ตัวอย่าง...

35
การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449 1 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ (Analysis) ปญหาและการแกปญหา (Analysis) ปญหา : ในการศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชา บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปที2 จํานวน 40 คน ปญหาที่สําคัญในรายวิชานี้คือผูเรียนยังขาดความ เขาใจ และขาดทักษะการวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี(Dewey Decimal Classification) เนื่องดวย เนื้อหารายวิชานี้คอนขางที่จะมาก และอาศัยหลักการวิเคราะหเนื้อหาของหนังสือเพื่อเลือกใหเขาหมวดหมูตามระบบ ทศนิยมดิวอีบางครั้งผูเรียนยังวิเคราะหหนังสือเพื่อใหเขาหมวดