุตร ชลวจิารณ. 2552. สัมภาษณ, 13 พฤษภาคม. รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการดานวิจยัการศึกษาข้ันพื้นฐาน คร้ังท่ี 4 / 2552

วันท่ี 14 กันยายน 2552. วรากรณ สามโกเศศ. 2552. สัมภาษณ, 29 พฤษภาคม. วิจารณ พานิช. 2552. สัมภาษณ, 28 พฤษภาคม. อมเรศ ศิลาออน. 2552. สัมภาษณ, 18 พฤษภาคม.

-------------------------------

Page 28: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 23

การบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach)

ผศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์1

1. ความสําคัญและความเปนมา

ในการพัฒนาประเทศ มีความพยายามนํานวัตกรรมหรือแนวคิดใหมๆ มาใชในเมืองไทยโดยตลอด แตความพยายามสวนใหญ มักประสบกับความลมเหลว หรือ ไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ือง สาเหตุหน่ึงมาจากการขาดการเตรียมบริบทเพื่อ การใชนวัตกรรมหรือแนวคิดดังกลาว การพัฒนาวิชาชีพครูของญี่ปุนท่ีเ รียกวา “การศึกษา ชั้นเรียน” (Lesson Study) เปนนวัตกรรมท่ีไดรับการพัฒนาและใชในประเทศญี่ปุนมาต้ังแตเมื่อประมาณ 130 ปท่ีแลว (Shimizu, 2006) ปจจุบันไดรับ การเผยแพรไปหลายประเทศท่ัวโลกเพื่อใชในการพัฒนาวิชาชีพครู สําหรับประเทศไทยไดนํามาใชคร้ังแรกต้ังแตป พ.ศ.2545 (Inprasitha, 2007) โดยมีการเตรียมบริบทท่ีเก่ียวของเพื่อนํานวัตกรรมดังกลาวมาใช ไดแก บริบทดานหลักสูตรการผลิตครู บริบทดานบัณฑิตศึกษา บริบทดานการฝกอบรมครูประจําการ และบริบทดานการพัฒนาวิชาชีพครูในระยะยาว โดยเนนการบูรณาการทุกบริบทเขาดวยกัน

การเตรียมบริบทดังกลาว เร่ิมตนดวยการทดลองใชกับนักศึกษาฝกหัดครูชั้นปท่ี 4 ท่ีออกฝกสอนในปการศึกษา 2545 ตอมาตั้งแตปการศึกษา 2546 กําหนดใหการดําเนิน การฝกอบรมครูประจําการ เปนกิจกรรมหลักท่ีนักศึกษาบัณฑิตศึกษาทุกคนตองเขารวม ในชวงป 2546 - 2547 ไดทดลองผสมผสานกับการฝกอบรมครูประจําการระยะส้ันแบบเดิมโดยขยายการติดตามประเมินผลจริงในโรงเรียน ต้ังแตปการศึกษา 2549 ไดพัฒนาโมเดลเพื่อการนํามาใชในโรงเรียนเต็มรูปแบบเปนโครงการนํารอง ระยะเวลา 3 ป (2549 - 2551) โดยโมเดลดังกลาวประกอบดวยความรวมมือจากสํานักงาน 1 คณบดีคณะศึกษาศาสตร และผูอํานวยการศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 29: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

24 | หนา

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู บัณฑิตศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา และศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน และความรวมมือจากนานาชาติ ความสนใจในการนํานวัตกรรมไปใชในโรงเรียนเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ จนกระท่ังรัฐบาลไดใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานนํารองการขยายผลการใชนวัตกรรมในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจํานวน 22 โรงเรียน ในระหวางป 2552 - 2554

ขณะเดียวกันในป 2554 เพื่อเปนการเตรียมการขยายผลในระดับประเทศ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดใหมหาวิทยาลัยขอนแกน ดําเนินโครงการสังเคราะหรูปแบบการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) จาก 15 โรงเรียนใน 22 โรงเรียน เพื่อนําเสนอแนวทางสําหรับโรงเรียนอื่นๆ ท่ีจะนํานวัตกรรมดังกลาวไปใช

2. วัตถุประสงคของการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค เพื่อสังเคราะหรูปแบบการบริหารจัดการงาน

วิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (School - based Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach)

3. วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชวิธีการศึกษาวีดิทัศนชั้นเรียน (Video Classroom Study, Stigler & Hiebert, 1999) และการศึกษากรณีศึกษากลุมเปาหมายท่ีเปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน 15 โรง จากน้ันทําการสังเคราะหจากกรณี ศึกษาท้ัง 15 กรณี เพื่อใหไดภาพรวมการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) โดยมีรายละเอียดของวิธีการท่ีใชในแตละโรงเรียนดังตอไปน้ี 1) การกําหนดแผนการปฏิบัติงานระยะยาว 3 ป

Page 30: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 25

โดยการดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรมจะเร่ิมตนในระดับชั้นแรกของชวงชั้นและเพิ่มขึ้นปละ 1 ชั้น ไปจนครบทุกระดับชั้น ในระยะเวลา 3 ปเชนในปท่ี 1 เร่ิมท่ีระดับชั้น ป.1 และ ป.4 ในปท่ี 2 เพิ่มระดับชั้น ป.2 ในชวงชั้นท่ี 1 และเพิ่มระดับชั้น ป.5 ในชวงชั้นท่ี 2 ในปท่ี 3 เพิ่มระดับชั้น ป.3 ในชวงชั้นท่ี 1 และเพิ่มระดับชั้น ป.6 ในชวงชั้นท่ี 2 2) การอบรมเชิงปฏิบัติการกอนนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดไปใชในโรงเรียน เพื่อสรางความเขาใจรวมกับผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย 3) การเขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการและการบรรยายในระหวางป โดยผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ เพื่อพัฒนาความรูความเขาใจเก่ียวกับนวัตกรรม เชน โครงสรางและหนวยการเรียนรูของหนังสือเรียนคณิตศาสตร คูมือครูและอภิธานศัพท เทคนิคการใชกระดานดํา รวมถึงวิธีการในการประเมินชั้นเรียน และ 4) การเขารวมการเปดชั้นเรียน (Open Class) ในแตละภาคการศึกษาแตละโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเปดชั้นเรียน และเมื่อส้ินปการศึกษาทุกโรงเ รียนเขาร วมกิจกรรมการเปดชั้น เ รียนประจําป ท่ีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และการเขารวมการเปดชั้นเรียนในท่ีประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ APEC - Lesson Study ท่ีจัดขึ้นในประเทศไทยเปนประจําทุกป ในระหวางท่ีมีการนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดไปใชในโรงเรียน การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียน ในประเด็นดังน้ี (1) รูปแบบการบริหารจัดการ โดยรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการจัดสรรเวลา การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียน และ การสะทอนผลชั้นเรียน (2) ขอมูลเก่ียวกับการสนับสนุนการดําเนินงาน และ (3) ขอมูลเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคโดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณผูท่ีเก่ียวของ (4) ขอมูลเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงโดยการบันทึกวีดิทัศนชั้นเรียนของทุกโรงเรียนท่ีเปนกรณีศึกษา ในการสังเคราะหขอมูลผูวิจัยใชขอมูลจากท่ีเก็บรวบรวมดังกลาวขางตนแลว ยังใชขอมูลท่ีไดจากแบบบันทึกการเขารวมกิจกรรมรายสัปดาห และรายเดือน ขอมูล

Page 31: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

26 | หนา

จากแบบสอบถาม ขอมูลจากแบบสัมภาษณรายบุคคล และขอมูลจากการนําเสนอผลการดําเนินงานประจําปของแตละโรงเรียน รวมท้ังขอมูลอื่นๆ ท่ีเก่ียวกับการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียน ทําการสังเคราะหขอมูลภาพรวมของการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียน โดยแยกโรงเรียนออกเปน 4 กลุม ดังน้ี 1) กลุมโรงเรียนตนแบบการใชนวัตกรรมการศึกษา ชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปท่ี 5 จํานวน 2 โรงเรียน 2) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปท่ี 2 จํานวน 3 โรงเรียน 3) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปท่ี 2 จํานวน 3 โรงเรียน 4) กลุมโรงเรียนภายใต การดูแลของมหาวิทยาลัยขอนแกนซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปท่ี 2 จํานวน 7 โรงเรียน โดยจะสังเคราะหเปนภาพรวมตามหัวขอตางๆ ดังตอไปน้ี

1) รูปแบบการบริหารจัดการ โดยจะกลาวถึง แนวทางการจัดสรรเวลา แนวทาง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู แนวทางการสังเกตชั้นเรียน และแนวทาง การสะทอนผลชั้นเรียน

2) แนวทางการสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนในภาพรวม 3) ปญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไข

ในสวนสุดทายของรายงาน จะกลาวถึงขอเสนอแนะในการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียนจากศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งเปนผูรับผิดชอบโครงการ

Page 32: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 27

4. ผลการวิจัย ผลจากการสังเคราะหขอมูลตามกลุมของโรงเรียนพบวา 1) กลุมโรงเรียนตนแบบการใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการ

แบบเปด มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนโดยมีการนํานวัตกรรมเขาไปใชแบบ

ท้ังโรงเรียน (Whole School Approach) มีการกําหนดแนวทางการจัดสรรเวลาในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูและการสะทอนผลชั้นเรียนสัปดาหละ 1 วัน ตามความเหมาะสมของแตละโรงเรียน และมีการกําหนดการสังเกตชั้นเรียนรวมกันในวันจันทรถึงวันศุกร โดยจัดใหครูผูสังเกตสามารถเขารวมสังเกตชั้นเรียนไดอยางตอเน่ืองและสม่ําเสมอ ในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูในปแรกเปนการพัฒนา โดยอาศัย “สถานการณปญหา(Problem situation)” ในหนังสือเรียนคณิตศาสตรสํานักพิมพ GAKKOHTOSHO ของประเทศญ่ีปุนมาเปนหลักในการพัฒนากิจกรรมคณิตศาสตร (Mathematical activity) และการออกแบบส่ือ (Material design) และในปตอมาจะมีการนําแผนการจัดการเรียนรูในปกอนหนามาปรับเพื่อใหสอดคลองกับนักเรียนในแตละป โดยเนนการปรับปรุงคําส่ังในสถานการณปญหา และการปรับส่ือท้ังส่ือหลักและส่ือเสริมใหเขากับแนวคิดท่ีเปนธรรมชาติของนักเรียนท่ีไดจากการบันทึกจากปท่ีผานมา แนวทางการสนับสนุนการดําเนินงานในปท่ีหน่ึงและปท่ีสอง ศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษาไดใหการสนับสนุนงบประมาณบางสวนในการจัดซื้อและจัดทํา ส่ือ วัสดุ อุปกรณ พื้นฐาน หลังจากน้ันโรงเรียนไดบรรจุโครงการเขาไปในแผนปฏิบัติราชการ การจัดสรรงบประมาณ และงบประมาณในการดําเนินกิจกรรมใหเปนงบปรกติและตอเน่ืองทุกป จึงทําใหลดปญหาในการบริหารจัดการดานงบประมาณ

สําหรับทีมสนับสนุน ประกอบดวย ครูผูสอน ครูผูสังเกต ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ผูประสานงานโรงเรียน ทีมนักวิจัยจากศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ท่ีปรึกษาโครงการและ

Page 33: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

28 | หนา

ผูเชี่ยวชาญภายนอก โดยในทีมการศึกษาชั้นเรียนแตละระดับชั้นน้ันครูท่ีเขารวมอาจจะไมใชเฉพาะครูผูสอนในชวงชั้นเดียวกันก็ได และในปตอๆ มามีการขยายชั้นเรียนไปยังระดับชั้นอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ทําใหตองลดขนาดทีมการศึกษาชั้นเรียนลง แตยังคงเปนทีมท่ีสามารถทํางานรวมกันได และสามารถทํางานไดอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง นอกจากน้ีการลดทีมสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแกน เชน ผูประสานงานโรงเรียน ทีมนักวิจัย ท่ีปรึกษาโครงการและผูเชี่ยวชาญ แตยังคงเขารวมในโครงการอยางตอเน่ืองแตอาจจะลดจํานวนคร้ังการเขารวมลงนอยกวาในชวงปแรกๆ เพื่อใหโรงเรียนสามารถสรางทีมท่ีเขมแข็งของตัวเอง และยังคงสงทีมสนับสนุน ซึ่งเปนนักศึกษาปฏิบัติการสอนเขาไปรวมทํางานกับครูในโรงเรียน

ปญหาอุปสรรคท่ีพบคือครูผูสอนตองรับผิดชอบวิชาสอนทุกวิชา ทําใหเขารวมสังเกตการจัดการเรียนรูไมไดเต็มท่ี และในบางโรงเรียนมีจํานวนนักเรียนในแตละหองจํานวนมากทําใหครูผูสอนเกิดความยุงยากในการสังเกตแนวคิดรายบุคคลของนักเรียนและความยุงยากในการบริหารจัดการชั้นเรียนตามแนวทางวิธีการสอนท่ีแตกตางไปจากเดิม รวมท้ังความยุงยากในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูท่ีใชหนังสือเรียนคณิตศาสตรเปนภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนอุปสรรคอันเน่ืองมาจากครูขาดความเขาใจในเนื้อหาและภาษาสงผลใหตองใชเวลามากในการออกแบบกิจกรรม การออกแบบสื่อและจัดทําแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งปกติโรงเรียนมีภาระงานมากอยูแลวจากการที่เขารวมโครงการตางๆ ท่ีทางโรงเรียนไดรับมอบหมายทั้งในสวนหนวยงานเชิงนโยบายหรือหนวยงานตนสังกัด ทําใหโครงการตางๆ เหลาน้ันมีผลตอการดําเนินงานวิชาการของนวัตกรรมฯ เน่ืองจากครูท่ีเขารวมโครงการ ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบโครงการตางๆ ท่ีทางโรงเรียนจัดขึ้น ทําใหไมสามารถเขารวมสังเกตการจัดการเรียนรูหรือสะทอนผลการสังเกตการจัดการเรียนรูไดอยางตอเน่ือง ซึ่งโรงเรียนไดแกไขดวยการมอบหมายใหนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเขาสังเกตชั้นเรียนอยางตอเน่ืองและสมํ่าเสมอ สําหรับครูของทีมการศึกษาชั้นเรียน ถาไมมีการจัดการเรียนรูในชั่วโมงนั้นใหเขาสังเกตชั้นเรียนอื่นท่ีมีการจัดการเรียนรู

Page 34: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 29

2) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยเชียงใหม

มีรูปแบบการบริหารจัดการเก่ียวกับการจัดสรรเวลาในการพัฒนาแผนการจัด การเรียนรูประจําสัปดาหรวมกันในวันจันทร (ชวงเวลาท่ีเสร็จส้ินการจัดการเรียนการสอน) สังเกตชั้นเรียนรวมกันในวันจันทรถึงวันศุกร และสะทอนผลหลังการจัดการเรียนรูประจําสัปดาหรวมกันในวันพุธหรือวันพฤหัสบดี ตามความเหมาะสมของแตละโรงเรียน (ชวงเวลาท่ีเสร็จส้ินการจัดการเรียนการสอน) การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูจะ แบงทีมการเขียนแผนตามชวงชั้น โดยมีนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเปน ผูประสานงานหลักในการเตรียมการ ท้ังในดานของการเตรียมขอมูลพื้นฐานและส่ืออุปกรณ ซึ่งครูประจําการในแตละชวงชั้นจะเปนผูท่ีคอยสนับสนุนและชี้แนะในประเด็นตางๆ จากประสบการณท่ีผานมาจากมุมมองของครูผูสอนและมุมมองของครูผูสังเกต เพื่อใหแผนการจัดการเรียนรูมีความเหมาะสมกับนักเรียนใหมากที่สุด โดยใชหนังสือเรียนคณิตศาสตรญี่ปุนเปนเคร่ืองมือหลักในการวางแผนการจัดการเรียนรูควบคูกับหนังสือเรียนคณิตศาสตรไทย ในการจัดสรรเวลาสําหรับการสังเกตชั้นเรียนจะจัดสรรเวลา เพื่อท่ีจะใหครูผูสังเกตสามารถเขาสังเกตในชวงชั้นเดียวกันได แนวทางการสนับสนุน การดําเนินงานในชวงแรก โครงการไดใหการสนับสนุนส่ือวัสดุ อุปกรณพื้นฐานเบื้องตนท่ีจําเปน และชวงหลังโรงเรียนไดกําหนดเปนงบประมาณของโรงเรียนท่ีตอเน่ือง เพื่อสนับสนุนชั้นเรียนและครูเพื่อใชสรางส่ือการจัดการเรียนการสอน และเพื่อสนับสนุน การทํางานของครูในกระบวนการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด การจัดทีมบุคลากรเขาไปสนับสนุนประกอบดวย ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครู ผูประสานงานโรงเรียน (ประจําการอยูในโรงเรียน 1 เดือนแรกของภาคการศึกษาตน) ผูเชี่ยวชาญภายนอกท้ังในและตางประเทศ และในปท่ี 2 โรงเรียนไดเปนโรงเรียนเครือขายสถานศึกษาของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงไดรับนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเขาไปรวมเปนทีมการศึกษาชั้นเรียนดวย

Page 35: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

30 | หนา

ปญหาอุปสรรคท่ีพบคือ (1) โรงเรียนประสบปญหาในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูดวยวิธีการแบบเปดในการเขียนคําส่ัง และการจัดลําดับของคําส่ัง กลาวคือ ทางทีมท่ีรวมเขียนแผนการจัดการเรียนรูพยายามทําความเขาใจหนังสือเรียนญ่ีปุนเพื่อใชประกอบการกําหนดกิจกรรม แตทางทีมไมมั่นใจเกี่ยวกับความเขาใจของตนเองท่ีมีตอหนังสือเรียนคณิตศาสตรญี่ปุนวาถูกตองหรือไม ทําใหการเขียนแผนการจัดการเรียนรูใชเวลาคอนขางมาก จึงไมสามารถสรางแผนการจัดการเรียนรูและส่ือการจัดการเรียนรูใหเสร็จเรียบรอยภายในกําหนดเวลาท่ีทางโรงเรียนไดกําหนดไวคือวันจันทรได ในสวนน้ีทางโรงเรียนและคณะครูจึงไดมีการสรางส่ือการจัดการเรียนรูในวันอื่นท่ีไมใชวันเขียนแผน และทําข้ึนทุกคร้ังเมื่อมีเวลาวาง นอกจากน้ียังสนับสนุนใหบุคลากรเขาอบรมเก่ียวกับหนังสือเรียนคณิตศาสตรญี่ปุนท่ีนํามาใชในโครงการ เพื่อเพิ่มเติมความเขาใจในการนําไปใชใหถูกตองมากข้ึน (2) ครูประจําการในโรงเรียนมีจํานวนนอย ทําใหครูประจําการท่ีเขารวมโครงการ แตละคนไมสามารถสังเกตการจัดการเรียนรูในระดับชั้นอื่นๆ ได ในการบริหารจัดสรรเวลาของโรงเรียน เพื่อใหครูสามารถสังเกตชั้นเรียนรวมกันได จึงไดปรับตารางเวลา และลดภาระงานบางอยางใหกับครูท่ีเขารวมในโครงการลงบาง เพื่อใหสามารถเขารวมการสังเกตชั้นเรียนได (3) ปญหาในการสะทอนผล กลาวคือ ในชวงการสะทอนผลมีปญหาประการแรก คือ ครูเตรียมชิ้นงานนักเรียนมาไมครบทําใหการสะทอนผลบางคร้ังไมครอบคลุม ปญหาประการท่ีสองคือ เมื่อส่ือท่ีครูผูสอนเตรียมสําหรับสะทอนผลมีมากขึ้น ทําใหมีเวลาไมเพียงพอท่ีจะพูดถึงแนวคิดของนักเรียน และประเด็นท่ีครูไดสังเกต มีมากทําใหเวลาสะทอนไมเพียงพอ นอกจากน้ัน ยังพบปญหาวา ประเด็นในการสะทอนผลยังไมมีความชัดเจนและไมครอบคลุมประเด็นท่ีจะนําไปใชปรับแผนการจัดการเรียนรูในคร้ังตอไปได

Page 36: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 31

3) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนโดยมีการจัดสรรเวลาในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู อยางนอยสัปดาหละ 1 วัน ตามความเหมาะสมของแตละโรงเรียน และการสังเกตชั้นเรียนในชวง วันจันทรถึงวันศุกร และการสะทอนผลชั้นเรียนสัปดาหละ 1 วัน การสนับสนุนการดําเนินงานในดานงบประมาณ ในชวงแรกโครงการไดใหการสนับสนุนงบประมาณบางสวนในการจัดซื้อและจัดทํา ส่ือ วัสดุ อุปกรณ พื้นฐาน เพื่อใชในการเตรียมการจัดการเรียนรูและการดําเนินการในชั้นเรียน หลังจากน้ันโรงเรียนไดจัดสรรงบประมาณ คาวัสดุ ส่ือ โดยกําหนดเปนงบประมาณของโรงเรียนท่ีตอเน่ืองเพื่อใชในการดําเนินกิจกรรมของโครงการ ในการจัดทีมบุคลากรเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามแนวทางการใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด จะเห็นวาโรงเรียนไดมีการกําหนดและจัดทีมในการทํางานในแตละระดับชั้นอยางชัดเจนเพื่อใหการดําเนินการตางๆ ตามโครงการสามารถเปนไปได ปญหาอุปสรรคท่ีพบคือ ในการเร่ิมตนโครงการในโรงเรียน ซึ่ ง เปนความร วมมือระหว างมหาวิทยาลัย เชน กรณีความร วมมือระหว างมหาวิทยาลัยขอนแกนกับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีน้ัน ไดเกิดปญหาข้ึนจากการท่ีโรงเรียนท้ังสามโรงเรียนของโครงการอยูในเขตพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ทําใหการดูแล ใหคําปรึกษา และการบริหารจัดการจากทีมบุคลากรของมหาวิทยาลัยขอนแกน ไมสามารถทําไดอยางเต็มท่ีหรือไมสามารถเขาโรงเรียนไดบอยคร้ังดังเชนโรงเรียนท่ีอยูในจังหวัดขอนแกน เน่ืองดวยขอจํากัดเร่ืองระยะทาง ดังน้ันมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในฐานะมหาวิทยาลัยเครือขายและอยูใกลโรงเรียนในเขตพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานีมากกวา จึงไดจัดสรรบุคลากรเขามาสนับสนุนและดูแลโรงเรียนในเขตพื้นท่ี

ในการดําเนินงานท่ีผานมา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดทําหนาท่ีตรงน้ีอยางเต็มท่ี ท้ังในสวนของการจัดสรรทีมบุคลากรเพื่อรับผิดชอบดูแลแตละโรงเรียน เขารวมกับ

Page 37: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

32 | หนา

โรงเรียนอยางสม่ําเสมอในการสังเกตและสะทอนผล รวมถึงการเปดชั้นเรียนในแตละภาคการศึกษา และยังคอยใหกําลังใจ ใหคําปรึกษาดูแลโดยตลอด และเปนศูนยกลางในการประสานและสนับสนุนดานสถานท่ี เพื่อรวมครูท้ังสามโรงเรียนในกรณีท่ีตองมารวมวางแผนการจัดการเรียนรูกอนเปดภาคเรียน หรือการประชุมหารือรวมตางๆ และการเ ร่ิมตนโครงการในโรงเรียนขยายโอกาส โดยเ ร่ิมเฉพาะในทีมครูระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 - 6 กอน ทําใหเกิดปญหากับครูผูสอนคณิตศาสตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ท้ังในแงบทบาทของการเขารวมในโครงการความเขาใจท่ีมีตอนวัตกรรมและการนําไปใชในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่งอาจจะสงผลตอการขยายผลไปสูการใชนวัตกรรมในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนตอไปดวย เน่ืองจากครูกลุมดังกลาวไมเคยผานการอบรมเกี่ยวกับนวัตกรรม หรือการสรางความเขาใจรวมกัน ในการดําเนินงานมากอน ดังน้ัน ในกรณีของโรงเรียนขยายโอกาสท่ีมีเปาหมายเตรียมจะใชนวัตกรรมถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจึงควรใหครูผูสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนเขามามีสวนรวมท้ังในแงการสรางความเขาใจรวมและการอบรมเกี่ยวกับนวัตกรรมดังกลาวต้ังแตตน รวมถึงผูบริหารควรมีการประชุมชี้แจงการดําเนินโครงการของโรงเรียนใหกับคณะครูและชุมชนไดรับทราบ รวมถึงสงเสริมและผลักดันใหทุกคนไดมีโอกาสเขามามีสวนรวมในโครงการดวย

4) กลุมโรงเรียนภายใตการดูแลของมหาวิทยาลัยขอนแกน มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนในการวางแผนเก่ียวกับการเขียนแผน การจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียนและการสะทอนผลชั้นเรียน โดยมีการกําหนดวันในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูจัดตารางการสังเกตชั้นเรียนของสมาชิกในทีมการศึกษาชั้นเรียน โดยพยายามจัดตารางการสังเกตไมใหทับซอนกับตารางการจัดการเรียนรูของครูผูสังเกตชั้นเรียน และกําหนดวันการสะทอนผลชั้นเรียนในแตละสัปดาห ในชวงแรกของการทํางานตามแนวทางนวัตกรรมดวย ปแรกจะเร่ิมใชนวัตกรรมในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 และ 4 ทําใหบางโรงเรียนมีการกําหนดวันเขียนแผนการจัดการ

Page 38: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 33

เรียนรูเปนสองวัน เพื่อท่ีผูประสานงานโรงเรียนสามารถเขารวมเขียนแผนการจัดการเรียนรูกับครูได หลังจากเขียนแผนการจัดการเรียนรูแลวเสร็จก็จะดําเนินการออกแบบส่ือการจัดการเรียนรูท้ังส่ือหลักและส่ือเสริม และในปพ.ศ.2553 เมื่อนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเขามาเปนสวนหนึ่งของทีมการศึกษาชั้นเรียน จึงไดมีการปรับวันเขียนแผน การจัดการเรียนรูขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละโรงเรียน สําหรับวันสะทอนผลชั้นเรียนโดยสวนใหญแตละโรงเรียนจะกําหนดในวันพุธหรือวันพฤหัสบดี การสนับสนุนงบประมาณในชวงแรกโครงการเปนผูสนับสนุนส่ือวัสดุอุปกรณพื้นฐาน หลังจากน้ันทางโรงเรียนไดจัดสรรงบประมาณรายป เพื่อใชจัดซื้อวัสดุอุปกรณพื้นฐานเอง การจัดทีมบุคลากรสนับสนุน ในชวงแรกทีมการศึกษาชั้นเรียนประกอบดวยศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครูทีมการศึกษาชั้นเรียนและผูประสานงานโรงเรียน จนกระท่ังเมื่ อป พ .ศ .2553 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน สงนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนละ 2 - 3 คน เขามาเปนสวนหน่ึงในทีมการศึกษาชั้นเรียน เพื่อดําเนินงานตามแนวทางการใชนวัตกรรมฯ นอกจากน้ีบางโรงเรียนมีกลุมโรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาสเขามาสนับสนุนการดําเนินงานตามแนวทางการใชนวัตกรรมฯ เชน โรงเรียนบานบึงกาฬ โรงเรียนกุดบากราษฎรบํารุง โรงเรียนแกงครอวิทยา สนับสนุนครูท่ีอยูในฐานะผูประสานงานโรงเรียนของโครงการ เขามามีสวนรวมในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียนและการสะทอนผลชั้นเรียน ทําใหทีมการศึกษาชั้นเรียนมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น ปญหาอุปสรรคท่ีพบคือ (1) โรงเรียนขนาดใหญการสังเกตแนวคิดของนักเรียนทําไดยาก และเวลาในการทํากิจกรรมไมเพียงพอตอการจัดกิจกรรมหน่ึงๆ เน่ืองดวยกลุมนักเรียนมีจํานวนมากทําใหการนําเสนอแนวคิดของนักเรียนมีเวลาไมเพียงพอ ตองขยายไปใชในชั่วโมงถัดไป (2) ครูมีภาระงานนอกเหนือจากงานสอน ซึ่งมีผลกระทบตอการเขารวมการเขียนแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียนและการสะทอนผลชั้นเรียน นอกจากน้ีศึกษานิเทศกมีภาระงานมากทําใหไมสามารถเขารวมไดอยางตอเน่ือง

Page 39: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

34 | หนา

(3) โรงเรียนท่ีมีครูยายเขาหรือออกในโรงเรียนตลอดทําใหทีมการศึกษาชั้นเรียนไดรับผลกระทบ เน่ืองจากครูท่ีเขารับการอบรมเชิงปฏิบัติการเปนระยะเวลา 1 เดือนไดยายโรงเรียน ทําใหขาดบุคลากรท่ีมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานตามแนวทางนวัตกรรม (4) จํานวนหองเรียนมีมาก แตกลุมคนท่ีมีความเขาใจรวมและทีมทํางานน้ันยังมีจํานวนนอย จึงไดมีการเลือกจัดการจัดการเรียนรูตามแนวทางน้ีในบางหองเรียนเทาน้ัน (5) การเขารวมของผูประสานงานโรงเรียนไมตอเน่ือง เน่ืองจากผูประสานงานโรงเรียนเปนครูประจําการ มีภาระชั่วโมงสอนเต็ม ทําใหไมสามารถเขารวมไดทุกกิจกรรม และการเขารวมไมตอเน่ืองและไมสม่ําเสมอ (6) การดําเนินงานของทีมการศึกษาชั้นเรียนในบางโรงเรียนในปแรกไมไดรับความสนใจและการสนับสนุนจากผูบริหารระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและจากผูอํานวยการโรงเรียนเทาท่ีควร เน่ืองจากการขาดความเขาใจท่ีมีตอการดําเนินโครงการ และความเขาใจท่ีมีตอนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ทําใหไมไดรับการสนับสนุนเร่ืองส่ือวัสดุอุปกรณในการทํากิจกรรมอยางเพียงพอ ซึ่งครูผูสอนสวนใหญจะใชงบประมาณสวนตัวในการจัดซื้อส่ืออุปกรณเอง และการจัดทีมสนับสนุนท้ังบุคลากรจากเขตพื้นท่ี และบุคลากรในโรงเรียนยังไมเพียงพอ ทําใหครูผูสอนในทีมการศึกษาชั้นเรียนขาดกําลังใจในการทํางาน เพราะมีความรูสึกวาเปนภาระงานท่ีหนัก ตองใชเวลาหลังเวลาราชการเพื่อการเตรียมการจัดการเรียนรูมาก และไมมีใครใหความสนใจ รูสึกเหมือนวาตองรับภาระงานหนักอยูฝายเดียว

ผลจากการที่โรงเรียนในโครงการท้ังหมดไดนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดไปใช ในชวง 2 ปหรือ 5 ปท่ีผานมา ปรากฏวามีหลักฐานหลายอยางท่ียืนยันวาครูไดเปล่ียนแปลงความเชื่อเก่ียวกับการสอน ความเชื่อเก่ียวกับการเรียนรูของนักเรียนและคานิยมเก่ียวกับการทํางานรวมกันของครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ซึ่งการทํางานอยางคอยเปนคอยไป ทําใหโรงเรียนในโครงการกลายเปนชุมชนแหง การเรียนรูบนฐานชุมชนแหงการปฏิบัติการท่ีทีมการศึกษาชั้นเรียนโดยเฉพาะครูผูสอน

Page 40: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 35

เปนสมาชิกของชุมชนแหงการเรียนรูบนฐานชุมชนแหงการปฏิบัติ (Community of Practice - based Learning Community: COP - based Learning Community) ทําใหลักษณะการปฏิบัติงานของครูไมใชเปนเพียงการปฏิบัติงานตามคําส่ัง แตเปนการทํางานในฐานะครูผูเรียนรู (Teacher as a learner) มองเห็นการพัฒนาวิชาชีพในระยะยาว (Career path) ซึ่งจะทําใหการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเปนเคร่ืองมือหรือวิธีการพัฒนาวิชาชีพครูท่ียั่งยืนตอไป นอกจากน้ีในสวนของการเรียนรูของผูเรียนนอกเหนือจากผลสัมฤทธิ์จะมีการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นในแตละปแลว สมรรถนะของผูเรียนในดานตางๆท่ีหลักสูตรคาดหวังไมวาจะเปนดานการแกปญหา การส่ือสาร การใหเหตุผล เปนตน เปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นท้ังขอมูลเชิงประจักษท่ีครูผูสอนและผูท่ีเก่ียวของในการใชนวัตกรรมรับรูไดจากการสังเกตจากหองเรียน และขอมูลจากการเก็บรวบรวมอยางเปนระบบ

5) แนวทางในการใชนวัตกรรมไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในสวนของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน

และวิธีการแบบเปด พบวาแนวทางตอไปน้ีเปนแนวทางในการใชนวัตกรรมไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

5.1 ในการเร่ิมใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ควรเร่ิมใชในชั้นแรกของแตละชวงชั้น เชน ชวงชั้นท่ี 1 ควรเร่ิมระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ชวงชั้นท่ี 2 เร่ิมระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 และชวงชั้นท่ี 3 ควรเร่ิมระดับชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 1 เปนตน ดังตัวอยางตอไปน้ี

Page 41: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

36 | หนา

ตัวอยางการวางแผนราย 3 ปของโรงเรียนตนแบบ

การใชนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน จํานวน 4 โรงเรียน

ปที่ 1 (2549) ปที่ 2 (2550) ปที่ 3 (2551) ป.1, ป.4ม. 1

ป.1-2, ป.4-5 ม.1-2

ป.1-6 และ ม.1-3

1. โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ (ขยายโอกาส) 2. โรงเรียนชุมชนบานชนบท (ประถมศึกษา) 3. โรงเรียนบานบึงเนียมบึงใครนุน (ขยายโอกาส) 4. โรงเรียนหนองตูมหนองงูเหลือม (ขยายโอกาส)

ภาพแสดงการวางแผนราย 3 ป ของโรงเรียนตนแบบการใชนวัตกรรม

ตัวอยางการวางแผนราย 3 ปของโรงเรียนนาํรอง การขยายผลการใชนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน

จํานวน 19 โรงเรียน ปที่ 1 (2552) ปที่ 2 (2553) ปที่ 3 (2554) ป.1 และ ป.4 ป.1-2, ป.4-5 ป.1-6 ภาคเหนือ 4 จังหวัด รวม 6 โรงเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 จังหวัด รวม 13 โรงเรียน

ภาพแสดงการวางแผนราย 3 ป ของโรงเรียนนํารองการขยายผลการใชนวตักรรม

5.2 ในการนํานวัตกรรมไปใชในโรงเรียนจําเปนตองจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ ไดแก (1) สรางความตระหนักเร่ืองความรวมมอืระหวางเขตพื้นท่ีการศึกษากับโรงเรียนท่ีจะใชนวัตกรรมและโรงเรียนเครือขายโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการใหกบัผูบริหารสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครู ผูประสานงานโรงเรียน และนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

Page 42: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 37

(2) สรางความรูความเขาใจเก่ียวกับนวัตกรรมท้ังในบริบทชัน้เรียนของประเทศญี่ปุน ท่ีเปนตนกําเนิดของนวัตกรรม และความเปนไปไดในการใชในประเทศไทย โดยอาศัย วีดิทัศนชั้นเรียน ท้ังของประเทศไทยและประเทศญ่ีปุนเปนเคร่ืองมือเพื่อพยายามเปล่ียนแปลงโลกทัศน ความเชือ่ หรือคานิยมของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอน เก่ียวกับผูเรียน และการทํางานรวมกับเพื่อนครู และนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การอบรมเชิงปฏบิัติการน้ีจําเปนตองใหผูท่ีมีความรู และเชี่ยวชาญนวัตกรรมดังกลาวเปนวิทยากร

ภาพแสดงทีมการศึกษาชั้นเรียน

5.3 ควรวางแผนกิจกรรมภายใตนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดระยะยาวตลอดป โดยจัดกิจกรรมตอเน่ืองอยางนอย 3 ป เพื่อการดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง และเพื่อใหนวัตกรรมไดมีระยะเวลาในการทํางาน

ทีมการศกึษาชั้นเรียน

ศึกษานิเทศก

ผูอํานวยการโรงเรียน

ครู ผูบริหาร สพท.

นักศึกษาปฏิบัติการสอนใน

สถานศึกษา

ผูประสานงานโรงเรียน

Page 43: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

38 | หนา

5.4 ควรวางแผนกิจกรรมตางๆ ท่ีจะเกิดขึ้นตลอดทั้งป และมีความตอเน่ือง ตลอดระยะเวลา 3 ป เพื่อใหทีมการศึกษาชั้นเรียนมีเปาหมายในการดําเนินตามแนวทางนวัตกรรมตลอดท้ังป ดังตัวอยางตอไปน้ี

ภาพแสดงกิจกรรมภายใตนวตักรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดตลอดป

5.5 จากการที่การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูเปนหัวใจของการพัฒนาวิชาชีพครูดวยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด จึงจําเปนตองมีเคร่ืองมือท่ีจะชวยครูในการพัฒนาแผนอยางตอเน่ืองและสม่ําเสมอ ซึ่งในโครงการนี้ไดใชการวิจัยและพัฒนาหนังสือเรียนของสํานักพิมพ GAKKOHTOSHO ของประเทศญี่ปุนเปนเคร่ืองมือหลัก

6) บทสรุป การนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเขาไปในโรงเรียนน้ัน

เปนเร่ืองท่ีตองอาศัยระยะเวลาและการวางแผนอยางเปนระบบโดยพิจารณาวานวัตกรรมดังกลาวเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาวิชาชีพครูและทําใหโรงเรียนกลายเปนชุมชนแหงการเรียนรู (Learning of Community) ท่ีมีเปาหมายในการพัฒนาครูและ

เม.ย./ต.ค.

• การเขียนแผนการจัดการเรียนรูรวมกนั (รายภาคการศึกษา)

เม.ย.-มี.ค.

• การเขารวมประชุมทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

เม.ย.-มี.ค.

• การอบรมเชิงปฏิบัติการเพือ่เพิ่มพนูความรู

ก.พ.และ ต.ค.

• การจัดกิจกรรมเปดชั้นเรียน (open class) ระดับโรงเรียน

30-31 มี.ค.

• การจัดกิจกรรมเปดชั้นเรียน (open class) ระดับประเทศ

Page 44: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 39

นักเรียน และคนอื่นท่ีเก่ียวของใหสามารถเรียนรูตลอดชีวิต (Life-long Learning) เนนการเปล่ียนแปลงนิสัยในการคิดหรือการเรียนรู (Habits of mind) มากกวาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ในระยะส้ันๆ

7) ขอเสนอแนะในเชิงนโยบาย 7.1 การจัดตั้งศูนยพัฒนาวิชาชีพครู ควรมีการจัดต้ังกอต้ังศูนยพัฒนาวิชาชีพครูท้ัง 4 ภาค เพื่อใชในการพัฒนาครู

ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก และบุคลากรทางการศึกษา โดยใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach)

7.2 ความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับโรงเรียน สังกัด สพฐ. เนนความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยคณาจารยในมหาวิทยาลัยมีโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนโรงเรียนกลุมเปาหมายในการวิจัย โดยใชโรงเรียนเปนฐานในการวิจัย (School - based Research) และพัฒนานักศึกษาฝกหัดครู รวมถึงนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย

7.3 การพัฒนาวิชาชีพครูดวยนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียนโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (School - based Lesson Study)

การพัฒนาวิชาชีพครูดวยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนโดยใชโรงเรียนเปนฐานเปนการพัฒนาวิชาชีพครูโดยอาศัยโรงเรียนของตนเองเปนหนวยในการพัฒนา เนน การนิเทศภายใน โดยรวมมือกันทํางานตามข้ันตอนของการศึกษาชั้นเรียน ผูเชี่ยวชาญภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาในโรงเรียนมากกวาการท่ีครูในโรงเรียนจะออกไปอบรมระยะส้ันกับผูเชี่ยวชาญภายนอกโรงเรียน

7.4 การพัฒนาวิชาชีพครูดวยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนโดยใช เขตพ้ืนที่การศึกษาเปนฐาน (District - based Lesson Study)

การรวมกลุมโรงเรียนเครือขาย หรือโรงเรียนในเขตพื้นท่ีการศึกษาเดียวกัน เขารวมทีมการศึกษาชั้นเรียน เพื่อดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรม กอใหเกิดการขยายผล

Page 45: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

40 | หนา

การใชนวัตกรรมไปยังโรงเรียนเครือขายและโรงเรียนในเขตพื้นท่ีการศึกษาเดียวกัน รวมท้ังมีการแลกเปล่ียนเรียนรูตัวอยางความสําเร็จภาคปฏิบัติระหวางโรงเรียน (Sharing Good Practices)

7.5 การจัดประชุมวิชาการประจําป (Annual meeting) การกําหนดการประชุมวิชาการประจําป (Annual meeting) อยางเชน

กิจกรรมเปดชั้นเรียน (Open Class) เพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษาในทีมการศึกษาช้ันเรียนมีเปาหมายในการดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรมวาในแตละปจะตองมีการเตรียมตัวเพื่อเขารวมกิจกรรมเปดชั้นเรียน รวมท้ังเปนการเผยแพรนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดใหกับโรงเรียนหรือหนวยงานทางการศึกษาท่ีสนใจนวัตกรรมท้ังในสวนของภาครัฐและเอกชน

7.6 ความรวมมือระหวางสถาบันผลิตครูและหนวยงานการใชครู หนวยงานการใชครู เชน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ควรทํา

ความตกลงกับสถาบันผลิตครูท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด เพื่อกําหนดโรงเรียนเปาหมายท่ีเปนท้ังเครือขายสถานศึกษาสําหรับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และโรงเรียนท่ีจะบรรจุแตงต้ัง เมื่อสําเร็จการศึกษา เพื่อใหเปนโรงเรียนท่ีเปนแหลงเรียนรูนวัตกรรมดังกลาว

7.7 การสนับสนุนงบประมาณ 7.7.1 ดานการจัดสรรงบประมาณโรงเรียนควรไดรับการสนับสนุนวัสดุ

ครุภัณฑพื้นฐานสําหรับโรงเรียนท่ีใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด เพื่อใหสามารถใชนวัตกรรมไดเต็มรูปแบบ ซึ่งไดแกงบประมาณสําหรับการจัดหา หนังสือเรียนคณิตศาสตรท่ีเนนกระบวนการแกปญหา ซึ่งเปนหนังสือเรียนท่ีผานการวิจัยมาแลว (Research - based Textbook) กลองดิจิตอล กลองวิดีโอกระดานแมเหล็ก คูมือครูหนังสือเรียนคณิตศาสตร อุปกรณสําหรับทํากิจกรรมกลุมยอย เชนกระดาษบรูฟ ปากกาเมจิก เปนตน

Page 46: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 41

7.7.2 โรงเรียนในแตละภูมิภาคท่ีตองการใหเปนแหลงเรียนรูดานการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ควรมีการจัดสรรงบประมาณใหเหมือนกับการจัดสรรใหกับโรงเรียนวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนสามารถมีหนังสือเรียน วัสดุ อุปกรณพื้นฐานไวใชในการเรียน รวมถึงการเขารวมกิจกรรมทางวิชาการตางๆ เชน การประชุมวิชาการท้ังระดับชาติและนานาชาติ เอกสารอางอิง นฤมล อินทรประสิทธิ์. (2550). การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study): นวัตกรรมเพื่อ

พัฒนาวชิาชพีครูภาษาไทย.วารสารศึกษาศาสตร ปที่ 30 ฉบับที่ 2 - 3

เมษายน - กันยายน 2550. ขอนแกน. โรงพมิพคลังนานาวิทยา ไมตรี อินทรประสิทธิ์และคณะ. (2552). การเตรียมบริบทสําหรับการพัฒนาวิชาชีพครู

แบบญ่ีปุน ท่ีเรียกวา “การศึกษาชั้นเรียน” (Lesson Study) มาใชในประเทศไทย. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาตเิครอืขายญ่ีปุนศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 1. หนา 152 - 163.

ไมตรี อินทรประสิทธ. (2547). การสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียนคณิตศาสตรของญี่ปุน. KKU Journal of Mathematics Education, 1(1), 1-17.

ไมตรี อินทรประสิทธและคณะ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรในโรงเรียน โดยเนนกระบวนการทางคณิตศาสตร. ขอนแกน: ขอนแกนการพิมพ.

สุลัดดา ลอยฟาและไมตรี อินทรประสิทธ. (2547). การพฒันาวิชาชีพครูแนวใหม เพื่อสงเสริมการเรียนรูคณิตศาสตร. KKU Journal of Mathematics Education, 1(1), 18-28.

Page 47: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

42 | หนา

Fernandez, C.& Yoshida, M. (2004). Lesson Study: A Japanese Approach to

Improving Mathematics Teaching and Learning. Lawewnce Erlbaum Associates, Inc. New Jersey.

Isoda, M., Stephens, M., Ohara, Y. & Miyakawa, T. (2007). Japanese Lesson Study in Mathematics: Its Impact, Diversity and Potential for Educational Improvement. World Scientific Publishing Co.Pte. Ltd. Singapore.

Lewis, C., (2002). Lesson Study: A handbook of teacher - led Instructional

change. Philadelphia: Research for better schools, Inc. Shimizu, S., (2006). Professional Development through Lesson Study:

A Japanese Case. Paper presented at APEC International Symposium on Innovation and Good Practice for teaching and Learning Mathematics through Lesson Study. Khon Kaen Session.

Stigler, J.W. & Hiebert, J. (1999). The Teaching Gap: Best Ideas from the World’s

Teachers for Improving in the Classroom. New York: The Free Press. Wang - Iverson, P. & Yoshida, M. (2005). Building Our Understanding of

Lesson Study. Research for better school, Inc. USA. Yoshida, M. ( 2006). An overview of Lesson Study. In Building our

understanding of lesson study (pp.1-12). Philadelphia: Research for better schools Inc.

Page 48: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 43

แนวทางการจดัการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกอบอาชีพ

รองศาสตราจารย ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา1 และคณะ2

1. หลักการเหตุผล มนุษยจําเปนตองฝกฝนตนเองใหมีทักษะในการแสวงหาปจจยั 4 ในการดํารงชีวิต รวมท้ังไดรับการฝกฝนใหเห็นชองทางท่ีจะใชความรู ทักษะ ความสามารถ และความชอบสวนตนในการประกอบอาชพีท่ีสุจริต การศึกษามีบทบาทสําคัญในการฝกฝนพัฒนาคนใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ โดยเฉพาะการศึกษาข้ันพื้นฐานน้ันจะจดัการอยางไร เพื่อใหผูเรียนเห็นชองทางในการประกอบอาชีพใหเกิดรายไดสําหรับดํารงชีพใหเร็วและชดัเจนท่ีสุด นอกจากน้ี แนวโนมการเปล่ียนแปลงทุกๆ ดาน ทามกลางกระแสโลกาภิวัตน ท่ีมีการเคล่ือนยายคน เงิน เทคโนโลยี ขอมูล ขาวสาร และความรูอยางเสรี ทําใหการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานและการเรียนรูจะตองมีพลังท่ีจะกอใหเกิดผลอยางสรางสรรคตอการพัฒนาการศึกษา การเรียนรูของผูเรียน และการเตรียมตัวของผูเรียนในการประกอบอาชีพในอนาคต ในฐานะท่ีเปนสวนหน่ึงของระบบการพัฒนาประเทศ ซึ่งตองเชื่อมโยงกับการพัฒนาดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ภาคบริการ และการจางงาน ภาพสะทอนการจัดการศึกษาท่ีเชื่อมโยงกับการประกอบอาชีพท่ีผานมาพบวา “การศึกษาสรางคนใหทําอะไรไมเปน (เชิงวิชาชีพ) ปญหาคุณภาพเด็ก เด็กไมรู

วาตนเองถนัดอะไร ควรเรียนอะไร มีเด็กจํานวนมากเรียนในส่ิงท่ีไมถนัด เด็กมีปญหาในการตัดสินใจ… แนวทางพัฒนา ควรแบงกลุมเด็กตามความถนัด ตองวัดความถนัดเด็กใหพบวาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็กเลือก ใหเรียน/ทําในสิ่งท่ีเด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน เชนเดียวกับวิธีของประเทศเยอรมัน” (อมเรศ ศิลาออน, 18 พฤษภาคม 2552)

1 อาจารย ประจําคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชญาพิมพ อุสาโห และผูชวยศาสตราจารย ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

Page 49: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

44 | หนา

“ในการวิเคราะหพัฒนาการศึกษากอนท่ีเรามาถึงจุดน้ี เราจะเห็นมรดกทางการศึกษาหลายอยางท่ีไดใชประโยชนและเห็นส่ิงท่ีตองแกไข ซึ่งเปนผลจากระบบการศึกษาเมื่อประมาณหน่ึงรอยปท่ีแลว ตามสาระ พ.ร.บ.ประถมศึกษา 2464 เราออกแบบการศึกษาเพื่อออกไปประกอบอาชีพได ดังท่ีแสดงในไดอะแกรมแผนการศึกษาชาติ 2447 หรือเรียกวา ศึกษาพฤกษ กรอบแนวคิดระบบการศึกษาด้ังเดิม นักเรียนสามารถออกไปประกอบอาชีพไดหลายระดับต้ังแตประถม มัธยมตน มัธยมปลาย และอุดมศึกษา ตางจากปจจุบันท่ีตองข้ึนบันได 12 ปการศึกษาขั้นพื้นฐานและข้ึนบันไดอุดมศึกษาอีก 4 ป ถึงไปประกอบอาชีพได การศึกษาปจจุบันไมไดเปนสะพานขามสูอาชีพไดหลายระดับเชนในอดีตท่ีเรียน 4, 7, 10, 12 ปก็ออกไปประกอบอาชีพได ปจจุบันคนคิดวาตองจบอุดมศึกษา ตองเรียนหนังสือ 16 ป จึงทํางานได...การศึกษาในอดีตสรางคนเขาสูการประกอบอาชีพไดทุกระดับ การศึกษาปจจุบันไมเตรียมคนเขาสูอาชีพ” (กฤษณพงศ กีรติกร, 2542)

การศึกษาข้ันพื้นฐานจึงมีความจําเปนท่ีจะนําพาใหเยาวชนไดรับความรู สรางคุณคาของการประกอบอาชีพอยางสุจริตโดยอาศัยความรูความสามารถ และทักษะท่ีไดเลาเรียนจากการศึกษาในระบบเปนฐาน และขยายตอไปยังการเรียนรูตลอดชีวิตตอไป 2. วัตถุประสงคการวิจัย การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค 4 ประการคือ 1) เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของไทยกับตางประเทศ 2) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปจจัยเง่ือนไขท่ีสงผลตอความสําเร็จของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.และสังกัดอื่น ท่ีมีการปฏิบัติท่ีนาสนใจ 3) เพื่อศึกษาแนวทางของความรวมมือขององคกรตางๆ ท่ีเก่ียวของในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ และ 4) เพื่อนําเสนอทางเลือกเก่ียวกับแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพเพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบายของ สพฐ.

Page 50: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 45

3. วิธีการดําเนินการวิจัย การดําเนินการวิจัยมี 4 กิจกรรม คือ (1) การศึกษาเอกสารและวิเคราะหเปรียบเทียบการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของตางประเทศกับประเทศไทย (2) การศึกษากรณีศึกษาโรงเรียนท่ีมีการปฏิบัติท่ีนาสนใจ 24 โรงเรียน 4 ภูมิภาค เก่ียวกับสภาพปจจุบันและปจจัยเง่ือนไขท่ีสงผลตอความสําเร็จของการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ (3) การจัดกิจกรรมการสนทนากลุมในระดับภูมิภาคทั้ง 4 ภูมิภาค 4 คร้ัง และ (4) การจัดกิจกรรมการสนทนากลุมในระดับ ประเทศ 1 คร้ัง 4. ผลการศึกษา 4.1 การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกอบอาชีพของไทยและตางประเทศ นโยบายการศึกษาของประเทศไทยซึ่งปรากฏในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) แผนการศึกษาแหงชาติมีเจตนารมณเพื่อมุง (1) พัฒนาชีวิตใหเปน “มนุษยท่ีสมบูรณท้ังทางรางกายจิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข” และ (2) พัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมท่ีมีความเขมแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ดาน คือ เปนสังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูและสังคมสมานฉันทและ เอื้ออาทรตอกันและเพื่อใหบรรลุตามเจตนารมณของแผนการศึกษาแหงชาติ จึงกําหนดวัตถุประสงค 3 ประการคือ (1) เพื่อพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา (2) เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรูและ (3) เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพ่ือเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรูซึ่งมีความสอดคลองกับการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวของกับจุดมุงหมายของการศึกษาท่ีระบุวา เปาหมายประการแรกของการศึกษาคือการเตรียมผูเรียนเพื่อการใชชีวิต รวมถึงชีวิตแหงการทํางาน ซึ่งไมมีความขัดแยงระหวางการเตรียมพรอมสําหรับการทํางานและการเตรียมพรอมสําหรับการเปนพลเมืองผูมี

Page 51: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

46 | หนา

วัฒนธรรม หรือลักษณะมุมมองของชีวิตซึ่งการศึกษาไดพยายามจัดใหเกิดข้ึน (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973)

แนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ (Career education) จึงเปนอีกกรอบความคิดหน่ึงท่ีจําเปนตองมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสําหรับผูเรียนโดยเฉพาะการศึกษาภาคบังคับ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองมีความเขาใจท่ีจะดําเนินการตามแนวคิดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ เน่ืองจากแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพหรืออาชีพศึกษามีจุดประสงคเพื่อใหผูเรียนไดมีความคิดที่เปนเหตุเปนผลในการทํางาน สั่งสมความรูและทักษะที่จําเปนในการทํางาน รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งระยะเวลาท่ีไดศึกษาหาความรูในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานน้ันจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติอันดีผานการศึกษา การฝกอบรม และการปฏิบัติงานเพื่อชวยใหผูเรียนมีประสบการณท่ีจะตัดสินใจในการศึกษาตอ และการทํางานตอไปไดในอนาคตท้ังน้ีหากผูเรียนขาดความรูความเขาใจและเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ความลมเหลวหรือขอผิดพลาดท่ีพบซึ่งกอใหเกิดปญหาทางดานสังคมท่ีตามมาคือปญหาของการใหคุณคาของงาน (Work values) ปญหาจริยธรรมในการทํางาน (Work ethic) หรือจรรยาบรรณวิชาชีพ (Professional ethic) และนิสัยการทํางาน (Work habits) ซึ่งจะไดยินคํากลาวถึงลักษณะอาชีพท่ีคนวัยทํางานตองการเสมอๆ คือ “ทํางานสบายๆ” “งานงาย รายไดดี” “ทํางานน่ังโตะ” “เชาชาม เย็นชาม” “งานประจําคืองานท่ีรับเงินเดือน สวนงานพิเศษคืองานสรางรายไดและความรํ่ารวย” “เวลาระหวางวันคือการทํางานหารายไดพิเศษ” “การคอรัปชั่นเปนเร่ืองยอมรับได จะคอรัปชั่นอยางไรก็ได ขอใหมีผลงาน” อันเปนความคลาดเคล่ือนของแนวคิดและความคิดความเขาใจท่ีมีการใชชีวิตและการทํางาน ซึ่งสรางผลเสียหายใหแกสังคมตอไป

Page 52: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 47

หลักสูตรและการเรียนการสอนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนท่ีตองดําเนินการอยางรอบคอบและครอบคลุมถึงจุดประสงคหลักของการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพเพื่อใหผูเรียนไดความตระหนักรูในคุณคา และมีความคิดท่ีเปนเหตุเปนผลในการทํางาน ส่ังสมความรูและทักษะท่ีจําเปนในการทํางาน รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยพบวาสามารถจัดกลุมของโครงสรางเน้ือหาของการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973) ดังน้ี คือ 1) โลกของการประกอบอาชีพ 2) คุณคาของการทํางาน 3) นิสัยของการทํางาน 4) ความพึงพอใจและการปรับตัวในอาชีพ 5) การตัดสินใจเกี่ยวกับอาชีพ และ 6) การตัดสินใจในการประกอบอาชีพ สอดคลองกับการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพท่ีสําคัญจากประเทศออสเตรเลีย ตัวอยางท่ีพบจากรัฐควีนสแลนด โดยอางอิงถึงแนวคิดของ McCowan & McKenzie (1997) ไดแก กิจกรรมการเรียนท่ีเอื้อใหผูเรียนไดตระหนักรูตนเอง (Self-awareness activities) กิจกรรมการเรียนท่ีเอื้อใหผูเรียนไดคนหาและคนพบประสบการณของโลกแหงการทํางานจริง (Opportunity awareness activities) การเรียนรูในการตัดสินใจ (Decision learning) การเรียนรูตอการเปล่ียนไปของสถานการณ (Transition learning) ท่ีจะเขามาท้ังท่ีไดวางแผนไวและไมไดวางแผนไว ท้ังท่ีปรารถนาจะใหเกิดขึ้นและไมปรารถนาใหเกิดขึ้น

การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพในหลักสูตรและการสอนในสถานศึกษาประสบความสําเร็จไดจะตองชวยใหผูเรียนไดเห็นความเชื่อมโยงของความรูจากโรงเรียนกับชีวิตจริง ใหผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูท่ีสนุก นาสนใจ และมีความหมาย ชวยใหผูเรียนมีความรู เจตคติ และทักษะท่ีจําเปนในอนาคต เพื่อเตรียมผูเรียนใหพรอมตอ การเปล่ียนแปลงในอนาคตได ซึ่งสถานศึกษาตองสรางความรวมมือใหเกิดข้ึนระหวางผูปกครองและชุมชนซึ่งจะเปนคูคิดท่ีสนับสนุนและชวยเหลือการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพใหเกิดขึ้นภายในสถานศึกษา

Page 53: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

48 | หนา

สถานศึกษาและครูตองใหความสําคัญกับออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีชวยเพิ่มโอกาสใหผูเรียนไดมี 1) การสรางแรงจูงใจ ความตระหนักในคุณคาและความสําคัญของการประกอบอาชีพ (Career motivation) 2) การสรางความเขาใจในอาชีพ (Career orientation) 3) การสํารวจโลกแหงอาชีพในยุคปจจุบัน (Career exploration) และ 4) การเตรียมพรอมสูเสนทางการประกอบอาชีพ (Career preparation) ซึ่งจัดเปนรูปแบบการศึกษาอาชีพระดับกอนอุดมศึกษา ตามแผนภาพท่ี 1 ซึ่งเปนรูปแบบการศึกษาอาชีพท่ีรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกาไดดําเนินการออกแบบการจัดการศึกษา ไวดังน้ี

แผนภาพที่ 1 รูปแบบการศึกษาอาชีพของรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา อางถึงใน Dykeman et al. (2001)

การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพในการศึกษาข้ันพื้นฐานจําเปนตองเนนใหผูเรียนมีความคิดท่ีเปนเหตุเปนผลในการทํางาน ส่ังสมความรูและทักษะท่ีจําเปนในการทํางาน รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งจะตองพัฒนาความคิดรวบยอด (Concepts) เก่ียวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพ (Career development) ของผูเรียนในชวงอายุต้ังแต 9-15 ป ซึ่งกําลังเรียนอยูในชั้นประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่งหลักสูตรและการเรียนการสอนจากทุกกลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผู เรียนจะตองใหความสําคัญและรวมมือกันจัดใหผู เ รียนไดรับการพัฒนาความคิดรวบยอด โดย

Page 54: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 49

ดําเนินการแบงน้ําหนักการใหความรูเปน 3 ระดับไดแก การแนะนํา การพัฒนา

และการเนนยํ้า ดังตัวอยางในตารางท่ี 1 ซึ่งมีความคิดรวบยอดหลายๆ ขอโดยเฉพาะในระดับท่ีตองใหผูเรียนมีความรวบยอดในชวงแรกๆ ในระดับประถมศึกษาตอนปลายน้ันจัดไดวามีความสําคัญท่ีเปนพื้นฐานใหเกิดการยอมรับถึงความหลากหลายและความแตกตางของการทําหนาท่ีและการประกอบอาชีพในสังคม อันจะทําใหเกิดเจตคติ คุณคาและแรงจูงใจท่ีดีตอไป ตารางที่ 1 ความคิดรวบยอดเก่ียวกับการพฒันาเสนทางอาชีพจําแนกตามลําดับนํ้าหนักการใหความรูและระดับชั้น (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973)

ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพ นํ้าหนักการใหความรู

แนะนํา พัฒนา เนนยํ้า อุปสงคและอุปทานของงานและอาชีพมีผลตอการวางแผนประกอบอาชีพ ป.4-6 ม.1-3 ความชํานาญเฉพาะทางในงานทําใหเกิดพ่ึงพาอาศัยกัน ป.4-6 ม.1-3 สภาพแวดลอม/ศักยภาพสวนบุคคลมีอิทธิพลตอการพัฒนาเสนทางอาชีพ ป.4-6 ม.1-3 อาชีพและวิถีการใชชีวิตมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน ป.4-6 ม.1-3 บุคคลจากหลากหลายอาชีพ สามารถเรียนรูท่ีจะปฏิบัติงานและใชชีวิตไดอยางพึงพอใจ

ป.4-6 ม.1-3

การพัฒนาเสนทางอาชีพตองดําเนินไปอยางตอเน่ืองและหลากหลายทางเลือก

ป.4-6 ม.1-3

บุคคลและสถาบันท่ีหลากหลายมีอิทธิพลตอนิสัยและโครงสรางของการทํางาน

ป.4-6 ม.1-3

บุคคลตองมีความรับผิดชอบตอการวางแผนอนาคตการทํางานของตนเอง ม.1-3 ลักษณะของงานและบุคคลตองปรับใหเขากับสังคมท่ีเกิดเปล่ียนแปลงได ม.1-3 ความเขาใจและการยอมรับตนเองเปนส่ิงสําคัญของชีวิต ป.4-6 ม.1-3

มนุษยมีความตองการที่จะไดรับการเกียรติและเห็นคุณคา ป.4-6 ม.1-3 อาชีพตางๆ มีท้ังท่ีมาและความมุงหมายของอาชีพ ป.4-6 ม.1-3 อาชีพมีความหลากหลายและอาจจะจัดเปนกลุมอาชีพไดแตกตางกันไปไดหลายแบบ

ป.4-6 ม.1-3

Page 55: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

50 | หนา

ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพ นํ้าหนักการใหความรู

แนะนํา พัฒนา เนนยํ้า การทํางานมีความหมายท่ีแตกตางกันไปตามแตบุคคลท่ีตางกัน ป.4-6 ม.1-3

การศึกษากับการทํางานมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน ป.4-6 ม.1-3 แตละบุคคลมีความสนใจ ความสามารถ ทัศนคติ และการใหคุณคาท่ีแตกตางกัน

ป.4-6 ม.1-3

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพสําหรับนักเรียน

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไมไดหมายถึงความคาดหวังใหผูเรียนตัดสินใจเลือกอาชีพต้ังแตยังเยาววัย หากแตเปนการจัดการศึกษาใหผูเรียนไดเรียนรู ฝกฝน มีความรูและเจตคติอันดีท่ีจะนําไปสูตัดสินใจเลือกการประกอบอาชีพในอนาคต

สําหรับประเทศไทยการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพในการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปรากฏในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สาระท่ี 4 ของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี คือ สาระการอาชีพ เร่ิมตนจัดใหกับนักเรียนต้ังแตชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 เปนตนไป เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนของตน และสามารถสํารวจความสนใจ ความสามารถและทักษะอาชีพของตน และเมื่อเขาสูระดับมัธยมศึกษาตอนตน จึงเร่ิมเรียนรูสาระเก่ียวกับแนวทางการเลือกอาชีพ และการสรางเจตคติท่ีดีตอการประกอบอาชีพ รวมท้ังไดฝกทักษะพ้ืนฐานท่ีจําเปนตอการประกอบอาชีพโดยท่ัวไปอยางเชน ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะแสวงหาความรู และทักษะการจัดการ เมื่อเขาสูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนเร่ิมฝกทักษะการหางานจากแหลงตางๆ และพรอมฝกทักษะอาชีพใหมีประสบการณอาชีพท่ีถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะท่ีดีตออาชีพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) แตหากพิจารณาจากหลักสูตรและการเรียนการสอนแลวพบวายังขาดการเสริมสรางความรู

Page 56: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 51

และทักษะทางอาชีพท่ีเปนรากฐานสําคัญในเชิงบูรณาการท้ังหลักสูตร เพื่อใหเกิด

การพัฒนาทางดานเจตคติสําหรับการทํางานและอาชีพตอไป ในสวนของการเตรียมการสูอาชีพ หรือเตรียมความพรอมในระดับชั้นมัธยมศึกษา

ตอนปลาย หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งผูเรียนอยูในวัย 16-18 ป น้ันพบวานโยบายของหลายๆ ประเทศเตรียมการสวนน้ีไมแตกตางกันกลาวคือ จัดใหมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษาตอในสถาบันอาชีวศึกษา สําหรับประเทศไทยไดจัดใหมีการศึกษาตอในสถาบันอาชีวศึกษาแบงออกเปนหลายระดับหรือหลายหลักสูตร มีการกําหนดระยะเวลาในการศึกษาและพื้นฐานความรูของผูเขาศึกษาตางกัน โดยท่ัวไปแบงไดดังน้ี หลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน หลักสูตรประกาศนียบัตรชางฝมือ (ปชม.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง (ปวส.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.)

ดังน้ันแนวคิดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพสําหรับการศึกษาข้ันพื้นฐานของไทยจําเปนอยางย่ิงท่ีจะเปนรากฐานและเปนสวนหน่ึงของเจตนารมณและเปาหมายของการศึกษาสําหรับเยาวชนไทย พิจารณาจากแผนภาพท่ี 2 การใหความรูความเขาใจตอความคิดรวบยอดของ “การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ”จําเปนอยูในทุกระดับชั้น และบูรณาการในหลักสูตรแกนกลางทุกกลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งมีการจัดนํ้าหนักของความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพใน แตละดานท่ีแตกตางกันไปตามระดับชั้นของผูเรียน

Page 57: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

52 | หนา

แผนภาพที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชพี จาํแนกตามนํ้าหนักการใหความรูและระดับชั้น ผูเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1-3 เปนวัยท่ีจําเปนตองเรียนรูเร่ืองการอานออกเขียนได (Literacy) การทําความเขาใจเก่ียวกับการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพจึงเปนสวนท่ีมีสัดสวนนอยในหลักสูตรและการเรียนการสอน อยางไรก็ตามผูเรียนระดับชั้นน้ีใหความสนใจในเร่ืองใกลตัวของตนเอง ครอบครัว การเรียนการสอนจึงสามารถใชเร่ืองรอบตัวของผูเรียนเชื่อมโยงไปสูการใหผูเรียนไดทําความรูจักและเห็นความแตกตางของหนาท่ีวิธีการทํางานและอาชีพตางๆ ได ซึ่งเปนการสรางความตระหนักในอาชีพตอคุณภาพชีวิตใหเกิดขึ้นมากท่ีสุด กลุมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4-6 เปนชวงวัยท่ีสามารถเขาใจเร่ืองราวตางๆ ท่ีเปนนามธรรมมากขึ้นและเรียนรูจากเร่ืองใกลตัวและจากส่ือตางๆ ไดมากซึ่งสามารถเชื่อมโยงอาชีพตางๆ ใหเห็นถึงความสําคัญของระบบสังคมได จึงเปนชวงเวลาของการแนะนํา และสรางความรูความเขาใจตอการศึกษากับการประกอบอาชีพไดในท้ัง 4 ขั้นของแนวคิด

Page 58: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 53

สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1-3 นับวามีความสําคัญมากเน่ืองจากเปนวัยท่ีมีความอยากรูอยากเห็น เร่ิมสนใจเร่ืองของตนเอง เพื่อนใกลชิด มีการสรางสังคม และพัฒนาความเปนอัตลักษณของตนเองมากข้ึน การทําความเขาใจเก่ียวกับการศึกษากับการประกอบอาชีพจึงเปนชวงเวลาของการพัฒนาความรูความเขาใจ การยอมรับความแตกตางของบุคคลทั้งในดานความสนใจ ความสามารถ ทัศนคติ และการใหคุณคาใหเพิ่มมากขึ้นโดยเชื่อมกับการประกอบอาชีพของคนในสังคม และเปดโอกาสใหนักเรียนวัยน้ีไดรูจักตนเองมากย่ิงขึ้นโดยการเรียนการสอนจําเปนตองเอื้อใหผูเรียนไดรับประสบการณจริงรวมกับการประเมินตามสภาพจริงมากยิ่งขึ้น เชน กิจกรรมการสํารวจอาชีพ ทัศนศึกษา การสังเกตงานอาชีพตางๆ และงานอาชีพในทองถิ่นแบบมีสวนรวม การฝกปฏิบัติ การเรียนโดยใชโครงงานเปนฐาน และการฝกงาน เปนตน

สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเนนหนักท่ีการเตรียมการสูอาชีพ ซึ่งโปรแกรมการศึกษากอนระดับวิชาชีพ เนนการเตรียมการดานทฤษฎีและทักษะเพื่อดําเนินการในแนวทางวิชาชีพหลังการเรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีความแตกตางจากการเตรียมการสูอาชีพของสถาบันอาชีวศึกษาท่ีเนนการเตรียมการดานทักษะในการทํางานและความรูดานเทคนิค ดานพฤติกรรมในการทํางานและทัศนคติในการทํางาน 4.2 สภาพปจจุบันและปจจยัเง่ือนไขที่สงผลตอความสาํเร็จของการจัดการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพของโรงเรียนที่มีการปฏิบัติทีน่าสนใจ

จากการศึกษาจากกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคพบวา ภาพรวมของการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพของโรงเรียนท่ีมีการปฏิบัติท่ีดีน้ันมีการจัดการศึกษาออกเปน 3 กลุมคือ กลุมท่ี 1 การพัฒนาทักษะชีวิต กลุมท่ี 2 การพัฒนาฝมือแรงงานดานการเกษตร ศิลปวัฒนธรรม และการประกอบการ และ กลุมท่ี 3 การพัฒนาฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมและการบริการ (หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ: ปวช.)

กลุมที่ 1 ในการพัฒนาไดนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักในการบูรณาการเขาไปในทุกกลุมสาระการเรียนรู ในโครงการและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

Page 59: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

54 | หนา

รวมท้ังไดรับการสงเสริมจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียงจากภายนอก สงผลใหผูเรียนมีทักษะชีวิตท่ีสามารถจะนําไปปรับใชในชีวิตการทํางาน

กลุมที่ 2 เชื่อมโยงมาจากกลุมท่ี 1 ท่ีมีกิจกรรมของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเก่ียวของกับการฝกอาชีพ เมื่อมีนโยบายจากหนวยเหนือในดานการพัฒนาการเรียนการสอนท้ังในเร่ืองโครงการเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา โครงการโรงเรียนในฝนฯ รวมท้ังนโยบายและบทบาทหนาท่ีของหนวยงานภายนอก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สภาวัฒนธรรม องคกรปกครองสวนทองถ่ิน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน สถาบันการศึกษาฯ ท่ีเขามาสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอน กอใหเกิดการขับเคล่ือนของโรงเรียน โดยบุคลากรของโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ไดดําเนินการในรูปแบบของโครงการและกิจกรรม ตามนโยบายของหนวยเหนือ มีการบูรณาการฝกทักษะอาชีพในการจัดกระบวนการเรียนการสอนท้ัง 8 กลุมสาระการเรียนรู โครงการพัฒนาผูเรียน และโครงการสนับสนุนจากภายนอก ท้ังในดานงบประมาณ และภูมิปญญาทองถิ่น กอใหเกิดการจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพท่ีประสบผลสําเร็จทักษะฝมือแรงงาน 3 ดาน คือ (1) ดานการเกษตรมี ปลูกพืช เล้ียงสัตว และการประมง (2) ดานศิลปวัฒนธรรม มีการทอผา ทอเส่ือ การแสดงศิลปวัฒนธรรม ดนตรี และ (3) ดานการประกอบการมีสหกรณออมทรัพย ธนาคารโรงเรียน รานคานักเรียน รานเสริมสวย ชุมนุมอาชีพตางๆ และโครงงานอาชีพตางๆ

กลุมที่ 3 เปนการจัดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งสืบเน่ืองมา จากนโยบายของกรมสามัญศึกษาเดิม เมื่อมีการเปล่ียนแปลงโครงสรางการบริหารตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 การจัดการศึกษาหลักสูตร ปวช. จึงขาดการสนับสนุน มีการปดการเรียนการสอนไป แตยังคงมีหลายแหงท่ีทางโรงเรียนยังเห็นความสําคัญจึงจัดการเรียนการสอนตอเน่ืองประกอบกับเปนความตองการของทองถิ่น เพื่อรองรับนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเงิน ไมสามารถศึกษาตอในวิทยาลัยอาชีวศึกษาได เน่ืองจากการเรียนหลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนสามัญเปนไปตามนโยบายเรียนฟรีของ

Page 60: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 55

รัฐบาลและอยูในทองถิ่นของนักเรียนเอง ผูปกครองจึงไมตองเสียคาใชจายเพ่ิมเติมในเร่ืองคาเดินทาง และ/หรือ คาท่ีพัก นอกจากน้ี ผูปกครองยังสบายใจท่ีไดดูแลอบรม ส่ังสอนบุตรหลานของตนอยางใกลชิดซึ่งนักเรียนมัธยมศึกษาอยูในชวงวัยรุนท่ีมีการเปล่ียนแปลงหลายดานอยางรวดเร็ว ท้ังไดศึกษาตอกับครูท่ีรูจักและเขาใจวิธีดูแลชวยเหลือนักเรียนมาต้ังแตระดับระดับมัธยมศึกษาตอนตนแลว การดูแลอยางใกลชิดของผูปกครองและครูในชวงวัยรุนน้ีสรางโอกาสใหนักเรียนไดพัฒนาความรู ทักษะ และความสามารถในการประกอบอาชีพของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพและสรางสรรค และพบวาหลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนสามารถเชื่อมโยงกับองคกรภายนอก ภูมิปญญาทองถิ่น และสถานประกอบการมาชวยในการสนับสนุนการสอน จึงสงผลใหผูสําเร็จการศึกษามีงานทํา สรางรายไดใหกับครอบครัวเปนท่ีพึงพอใจของผูปกครอง หลักสูตร ปวช. เปนการสรางทักษะฝมือแรงงานในดานอุตสาหกรรมและการบริการ เชน สาขา ชางเชื่อมและโลหะแผน สาขาพาณิชยกรรม ท่ีสามารถตอบสนองสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม

ปจจัยสูความสําเร็จของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพท่ีสงผลตอคุณลักษณะ ความรูและทักษะของนักเรียนโดยท่ัวไปคือความมีวินัย ความรับผิดชอบตอหนาที่ เจตคติที่ดีตอการทํางาน ความภาคภูมิใจและเห็นคุณคาในตนเอง มีสํานึกรักบานเกิด และภูมิใจในวัฒนธรรมทองถิ่น ท้ังน้ีวิธีการพัฒนาคุณลักษณะนักเรียนดังกลาวของโรงเรียนท่ีปฏิบัติดีและนาสนใจในการศึกษาคร้ังน้ี สวนใหญมีการพัฒนาคุณลักษณะ ความรูและทักษะของนักเรียนเปน 5 กลุม ไดแก

1) คุณลักษณะ ความรูและทักษะตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานการเกษตรท่ีสอดคลองกับ

ลักษณะเฉพาะของทองถ่ินและการประยุกตใชในอนาคต ไดแก การปลูกพืช เชน การปลูกขาว ผัก ผลไม และเห็ด เปนตน

Page 61: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

56 | หนา

3) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานศิลปวัฒนธรรม ไดแก การแสดงดนตรีไทยดนตรีพื้นเมือง เชน โปงลาง หมอลํา เปนตน และหัตถกรรม ไดแก การทอผา ทอเสื่อ สานไมไผ และงานประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติและของเหลือใช เปนตน

4) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานการประกอบการ ไดแก งานสหกรณออมทรัพย ธนาคาร รานเสริมสวย งานขาย งานคอมพิวเตอร เปนตน

5) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมและการบริการ ไดแก งานชางตางๆ งานพาณิชยกรรม และงานบริการ ท้ังน้ีคุณลักษณะของนักเรียนดังกลาวมีความสอดคลองกับผลการวิจัยเก่ียวกับคุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางท่ีนายจางตองการ (กรมการจัดหางาน, 2552) ท่ีพบวาคุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางท่ีนายจางตองการ ไดแก เปนผูท่ีมีความรับผิดชอบ เปนผูมีความขยันหมั่นเพียร อดทน สูงาน และเปนผูท่ีมีระเบียบวินัยในตัวเอง

แผนภาพท่ี 3 คุณลักษณะ ความรูและทักษะของนักเรียนจากขอคนพบของการปฏิบัติท่ีนาสนใจของโรงเรียนในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชพี

Page 62: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 57

การจัดการเรียนการสอนท่ีจะสรางคุณลักษณะดังกลาวเพื่อใหผูเรียนไดตระหนักเห็นคุณคาของการประกอบอาชีพ และพัฒนาความรูความเขาใจตอคุณลักษณะดังกลาวน้ัน จากการวิจัยพบวาโรงเรียนมีการจัดหลักสูตรและการเรียนสอนท่ีเนนการเชื่อมโยงกับโลกแหงการทํางานจริง (Real-world relevance) การทํางานกลุมในการเรียนแบบรวมกัน (Collaboration) การสะทอนคิด (Reflection) ท่ีทําใหผูเรียนสรางความรูแบบเมตาคอคนิชัน (Metacognition) และการประเมินแบบบูรณาการ (Integrated assessment) จากเพื่อนรวมชั้นเรียน สถานฝกงาน และครูผูสอน ระบบการสอนท่ีเอื้อตอการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ ซึ่งการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูตามระบบการสอนดังกลาวท่ีพบในโรงเรียนกรณีตัวอยาง ไดแก การมอบหมายใหผูเรียนสํารวจอาชีพ การพาไปทัศนศึกษา การเรียนแบบฝกปฏิบัติการ การทํางานอาสาสมัคร การเรียนแบบใชปญหาเปนฐาน การเรียนรูแบบโครงงาน และการฝกงานในหนวยงานและสถานประกอบการ แสดงเปนแผนภาพท่ี 4

แผนภาพท่ี 4 ลักษณะกิจกรรมการเรียนรูท่ีเอื้อตอการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ

Page 63: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

58 | หนา

แผนภาพที่ 5 สรุปปจจัยและเงื่อนไขสูความสําเร็จจากการปฏิบัติที่นาสนใจของโรงเรียน

กรณีศึกษาในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ

Page 64: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 59

จากการศึกษาวิจัยพบวา มีหลายปจจัยและเงื่อนไขสําคัญของการขับเคล่ือนใหการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพเกิดขึ้นได ปจจัยสําคัญ ไดแก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นโยบายท่ีชัดเจนของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายจากหนวยงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวของและเอื้อตอการเปนแหลงการเรียนรู การนํานโยบายสูการปฏิบัติ ความรวมมือของภูมิปญญาและวิทยากรในทองถิ่น นโยบายของโรงเรียน สรุปไดดังแผนภาพท่ี 5 4.3 แนวทางของความรวมมือขององคกรที่เก่ียวของในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกอบอาชีพ

การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพมีเปาหมายเพื่อใหเกิดคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา สรางโอกาสการไดรับบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ดังน้ันการมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวนจึงมีความสําคัญท่ีจะทําใหผูเรียนไดรับบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน

4.3.1 ดานการมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวน (All for education) จากการศึกษาจากกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคพบวา ประชาชนในวัยแรงงานผานการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบของการศึกษาในระบบ และการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีสวนหน่ึงท่ีเขาสูตลาดแรงงานเปนนักเรียนท่ีออกจากโรงเรียนกลางคัน และอีกจํานวนหน่ึงคือแรงงานท่ีไมไดศึกษาตอในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษานักเรียนท่ีเขาสูตลาด แรงงานโดยท่ีไมไดผานระบบการศึกษาท้ัง 3 ระบบ จะมี 3 กลุม ประกอบดวยกลุมท่ี 1 นักเรียนท่ีออกนอกระบบการศึกษากอนท่ีจะจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป หรือการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป เน่ืองจากปญหาและปจจัยตางๆ จึงเปนกลุมท่ีขาดความรูและทักษะอาชีพ และเขาสูแรงงานภาคเกษตรกรรมหรือแรงงานไรฝมือในภาคอุตสาหกรรม กลุมท่ี 2 นักเรียนท่ีจบมัธยมศึกษาตอนปลายแตไมสามารถศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาตองเขาสูแรงงาน จึงเปนแรงงานท่ีไมมีทักษะฝมือ และกลุมท่ี 3 นักเรียนท่ีจบประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ของโรงเรียนมัธยมศึกษา เปนกลุมท่ีมีฝมือเขาสูแรงงาน ท้ัง 3 กลุมจึงเปนกลุมเปาหมายที่ สํานักงานคณะกรรมการ

Page 65: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

60 | หนา

การศึกษาขั้นพื้นฐานจะตองเขาไปมีบทบาทรับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ นอกจากน้ียังมีหนาท่ีท่ีจะตองเตรียมความพรอมทักษะชีวิตใหกับนักเรียนในทุกชวงชั้น รวมท้ังการเตรียมความพรอมท่ีศึกษาตอในอาชีพหรือความพรอมในการเขาสูแรงงานในอนาคต องคกรท่ีเก่ียวของกับการผลิตหรือรับผิดชอบการพัฒนาทักษะอาชีพ เปนหนวยงานดานการศึกษาในทุกระบบ (ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย) ทุกระดับ (ระดับขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษาอื่นๆ) และทุกหนวยงาน (ภาครัฐและเอกชน) สําหรับหนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป คือสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะตองเขามารับผิดชอบโดยตรงในการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ จะตองขับเคล่ือนหนวยงานในสังกัด และโรงเรียนใหเขามาจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐานและทันตอการเปล่ียนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และสภาพแวดลอม ในภาคแรงงาน หนวยงานท่ีเปนผูไดประโยชนจากการศึกษา ไดแก ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริการ รวมท้ังภาคราชการ ซึ่งมีความตองการแรงงานในระดับตางๆ ควรเขามามีบทบาทรวมมือในการสนับสนุนการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อใหไดแรงงานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ใหสามารถสนองความตองการดานแรงงานของประเทศ 4.3.2 ดานคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา

คุณภาพและมาตรฐานของการจัดการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพของโรงเรียนตองเนนท้ังทักษะชีวิต และทักษะฝมือแรงงาน ทักษะชีวิตเปนหน่ึงในสมรรถนะท่ีสําคัญในหลักสูตรแกนกลาง และเปนคุณสมบัติพื้นฐานท่ีสําคัญท่ีนักเรียนจะตองมีความพรอมในการออกไปประกอบอาชีพใหประสบผลสําเร็จอยางย่ังยืน การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักในการออกแบบและการจัดการเรียนการสอนมีความจําเปนท่ีจะตองจัดการเรียน

Page 66: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 61

การสอนท้ังในสวนของการบูรณาการประกอบอาชีพในทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูและโครงการพัฒนาผูเรียนและการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการดูแลตนเองท้ังในบริบทของการอยูในสังคมเมือง และในสังคมโรงงานอุตสาหกรรมและสถานประกอบการอยางปลอดภัยและเกิดสันติสุข โดยจะตองมีการจัดประสบการณการเรียนรูและการฝกอาชีพตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหนักเรียนมีความพรอมในการออกไปสูชีวิตการประกอบอาชีพและประสบผลสําเร็จอยางย่ังยืน

การกําหนดนโยบายระดับกระทรวง สํานัก หรือหนวยเหนือทุกระดับท่ีชัดเจนในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพ การสนับสนุนอยางเปนระบบ ต้ังแตการมีสวนรวมในการวิจัย การมีสวนรวมในการพัฒนานโยบาย และการเชื่อมโยงกิจกรรมกับหนวยงานภายนอกท่ีเก่ียวของกับแรงงานใหเขามามีสวนรวมในการพัฒนาในฐานะผูไดผลประโยชนจากการไดแรงงาน จะสงผลใหการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการดําเนินการจัดการเรียนการสอนท้ัง 8 กลุมสาระการเรียนรูและโครงการพัฒนาอาชีพในโรงเรียนสามารถขยายการพัฒนาผูเรียนไปสูผูมีคุณภาพมีทักษะฝมือแรงงาน ท้ังในระดับการเตรียมความพรอมเพื่อการศึกษาตอในวิชาชีพ และระดับออกไปประกอบอาชีพ

สําหรับการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานยังคงมีความจําเปนอยางสูงในพื้นท่ีท่ีมีความตองการ เพื่อรองรับกลุมเปาหมายท่ีเปนนักเรียนท่ีมีฐานะยากจน และไมสามารถจะไปศึกษาตอไดในระดับวิทยาลัย เน่ืองจากการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจะเปนการพัฒนาฝมือแรงงานท่ีประชาชนใชตนทุนในการเรียนตํ่าท่ีสุด แตไดผลสูงสุดหากการบริหารจัดการต้ังแตการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การฝกงานในสถานประกอบการ มีการจัดทําแผนงานรวมกับหนวยงานท่ีเปนผูตองการแรงงานและหนวยงานสงเสริมการมีงานทําอยางไรก็ตามจําเปนท่ีจะตองไดรับการสนับสนุนทางดานทรัพยากรการเรียนรูตางๆ โดยเฉพาะอัตรากําลัง และการคัดเลือกผูสอนท่ีมีความรูความชํานาญ

Page 67: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

62 | หนา

โดยท่ัวไปการนํานโยบายสูการปฏิบัติของการใชหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนน้ันมีศักยภาพและความพรอม ท่ีจะชวยขับเคล่ือนการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ ส่ิงท่ีตองเนนย้ําคือการทําความเขาใจวา การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพคืออะไร และจะพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนอยางไร เพื่อใหผูเรียนไดมีโอกาสรูจักตนเอง รูจักคุณคาของการทํางาน คนหาและตัดสินใจการประกอบอาชีพในอนาคต และมีคุณลักษณะนิสัยท่ีสอดรับตอการเปนแรงงานท่ีดีท่ีพรอมรับการเปล่ียนแปลงไดในอนาคต จึงควรเปนจุดเนนของการพัฒนาควบคูไปกับการสงเสริมความสามารถสรางอาชีพใหนักเรียนไดดวยทรัพยากรท่ีมีอยู การเติมเต็มใหเกิดรูปธรรมใหนักเรียนสามารถออกไปสูอาชีพอยางแทจริง จะตองมีการสงเสริมสนับสนุนอยางจริงจัง ต้ังแตการจัดการเรียนการสอน ไปจนถึงการจัดหาแหลงงานท่ีเหมาะสมและจัดดําเนินการอยางเปนระบบทวิภาค (Dual system) โดยหลักสูตรจะใหความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพพื้นฐานควบคูไปกับการพัฒนาความรู/ทักษะอาชีพของผูเรียนและจะตองมีระบบการบริหารจัดการที่สรางความรวมมือภาควิชาการและภาคปฏิบัติการวิชาชีพระหวางโรงเรียนและสถานประกอบการ รวมท้ังการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยเหนือและหนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของดานอาชีวศึกษาและดานแรงงาน เขามาดูแลและรองรับกลุมนักเรียนท่ีขาดโอกาสในการศึกษาตอ มีปญหาทางครอบครัว และอยูนอกระบบการศึกษาซึ่งในอนาคตจําเปนท่ีจะตองมีการประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ เพื่อสงเสริมและสรางความเขมแข็งของการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพท่ีสงตอจนถึงการสรางงานใหกับผูเรียนตอไป 4.3.3 ดานโอกาสการไดรับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน (Education for all)

จากการศึกษาจากกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคพบวา แนวทางและทางเลือกในความรวมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อใหโรงเรียนสามารถจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ ประกอบดวย

Page 68: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 63

1) นโยบายประชาคมอาเซียนท่ีเปนตัวแปรเขามากระทบตอการพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อรองรับการเขาสูตลาดแรงงานอาเซียน

2) นโยบายอื่นท่ีเก่ียวของกับกับแรงงานเก่ียวของกับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาท้ังทางตรงและทางออม และ

3) นโยบายของหนวยเหนือ ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเปนหนวยงานบังคับบัญชาโดยตรงเพื่อใหเขตพื้นท่ีการศึกษาท้ังประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเขามาสงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตาม และพิจารณาจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพในโรงเรียน หนวยปฏิบัติการคือโรงเรียนจะตองมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยการบูรณาการหลักการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพใน 8 กลุมสาระและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน หรือจัดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) เพื่อใหเกิดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสรางโอกาสใหเกิดความพรอมสูการประกอบอาชีพ โดยผานโครงการหรือโครงงาน ใหนักเรียนเกิดทักษะอาชีพ ประกอบดวยทักษะชีวิตโดยการนอมนําปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการพัฒนา และมีการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนท้ัง 8 กลุมสาระการเรียนรู ท้ังแบบบูรณาการและการเนนท่ีกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อใหการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพมีคุณภาพและมาตรฐานดานทักษะอาชีพ หนวยงานสนับสนุนท่ีสําคัญประกอบดวย กลุมสนับสนุนวิชาการ ประกอบดวย ภูมิปญญาทองถิ่นสถาบันอุดมศึกษา อาชีวศึกษา สถาบันวิชาชีพ สถานประกอบการ ฯลฯ และกลุมสนับสนุนงบประมาณ ประกอบดวย องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน สถานประกอบการ ฯลฯ ซึ่งหากไดรับการสนับสนุนเปนนโยบายจากหนวยเหนือจะสงเสริมใหเกิดการสนับสนุนท้ังดานวิชาการและงบประมาณ เพื่อใหการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพสามารถตอบสนองความตองการดานแรงงานของประเทศอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน

Page 69: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

64 | หนา

4.4 ขอเสนอทางเลือกเก่ียวกับแนวทางการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกอบอาชีพ แนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ควรเนนการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและวิธีการจัดการเรียนการสอน รวมท้ัง กิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีสงเสริมใหผูเรียน ไดมีความตระหนักและรับประสบการณจริง ในระหวางการศึกษา เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงและถายโยงความรูไปสูการปฏิบัติงานท่ีมีคุณภาพและการประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมไดในอนาคต ตามหลักการของการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ (career education) โดยมีจุดประสงค เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนได 1) มีความคิดท่ีเปนเหตุเปนผลในการทํางาน 2) ส่ังสมความรูและทักษะท่ีจําเปนในการทํางาน 3) รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และ 4) สํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษาหาความรูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานน้ัน นักเรียนจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองไดรับการพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติอันดีผานการศึกษาการฝกอบรมและการปฏิบัติงาน เพื่อชวยใหผูเรียนมีประสบการณท่ีจะตัดสินใจในการศึกษาตอและการทํางานตอไปไดในอนาคต ซึ่งจําเปนท่ีสถานศึกษาจะตองมีความเขาใจในการออกแบบหลักสูตรและการเรียนการสอนรวมถึงวิธีจัดกิจกรรมการเรียนสงเสริมดวย ดังน้ันผูเก่ียวของอันไดแก ผูบริหารโรงเรียน และครู จากทุกกลุมสาระการเรียนรูจําเปนอยางมากท่ีจะตองมีความรูความเขาใจท่ีตรงกันในการน้ียุทธศาสตรท่ีจะทําใหการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ คือ ยุทธศาสตร “รวมพลังสานฝนขยายโอกาสการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เขาสูอาชีพไดตลอดแนว” ท่ีมีแนวทางการขับเคล่ือนใน 4 ระดับดังน้ี 1) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ ควร “กําหนดใหการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ” เปนวาระแหงชาติ จัดทํา School Mapping ทุกระดับทุกประเภทและทุกสังกัด เพื่อเปนขอมูลพื้นฐาน ในการพิจารณา การจัดต้ังสถานศึกษาใหมหรือปรับเปล่ียนสถานศึกษาเกาอยางมีเหตุผล ตรงตามความตองการจําเปนของชุมชน

Page 70: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 65

และไมกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบกับสถานศึกษาเดิม และชุมชนขยายกรอบมาตรฐานคุณภาพผูเรียน หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานใหครอบคลุมคุณภาพมาตรฐานทางวิชาชีพหรือมาตรฐานฝมือแรงงานดวย เชน การวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนระดับชาติ นอกจากจะวัดความรูความสามารถของนักเรียนแลว ควรประเมินทักษะพ้ืนฐานดานการประกอบอาชีพหรือสมรรถนะดานวิชาชีพของนักเรียนดวย อาจประเมินโดยใชแบบวัดมาตรฐาน แบบเทียบประสบการณ หรือแบบบันทึก ประสบการณกิจกรรม (activities transcript) ขยายกรอบคุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพของครู และผูบริหารใหครอบคลุมความรูและทักษะอาชีพท่ีจําเปนตองใชในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพในโลกปจจุบัน และอนาคตใหแกนักเรียน รวมท้ังสงเสริมใหสถาบันท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาครู จัดระบบการพัฒนาครูประจําการ และครูวิทยากร / ครูภูมิปญญา 2) ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ควรสงเสริมใหเกิดความรวมมือ ระหวาง สพฐ.กับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กรมพัฒนาฝมือแรงงานและสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานอื่นๆ ท้ังของรัฐและเอกชน ในการสรางประสบการณจริงของการปฏิบัติงานในอาชีพใหกับครู และนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ โดย สอศ. กรมพัฒนาฝมือแรงงานและสถาบันตางๆ นาจะใหความสําคัญในการกําหนดเปนพันธกิจบริการวิชาการและการรวมพัฒนาเยาวชน (ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) เปนพันธกิจท่ีสําคัญของหนวยงานสงเสริม คุณภาพมาตรฐานของการพัฒนาทักษะวิชาชีพ และการสรางประสบการณในการสราง รายไดและการใชจายอยางมีเหตุผลใหแกนักเรียน เชน โครงการนิทรรศการแสดงผลงานศิลปหัตถกรรมของนักเรียน ควรไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหดําเนินการตอไปอยางตอเน่ือง 3) ระดับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ท้ังสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา (สพป.) และสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ควรเปน

Page 71: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

66 | หนา

องคกรกลางเชื่อมโยงการแสวงหา และสงเสริมความรวมมือระหวางสถานประกอบการ องคกรตางๆ และองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) กับโรงเรียนในการสรางโอกาสและแหลงเรียนรู เพื่อฝกประสบการณ และการปฏิบัติการประกอบอาชีพจริงและการสรางความรวมมือกับหนวยงานวิชาการในและนอกพื้นท่ีในการพัฒนาครูใหมี ความรูทักษะ และประสบการณจริงในการสอนการประกอบอาชีพท่ีตอบสนองตลาด แรงงานในปจจุบัน หนวยงานท่ีสําคัญดังกลาว ไดแก สถาบันทางดานอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา และหนวยงานวิชาชีพตางๆ 4) ระดับโรงเรียน ควรสํารวจทักษะอาชีพของครู ผูบริหาร ศิษยเกา และผูปกครอง เพื่อจัดทํารายงานอาชีพท่ีมีผูสอนและแหลงเรียนรูตางๆ ในทองถ่ิน ผูบริหารควรสรางความรวมมือกับครูทุกกลุมสาระการเรียนรูท้ังโรงเรียนในการจัดทําเร่ืองน้ี โดยสงเสริมใหคณะกรรมการสถานศึกษาสมาคมศิษยเกาและสมาคมผูปกครองมีสวนรวมในการสนับสนุนกิจกรรมการเรียน เพื่อสํารวจ / ศึกษา / เลือกอาชีพ / พัฒนาทักษะอาชีพ รวมท้ังเปนแหลงทรัพยากรบุคคลท่ีจะเปนวิทยากรและครูฝกทักษะอาชีพ ควรมีวิสัยทัศนและนโยบายในเร่ืองการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพ เชน การจัดทําแผนท่ีอาชีพของทองถิ่นวิเคราะหและจัดทําฐานขอมูลของศิษยเกาและนักเรียนท่ีออกจากโรงเรียน กําหนดกิจกรรมหลักในการทําโครงงานประกอบอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษา จัดตารางเรียนและทรัพยากรใหสนับสนุนการฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมและพัฒนาใหครูทุกกลุมสาระ จัดทําหนวยการเรียนรูวิชาชีพประเภทตางๆ โดยบูรณาการกับกลุมสาระวิชาตางๆ ใหกับนักเรียนทุกชวงชั้นอยางตอเน่ือง สนับสนุนโครงงานอาชีพท่ีมีอยูอยางตอเน่ือง และจัดระบบการเรียนรู และการพัฒนาทักษะวิชาชีพไปสูการเกิดรายได และการประกอบอาชีพตอไปโดยอาจเชื่อมโยงกับกลุมอาชีพตางๆ ท่ีมีอยู เชน กลุม OTOP กลุมอาชีพ กลุมสหกรณตางๆ ในชุมชน เพื่อพัฒนาฝมือผลิตภัณฑและการตลาดในงานเทศกาลตางๆ ของชุมชน

Page 72: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 67

ท้ังน้ีแนวทางการขับเคลื่อนดังกลาวตองนอมนําพระราชดําริของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีไดพระราชทานไวเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักของแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพและมีเปาหมายสําคัญคือ การมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวนการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ และมาตรฐานตามหลักการการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพและการสรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานไดรับการฝกปฏิบัติจริง มีนิสัยใฝเรียนรูและใฝทํางานเพื่อสวนรวมมีความพรอมท่ีจะประกอบอาชีพสุจริตอยางสรางสรรค ในการตอบสนองความตองการดานแรงงานของประเทศและภูมิภาค รายการอางองิ การจัดหางาน, กรม. (2552). คุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางท่ีนายจางตองการและ

คุณลักษณะพื้นฐานของนายจางท่ีลูกจางตองการในภาคอตุสาหกรรมและภาคบริการ. (ออนไลน). แหลงท่ีมา: http://lmi.doe.go.th 1 พฤษภาคม 2554.

กฤษณพงศ กีรติกร. (2542). วิกฤติ กระบวนทัศน มโนทัศน เพื่อการปฏิรูปการศึกษา. 2542. นนทบุรี: หางหุนสวนจํากัด วรรณกรรม.

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สํานักงาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สํานักงาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

Page 73: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

68 | หนา

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2553). แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559): ฉบับสรุป. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สิริพันธุ สุวรรณมรรคา ชญาพิมพ อุสาโห และปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2554). แนวทางการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชพี. ทุนวจิัยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.

สิริพันธุ สุวรรณมรรคา และคณะ. (2554). การวิเคราะหเปรียบเทียบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของตางประเทศกับประเทศไทย. รายงานวิจัยเลมท่ี 1 ในโครงการวิจัยแนวทางการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชพี. ทุนวจิัยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.

อมเรศ ศิลาออน. (2552). “ผลการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเก่ียวกับการวิจยัพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน” เอกสารหมายเลข 2 หนา 1. ในเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน คร้ังท่ี 3/ 2552.

Dykeman, C., Herr, E.L., Ingram, M., Wood, C., Charles, S., Pehrsson, D. (2001).The Taxonomy of Career Development Interventions that occur in America’s Secondary School. St.Paul: Naitonal Research Center for Career and Technical Education, University of Minnesota.

Evans, R. N., Hoyt, K. B. & Mangum, G. L. (1973).Career Education in the Middle/Junior High School. Salt Lake City, Utah: Olympus Publishing Company.

McCowan, C. & McKenzie, M. (1997). The guide to career education. Sydney: New Hobsons Press: p. 17 Cited in http://education.qld.gov.au/students/service/career/principles.html [May 17, 2011]

Page 74: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 69

รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพ่ือพัฒนางานวิจัย ของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ1 และคณะ2 1. บทนํา กระแสโลกาภิวัตน (globalization) เปนปจจัยผลักดันสําคัญท่ีทําใหสังคมโลกเคล่ือนเขาสูสังคมเศรษฐกิจฐานความรูอยางรวดเร็ว ทุกองคการตางพยายามเรียนรูท่ีจะเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมองคกร โดยมุงสูการพัฒนาและสรางวัฒนธรรมองคกรเชิงรุก เพื่อทําใหองคการมีความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น เปนท่ียอมรับอยางสากลวา “การวิจัย (research)” เปนนวัตกรรมทางการศึกษา ท่ีสําคัญท่ีสุดในการพัฒนาองคการสูสังคมเศรษฐกิจฐานความรู เพราะผลผลิตและผลลัพธของการวิจัยกอใหเกิดท้ังความรู (core knowledge) และนวัตกรรม ดังน้ันประเทศท่ีพัฒนาแลวจึงทุมเททรัพยากรใหกับการวิจัยอยางตอเน่ือง และถือเปนนโยบายสําคัญของรัฐท่ีตองใหการสนับสนุนเปนพิเศษ เพื่อใหประเทศเจริญกาวหนา พึ่งพาตนเองและสามารถแขงขันกับนานาประเทศได สําหรับประเทศไทยไดพยายามผลักดันใหทุกฝายเห็นความสําคัญของการวิจัย และใชการวิจัยเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาประเทศ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ใหความสําคัญกับการวิจัยโดยกําหนดเปนนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในทุกศิลปวิทยาการสาขาตางๆ เพื่อการพัฒนาประเทศอยางสอดคลองกับยุคแหงการแขงขันท่ีตองใชความรูเปนฐาน (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2547 : 1) และไปในทิศทางเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 5 - 10 โดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติไดจัดทํานโยบายการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยของชาติอยางเปนรูปธรรมต้ังแต พ.ศ. 2520

1หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2ผูชวยศาสตราจารย วาท่ีพันตรี ดร.นพดล เจนอักษร, ดร.สําเริง ออนสัมพันธุ, ดร.วรกาญจณ สุขสดเขียว, ดร.มัทนา

วังถนอมศักด์ิ, ดร.สายสุดา เตียเจริญ และ ดร.นุชนรา รัตนศิระประภา

Page 75: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

70 | หนา

เร่ือยมา ประกอบกับปจจุบันประเทศไทยกําลังเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรูท่ีเนนการสรางองคความรูจากการวิจัย การสนับสนุนการวิจัยจึงเปนการสนับสนุนเพื่อสรางการเปล่ียนแปลงท่ีดีกวาใหกับองคการ ดังน้ันการสงเสริมการวิจัยและสนับสนุนนักวิจัยจึงเปนพันธกิจท่ีสําคัญและตองทําใหสําเร็จ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปนองคกรหลักท่ีมีบาทบาทและภารกิจเก่ียวกับการจัดและสงเสริมการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยมีสถานศึกษา เปนหนวยปฏิบัติการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีหนาท่ีกํากับ ประสาน และสงเสริมการจัดการศึกษา ตามเปาหมายการใหบริการดานสรางโอกาสทางการศึกษาอยางมีคุณภาพ แตเน่ืองจากมีโรงเรียนมากกวาสามหมื่นโรง มีนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมากถึง 7,894,875 คน จากการประมวลผลการบริหารจัดการศึกษาพบปญหาการจัดการศึกษาท่ีควรตองไดรับการแกไขอยางเรงดวน คือ ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่ากวาเกณฑ ปญหานักเรียนออกกลางคัน ปญหาคุณลักษณะอันไมพึงประสงคของนักเรียน ตลอดจนปญหาดานคุณภาพการจัดการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 5) แนวทางแกไขปญหาแนวทางหน่ึง คือ การสงเสริมสนับสนุนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทําวิจัยทางการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยคิดคนนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีสามารถนํามาแกไขปญหาได และเพื่อใหการดําเนินการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ดําเนินไปอยางเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากรรวมกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงดําเนินการศึกษาวิจัย เร่ือง “รูปแบบการดําเนินการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา” เพื่อไดขอคนพบท่ีดีและเหมาะสม นําไปใช เปนแนวดําเนินการสงเสริมและพัฒนาตอไป

Page 76: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 71

2. วัตถุประสงค 2.1. เพื่อทราบองคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 2.2. เพื่อนําเสนอรูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 3. วิธีการศึกษา ผูวิจัยดําเนินการศึกษาตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยมีขั้นตอนการดําเนินการวิจัย 2 ขั้นตอนหลัก ดังน้ีคือ ขั้นตอนแรกเปนการวิเคราะหองคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 เปนการวิเคราะหรูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยคือ (1) แบบวิเคราะหเน้ือหา (2) แบบสัมภาษณแบบก่ึงโครงสราง และ(3) แบบสอบถามชนิดจัดลําดับคุณภาพ กลุมตัวอยางสําหรับการวิจัย คือ สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 4 ภูมิภาค แบงเปนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา จํานวน 40 เขต และสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 20 เขต รวมท้ังส้ิน 60 เขต ผูใหขอมูลเขตพื้นท่ีละ 7 คน ประกอบดวย รองผุอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาฝายบุคคล หัวหนางานนิเทศ ศึกษานิเทศกผูรับผิดชอบงานวิจัย ผูอํานวยการโรงเรียน รองผูอํานวยการท่ีรับผิดชอบงานวิจัย ครู และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา สถิติวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถ่ี คารอยละ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะหตัวประกอบประเภทการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) และสถิติวิเคราะหความสัมพันธเชิงสาเหตุ (Path analysis)

Page 77: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

72 | หนา

4. ผลการวิจัย รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พบวา 4.1 องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามี 6 องคประกอบ คือ (1) วัฒนธรรมองคการ (organizational culture) บรรยายดวย 15 ตัวแปร คานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.525 - 0.731 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 14.395 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 14.113 (2) การสงเสริมการดําเนินการ (enhancing performance) บรรยายดวย 18 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.620 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 13.230 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 12.971 (3) การพัฒนาบุคลากร (personnel development) บรรยายดวย 12 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.509 - 0.627 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 12.653 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 12.405 (4) การกํากับติดตามและประเมินผล (monitor and assessment) บรรยายดวย 7 ตัวแปร คานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.738 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 11.131 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 10.913 (5) องคกรเครือขาย (network) บรรยายดวย 8 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.535-0.669 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 9.432 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 9.247 และ (6) แรงจูงใจ (motivation) บรรยายดวย 5 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.508 - 0.696 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 8.642 และคารอยละของ ความแปรปรวนเทากับ 8.473

Page 78: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 73

4.2. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุขององคประกอบ 6 องคประกอบ ดังแผนภูมิท่ี 1

แผนภูมิที่ 1 รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพ่ือพัฒนางานวิจัยของเขตพื้นที่การศึกษา สรุปและอภปิรายผลการศึกษา ตามวัตถุประสงค ดังน้ี

1. องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพ่ือพฒันางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประกอบดวย 6 องคประกอบ คือ 1.1 องคประกอบวฒันธรรมองคการ บรรยายดวย 15 ตัวแปร องคประกอบน้ีมีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 65.374 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 64.092 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.525 - 0.731 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาข้ันพื้นฐานแตงต้ังนักวิจัยประจําเขตพืน้ท่ีการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.731

Page 79: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

74 | หนา

(2) สงเสริมเครือขายวจิัยสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาท่ัวประเทศโดยเนนการมีสวนรวม คานํ้าหนักเทากับ 0.694 (3) การสงเสริมเครือขายการทําวิจัยของสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีโดยเนนการมีสวนรวม การส่ือสาร การแลกเปล่ียนเรียนรู คานํ้าหนักเทากับ 0.693 (4) สรางเครือขายครูแกนนําและพาครูทําวิจยั คานํ้าหนักเทากับ 0.683 (5) สงเสริมความรวมมือในการปฏิบัติตามวฒันธรรมองคการท่ีเปล่ียนแปลงไปเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.679 (6) รวมกนักําหนดวัฒนธรรมองคการท่ีจะสงเสริมการทําวจิัย คานํ้าหนักเทากับ 0.663 (7) การวิเคราะหรวมกันเพื่อปรับเปล่ียนวัฒนธรรมองคการท่ีเอื้อตอการสงเสริมการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.659 (8) การต้ังทีมพี่เล้ียงแนะนําการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.655 (9) กําหนดคูโรงเรียนในการทําวจิัย คานํ้าหนักเทากับ 0.651 (10) สงเสริมและสนับสนุนใหทําวิจัยเปนสวนหน่ึงของแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน คานํ้าหนักเทากับ 0.628 (11) สนับสนุนใหมีการทดลองใชนวัตกรรมหรือผลการวิจัยตางๆ ในสํานักงานเขตพื้นท่ีและสถานศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.611 (12) กําหนดแนวปฏิบัติการทําวิจัยท่ีเปนเลิศใหกับบุคลากรในแตละเขตพื้นท่ีการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.602 (13) จัดต้ังกองทุนการวิจัยในเขตพื้นท่ี คานํ้าหนักเทากับ 0.569 (14) สรางวัฒนธรรมองคการท่ีมุงเนนการศึกษา การทําวจิยั การคนควาเรียนรูรายบุคคลและรายกลุม การสรางองคความรู การแลกเปล่ียนความรูและการมีสวนรวม คานํ้าหนักเทากับ 0.542

Page 80: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 75

(15) สงเสริมพัฒนาใหครูและบุคลากรมีทักษะการเขียนรายงาน คานํ้าหนักเทากับ 0.525 องคประกอบน้ีสอดคลองกับการศึกษาของ ริทชี่ (Ritchie 2006 : 13) พบวา การสนับสนุน การสรางบรรยากาศองคการ การสรางวัฒนธรรมการวิจัยแกครู และการสนับสนุนจากบุคลากรผูมีความรูความชํานาญดานวิจัยใหชวยเหลือดานขอมูล คําแนะนําชวยเหลือจากบุคคลผูชํานาญการวิจัย ทําใหครูมีแรงจูงใจในการทําวิจัยจากแรงผลักดันจากท่ีทํางาน วัฒนธรรมการทํางานแบบเครือขายสงผลตอการตัดสินใจทํางานวิจัยของครู การสงเสริมเครือขายการวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีและสถานศึกษาโดยเนนการมีสวนรวม การส่ือสารแลกเปล่ียนเรียนรูและชวยเติมเต็มในส่ิงท่ีไมรู เชนเดียวกับวิจัยของ กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 136 - 139) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปนเครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานน้ันตองอาศัยกระบวนการติดตอส่ือสาร และ การปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลท่ีเกิดคือ เกิดระบบความสัมพันธในเครือขายแบบชวยเหลือเก้ือกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับกระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน โดยเครือขายใหความสําคัญกับการจัดการความรูและประสบการณบนพื้นฐานความสัมพันธท่ีมีอยูเดิมของกลุมคน การผสมภาคีหลากหลาย การผสานความรูสมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใชหลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรในทองถ่ินในการดําเนินงานท่ีสนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพมากข้ึน และสุดทายคือ การสงเสริมการพัฒนาใหครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการเขียนรายงาน 1.2 องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการ บรรยายดวย 18 ตัวแปร องคประกอบน้ีมีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 13.230 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 12.971 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.620 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) การสนับสนุนและจัดหาอุปกรณเพื่อสงเสริมการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.620

Page 81: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

76 | หนา

(2) การกําหนดระยะเวลาการทําวิจัยใหแลวเสร็จอยางชัดเจน คานํ้าหนักเทากับ 0.611 (3) จัดใหมีแหลงเรียนรู แหลงคนควาและจัดการความรู ดานการวิจัยอยางเปนระบบ คานํ้าหนักเทากับ 0.605 (4) กําหนดผูรับผิดชอบการทําวิจัยอยางชัดเจน คานํ้าหนักเทากับ 0.603 (5) การจัดทําโครงการท่ีตอบสนองตอวัตถุประสงคการทําวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.600 (6) มีผูเชี่ยวชาญเปนท่ีปรึกษาในการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.597 (7) การพัฒนาองคความรูดานการวิจัยแกครูและบุคลากรทางการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.575 (8) ใชการวิจัยเปนเคร่ืองมือในการพัฒนางานดานตางๆ ขององคการ คานํ้าหนักเทากับ 0.575 (9) การสงเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีสวนรวมในการวางแผน การทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.570 (10) การจัดสรรงบประมาณใหแกครู บุคลากรทางการศึกษาและผูนํางานวิจัยอยางเพียงพอ คานํ้าหนักเทากับ 0.562 (11) มีแหลงวิชาการเพื่อการศึกษา คนควาดานวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.557 (12) การสรางความตระหนักใหแกครูและบุคลากรทางการศึกษาไดเห็นประโยชนของการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.554 (13) การชี้แจงเพื่อทําความเขาใจกับผูรับผิดชอบงานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.554 (14) การกําหนดมาตรฐานการทําวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และแจงใหบุคลากรทราบทุกคน คานํ้าหนักเทากับ 0.540

Page 82: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 77

(15) การสงเสริมและสนับสนุนการทําวิจัยของบุคลากรอยางเปนระบบตอเน่ืองอยางย่ังยืน มีคานํ้าหนัก 0.522 (16) การมอบใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทํางานวิจัยตามแผนงานท่ีสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากําหนดไวอยางเปนระบบ คานํ้าหนักเทากับ 0.515 (17) การสํารวจความตองการของครูและบุคลากรในการทําวิจัยเพื่อพัฒนางาน คานํ้าหนักเทากับ 0.505 (18) การจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศที่ถูกตองและเพียงพอตอการนํามาใชวางแผนการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.502 องคประกอบน้ีสอดคลองกับแนวคิดของ สมพงศ เกษมสิน (สมพงษ เกษมสิน 2540: 70 อางถึงใน พจนันท รมสนธิ์ 2543 : 10) กลาววา ในการบริหารงานน้ันจะตองสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรการบริหารซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานท่ีใชในการบริหาร อีกท้ังสอดคลองกับ ธเนศ ตวนชะเอม (2538 : 3 - 4) ไดสรุปวาความสําเร็จของงานวิจัยข้ึนอยูกับระบบการบริหารงานวิจัย นับวาเปนกลไกท่ีมีความสําคัญ มีความซับซอนและเก่ียวของกับทรัพยากร หรือปจจัยตาง ๆ มากมาย ปจจัยท่ีสําคัญในการบริหารงานวิจัย มี 4 อยาง หรือ 4 M’s ไดแก บุคลากรการวิจัย งบประมาณการวิจัย วัสดุ-อุปกรณ ดังน้ันการสนับสนุนสงเสริมและจัดหาอุปกรณ เพื่อการวิจัย จึงมีความสําคัญจอการสงเสริมการดําเนินการวิจัยเพื่อสูวิจัยท่ีมีคุณภาพสามารถนําผลการวิจัยไปใชใชสนับสนุนให การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับงานวิจัยของ บัญชา อึ๋งสกุล (2546) ไดสรุปปจจัยสําคัญท่ีชวยสงเสริมสนับสนุนการทําวิจัย คือ จัดระบบงานวิจัย การจัดระบบสารสนเทศ การบริหารบุคคล การจัดสรรงบประมาณท่ีชัดเจนและสามารถปฏิบัติได 1.3 องคประกอบการพัฒนาบุคลากร บรรยายดวย 12 ตัวแปร องคประกอบน้ีมีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 12.653 และคารอยละของความแปรปรวน

Page 83: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

78 | หนา

(percent of variance) เทากับ 12.405 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.509 - 0.627 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) การสงเสริมในภาครัฐ นําผลวิจัยไปใชประโยชน คานํ้าหนักเทากับ 0.627 (2) การจัดเวลาใหครูมีเวลาสําหรับทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.591 (3) มีความรวมมือระหวางสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเก่ียวกับงานวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.586 (4) จัดใหมีผูเชี่ยวชาญเปนท่ีปรึกษาในการทําวิจัยใหกับครูและบุคลากร คานํ้าหนักเทากับ 0.585 (5) คณะกรรมการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาพัฒนาผูบริหารการศึกษาและผูบริหารสถานศึกษาใหมีความเปนผูนําทางการวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.581 (6) สงเสริมพัฒนาความรูดานสถิติพื้นฐานและการวิจัยใหครุบุคลากร คานํ้าหนักเทากับ 0.568 (7) สงเสริมใหมีการวิจัยภาคสนามมากข้ึน คานํ้าหนักเทากับ 0.548 (8) สงเสริมใหผูบริหารมีโอกาสในการทําวิจัยดวย คานํ้าหนักเทากับ 0.538 (9) กําหนดระบบใหผลตอบแทนและเกณฑเพื่อพิจารณาใหรางวัลเชิดชูเกียรติแกผูทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.522 (10) การสรางทัศนคติเชิงบวกในการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.520 (11) ใหการวิจัยเปนเกณฑหน่ึงในการพิจารณาเก่ียวกับสวัสดิการและสิทธิประโยชนตอบแทน คานํ้าหนักเทากับ 0.510 (12) จัดเวทีทางวิชาการ เพื่อใหครูไดแสดงผลงานอยางตอเน่ืองสม่ําเสมอ คานํ้าหนักเทากับ 0.509 องคประกอบน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ กัลยกร มั่นถาวรวงศ (2547 : 48) ไดศึกษาพบวา การสงเสริมการวิจัยและเกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรมน้ันข้ึนอยูกับ

Page 84: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 79

ผูบริหารสถานศึกษา เพราะเปนบุคคลท่ีมีอํานาจในการบริหารและอยูใกลชิดครู มากท่ีสุด ผูบริหารสถานศึกษาจะตองสนับสนุนและสงเสริมใหครูไดมีการศึกษาคนควา ดานการวิจัยเพื่อหาความรูใหมในการนําไปใชในการพัฒนาแกปญหาท่ีเปนอุปสรรคตอการเรียนการสอนในชั้นเรียนอยางมีประสิทธิภาพ และเปนไปตามท่ี จิราภา ลวงลือ (2547 : 47) กลาววา การท่ีจะนําผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใชในการแกปญหา ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนไดน้ัน จะตองมีปจจัยท่ีจะชวยสงเสริม หรือสนับสนุนใหเกิดแรงจูงใจในการทํางาน สนับสนุนปจจัยทางดานวัสดุอุปกรณ งบประมาณ เวลา และสงเสริมความกาวหนาในตําแหนงการงานของผูวิจัยดวย นอกจากน้ียังสอดคลองกับงานวิจัยของ ระพีพรรณ สีหะวงษ (2550 : 12 - 13) พบวา รูปแบบการพัฒนางานวิจัยของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ น้ันนโยบายและแนวทางในการวิจัยระดับชาติในอดีตมีลักษณะคอนขางกวางและมีการนําไปใชประโยชนโดยตรงคอนขางนอย และรัฐไมใหความสําคัญตอการพัฒนาการวิจัยเทาท่ีควรการวิจัยไทยจึงอยูในสภาพท่ีออนแอ แตปจจุบันรัฐใหความสําคัญตอการวิจัยมากข้ึน มีการกําหนดนโยบายและแนวทางการวิจัยท่ีชัดเจนข้ึน และมุงสงเสริมการทําวิจัยท่ีนําไปใชประโยชนได 1.4 องคประกอบการกํากับติดตามและประเมินผล บรรยายดวย 12 ตัวแปร องคประกอบน้ีมีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 11.131 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 10.913 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.738 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) การกําหนดเกณฑและข้ันตอนการดําเนินงานทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูไวอยางชัดเจนและสะดวกในการตรวจสอบ ติดตาม คานํ้าหนักเทากับ 0.738 (2) แตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบและประเมินผลการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.6881 (3) จัดทําเคร่ืองมือตรวจประเมินผลการดําเนินงานวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.687

Page 85: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

80 | หนา

(4) มีการตรวจสอบความกาวหนาของการทําวิจัย และแกไขปญหาอุปสรรคไดทันทวงที คานํ้าหนักเทากับ 0.688 (5) การรายงานผลการตรวจสอบประเมินผลตอท่ีประชุมของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อชี้แจงถึงความสําเร็จ และปญหาอุปสรรคท่ีพบคานํ้าหนักเทากับ 0.662 (6) ปรับปรุงแกไขวิธีการดําเนินงานตามแผนการวิจัยใหถูกตองและเหมาะสมอยูตลอดเวลา คานํ้าหนักเทากับ 0.620 (7) ดําเนินการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับเกณฑ และเปาหมายท่ีกําหนด คานํ้าหนักเทากับ 0.502 องคประกอบน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ ไพรซ (Price 1968 : 1) พบวา การกํากับติดตามและประเมินผลขึ้นอยูกับคุณภาพของ 5 องคประกอบ คือ การผลิต กําลังการผลิตและใชทรัพยากร การยินยอมการปฏิบัติตามการยอมรับบรรทัดฐานขององคการ ขวัญ ความพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร ความสามารถในการปรับตัว ความสามารถตอบสนองตอการเปล่ียนแปลง และความเปนปกแผน เชนเดียวกับขอคนพบงานวิจัยของ ณภชนก กําลังเก้ือ (2541) ระบุวา การกําหนดเกณฑและข้ันตอนการดําเนินงานทําวิจัยอยางชัดเจนและสะดวกในการตรวจสอบ ติดตาม ทําใหการบริหารงานวิจัยประสบความสําเร็จ ตองดําเนินการกํากับ ติดตาม และประเมินผล ดังน้ี กําหนดนโยบายและการบริหารจัดการ กําหนดกระบวนการพัฒนา กําหนดการจัดการเพื่อคุณภาพงานวิจัย กําหนดการสรางประชาคมวิจัย กําหนดการเผยแพรผลงานวิจัยและการนําไปใชประโยชน และสอดคลองกับขอเสนอของ วิจารณ พานิช (2546 : 5) ท่ีวา การกํากับติดตามและประเมินผลสําหรับการบริหารงานวิจัย จําเปนอยางย่ิงตองมี การประยุกตใชหลักการ และวิธีการการจัดการตามกระบวนการของการวิจัย ประกอบดวย นโยบายและการวางแผนงานวิจัย การสงเสริมและสนับสนุนการทําวิจัยการเผยแพรผลงานและการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน เพื่อดึงศักยภาพของคนในสังคม เพื่อสรางการเปล่ียนแปลงท่ีพึงประสงค

Page 86: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 81

1.5 องคประกอบการองคกรเครือขาย บรรยายดวย 8 ตัวแปร องคประกอบน้ีมีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 9.432 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 9.247 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.535 - 0.669 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) จัดกลุมสถานศึกษาเพื่อพัฒนาดานวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.669 (2) จัดกลุมเขตพื้นท่ีเพื่อพัฒนาดานวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.663 (3) ใหมีหนวยงานกลางในการกําหนดประเด็นปญหาในการวิจัยคานํ้าหนักเทากับ 0.635 (4) สรางกลุมเครือขายและใหมีอํานาจตอรองในการสนับสนุนงบประมาณ คานํ้าหนักเทากับ 0.572 (5) มีการจัดทําทําเนียบประวัติ ผูทําวิจัยของเขตพื้นท่ีการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.564 (6) สงเสริมใหครูไปศึกษาดูงานโรงเรียนท่ีเปนโรงเรียนวิจัยตนแบบ คานํ้าหนักเทากับ 0.551 (7) หนวยงานกําหนดใหบุคลากรทําวิจัยโดยออกเปนคําส่ัง คานํ้าหนักเทากับ 0.549 (8) ต้ังชมุนุมงานวิจัยในชั้นเรียน คานํ้าหนักเทากับ 0.535 องคประกอบน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ ลําพอง กลมกูล (2548) พบวาโมเดลเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนท่ีพัฒนาข้ึนประกอบดวย 3 รูปแบบยอยคือ รูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในโรงเรียน รูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในกลุมโรงเรียนและรูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในกลุมโรงเรียนและรูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในเขตพื้นท่ีการศึกษา และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 18 ) พบวา บุคคลท่ีเปนครูพี่เล้ียงรูสึกดีตอหนาท่ีของตน เกิดการเรียนรูเติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และ

Page 87: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

82 | หนา

รูสึกมีกําลังใจและมีความตองการเรียนรูเติบโตดานวิชาการ และการทําวิจัยเพื่อพัฒนา การปฏิบัติงานสอนในช้ันเรียน แสดงใหเห็นวา ระบบเครือขายครูพี่เล้ียงมีอิทธิพลสําคัญตอการปฏิบัติงานของครู รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมและการทําวิจัยชั้นเรียนดวย นอกจากน้ี กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 141) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปนเครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานน้ันตองอาศัยกระบวนการติดตอส่ือสาร และ การปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลท่ีเกิดขึ้นคือ การเกิดระบบความสัมพันธในเครือขายแบบชวยเหลือเก้ือกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับกระบวนการเรียนระหวางทํางาน โดยเครือขายไดใหความสําคัญกับการจัดการความรูประสบการณจริงบนพื้นฐานความสัมพันธท่ีมีอยูเดิมของกลุมคน การผสมภาคีท่ีหลากหลายในการปฏิบัติงาน การผสานความรูสมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใชหลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรในทองถ่ินในการดําเนินงานท่ีสนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพมากข้ึนและต้ังชุมนุมงานใน ชั้นเรียน ท้ังน้ีการกอตัวของเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจะเกิดขึ้นไดตองเร่ิมจากการมีเปาหมายและวิสัยทัศนรวมกันของสมาชิกภายในเครือขายในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนและมีการประสานความรวมมือกันในการพัฒนาเครือขายใหมีการดําเนินงานอยางตอเน่ือง 1.6 องคประกอบแรงจูงใจ บรรยายดวย 5 ตัวแปร องคประกอบน้ี มีคา ความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 8.642 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 8.473 โดยมีคานํ้าหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.508 - 0.696 ลําดับคานํ้าหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังน้ี (1) สนับสนุนใหมีการทําผลงานทางวิชาการเพื่อเล่ือนวิทยฐานะ คานํ้าหนักเทากับ 0.696 (2) การสงเสริมใหศึกษานิเทศก มีบทบาทในการสนับสนุนงานวิจัยใหมากขึ้น คานํ้าหนักเทากับ 0.533

Page 88: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 83

(3) ใหครูและบุคลากรเห็นประโยชนและความสําคัญของการทําวิจัย เพื่อสรางความมั่นใจในการทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.5223 (4) สรางมาตรการจูงใจใหครุและบุคลากรเกิดความรูสึก ประสงคท่ีจะทําวิจัย คานํ้าหนักเทากับ 0.514 (5) การสรางความตระหนักใหครูและบุคลากรในการแกปญหาการศึกษา คานํ้าหนักเทากับ 0.508 องคประกอบน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ ริทชี่ (Ritchie 2006 : 15 - 18) ศึกษาองคประกอบท่ีทําใหครูตัดสินใจทําวิจัยชั้นเรียน โดยยึดแนวคิดท่ีวา จะทําอยางไรใหครูท่ีเคยทําวิจัยชั้นเรียนแลวและครูท่ียังไมเคยทําวิจัยชั้นเรียนยังคงทําการวิจัยชั้นเรียนตอไป ผลการวิจัยพบวา การสนับสนุนการสรางบรรยากาศองคการ การสรางวัฒนธรรมการวิจัยแกครู และการสนับสนุนจากบุคลากรผูมีความรูความชํานาญดานวิจัยใหชวยเหลือดานขอมูล คําแนะนําชวยเหลือจากบุคคลผูชํานาญการวิจัย ทําใหครูมีแรงจูงใจในการทําวิจัยจากแรงผลักดันจากท่ีทํางาน นอกจากน้ี วัฒนธรรมการทํางานแบบเครือขาย ก็สงผลตอการตัดสินใจในการทํางานวิจัยของครูดวย การสนับสนุนใหครูนักวิจัยเกิดความคิดความมั่นใจในผลการทํางานและเปนแรงจูงใจใหทํางานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนน้ันจะตอง ทําใหครูนักวิจัยมีพฤติกรรม คือ 1) เปนผูรวมเรียนรูกับศิษยและเปนกัลยาณมิตรของศิษย 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมีนักเรียนเปนศูนยกลางการเรียนรู 3) มีความยืดหยุนท้ังเน้ือหา กิจกรรม ส่ือการเรียน 4) เปดโอกาสใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) มีความเขาใจนักเรียนมากยิ่งขึ้นท้ังในดานปญหาและพฤติกรรมของนักเรียน อันนําไปสูสัมพันธภาพท่ีดีระหวางครูกับนักเรียน และ 6) การใหคําแนะนําและสงเสริมนักเรียนไดตรงตาม ความตองการและความสามารถ 2. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนรูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุขององคประกอบ 6 องคประกอบ ดังน้ี

Page 89: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

84 | หนา

2.1 องคประกอบท่ีมีอิทธิพลทางตรงตอองคประกอบการกํากับ ติดตาม และประเมินผล คือ องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการ องคประกอบองคกรเครือขาย องคประกอบวัฒนธรรมองคการ และองคประกอบแรงจูงใจ 2.1.1 การกํากับ ติดตาม และประเมินผล ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากองคกรเครือขาย และแรงจูงใจ และไดรับอิทธิพลทางออมจากการพัฒนาบุคลากรโดยสงผานปจจัยดานแรงจูงใจ สอดคลองวิจัย กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 142) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปนเครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานนั้นตองอาศัยกระบวนการติดตอส่ือสาร และการปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลท่ีเกิดขึ้นคือ การเกิดระบบความสัมพันธในเครือขายแบบชวยเหลือเก้ือกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับกระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน โดยเครือขายไดใหความสําคัญกับการจัดการความรูประสบการณจริงบนพื้นฐานความสัมพันธท่ีมีอยูเดิมของกลุมคน การผสมภาคีท่ีหลากหลายในการปฏิบัติงาน การผสานความรูสมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใชหลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรในทองถิ่นในการดําเนินงานท่ีสนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพมากข้ึนความสัมพันธของการกํากับติดตาม ประเมินผลกับแรงจูงใจ สอดคลองกับงานวิจัยของ ลา มาซา (La Masa 2005 : 3) พบวา ลักษณะความรวมมือ การสังเกตการณ แรงจูงใจอยางไมเปนทางการสงผลตอการปฏิบัติงานท่ีดี กอใหเกิดการพัฒนาการดานการปฏิบัติงานของครู อีกท้ังไพรซ (Price 1968 : 2) กลาววา การกํากับติดตามประเมินผลน้ันขึ้นอยูกับคุณภาพขององคประกอบ ดังน้ี 1) การผลิต กําลังการผลิตและใชทรัพยากร 2) การยินยอมการปฏิบัติตามการยอมรับบรรทัดฐานขององคการ 3) ขวัญ ความพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร 4) ความสามารถในการปรับตัว ความสามารถตอบสนองตอการเปล่ียนแปลง และ 5) ความเปนปกแผน เคร่ืองตัดสินความอยูรอดขององคการในระยะยาว และสอดคลองกับแนวคิดของ ชูเมคเกอร (Shumacher 2004 : 15 - 17) เสนอแนะ 4 ประเด็น คือ 1) ระบบการประเมิน การปฏิบัติงานของครูตองมีความชัดเจนและมีความเชื่อมโยงกับผลลัพธท่ีคาดหวังไว

Page 90: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 85

2) การสรางแรงจูงใจตองไดรับความสําคัญมากข้ึน 3) ระบบการประเมินตองใหความสําคัญกับผลลัพธมากกวากระบวนการ และ 4) ตองระบุเปาหมายของการประเมินอยางชัดเจน และความสัมพันธของการพัฒนาบุคลากรกับแรงจูงใจ 2.1.2 องคประกอบการกํากับติดตามและประเมินผล ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากการสงเสริมการดําเนินการและวัฒนธรรมองคการ ซึ่งสอดคลองกับแนวความคิดของ กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 143) พบวา การประสานกลุม เพื่อใหเกิดเครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานน้ันตองอาศัยกระบวนการติดตอส่ือสาร และการปฎิสัมพันธในรูปแบบชวยเหลือเ ก้ือกูลในการรวมปฏิบั ติงานควบคู ไปกับกระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน เปนสําคัญ และศุทธวัฒน นอยหมอ (2549) พบวา แนวทางในการสรางเครือขายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร คือ การทําใหอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความตองการของมนุษยมีการทํางานรวมกันเปนเครือขายอยางมีประสิทธิภาพไดแกกาสรางแกนนํา การมีสวนรวมของสมาชิกการกําหนดวัตถุประสงค และการกําหนดกิจกรรมสอดคลองกับงานวิจัยของ จันทรา พักตรเพียงจันทร (2547) พบวา วัฒนธรรมองคการของโรงเรียนสัมพันธกับ การปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาท้ังน้ีโรงเรียนท่ีมีวัฒนธรรมองคกรอยูในระดับมากทําใหผลการปฏิบัติงานในดานวิชาการ อยูในระดับดี ในลักษณะเดียวกับงานวิจัยของ ธวัชชัย สัตยสมบูรณ (2548) พบวา รูปแบบวัฒนธรรมองคการท่ีพึงประสงคประกอบดวย การมุงผลสัมฤทธิ์ เนนความรู ความรับผิดชอบและความกระตือรือรน ความเปนปจเจกบุคคล ความสัมพันธระหวางบุคคล มีคุณธรรม ยึดหลักการ ซื่อสัตยสุจริตตอตนเอง หนาท่ีและสังคม ความเปนหนวยงาน มีการประกันคุณภาพ ความเปนประชาธิปไตย การบริหารแบบมีสวนรวม การทํางานเปนทีม ความภูมิใจในอาชีพ การมุงพัฒนาบุคลากร และมีกระบวนการกํากับติดตามประเมินผล 2.1.3 องคกรเครือขาย ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากวัฒนธรรมองคกรและการพัฒนาบุคลากร และไดรับอิทธิพลทางออมจากการสงเสริมการดําเนินการ ซึ่งสงผล

Page 91: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

86 | หนา

ผานวัฒนธรรมองคการและการพัฒนาบุคลากร สอดคลองกับแนวคิดของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 19 - 20) พบวา บุคคล ท่ีเปนครูพี่เล้ียงรูสึกดีตอหนาท่ีของตน เกิดการเรียนรูเติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และรูสึก มีกําลังใจและมีความตองการเรียนรูเติบโตดานวิชาการ และการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานสอน ในชั้นเรียน แสดงใหเห็นวา ระบบเครือขายครูพี่เล้ียงมีอิทธิพลสําคัญตอการปฏิบัติงานของครู รวมถึง การพัฒนานวัตกรรมและการทําวิจัยชั้นเรียนดวยนอกจากน้ี ครอสเดลล (Croasdaile 2005 : 21) พบวา สถานศึกษาท่ีมีวัฒนธรรมองคการท่ีสนับสนุนชวยเหลือครูสงผลใหครูมีสวนรวมในการทําวิจัยมากข้ึน ในลักษณะเดียวกัน เนาวเรศ นอยพานิช (2552 : 126 - 141) พบวา รูปแบบการจัดการองคกรเครือขายการจัดการศึกษานอกระบบในชุมชนมีปจจัย 2 ดาน คือ 1) ปจจัยดานการสรางเครือขาย ประกอบดวย 3 องคประกอบยอย ไดแก การสรางเครือขาย ความรวมมือในชุมชน รูปแบบการรวมตัวขององคกรเครือขาย และระดับการรวมมือขององคกรเครือขาย 2) ปจจัยดานการบริหารเครือขาย ประกอบดวย 4 องคประกอบ ไดแก หลักการของการทํางานแบบเครือขายความรวมมือ แนวทางการจัดการองคกรเครือขาย ขั้นตอนกระบวนการและความรวมมือขององคกรเครือขาย และการสรางวัฒนธรรมในการทํางานรวมกันขององคกรเครือขาย ความสัมพันธขององคกรเครือขายกับการพัฒนาบุคลากร สวน ลิซา (Lisa : 11 - 17) พบวา 1) ครูมีสวนรวมในการพัฒนาองคกร มีพื้นฐานบนความสนใจงานวิชาการ และยึดมั่นในอาชีพครู 2) ครูท่ีมีสวนรวมในคณะทํางานท่ีดีตอกลุมทีมงาน และ 3) กลุมครูท่ีมีอายุ 36-40 ป มีเจตคติท่ีดีตอการทํางานเปนทีม และสมฤทัย รอดประเสริฐ (2544) พบวา การสงเสริมการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระแกวโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานการพัฒนาบุคลากรโดยกระบวนการปฏิบัติงาน กระบวนการพัฒนาตนเอง และดวยกระบวนการบริหารอยูในระดับมาก สวนการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม และการสงบุคลากรไปศึกษาอบรมหรือดูงานอยูในระดับปานกลาง การสงเสริมการดําเนินการจะสรางใน

Page 92: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 87

เกิดวัฒนธรรมองคกรบุคลากรมีแนวการปฏิบัติงานเปนไปแนวเดียวกัน มีการพัฒนาบุคลากรใหบุคลากรมีความรูความเชี่ยวชาญในงานที่ทํา เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูเกิดเปนองคกรเครือขายท้ังในรูปแบบเปนทางการและไมเปนทางการซึ่งเปนการ ซึ่งเปนประโยชนอยางย่ิงตอการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 2.1.4 องคประกอบแรงจูงใจ ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากการสงเสริมการดําเนินการและการพัฒนาบุคลากร สอดคลองกับงานวิจัยของ แฟรมมางก (Flammang 2009 : 32-36) พบวา สํานักงานเขตพื้นท่ีมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานและสรางนวัตกรรม โดยสนับสนุนขอมูลและอุปกรณท่ีจําเปน การสนับสนุนการสรางเครือขายครูและการสรางพี่เล้ียงดานวิชาการสงผลตอการชวยเหลือดานการสรางผลงานวิจัยและนวัตกรรมในการเรียนการสอนในชั้นเรียน อีกท้ังขอคนพบของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 21 - 22) พบวา บุคคลท่ีเปนครูพี่เล้ียงรูสึกดีตอหนาท่ีของตน เกิดการเรียนรูเติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และรูสึกมีกําลังใจและมีความตองการเรียนรูเติบโตดานวิชาการ และการทําวิจัย เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานสอนในชั้นเรียน แสดงใหเห็นวา ระบบเครือขายครูพี่เล้ียงมีอิทธิพลสําคัญตอการปฏิบัติงานของครู รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมและการทําวิจัยชั้นเรียน 2.2 องคประกอบท่ีมีอิทธิพลทางออมตอองคประกอบการกํากับ ติดตาม และประเมินผล คือ 2.2.1 อิทธิพลทางออมของการสงเสริมการดําเนินการ อิทธิพลผลทางออมท่ีผานวัฒนธรรมองคการ อิทธิพลผลทางออมท่ีผานวัฒนธรรมองคการ แลวผานตอไปยังองคกรเครือขาย อิทธิพลผลทางออมท่ีผานวัฒนธรรมองคการ แลวผานตอไปยังการพัฒนาบุคลากร แลวผานตอไปยังแรงจูงใจ อิทธิพลผลทางออมท่ีผานองคกรเครือขาย อิทธิพลผลทางออมท่ีผานแรงจูงใจอิทธิพล ทางออมท่ีผานการพัฒนา

Page 93: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

88 | หนา

บุคลากร แลวผานตอไปยังองคกรเครือขาย และอิทธิพลผลทางออมท่ีผานการพัฒนาบุคลากร แลวผานตอไปยังแรงจูงใจ 2.2.2 อิทธิพลผลทางออมของวัฒนธรรมองคการ อิทธิพลทางออม ท่ีผานองคกรเครือขาย อิทธิพลทางออมท่ีผานการพัฒนาบุคลากร แลวผานตอไปยังแรงจูงใจ และอิทธิพลทางออมท่ีผานการพัฒนาบุคลากร แลวผานตอไปยังองคกรเครือขาย 2.2.3 อิทธิพลทางออมของการพัฒนาบุคลากร อิทธิพลทางออม ท่ีผานองคกรเครือขาย และอิทธิพลทางออมท่ีผานแรงจูงใจ 2.2.4 อิทธิพลรวมของตัวแปรท่ีมีตอการกํากับติดตาม และประเมินผล คือ อิทธิพลรวมของการสงเสริมการดําเนินการ อิทธิพลรวมของวัฒนธรรมองคกร อิทธิพลรวมของการพัฒนาบุคลากร อิทธิพลรวมขององคกรเครือขาย และอิทธิพลรวมของแรงจูงใจ 5. ขอเสนอแนะ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชเพื่อประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพศึกษา ดังน้ี

1. การพัฒนาบุคลากรเ ร่ืองงานวิจัยจะตองคํานึงถึงวัฒนธรรมองคกร การสงเสริมการดําเนินการ การกํากับติดตามและประเมินผล องคกรเครือขาย การสรางแรงจูงใจ ในการจัดอบรมพัฒนาบุคลากรน้ันจะตองเนนท้ังระดับสถานศึกษาและระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยเนนเน้ือหาท่ีเปนประโยชนในการทํางานวิจัยของครูและบุคลากรทางการ เชน องคความรูเก่ียวกับวิจัยทางการศึกษา นโยบายการบริหารงานวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เครือขายวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ แนวทางปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practices) โครงการยุววิจัย เปนตน

2. การสรางวัฒนธรรมองคการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจําเปนตองสงเสริมการดําเนินการโดยใหการสนับสนุนในดานวัสดุอุปกรณ

Page 94: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 89

แหลงเรียนรู งบประมาณ ตลอดจนผูเชี่ยวชาญกับครูและบุคลากรทางการศึกษา และ ท่ีสําคัญตองมีกระบวนการกํากับติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ใหครูและบุคลากรตระหนักและเขาใจวาการกํากับติดตาม และประเมินผลเปนสวนหนึ่งของ การปฏิบัติงานในองคกร 3. สํานักงานเขตพื้นท่ีจะตองใหความสําคัญกับการสรางองคกรเครือขาย เพราะทําใหครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับการทําวิจัย ซึ่งในการสรางเครือขายท่ีมีประสิทธิภาพจะตองคํานึงถึงการสรางวัฒนธรรมองคกรใหมีความเขมแข็ง การพัฒนาบุคลากรใหมีความรูเก่ียวกับการทําวิจัย และใหการสนับสนุนในดานวัสดุอุปกรณ แหลงเรียนรู งบประมาณ ตลอดจนผูเชี่ยวชาญ

4. สํานักงานเขตพื้นท่ีทางการศึกษาจะตองสรางแรงจูงใจใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความตองการและตระหนักถึงความสําคัญของการทํางานวิจัย ซึ่งในการสรางแรงจูงใจใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษาน้ันสามารถดําเนินการโดยให การสงเสริมการดําเนินการ ท้ังในดานประมาณ วัสดุอุปกรณ ผูเชี่ยวชาญ เปนตน นอกจากน้ันการพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถดานการวิจัยยังเปนปจจัยท่ีสรางแรงจูงใจใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทํางานวิจัยไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัครั้งตอไป 1. ควรมีวิจัยเปรียบเทียบ “รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา” ระหวางกลุมท่ีสมัครใจและกลุมสุมตัวอยาง 2. ควรใหมีหนวยงานวิจัยเพื่อประเมินโครงการวิจัยการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 3. ควรมีการศึกษาสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมีแนวทางปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practices) โดยใชรูปแบบระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ

Page 95: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

90 | หนา

6. เอกสารอางอิง กิติชัย ปญญาวัน. (2548). “การเชื่อมประสานเครือขายเพื่อการเรียนรูและปฏิบัติงาน :

กรณีศึกษาเครือขายการสรางเสริมสุขภาพจังหวัดแพร.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

กัลยกร มั่นถาวรวงศ. (2547). “บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาตอการสงเสริมการวิจัยในชั้นเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

จันทรา พักตรเพียงจันทร. (2547). “การศึกษาความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมโรงเรียน กับการปฏิบัติงาน วิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากาญจนบุรี.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จิราภา ลวงลือ (2547). “สภาพและปญหาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนอาชวีศึกษาเอกชนเขตกรุงเทพมหานคร 2.” ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

ณภชนก กําลังเกื้อ. (2541). “ความคาดหวังและการประเมนิการดําเนินการจริงของนักวิจัย ท่ีมีตอการบริหารงานวิจัย ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.” ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม ภาควิชาจติวิทยามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ธเนศ ตวนชะเอม. (2548). “การบริหารงานวิจัย.” เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนา เร่ือง การบริหารงานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ. โรงแรมเวลคัม จอมเทียนพทัยา จังหวัดชลบุรี กองสุขศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธรณสุข.

Page 96: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 91

ธวชัชยั สัตยสมบูรณ. (2548). “วฒันธรรมองคการท่ีพึงประสงคของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร สถาบันพระบรมราชชนก.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

เนาวเรศ นอยพานิช. (2552). “รูปแบบการจดัการองคกรเครือขายการจัดการศึกษานอกระบบในชุมชน.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย 3 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2552) : 126-141.

บัญชา อึ๋งสกลุ อางถึงใน เกียรติศักด์ิ ชิณวงศ. (2546). “สภาพและปญหาครูประถมศึกษาท่ีพบในการวจิัยชั้นเรียนของโรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา อําเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎรธานี.” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ระพีพรรณ สีหะวงษ. (2550). “รูปแบบการพฒันางานวิจัยของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.

ลําพอง กลมกูล. (2548). “การพัฒนาโมเดลเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.” วิทยานิพนธ มหาบัณฑิตครุศาสตร (วิจัยการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิจารณ พานิช. (2545). การบริหารงานวิจัย แนวคิดจากประสบการณ. กรุงเทพฯ : บริษัท เคล็ดไทย จํากัด.

ศุทธวฒัน นอยหมอ. (2549). “เครือขายสงเสริมสุขภาพของโรงเรียนสงเสริมสุขภาพสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฎัเชียงราย.

พจนันท รมสนธ์ิ. (2543). “การบริการของหนวยงานบริการงานวิจัยในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ภาควชิาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Page 97: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

92 | หนา

สมฤทัย รอดประเสริฐ. (2544). “การสงเสริมการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระแกว.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.(2553). แผนปฏิบัติการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานประจําป : ขอมูลสถิติประจําป 2552 (อัดสําเนา)

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. (2551). การวิจัยไทย : วิวัฒนาการสูอนาคต. กรุงเทพฯ : สวัสดิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (อัดสําเนา)

Croasdaile, Susanne Swing. (2005). Social Organizational Factors Related to Involvement in Teacher Research : A Study of Teacher Researchers. University of Virginia.

Lisa, Smulyan. (1988). “The Collaboration Process in Action Research” Education Research Quaterly, 12(1) : 11-17;October.

Pratschler, Marianne. (2009). Effects of Mentoring Preservice Teachers on Inservice Teacher in Professional Development School Environments. Walden University.

Price, James. L. (1968). Organization Effectiveness : An Inventory of

Propositions. Homwood, Illinois : Richard D. Irwin Inc. Ritchie, Gail V. (2006). Teacher Research as a Habit Mind. George Mason

University. Shumacher, Gerald T. (2004). Perceptions of the Impact of a Standards -

Based Teacher Evaluation System Based on the Danielson Framework for Teaching Model on Teaching and Student Learning. [Online]. accessed 22 February 2011. Available from http://www.lib.umi.com/dissertations/

Page 98: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 93

การพัฒนาสตูรการจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพ การใชจายเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการจดัทําตัวชี้วัด

สถานะเศรษฐกิจ และสังคมระดับโรงเรียน ระยะที่ 1 รองศาสตราจารย ดร. ชัยยุทธ ปญญาสวัสด์ิสุทธิ์1และคณะ2

1. หลักการและเหตุผล การพัฒนาแนวทางการจัดสรรงบประมาณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชจาย ความเสมอภาค และความเปนธรรมทางการศึกษาใหมากขึ้น เปนเร่ืองท่ีจําเปนและมีความสําคัญ ปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจัดสรรงบประมาณใหแกเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยอาศัยสูตรการคํานวณ ท่ีไดมีการพัฒนาข้ึนในป 2549 และมีการปรับปรุงวิธีการคํานวณเร่ือยมาจนถึงปจจุบัน แนวทางการจัดสรรงบประมาณ โดยอิงกับสูตร เปนวิธีท่ีแพรหลายในหลายๆประเทศ เพราะอิงกับหลักการความโปรงใส สะทอนความจําเปน สอดคลองกับนโยบาย ลดความไมเทาเทียมกัน และเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายของเงินงบประมาณ อาทิ งบประมาณท่ีจัดสรรสะทอนความตองการ ความขาดแคลน ภาระและความยากลําบากในการปฏิบัติงานของโรงเรียนและเขตพื้นท่ีการศึกษา อยางไรก็ตามสูตรการจัดสรรเดิมท่ีใชอยู น้ัน จําเปนตองมีการพัฒนาและปรับเปล่ียนใหสมบูรณมากขึ้น ท้ังน้ี เพื่อใหสอดคลองกับแนวนโยบายการพัฒนาระบบการศึกษาในปจจุบัน สอดคลองกับโครงสรางการบริหารเขตพื้นท่ีการศึกษา ซึ่งปจจุบันไดมีการแยกเขตพื้นท่ีประถมศึกษาและมัธยมศึกษาออกจากกัน อีกท้ังจําเปนตองปรับปรุงระบบฐานขอมูลท่ีใชสนับสนุนการคํานวณ ซึ่งก็ไดเปล่ียนแปลง ไปจากเดิมมากเชนกัน แนวทางการปรับปรุงสูตรการจัดสรรงบประมาณ จะมุงเนนการสงเสริมบทบาทของเขตพื้นท่ีการศึกษาในมิติประสิทธิภาพการบริหาร มิติการดําเนินงานตามนโนบาย

1 อาจารยประจําคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2 นางสาวปรัชญวรรณ วนานันท และนายวรัญไชย ธันธนาพรชัย

Page 99: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

94 | หนา

หรือกลยุทธตางๆ ของ สพฐ. และมิติผลลัพธทางการศึกษา โดยเฉพาะเร่ืองคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีเปนปญหาสําคัญ และเรงดวนมากในปจจุบัน นอกจากน้ีสูตรท่ีพัฒนาข้ึนใหม สงเสริมพัฒนาศักยภาพการทํางานใหเขตพื้นท่ีการศึกษา ในลักษณะการใหรางวัลแกเขตท่ีมีความสามารถในการใชงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังสนับสนุนเพิ่มเติมใหแกเขตพื้นท่ีท่ีตามระดับความขาดแคลน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการทํางาน ดังน้ัน การศึกษาเพื่อปรับปรุงสูตรการจัดสรรเงินงบประมาณดานการศึกษา จึงมีความจําเปน ชวยใหกลไกการจัดสรรเงินแกโรงเรียนและเขตพื้นท่ีการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส เปนธรรม สนับสนุนการกระจายอํานาจ ครอบคลุมมิติพื้นท่ี ท่ีมีความแตกตางไดมากขึ้น และสะทอนความตองการใชทรัพยากรในอนาคตไดดีขึ้น 2. วัตถุประสงคการศึกษา 1. เพื่อพฒันาและปรับสูตรการจัดสรรเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นท่ีใหมีความพรอมและครบถวนสําหรับการจัดสรรงบประมาณป 2554 2. เพื่อพฒันาบคุลากรของสพฐ.ใหสามารถประยุกตใชสูตรการจัดสรรงบประมาณท่ีไดพัฒนาข้ึน 3. วิธีการศึกษา 1. ทบทวนแนวทางการจัดสรรเงินงบประมาณสําหรับเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีผานมา 2. จัดสัมมนารับฟงความคิดเห็นตอแนวทางการจัดสรรท่ีผานมา 3. ออกแบบองคประกอบของสูตรการจัดสรรสําหรับเขตพื้นท่ีการศึกษาตามกรอบ

แนวคิดการจัดสรรงบประมาณตามความจําเปน (Needs - Based Funding Formula) 4. ตรวจสอบความเปนไปไดในการจัดเก็บขอมูลและดําเนินการจัดเก็บตาม

องคประกอบของสูตร 5. พัฒนารายละเอียดสูตรการคํานวณ และกําหนดกรอบวงเงินจัดสรร 6. เสนอผลการพัฒนาสูตรการจัดสรรสําหรับเขตพื้นท่ี และจัดสัมมนาเพื่อรับฟง

ความคิดเห็นจากผูมีสวนไดสวนเสีย

Page 100: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 95

4. ผลการศึกษา 4.1 สูตรปจจุบัน 4.1.1 สูตรปจจุบันปงบประมาณ 2554 สพฐ.จัดสรรงบประมาณ (งบดําเนินงาน) ใหแก สพป. 183 เขต โดยแบงออกไดเปน 2 สวนคือ งบประจํา และงบพัฒนา

งบประจํา ในกรอบวงเงินรวม 886,665,040 บาท ประกอบดวย (ก) งบความจําเปนพื้นฐาน จัดสรรใหเทากัน เขตละ 1 ลานบาท และจัดสรรเปนคาสาธารณูปโภคใหอีก ตามกรอบอัตรากําลังระหวาง 520,000 - 600,000 บาท (ข) งบภาระงานและสงเสริมนโยบาย จัดสรรตามกรอบอัตรากําลัง ผลการประเมินความพึงพอใจของโรงเรียนตอการบริหารจัดการของ สพป. จัดสรรตามจํานวนนักเรียนในเขต และจัดสรรเทากัน เพื่อเปนคาใชจายการติดตามคุณภาพการศึกษา และ (ค) งบองคประกอบอื่นๆ ตามลักษณะพิเศษของเขต อาทิ เขตท่ีมีสนามบิน และเขตท่ีมีโรงเรียนในพื้นท่ีสูง

งบพัฒนา เปนการจัดสรรเพื่อใหเขตดําเนินงานตามกลยุทธสวนแรกเปนงบแลกเปาพื้นฐาน จัดสรรใหเทากันเขตละ 3 ลานบาท และงบแลกเปาเพิ่มเติม จัดสรรใหตามโครงการของ แตละ สพป. ระหวาง 1 - 2 ลานบาท

4.1.2 ตามสูตรป 2554 พบวาในการจัดสรรงบประจําน้ัน รอยละ 31 ของงบประจําท่ีจัดสรรใหเขต เปนการจัดสรรใหทุกเขตเทากัน และอีกเกือบรอยละ 70 มีการจัดสรรโดยอาศัยหลักเกณฑท่ีแตกตางกันไปชี้วา มีการจัดสรรงบประมาณ ตามความแตกตางของภาระงาน และความยากลําบากในการปฏิบัติงาน จึงนับไดวา สูตรชวยใหเกิดความเปนธรรมและประสิทธิภาพการจัดสรร 4.1.3 องคประกอบท่ีไดรับงบประมาณสูงเรียงตามลําดับคือ ระดับความพึงพอใจตอการทํางาน (27%) กรอบอัตรากําลัง (22%) คาใชจายพื้นฐาน (21%) คาสาธารณูปโภค (12%) การติดตามคุณภาพ (10%) จํานวนนักเรียน (8%) เขตพิเศษ (2%)

Page 101: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

96 | หนา

4.1.4 งบประมาณจัดสรรใหเฉล่ียตอเขต 4.8 ลานบาท (ยังไมรวมงบพัฒนา) สูงสุด 5.3 ลานบาท ตํ่าสุด 4.5 ลานบาท

4.1.5 เขตที่ไดรับสูงสุด 5 ลําดับแรกคือ อุดรธานี เขต 1 กทม.เขต 1 สกลนคร เขต 1 อุบลราชธานี เขต 1และ เชียงใหม เขต 2

4.1.6 เขตท่ีไดรับตํ่าสุด 5 ลําดับสุดทายคือ ระยอง เขต 2 ลําปาง เขต 2 พะเยา เขต 1 กาญจนบุรี เขต 4และ เลย เขต 3 4.2 ขอเสนอสูตรใหม 4.2.1 มีองคประกอบเพิ่มเติมอีก 2 สวนคือ สวนแรก จัดสรรเพิ่มเติมเพื่อใหสะทอนความแตกตางในดานผลงานของเขตพื้นท่ี รวม 3 ดานคือ

ดานประสิทธิภาพการบริหารจดัการ ดานคุณภาพการดําเนินงานของสถานศึกษา และ ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 4.2.2 การจัดสรรมี ท้ังดานท่ีเปนการสรางแรงจูงใจใหกับเขตพื้นท่ี ท่ีมี

ประสิทธิภาพ และในขณะเดียวกัน ก็มีการจัดสรรชวยชดเชยใหกับเขตพื้นท่ี ท่ีมี ความลําบากในการดําเนินงานมากกวาเขตอื่นๆ

4.2.3 องคประกอบเพิ่มเติมสวนท่ีสอง คือ การจัดสรรใหเขตพ้ืนท่ีเพื่อใหมีการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ แยกตามกลยุทธตางๆ รวม 4 กลยุทธ 4.2.4 เกณฑการจัดสรรใหตามองคประกอบเพิ่มเติมท้ัง 2 สวนน้ี อาศัยแนวคิด การจัดลําดับของตัวชี้วัด โดยการแบงกลุมออกตามเดไซล กรณีท่ีจัดสรรเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจ เขตท่ีตกอยูในกลุมเดไซลท่ีสูง จะไดรับจัดสรรมากกวาเขตท่ีอยูในเดไซลตํ่า ในทางตรงกันขาม กรณีท่ีจัดสรรเพื่อชดเชยความขาดแคลน เขตท่ีอยูในเดไซลตํ่ากวา จะไดรับจัดสรรมากกวา

4.2.5 โดยสรุป สูตรการจัดสรรท่ีพัฒนาข้ึน ประกอบดวย 5 องคประกอบและ 15 ตัวชี้วัด คือ

Page 102: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 97

ความจาํเปนพืน้ฐาน (2 ตัวชีว้ัด) ภาระงาน (5 ตัวชี้วัด) ลักษณะเฉพาะเขต (2 ตัวชี้วัด) ผลงาน (3 ตัวชี้วัด) งานตามนโยบาย ( 4 ตัวชี้วัด)

4.2.6 วงเงินจัดสรรใหเขตพื้นท่ี มีคาเทากับ ผลรวมการจัดสรรตามองคประกอบท่ี 1 ถึง 5 กรอบวงเงินจัดสรรสําหรับองคประกอบท่ี 1 - 3 คิดเปน 886.7 ลานบาท สวนกรอบวงเงินสําหรับองคประกอบเพิ่มเติมอีก 2 สวนคิดเปน 1,261.8 ลานบาท รวมเปนเงินท้ังส้ิน 2,148.9 ลานบาท 4.2.7 ตารางท่ี 1 แสดงรายละเอียดขององคประกอบ ตัวชี้วัดและเงินท่ีจัดสรรใหในแตละรายการ พบวา องคประกอบดานงานตามนโยบายมีสัดสวนของงบประมาณมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 52.74 รองลงมาไดแก องคประกอบดานภาระงาน รอยละ 27.68 ดานความจําเปนพื้นฐาน รอยละ 13.33 ดานผลงาน รอยละ 5.97 และ ลักษณะเฉพาะของเขต รอยละ 0.28 ตามลําดับ 4.2.8 งบประมาณเฉล่ียตอเขต 11.7 ลานบาท สูงสุด 12.5 ลานบาท ตํ่าสุด 10.9 ลานบาท 4.2.9 รายละเอยีดตัวชี้วัด และเกณฑการจัดสรรในแตละองคประกอบ แสดงไวในตารางท่ี 2 5. สรุปและขอเสนอแนะเชงินโยบาย 5.1 แนวทางการจัดสรรงบประมาณในอนาคต ควรใหนํ้าหนักตอการจัดสรรเงินตามประสิทธิ ภาพของการทํางาน และการจัดสรรตามเปาหมายกลยุทธใหมากยิ่งขึ้น รวมท้ังเปนประโยชนตอการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณในแตละเขตพื้นท่ี

Page 103: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

98 | หนา

5.2 เพื่อสงเสริมศักยภาพการบริหารงบประมาณของเขตพื้นท่ีการศึกษา ลดความเหล่ือมลํ้าท่ีเกิดจากบริบทของพื้นท่ีมากย่ิงขึ้น ควรพิจารณาการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ซึ่งสะทอนความขาดแคลนในแตละมิติของเขตพื้นท่ีการศึกษา (งานในระยะท่ีสองของโครงการ) 5.3 การสงเสริมประสิทธิภาพการใชจาย และการบริหารจัดการงบประมาณของเขตพื้นท่ีการศึกษา ควรดําเนินการควบคูไปกับการกระจายอํานาจ เพื่อใหเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษามีอิสระและคลองตัว ขยายวงเงินจัดสรรท่ีใหเขตสามารถบริหารจัดการมากข้ึน ภายใตกรอบเปาหมายตามกลยุทธของ สพฐ. 5.4 เพื่อใหการบริหารจัดการงบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สพฐ. ควรเนนการทําหนาท่ีในการกํากับ ติดตามการดําเนินงานตามนโยบายมากข้ึน ควบคูกับการกระจายอํานาจใหแกเขตพื้นท่ีการศึกษา 5.5 การบริหารท่ีมีประสิทธิภาพต้ังอยูบนพื้นฐานการมีขอมูลท่ีครบถวน ทันเวลาตอการตัดสินใจ ดังน้ัน สพฐ.จําเปนตองพัฒนาฐานขอมูลเพื่อสนับสนุน การจัดสรรงบประมาณโดยใชสูตร ใหมีความตอเน่ือง เพิ่มขอมูลเชิงลึกในมิติพื้นท่ี เพื่อตอบสนองการเปล่ียนแปลงเชิงปริมาณและคุณภาพ 5.6 ขยายขอบเขตของสูตรการจัดสรรใหครอบคลุมหมวดงบประมาณอื่นๆ เพื่อใหเห็นภาพรวมของการใชจายและที่มาของทรัพยากรในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ขอมูลเหลาน้ีเปนประโยชนตอการวิเคราะหตนทุนผลผลิต และการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณระหวางเขตพื้นท่ี นอกจากน้ี เปนประโยชนตอ การพัฒนาสูตรใหสมบูรณมากขึ้น

Page 104: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 99

ตารางท่ี 1 รายละเอียดสูตรการจัดสรรงบประมาณสําหรับเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีพัฒนาใหม องคประกอบ งบประมาณ (บาท) รอยละ

ความจําเปนพ้ืนฐาน 286,432,000 13.33 งบประมาณขั้นตํ่า 183,000,000 8.52 คาสาธารณูปโภคเพิ่มเติม 103,432,000 4.81 ภาระงาน 594,794,040 27.68 ขนาดบุคลากรตามกรอบ 193,935,000 9.02 ผลประเมินคุณภาพของเขต 236,859,040 11.02 จํานวนนักเรียน 72,500,000 3.37 การติดตามคุณภาพ 91,500,000 4.26 ลักษณะเฉพาะเขต 5,984,000 0.28 มีสนามบิน 1,560,000 0.07 โรงเรียนในพื้นที่พิเศษ 4,424,000 0.21 ผลงาน 128,282,420 5.97 ประสิทธิภาพการดําเนินงานของเขต 38,070,000 1.77 คุณภาพสถานศึกษา 37,996,920 1.77 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 52,215,500 2.43 งานตามนโยบาย 1,133,453,489 52.74 กลยุทธที่ 1 388,736,925 18.09 กลยุทธที่ 2 32,688,050 1.52 กลยุทธที่ 3 146,309,136 6.81 กลยุทธที่ 5 565,719,379 26.33 งบประมาณรวม 2,148,945,949 100

Page 105: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

100 | หนา

ตารางท่ี 2 รายละเอียดตัวชี้วัด และเกณฑการจัดสรรในแตละองคประกอบ

องคประกอบ รายละเอียดองคประกอบ

ตัวช้ีวัด เงินที่จัดสรรให

ความจําเปนพื้นฐาน

งบประมาณข้ันพื้นฐาน

สพป. เขตละ 1,000,000 บาท

คาสาธารณูปโภค

เพิ่มเติม

กรอบอัตรากําลัง

อัตรากําลัง 75 คน เขตละ 600,000 บาท อัตรากําลัง 67 คน เขตละ 536,000 บาท อัตรากําลัง 65 คน เขตละ 520,000 บาท

ภาระงาน

จํานวนบุคลากรตามกรอบ

กรอบอัตรากําลัง

อัตรากําลัง 75 คน เขตละ 1,125,000 บาท อัตรากําลัง 67 คน เขตละ 1,005,000 บาท อัตรากําลัง 65 คน เขตละ 975,000 บาท

ผลประเมินคุณภาพของเขต

คะแนนความพึงพอใจของ ร.ร. ตอการดําเนินงานของ สพท.

(คะแนน1-4)

ความพอใจ 1.50-1.85 เขตละ 1,200,000 บาท ความพอใจ 1.86-2.21 เขตละ 1,272,000 บาท ความพอใจ 2.22-2.57 เขตละ 1,348,320 บาท

ความพอใจ 2.58-2.93 เขตละ 1,429,220 บาท

จํานวนนักเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมดในเขต

พื้นที ่

นักเรียน นอยกวา 28,262 คน เขตละ 300,00 บาท นักเรียน 28,263-47,005 คน เขตละ 400,00 บาท นักเรียน 47,006-65,748 คน เขตละ 500,00 บาท นักเรียน มากกวา 65,749 คน เขตละ 600,00 บาท

งานการติดตามคุณภาพ

เขต เขตละ 500,000 บาท

ลักษณะเฉพาะของเขต

สนามบิน ประเภทของสนามบิน

มีสนามบินปกติ เขตละ 80,000 บาท

มีสนามบินนานาชาติ เขตละ 120,000 บาท

ร.ร.ในพื้นที่พิเศษ

จํานวนร.ร.ในพื้นที่สูง

จัดสรรให ร.ร.ละ 2,000 บาท

ผลงาน ประสิทธิภาพการดําเนินงานของเขตพื้นที่

คะแนนประสิทธิภาพ(ผลผลิตคือกลยุทธ)

เดไซลที่ 1 - 5 เขตละ 200,000 บาท เดไซลที่ 6 - 7 เขตละ 210,000 บาท (+5%) เดไซลที่ 8 - 10 เขตละ 220,000 บาท (+10%)

Page 106: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 101

องคประกอบ รายละเอียดองคประกอบ

ตัวช้ีวัด เงินที่จัดสรรให

คุณภาพสถานศึกษา

คะแนนประเมินภายนอก สมศ

เดไซลที่ 1 - 2 ร.ร.ละ 1,200 บาท เดไซลที่ 3 - 4 ร.ร.ละ 1,380 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 ร.ร.ละ 1,560 บาท (+30%) เดไซลที่ 7 - 8 ร.ร.ละ 1,740 บาท (+45%) เดไซลที่ 9 - 10 ร.ร.ละ 1,920 บาท (+60%)

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

(คะแนน ONET เฉล่ียของร.ร.)

เดไซลที่ 1 - 2 ร.ร.ละ 2,600 บาท (+30%) เดไซลที่ 3 - 4 ร.ร.ละ 2,500 บาท (+25%) เดไซลที่ 5 - 6 ร.ร.ละ 2,400 บาท (+20%) เดไซลที่ 7 - 8 ร.ร.ละ 2,200 บาท (+10%) เดไซลที่ 9 - 10 ร.ร.ละ 2,000 บาท

งานตามนโยบาย

กลยุทธสพฐ. 4 กลยุทธ

คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 1

(พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน)

เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 2,212,011 บาท (+15%)

เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 2,115,837 บาท (+10%)

เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 2,019,662 บาท (+5%)

เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 1,923,488 บาท

คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 2

(ปลูกฝงคุณธรรม)

เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 185,865 บาท (+15%)

เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 177,784 บาท (+10%)

เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 169,703 บาท (+5%)

เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 161,622 บาท

คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 3

(ขยายโอกาสทางการศึกษา)

เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 806,401 บาท (+15%)

เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 771,340 บาท (+10%)

เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 736,279 บาท (+5%)

เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 701,218 บาท

คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 5 (พัฒนา

ประสิทธิภาพบริหารจัดการศึกษา)

เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 3,115,792 บาท (+15%)

เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 2,980,322 บาท (+10%)

เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 2,844,853 บาท (+5%)

เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 2,709,384 บาท

Page 107: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

102 | หนา

6. การดําเนินการในระยะที ่2 ของโครงการ ผลการศึกษาขางตนเปนการศึกษาในระยะแรก เพื่อใหเปนไปตามเปาหมาย และมีความสมบูรณมากขึ้น จึงจําเปนตองศึกษาเพิ่มเติมในประเด็น ดังตอไปน้ี 1. การปรับปรุงสูตรการจัดสรร เพื่อใหสามารถสะทอนความเหล่ือมลํ้าทางเศรษฐกิจของโรงเรียน ขอมูลท่ีไดมีประโยชนตอการตัดสินใจเชิงนโยบาย โดยเฉพาะ การจัดทําดัชนีความเหล่ือมลํ้าของโรงเรียน ครอบคลุมมิติดานเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพ 2. วิเคราะหสัดสวนและลักษณะการใชจายงบประมาณในแตละดานของเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษาเพื่อใหทราบวงเงินงบประมาณท้ังหมดท่ีเขตไดรับการจัดสรรหรือมีการใชจายจริง รวมท้ังวิเคราะหสัดสวนและลักษณะการใชจายงบประมาณในแตละดาน อาทิ การบริหารจัดการ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปนตน นอกจากน้ี วิเคราะหเพื่อจําแนกงบประมาณออกตามหมวดรายจายงบประมาณ ขอมูลท่ีไดน้ีมีประโยชนในการคํานวณตนทุนผลผลิต ซึ่งจะชวยใหการดําเนินการเพื่อขอรับงบประมาณเปนไปไดอยางเปนธรรมมากขึ้น นอกจากน้ัน สํานักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สนผ.)สามารถนําขอมูลดังกลาวมาคํานวณเพื่อประเมินประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณของเขตพื้นท่ีไดสมบูรณยิ่งขึ้นในอนาคต 3. วิเคราะหปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพการทํางานของเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อคนหาปจจัยท่ีสามารถอธิบายความแตกตางในเร่ืองประสิทธิภาพการทํางานของ เขตพื้นท่ีการศึกษา หากทราบถึงปจจัยดังกลาวได สามารถนํามาใชเพื่อใชประเมินนํ้าหนักความสําคัญของปจจัยเหลาน้ัน และอาจใชสวนหน่ึงของสูตรการจัดสรรงบประมาณ 4. ศึกษาความเปนไปไดของสูตรการจัดสรรในลักษณะของการจัดสรรเปนเงินกอน (Block grant) ซึ่งตองคํานึงถึงการจัดสรรงบประมาณ สวนท่ีเปนเงินเดือนครู และบุคลากรทางการศึกษาเพิ่มเติมจากเดิม ประเด็นน้ีจะมีความสําคัญในอนาคตในกรณีท่ีมีการเกษียณของครูเปนจํานวนมาก

------------------------------

Page 108: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 103

การศึกษาเกณฑมาตรฐานความสามารถดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ของประเทศตะวันตก

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริรัตน นีละคุปต1 และคณะ2

1. ความสําคัญ และที่มาของปญหาการวิจยั คะแนนเฉล่ียท่ีคิดเปนรอยละของคะแนนการสอบ O–NET ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี 3 และมัธยมศึกษาปท่ี 6 ใน 4 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรและสังคมศึกษา ซึ่งไมถึงรอยละ 50 สะทอนผลสัมฤทธิ์ท่ีตํ่าในวิชาดังกลาว การท่ีเปนเชนน้ี มาจากหลายสาเหตุ ระบบการวัด และการประเมินผลอาจเปนสาเหตุหน่ึง ประเทศไทยไดนําหลักสูตรอิงมาตรฐานมาใชท่ัวประเทศ เมื่อป 2544 และในป 2551 ก็ไดปรับปรุงหลักสูตรใหม แตก็ยังคงเปนหลักสูตรอิงมาตรฐานอยู อันท่ีจริงการใชหลักสูตรอิงมาตรฐานก็จะตองประเมินผลอิงมาตรฐานควบคูกันไป และกระทรวงศึกษาธิการก็ใหแนวทางแกสถานศึกษาเก่ียวกับระดับคุณภาพของผลการปฏิบัติของผูเรียนไวหลายระบบ ระบบหน่ึงคือ ระบบใชคําสําคัญสะทอนมาตรฐานในระดับประถมศึกษา จําแนกเปน 2 หรือ 4 หรือ 5 ระดับ เชน จําแนก 4 ระดับออกเปน ไมผาน ผาน ดี ดีเย่ียม ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย จําแนกไว 8 ระดับ ตํ่ากวาเกณฑ ผานเกณฑขั้นตํ่า พอใช ปานกลาง คอนขางตํ่า ดี ดีมาก ดีเย่ียม ท้ังน้ีโดยเทียบเคียงกับชวงคะแนนท่ี คิดเปนรอยละ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, 2552) เกณฑประเมินผลความรูดังกลาวใชกับทุกวิชาท่ีประเมิน และผลท่ีไดก็แสดงถึงระดับความสามารถโดยเฉล่ียของนักเรียนในภาพรวม เชนนักเรียนท่ีเรียนในชั้นน้ันๆ ท้ังประเทศ ในเขตการศึกษา ในโรงเรียนท่ีสังกัด ทําใหการปรับปรุงแกไขไมตรงตามความตองการของนักเรียนแตละคน

1 อาจารยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2 ดร.ไพเราะ อังศุสุกนฤมล อาจารย ศุภฤกษ ทานาค ดร.ชนิศวรา เลิศอมรพงษ ดร.เอกรัตน ศรีตัญู

Page 109: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

104 | หนา

ในประเทศตางๆ ท่ีจัดการเรียนการสอนแบบอิงมาตรฐาน ก็จะประเมินผล การเรียนของนักเรียนโดยอิงมาตรฐานดวย เมื่อประเมินผลระดับรัฐ หรือระดับชาติ ก็จะใชเกณฑประเมินคุณภาพของผลปฏิบัติ (Performance Level Descriptors) ประเมินระดับความสามารถของนักเรียนในวิชาท่ีกําหนดใหประเมิน ทําใหบอกไดวาความสามารถของนักเรียนไดมาตรฐาน ตํ่ากวามาตรฐาน หรือเหนือมาตรฐาน อีกท้ังยังชี้บงความรู และทักษะท่ีเปนจุดแข็ง และจุดออนของนักเรียน ดวยเหตุท่ีประเทศไทย ก็จัดการเรียนการสอนแบบอิงมาตรฐาน การประเมินผลก็ตองอิงมาตรฐาน โดยเฉพาะอิงตัวชี้วัดหลักท่ีสําคัญสําหรับมาตรฐานการเรียนรูน้ันๆ จึงควรท่ีจะพัฒนาเกณฑประเมินคุณภาพของผลปฏิบัติเพื่อนํามาใชประเมินความสามารถของนักเรียนเปนรายบุคคล การศึกษารูปแบบเกณฑประเมินความสามารถของนักเรียนของประเทศอื่นๆ ในวิชาหลัก คือ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร จึงเปนแนวทางใหมีโอกาสเลือกรูปแบบท่ีเหมาะสมสําหรับประเทศไทย 2. วัตถุประสงคการวิจัย การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปแบบเกณฑความสามารถท่ีประเทศตะวันตกใชประเมินนักเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 3. ระเบียบวิธีวิจัย กลุมตัวอยางของงานวิจัยน้ีสุมมาอยางเฉพาะเจาะจง มี 2 กลุม กลุมแรก คือ เกณฑมาตรฐานความสามารถ ประกอบดวย Performance Level Descriptors สําหรับการอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร ของมลรัฐแอริโซนา มลรัฐแคนซัส และมลรัฐเทกซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ของรัฐแอลเบอรตา ประเทศแคนาดา และ Level Descriptions สําหรับวิชาดังกลาวของเขตการปกครองอังกฤษ สหราชอาณาจักร กลุมท่ี 2 คือกลุมผูเชี่ยวชาญภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร รวมท้ังส้ิน 14 คน คณะนักวิจัยไดศึกษาเอกสารเก่ียวกับประเภทของตัวชี้วัด และข้ันตอนใน การพัฒนาตัวชี้วัด ระดับคุณภาพของผลปฏิบัติ ตลอดจนแนวคิดทางการเขียนตัวชี้วัดท่ี

Page 110: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 105

แสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ นอกจากน้ัน ยังศึกษาการประเมินผลของประเทศสหรัฐอเมริกา เนนท่ีมลรัฐแอริโซนา มลรัฐแคนซัส และมลรัฐเทกซัสของประเทศแคนาดาโดยเนนท่ีรัฐแอลเบอรตา และการประเมินผลในเขตการปกครองอังกฤษของ สหราชอาณาจักร คณะนักวิจัยไดศึกษา Performance Level Descriptors สําหรับ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรท่ีพัฒนาข้ึนโดยมลรัฐแอริโซนา มลรัฐแคนซัส และมลรัฐเทกซัส และท่ีพัฒนาโดยรัฐแอลเบอรตา รวมท้ัง Level Descriptions ท่ีเขตการปกครองอังกฤษของสหราชอาณาจักรไดพัฒนาข้ึนสําหรับวิชาท่ีกลาวมาแลว จึงวิเคราะหความแตกตางระหวางรูปแบบของ Performance Level Descriptors/ Level Descriptions ของมลรัฐ / รัฐ / เขตการปกครอง รวมท้ังวิเคราะหวิธีจําแนก ความแตกตางระหวางระดับความสามารถตางๆ ในเกรดเดียวกัน และวิธีการจําแนกความแตกตางระหวางระดับความสามารถ ในเกรดตํ่า และเกรดท่ีสูงกวา นอกจากน้ี คณะนักวิจัยยังไดวิเคราะหความรู / ทักษะท่ีกําหนดใหประเมินในแตละวิชา โดยใชตัวชี้วัดท่ีระบุในระดับความสามารถตางๆ เปนพื้นฐาน หลังจากการศึกษาเอกสาร และวิเคราะห Performance Level Descriptors และ Level Descriptions เสร็จส้ินลง ก็ไดดําเนินการจัดการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร เพื่อขอความคิดเห็นเก่ียวกับ Performance Level Descriptors และ Level Descriptions ซึ่งเปนกลุมตัวอยาง และใหเสนอแนะจํานวนระดับความสามารถการประเมินท่ีเหมาะสมสําหรับประเทศไทย นอกจากน้ันยังใหผูเชี่ยวชาญเสนอแนะความรูและทักษะท่ีควรจะนํามาประเมินในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี 3 และมัธยมศึกษาปท่ี 6 เพิ่มเติม แลวนําความคิดเห็นดานตางๆ ของผูเชี่ยวชาญมาสังเคราะห 4. ผลการวิจัย จากการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาเกณฑมาตรฐานความสามารถของนักเรียน และตัวชีว้ัดแสดงคุณภาพท่ีรัฐท่ีเปนกลุมตัวอยางไดสรางข้ึน ปรากฏผลดังน้ี

Page 111: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

106 | หนา

1. วิชาท่ีนํามาประเมินผล ในระดับรัฐ / เขตการปกครอง เปนวิชาแกนหลัก คือ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร การประเมินการอาน และคณิตศาสตร ในสหรัฐอเมริกาจะมีขึ้นทุกปในเกรด 3 – 8 และในเกรดใดเกรดหน่ึงใน High school สวนการเขียนและวิทยาศาสตรจะประเมินใน 2 -3 เกรดเทาน้ัน รัฐแอลเบอรตา ประเมินผลวิชาดังกลาวในเกรด 3, 6 และ9 เขตการปกครองอังกฤษประเมินระดับชาติ ในตอนปลาย Key Stage 2 เทาน้ัน 2. คูมือการประเมินผลของมลรัฐ / รัฐ ท่ีนํามาศึกษา ใหขอมูลเก่ียวกับขอทดสอบ ในแตละวิชากระจางชัด ระบุความรูและทักษะท่ีจะประเมิน จํานวนขอคําถาม เวลาท่ีใชในการทดสอบ การเผยแพรขอมูลดังกลาวเปนไปอยางกวางขวาง ใหผูมีสวนเก่ียวของ ไดแก นักเรียน ครู ผูปกครองและสาธารณชนท่ีสนใจไดรับทราบจนเปนท่ีเขาใจโดยไมตองตีความ 3. ระดับคุณภาพของผลการปฏิบัติในเกณฑมาตรฐานความสามารถสําหรับวิชาตางๆ ของมลรัฐ / รัฐ ท่ีนํามาศึกษา มีต้ังแต 2 จนถึง 5 ระดับ และถอยคําบรรยายระดับไดมาตรฐานของแตละมลรัฐ / รัฐ ก็แตกตางกัน ยังผลใหถอยคําบรรยายระดับคุณภาพอื่นๆ ท่ีสูง และตํ่ากวา ระดับไดมาตรฐานแตกตางไปดวย การกําหนดคะแนนจุดตัดระหวางระดับความสามารถ สวนมากใชคะแนนท่ีไดจากการทดสอบระดับรัฐในวิชาท่ีตองการประเมินเปนพื้นฐาน ขอทดสอบในแตละแบบทดสอบก็อิงมาตรฐานเน้ือหา (Content Standards) ท่ีคัดเลือกมาเฉพาะความรู / ทักษะท่ีนักเรียนจําเปนตองมีในเกรดน้ันๆ เพื่อท่ีจะใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูในเกรดท่ีสูงข้ึน กระบวนการกําหนดคะแนนจุดตัดระหวางระดับความสามารถตางๆ ท่ีมลรัฐ / รัฐ กลุมตัวอยางนํามาใช สวนใหญคือ Item Mapping หรือเปนท่ีรูจักในอีกชื่อหน่ึงวา Bookmark Procedure 4. คําบรรยายตัวชี้วัดท่ีแสดงผลการปฏิบัติในระดับความสามารถตางๆ ของ 3 มลรัฐ ของสหรัฐอเมริกา 1 รัฐ ของแคนาดา และ 1 เขตการปกครองของสหราชอาณาจักรท่ีเปนกลุมตัวอยางของงานวิจัยน้ี เปนความรู และความสามารถท่ีปรากฏใน

Page 112: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 107

ตัวชี้วัดชั้นป / ตัวชี้วัดชวงชั้น ของมาตรฐานการเรียนรูของแตละกลุมสาระ และแตละระดับเกรด / ชวงชั้นท่ีประเมิน แตเลือกเฉพาะความรูหลักท่ีสําคัญไมไดนําทุกความรูในตัวชี้วัดในแตละเกรดมาเขียนไวใน Performance Level Descriptors ของเกรดน้ัน 5. วิธีเขียน Performance Level Descriptors ท่ีพบจากการศึกษามีดังน้ี

1) สรุปคุณลักษณะโดยรวมของนักเรียนท่ีมีความสามารถในระดับตางๆ ไวในตอนตน ตัวอยางคือ การสรุปของมลรัฐแอริโซนา

2) มลรัฐท้ัง 3 ของสหรัฐอเมริกา นิยามระดับความสามารถของผลการปฏิบัติท่ีกําหนดสําหรับรัฐของตนอยางชัดเจน การจําแนกระดับความสามารถของผลการปฏิบัติของทั้ง 3 มลรัฐตางกัน มลรัฐเทกซัสจําแนกไว 3 ระดับ มลรัฐแอริโซนา 4 ระดับ และมลรัฐแคนซัส 5 ระดับ สวนรัฐแอลเบอรตาของแคนาดาจําแนกไว 2 ระดับ และเขตการปกครองอังกฤษกําหนดความคาดหวังสําหรับนักเรียนวัยตางๆ ตามลําดับจากตํ่าไปสูง 4 ระดับ

3) ในการเขียนตัวชี้วัดท่ีแสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ 3 มลรัฐของสหรัฐอเมริการะบุความรูและความสามารถท่ีพึงมีในแตระดับความสามารถของผลปฏิบัติไวเปนรายการ ใชตัวเลขหรือจุดนําขอความ(bullet) ลําดับรายการรัฐแอลเบอรตาของแคนาดา ใชวิธีบรรยายส้ันๆ เก่ียวกับความสามารถในแตละดับความสามารถของผลปฏิบัติ สวนเขตการปกครองอังกฤษซึ่งจําแนกความรูความสามารถของนักเรียนต้ังแตอายุ 6-14 ป เปน 8 ระดับ และระดับท่ีเหนือกวาระดับ 8 อีก 1 ระดับใชวิธีบรรยายส้ันๆ เก่ียวกับความรูและความสามารถในการนําความรูไปใชในแตละระดับ

4) วิธีเขียนตัวชี้วัดของมลรัฐแอริโซนา คือกําหนดความรูและความสามารถท่ีพึงประสงคในแตละเกรดไวจํานวนหนึ่ง แลวนํามาจําแนกไวในระดับความสามารถของผลปฏิบัติระดับตางๆ มลรัฐเทกซัสและมลรัฐแคนซัสเขียนตัวชี้วัดคลายกัน คือระบุความรู/ทักษะเหมือนกันทุกเกรด แตแตกตางกันตรงท่ีมลรัฐเทกซัสระบุความรู/ทักษะเหมือนกันทุกเกรด ต้ังแตเกรด 3 – 8 แตมลรัฐแคนซัสระบุตัวชี้วัดทุกระดับความสามารถในเกรด 3–6 เหมือนกัน และเกรด 7 ถึง High school เหมือนกัน ตัวชี้วัดของรัฐแอลเบอรตา

Page 113: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

108 | หนา

สรางไวสําหรับเกรด 3, 6 และ9 ซึ่งมีการทดสอบ และเขียนบรรยายความรูความสามารถส้ันๆ การเขียนตัวชี้วัดในแตละระดับของเขตการปกครองอังกฤษก็เปนไปในลักษณะสรุปรวมเชนกัน

5) วิธีเขียนตัวชี้วัดท่ีแสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ หากนําหลักในการจําแนกคุณภาพของผลการปฏิบัติของ Kendall และคณะ (2005) มาเปนพื้นฐาน พบวา Performance Level Descriptors ของรัฐเทกซัส และมลรัฐแคนซัส ใชความคงเสนคงวาเปนหลักมากท่ีสุด นอกจากน้ันก็ใชความยาก ความสําคัญของรายละเอียด คุณภาพ ความเร็ว และความคลองแคลว 6) ผลจากการสังเคราะหความคิดเห็นของกลุมผูเชี่ยวชาญ 3 กลุม คือกลุมผูเชี่ยวชาญ ภาษาไทย คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตรพอสรุปไดดังน้ี

6.1) เน่ืองจากไมสามารถประเมินทุกตัวชี้วัดในแตละมาตรฐานการเรียนรูของ แตละกลุมสาระการเรียนรูได จึงควรคัดเลือกตัวชี้วัดท่ีสําคัญจริงๆ ท่ีเปนองคความรูหลัก ท่ีนักเรียนจําเปนตองเรียนรูจนเชี่ยวชาญเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น

6.2) การประเมินในระดับชั้นเรียน ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติตองมีจุดเนนท่ีชัดเจน

6.3) ระดับเกณฑการประเมินท่ีเหมาะสมคือ 4 ระดับ ดังน้ีคือ ระดับตํ่ากวามาตรฐาน ระดับเกือบถึงระดับไดมาตรฐาน ระดับไดมาตรฐานและระดับเหนือมาตรฐาน

6.4) การเขียนตัวชี้วัดในแตละระดับความสามารถควรแยกเน้ือหา และทักษะกระบวนการใหเห็นอยางชัดเจนเพื่อใหผูท่ีเก่ียวของกับการประเมินเขาใจงายไมตองตีความ

6.5) นอกจากการประเมินระดับชาติ เมื่อจบชวงชั้นท่ี 2, 3 และ 4 แลว ควรมี การประเมินเมื่อจบชวงชั้นท่ี 1 และประเมินกอนจบชวงชั้น 1 ป เพื่อใหโอกาสนักเรียนพัฒนาตนเองกอนท่ีจะรับการประเมินระดับชาติ

Page 114: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 109

5. ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย 1. ควรดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาเกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถใน

วิชาและชั้นท่ีกําหนดใหมีการประเมิน 2. การอานเปนทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูวิชาเน้ือหาอื่นๆ จึงควรให

ความสําคัญ และประเมินเฉพาะทักษะน้ี เชนเดียวกับประเทศตะวันตกท่ีเปนกลุมตัวอยางของงานวิจัยน้ีไดกระทํา ท้ังการอานและคณิตศาสตรซึ่งเปนวิชาทักษะท่ีตองพัฒนาตอเน่ืองกันไป ควรประเมินทุกชั้นปต้ังแตชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 หรือ 3 ถึงมัธยมศึกษาปท่ี 3 เปนอยางนอย

3. เกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถในแตละวิชาควรมี 4 ระดับ คือ ระดับตํ่ากวามาตรฐานมาก ระดับใกลมาตรฐาน ระดับไดมาตรฐาน และระดับเหนือมาตรฐาน การท่ีมีระดับตํ่ากวามาตรฐานมากและระดับใกลมาตรฐานทําใหจําแนกนักเรียน 2 กลุม ซึ่งตองการความชวยเหลือไมเทากันออกจากกัน

4. รูปแบบของตัวชี้วัดสําหรับแตละคุณภาพของผลปฏิบัติท่ีประเทศไทยอาจใชเปนแบบอยางท่ีเหมาะท่ีสุดคือรูปแบบของรัฐเทกซัส มลรัฐแอริโซนา และมลรัฐแคนซัส คือเขียนเปนรายการตัวชี้วัดสําหรับแตละระดับความสามารถ คําและวลีท่ีใชเพื่อจําแนกระดับความสามารถควรแสดงใหเห็นถึงความคงเสนคงวา ความยาก รายละเอียดท่ีสําคัญ คุณภาพ และความเร็ว และความคลองแคลวของการใชความรู และทักษะ 6. การนําผลงานวิจัยไปใช

1. ผลจากการศึกษาเอกสารเก่ียวกับขั้นตอนการพัฒนาเกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถในกลุมสาระตางๆ จะเปนแนวทางใหหนวยงานในประเทศไทยท่ีจะรับผิดชอบในการพัฒนาเกณฑมาตรฐานใชเปนพื้นฐานในการคนควาเพิ่มเติม

2. ตัวอยางการเขียนตัวชี้วัด แสดงระดับความสามารถตางๆ ในการอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร เปนแนวทางในการเขียนตัวชี้วัดสําหรับกลุมสาระดังกลาว ถาหากมีการสรางเกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถในประเทศไทย

Page 115: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

110 | หนา

3. ขอเสนอแนะเก่ียวกับตัวชี้วัดเพิ่มเติมของผูเชี่ยวชาญกลุมภาษาไทย คณิตศาสตรและวิทยาศาสตรนาจะเปนประโยชนในการปรับปรุงตัวชี้วัดสําหรับมาตรฐานการเรียนรูดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร ในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี 3 และมัธยมศึกษาปท่ี 6 คร้ังตอไป

4. ผลจากการศึกษาเอกสารที่เก่ียวของกับการประเมินผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ และระดับรัฐของประเทศตะวันตก ใหขอมูลท่ีควรแกการสนใจสําหรับหนวยงานท่ีทําหนาท่ีประเมินผลนักเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในประเทศไทยอาทิเชน การประเมินผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของสหรัฐอเมริกาโดย National Center for Education Statistics (NCES) ไมไดประเมินผลนักเรียนทุกคน ทุกชั้นเรียน ทุกโรงเรียน ทุกวิชาในหลักสูตรของแตละมลรัฐแตสุมนักเรียนในเขตพื้นท่ีตางๆ ทุกมลรัฐในสหรัฐอเมริกาและเลือกเฉพาะบางวิชามาประเมิน และแตละกลุมสาระท่ีเลือกมาประเมินก็ไมไดประเมินทุกป บางกลุมสาระเชน English Language Arts ก็เลือกประเมินเฉพาะ Reading และ Writing และกลุมสาระสังคมศึกษาก็เลือกประเมินเฉพาะ U.S. History, World History, Geography และ Civics ผลการประเมินออกมาในลักษณะผลสัมฤทธิ์รวมของนักเรียน จําแนกเปนรัฐ เขตพื้นท่ี โรงเรียน เพศ เผาพันธุของนักเรียน สวนการประเมินในระดับรัฐของมลรัฐในสหรัฐอเมริกาก็เปนการประเมินเพื่อแจงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในกลุมสาระตางๆ ของนักเรียนเปนรายบุคคลและประเมินเฉพาะกลุมสาระแกนหลัก คือ English Language Arts เฉพาะการอานและการเขียน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สวนสังคมศึกษาไมไดประเมินในทุกมลรัฐ การอานและคณิตศาสตรประเมินทุกปในเกรด 3-8 และเกรดใดเกรดหน่ึงในระดับ High school สวนการเขียน วิทยาศาสตร และสังคมศึกษา (ถามีการประเมิน) ก็จะประเมินใน 3 เกรด ใน Elementary school เกรดหน่ึง ใน Middle school เกรดหน่ึง และ High school อีกเกรดหน่ึง

------------------------------------------

Page 116: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 111

การพัฒนามาตรฐานเพ่ือการดําเนนิชีวิตในสังคมที่หลากหลาย สําหรับการศกึษาข้ันพ้ืนฐาน

ดร.ราชา มหากันธา1 และคณะ2 1. ที่มาและความสําคัญ

จากความเปล่ียนแปลงของโลกไรพรมแดนและในองคการรัฐมนตรีศึกษาธิการแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรือองคการซีมีโอเพื่อขับเคล่ือนกลไกการศึกษาสูการบรรลุเปาหมายการจัดการศึกษา เพื่อปวงชนขององคการยูเนสโก และการสรางประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ.2558 โดยใหความสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อการสงเสริมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี การพัฒนาความรูสึกรวมในการเปนประชาชนอาเซียน และการบรรลุเปาหมาย การจัด การศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางย่ังยืนของสหประชาชาติ ทามกลางความแตกตางดานเชื้อชาติ ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม หรือประเพณีท่ียึดถือปฏิบัติมาท่ีอาจนํามาซึ่งปญหาตางๆ ท้ังในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก

เพื่อใหพลเมืองของประเทศไทยมีศักยภาพ และสามารถกาวทันหรืออยูรวม กันไดกับพลเมืองของประเทศตางๆ ประเทศไทยโดยกระทรวงศึกษาธิการ จึงตองมี แนวทางการพัฒนาการศึกษาใหกับเยาวชนไทยใหมีความพรอมต้ังแตระดับขั้นพื้นฐาน แนวทางดังกลาวสามารถระบุและนํามาใชเปนมาตรฐานเพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลาย มุงหวังใหเปนมาตรฐานนํารองในการปลุกจิตสํานึกของการอยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลายไดอยางมีความสุขและกําหนดคุณภาพของผูเรียนในแตละวัย เพื่อใหเยาวชนปจจุบันเติบโตเปนพลเมืองท่ีดีและมีคุณภาพ

1 อาจารยประจําวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

2 ดร.พัชรีพรรณ ม.รัตนพล, น.ส.สกาวรัตน ตันศิริ, น.ส.เฉลิมพร นามวงศ, ดร.วิลาศ ดวงกําเหนิด,

ดร.อามัดไญนี ดาโอะ, นายอานนท ชินอักษร

Page 117: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

112 | หนา

2. วัตถุประสงคของงานวิจัย 2.1 ศึกษามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลายสําหรับ

การศึกษาข้ันพื้นฐานในสังคมพลวัต 2.2 สรางมาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลายสําหรับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน รองรับการอยูรวมกัน ของประชาชนในประเทศ และประชาคมโลก 3. วิธีดําเนินการวิจัย

การพัฒนามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลาย สําหรับการศึกษาระดับข้ันพื้นฐาน มีวิธีดําเนินการวิจัยออกเปน 3 ระยะดังน้ี (1) ระยะท่ี 1 ศึกษา คนควาและรวบรวมมาตรฐานการศึกษาของประเทศตางๆ (2) ระยะท่ี 2 จัดสนทนากลุม 2 รอบเพื่อสรางและพัฒนามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมท่ีหลากหลาย สําหรับการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (3) ระยะท่ี 3 สัมภาษณโดยใชคําถามแบบมีโครงสราง/ หรือแจกแบบสอบถามปลายเปดใหกับ กลุมตัวอยางไปกรอกคําตอบตามแนวความคิดของตนเองและสงคืนในภายหลัง ประชากรและกลุมตัวอยางในการปฏิบัติการแตละระยะเปนดังน้ี คือ ระยะท่ี 1 คือเอกสารการออกแบบมาตรฐานการศึกษา และจากเว็บไซตท่ีเก่ียวของกับการศึกษาของตางประเทศ ศึกษาในชวงระหวางเดือนมกราคม 2553 - มิถุนายน 2553 ระยะท่ี 2 คือ ผูเชี่ยวชาญจากกลุมสาขาอาชีพตางๆ มีประสบการณการทํางานดานตางๆไมนอยกวา 10 ป กลุมตัวอยางถูกคัดเลือกโดยไมใชหลักความนาจะเปน (Non Probability Sampling) และเฉพาะเจาะจงตามเกณฑท่ีกําหนดไว ในชวงเดือนกรกฎาคม 2553 - พฤศจิกายน 2553 และระยะท่ี 3 เปนผูบริหาร หรือครู อาจารยผูสอน ในสถานศึกษาระดับ พื้นฐานในแตละภาคของไทย กลุมตัวอยางคือตัวแทนท่ีเก็บขอมูลแบบ Cluster Sampling จากภาคเหนือภาคตะวันออก เ ฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต และกรุงเทพมหานคร ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง อยางนอยภาคละ 2 คนในชวงระหวาง เดือนมกราคม 2554 - มีนาคม 2554

Page 118: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 113

การรวบรวมขอมูล ประกอบดวย (1) การสนทนากลุมรอบท่ี 1 มีผูทรงคุณวุฒิท่ีเขารวมใหขอมูลการสนทนากลุม จํานวน 10 คน (2) การสนทนากลุมรอบท่ี2 มีผูทรง คุณวุฒิท่ีเขารวมใหขอมูลการสนทนากลุม จํานวน 14 คน จากน้ันนํามาตรฐานฯไปใช คณะผูวิจัยไดเดินทางไปพบผูใหขอมูลสําคัญบางรายและฝากเคร่ืองมือไว จํานวน 22 คน และไดรับผลกลับคืน ประมาณ 1-2 สัปดาห การวิเคราะหขอมูล หลังจากเก็บรวบรวมขอมูลแตละคร้ัง คณะผูวิจัยตรวจสอบความถูกตอง และความครบถวนสมบูรณเปนขอมูลแบบบรรยาย (Descriptive) ท่ีไดจากการสังเกต สัมภาษณ และการทําสนทนากลุมแลวจดบันทึกไวและใชการตีความสรางขอสรุปแบบอุปนัย (Inductive) 4. ผลการวิจัย

จากการศึกษาขอมูลท้ังปฐมภูมิ และทุติยภูมิไดมีการวิเคราะห สังเคราะหและเสนอเปน (ราง) มาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลายสําหรับการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน และเกณฑสําหรับการชี้วัดแตละระดับ ตอไปน้ี มาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลาย สําหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และเกณฑการชี้วัด มาตรฐานที่ 1. มีความสามารถอยูรวมกันไดดีในสังคมที่หลากหลาย (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 4 มาตรฐาน ดังน้ี) เกณฑการชี้วัด ระดับ 3 ประสบความสําเร็จและมีความสุขในการอยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขในการอยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลาย ระดับ 1 สามารถอยูรวมกันไดในสังคมท่ีหลากหลาย

Page 119: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

114 | หนา

มาตรฐานยอย (Sub-Standard) 1.1 การยอมรับและการใหเกียรติในความแตกตางในเร่ืองที่เก่ียวกับ ศาสนา ความเชื่อ ระบอบการปกครอง และวัฒนธรรมในการดําเนินชีวิต

1.1.1 แสดงออกถึงความเขาใจและอยูรวมกับบุคคลอื่น ท่ีมีความแตกตางไดเปนอยางดี

1.1.2 ประพฤติตนและใหเกียรติยกยองผูอื่นไดอยางเหมาะสมตาม อายุ ฐานะ บทบาททางสังคมท่ีแตกตางกัน 1.2 การสงเสริมความยุติธรรมรวมกันในสังคม

1.2.1 ชื่นชมพฤติกรรมของบุคคลท่ีกอใหเกิด ความเปนธรรมทางสังคม 1.2.2 ปฏิเสธพฤติกรรมท่ีไมเปนธรรม 1.2.3 ชักจูงและสงเสริมใหคนสรางความยุติธรรมในสังคม

1.3 การมีจิตอาสาและจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม 1.3.1 เอื้อเฟอ เผ่ือแผ ชวยเหลือผูอื่นและสังคมเทาท่ีสามารถกระทําได โดยไม

จําเปนตองไดรับการรองขอ 1.3.2 ใหความรวมมือในฐานะพลเมืองท่ีดี

1.4 การเคารพ กฎ กติกา กฎหมาย สิทธิ หนาที่ ความเสมอภาค และเสรีภาพของตนเองและผูอื่น

1.4.1 เขาใจในสิทธิ หนาท่ี บทบาทและเสรีภาพของตนเองและผูอื่น 1.4.2 ประพฤติตนโดยไมละเมิดสิทธิของผูอื่น รวมท้ังไมสรางความเดือดรอน

รําคาญใหกับผูอื่น 1.4.3 เคารพและประพฤติตนตามกฎ กติกา และกฎหมาย 1.4.4 ตระหนักถึงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

Page 120: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 115

มาตรฐานท่ี 2. มีความสามารถในการจัดการชีวิต และสภาพการทํางานของตัวเองได (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 5 มาตรฐาน ดังน้ี) เกณฑการชี้วัด ระดับ 3 ประสบความสําเร็จในการจัดการชีวิต และสภาพการทํางานของตัวเองในสังคมท่ีหลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขและมีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางานของตัวเอง ในสังคมท่ีหลากหลายได ระดับ 1 มีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางานของตัวเองในสังคมท่ีหลากหลายได มาตรฐานยอย (Sub - Standard) 2.1 สมรรถนะในการจัดการดานการงาน

2.1.1 อดทน ขยัน ทํางานหารายไดโดยสุจริต ไมขัดตอขนบธรรมเนียม ประเพณี และศีลธรรม

2.1.2 วางแผนการใชจายและเก็บออม โดยยึดหลักของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทาง 2.2 สมรรถนะในการเรียงลําดับความสําคัญ

2.2.1 รูจักตนเอง เขาใจและประเมินตนเองวา มีจุดเดนหรือควรพัฒนาอยางไร 2.2.2 มีเปาหมายแหงตน สามารถกําหนดเปาหมายชีวิต ของตนเองท้ังในระยะ

ส้ันและระยะยาวได 2.2.3 สามารถบริหารเวลา ใหสอดคลองกับความเรงดวนและความสําคัญ ใน

ส่ิงท่ีจะตองทําไดดีและเหมาะสม 2.2.4 มีพัฒนาการและเพิ่มศักยภาพ ตนเองเพื่อใหบรรลุเปาหมายท่ีสูงขึ้นได

Page 121: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

116 | หนา

2.3 สมรรถนะในดานอารมณและความรูสึก 2.3.1 เขาใจความรูสึกของตนเอง และแสดงออกไดอยางเหมาะสม 2.3.2 ควบคุมอารมณไดดีในสถานการณฉุกเฉิน 2.3.3 มองโลกในแงดี

2.4 สมรรถนะในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 2.4.1 มีจิตสํานึกในฐานะพลเมืองโลก เขาใจสถานการณ ภาพรวมและ

องคประกอบยอย มองเห็นความเชื่อมโยง ผูกพันเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน 2.4.2 ใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชวิธีคิดเชิงระบบ

และการหยั่งถึงคุณคา เพื่อใหเกิดทัศนคติและจิตสํานึกในระบบนิเวศทางสังคม 2.4.3 หวงแหนและอนุรักษส่ิงแวดลอม

2.5 การใหศาสนาเปนที่พึ่งและแนวทางในการดําเนินชีวิต 2.5.1 เขาใจหลักศาสนาของตนเบื้องตน และนําไปใชปรับปรุงการดําเนินชีวิต 2.5.2 แสดงออกถึงความคิด วาจา และพฤติกรรมท่ีดี ตามแนวทางของแตละ

ศาสนา จนเปนท่ียอมรับ นับถือของสังคม 2.5.3 ปรับตัว ยืดหยุนใหอยูรวมกันอยางปรองดอง 2.5.4 เอื้อเฟอ เผ่ือแผ เห็นอกเห็นใจ รัก เมตตากรุณาตอสรรพส่ิงและชีวิตท้ังมวล

มาตรฐานที่ 3. มีความสามารถในการใชเครื่องมือชวยตางๆไดเปนอยางดี และตระหนักบทบาทในวงกวาง (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 3 มาตรฐาน ดังน้ี) เกณฑการชี้วัด ระดับ 3 ประสบความสําเร็จในการใชเคร่ืองมือชวยตางๆ และตระหนักถึงบทบาทของตนเมื่ออยูในสังคมท่ีหลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขท่ีสามารถใชเคร่ืองมือชวยตางๆและตระหนักถึงบทบาทของตนเมื่ออยูในสังคมท่ีหลากหลาย

Page 122: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 117

ระดับ 1 มีความสามารถใชเคร่ืองมือชวยตางๆและตระหนักถึงบทบาทของตนเมื่ออยูในสังคมท่ีหลากหลาย มาตรฐานยอย (Sub - Standard) 3.1 การใชภาษา

3.1.1 สามารถใชท้ังภาษาถ่ิน ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพื่อการส่ือสารในเชิงบวกไดอยางมีประสิทธิภาพ

3.1.2 ใชภาษาสรางสุนทรียสนทนาเพื่อความสันติสุขในการอยูรวมกัน 3.1.3 ใชภาษาเปนเคร่ืองมือในการชักจูงและกระตุนใหเกิดการเรียนรูอยาง

ยั่งยืน การพัฒนา และการสรางสรรคเพื่อสันติภาพโลก 3.2 การใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอร

3.2.1 สามารถใชท้ังภาษาถ่ิน ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพื่อการส่ือสารในเชิงบวกไดอยางมีประสิทธิภาพ

3.2.1 รูเทาทันเทคโนโลยีและเลือกใชงาน ไดอยางเหมาะสม 3.2.2 ใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอรสรางผลงานในเชิงบวก

3.3 การแสวงหา และการจัดการความรู 3.3.1 สืบคนหาขอมูลท่ีมีคุณคาและอางอิงไดอยางมี ประสิทธิภาพ 3.3.2 นําความรูท่ีไดไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด 3.3.3 สนับสนุน ถายทอด และมีสวนรวมในการสรางสังคมแหงการเรียนรู

5. การนํามาตรฐานไปใช มาตรฐานที่ 1 มีความสามารถอยูรวมกันไดดีในสังคมท่ีหลากหลาย

1) ผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบาย กลยุทธ และมีแผนการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน มีผูรับผิดชอบ โดยมีผูบริหารเปนผูนําและเปนแบบอยางใหกับผูอื่นดวย

2) ครู อาจารย ผูสอน ปฏิบัติตอนักเรียนทุกคนดวยความเสมอภาคและยอมรับความแตกตางของนักเรียนแตละคนกอนนํามาตรฐานไปออกแบบเชื่อมโยงกับกลุมสาระอื่น

Page 123: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

118 | หนา

3) ผูเรียนศึกษาความแตกตางของคน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน พรอมยอมรับความแตกตางและยอมรับฟงความคิดเห็นท่ีแตกตางของคนอื่น ยึดถือแนวทางระบอบประชาธิปไตย มาตรฐานที่ 2 มีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางานของตัวเองได

1) ผูบริหารสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน การคนควาท่ีสอดคลองตอการจัด การเรียนรูและพัฒนาผูเรียนสูมาตรฐาน

2) ครู อาจารย ผูสอน ศึกษาชุมชนวามีอะไรท่ีนํามาเปนประโยชนตอการสรางอาชีพ สรางรายไดใหกับผูเรียนและชุมชน ปลูกฝงแนวคิดและหลักการในการประกอบอาชีพอิสระ การใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัยในการทํางาน

3) ผูเรียน เลือกเรียนและแสดงความสามารถในดานท่ีตนสนใจ เขารวมกิจกรรมท่ีโรงเรียนจัดขึ้นเพื่อสะสมประสบการณ และนําไปใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐานที่ 3 มีความสามารถในการใชเคร่ืองมือชวยตางๆไดเปนอยางดีและตระหนักบทบาทในวงกวาง

1) ผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบาย จัดสรรงบประมาณหาเทคโนโลยีใหเพียงพอตอการใชงานของบุคลากรและนักเรียน สนับสนุนการใชภาษาใหถูกตองเหมาะสม

2) ครู อาจารย ผูสอน ใหนักเรียนพูดและใชภาษาอยางถูกตองเหมาะสม 3) ผูเรียนฝกพัฒนาการใชภาษา เรียนภาษาท่ีตนเองสนใจ หาโอกาสฝกงาน ดูงาน

หรือแลกเปล่ียนประสบการณกับเจาของภาษา ส่ือสารกับเพื่อนชาวตางชาติวัยเดียวกัน ขอเสนอแนะในการนํา (ราง)มาตรฐานฯไปใช ในระยะ เริ่มตน 1) ประชาสัมพันธใหทุกฝายทราบโดยการจัดอบรม สัมมนา แสดงตัวอยางโรงเรียนนํารอง (หากมี) 2) สรางความเขาใจใหกับคณะผูบริหาร เสนอใหคณะกรรมการสถานศึกษาใหความเห็นชอบ 3) ผูบริหารและคณะทํางาน ประชุมทําความเขาใจทุกฝายท่ีเก่ียวของ

Page 124: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

หนา | 119

4) แตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการจัดทําแนวทางการนํามาตรฐานฯไปใช 5) จัดทําหลักสูตรใหสอดคลองเชื่อมโยงกับการเรียนการสอนปกติในแตละกลุมสาระและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตาง ๆ ท่ีผูเรียนไดเรียนรู 6) โรงเรียน คณะครูและนักเรียน กําหนดเกณฑและการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผลการประเมินท่ีเปนรูปธรรมชัดเจน และจัดทําเกณฑการประเมิน 7) ใหความรูกับคณะครู บุคลากร นักเรียนและฝายตางๆท่ีเก่ียวของกับมาตรฐานฯและตัวชี้วัด 8) มีการแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนงานโครงการประจําปใหสอดคลองกับมาตรฐานฯ 9) มีการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร 10) วิเคราะหตัวชี้วัดและประเมินผลใหสอดคลองครอบคลุมมาตรฐานกลุมสาระ 11) ประกาศใชนโยบายมาตรฐานฯ ในสถานศึกษา 12) ประเมินผลและจัดประชุมเพื่อรวบรวมปญหา จัดลําดับความสําคัญและสรุปประเด็นปญหา วางแผนแกไข 13) ประชุมผูปกครองเพื่อแกไขปญหาและดําเนินการตามแผนที่วางไว การประเมินผล 1) ประเมินภาพรวมท้ังสถานศึกษาประเมิน บริบท ขอมูลดิบนําเขา กระบวนการ และผลลัพธ (Context, Input, Process, และ Product หรือ Output) โดยประเมินท้ังกอน ระหวาง และหลังการดําเนินการ 2) ประเมินภาพยอยเฉพาะผลของการนํามาตรฐานฯไปใช โดยใหนักเรียนประเมินตนเอง และ / หรือ เพื่อน ครูผูสอน หรือบุคคลภายนอกเปนผูประเมิน โดยประเมินเปรียบเทียบเปนชวงระยะเวลา คลายกับการประเมินท้ังระบบ หรืออาจดําเนินการท้ัง Formative และ Summative

Page 125: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

120 | หนา

ปจจัยแหงความสําเร็จ (Key Success Factors) 1) เผยแพรความรูในการนํามาตรฐานฯไปใชจากทุกระดับ

2) วางแผนขั้นตอนการนํามาตรฐานฯ ไปใชท่ีชัดเจนไมยุงยาก ใหครูมีสวนรวมในจังหวะและบทบาทท่ีเหมาะสม ในการทํางานโดยไมเพิ่มภาระงานจากปกติ

3) ทุกฝายรวมกันกําหนดความตองการและเกณฑการประเมินเปนรูปธรรมและยอมรับได 4) นําหลักการแนวคิดของมาตรฐานฯ มาใชจนเปนคานิยมและวัฒนธรรมองคกร ปจจัยแหงความลมเหลว (Key Failure Factors) 1) การยึดติดกับการเรียนรูเน้ือหาสาระ มากกวาคุณลักษณะและสมรรถนะท่ีสมดุลของเยาวชน 2) การไมตระหนักถึงความสําคัญของมาตรฐานฯจากผูบริหารและผูเก่ียวของ 3) การขาดความเขาใจ เน่ืองจากไมมีการปฏิบัติรูปธรรม ชัดเจน 4) การขาดการติดตาม กํากับดูแล ประเมินผลอยางตอเน่ือง ประโยชนที่ไดจากการนํามาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายฯ 1) ผูเรียน ไดรับการพัฒนาไอคิว อีคิว ทักษะตางๆและยอมรับความแตกตาง เคารพกฎกติกาสังคม อยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลายอยางมีคุณภาพและมีความสุข 2) สําหรับครูผูสอน ไดแนวทางการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมท่ีใหความสําคัญกับการพัฒนาเด็กนักเรียน ใหอยูรวมกันในสังคมท่ีหลากหลายไดอยางมีความสุขและมีคุณภาพ 3) สําหรับโรงเรียนและผูบริหาร ไดรับการยกยองวาเปนผูผลิตเยาวชนท่ีเปนกําลังสําคัญของชาติท่ีมีคุณภาพไดอยางดี มีมาตรฐานใชในการสรางเยาวชนที่มีคุณภาพ 4) สําหรับสังคมและประเทศชาติ มีคนมีวินัย มีความปรองดอง ความสามัคคี คนในองคกร หรือสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุขโดยไมคํานึงถึงความแตกตางดานตางๆ

................................................................

Page 126: โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

ภาคผนวก ที่ปรึกษา นายชินภัทร ภมูิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นายอนันต ระงับทุกข รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นายพิษณุ ตุลสุข รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นางเบญจลักษณ นํ้าฟา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นางพจมาน พงษไพบูลย ผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา คณะทํางานกลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัย สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท

นางอรนุช มั่งมีสุขศิริ นางสุดจิตร ไทรน่ิมนวล นายพิทักษ โสตถยาคม นายพลรพี ทุมมาพันธ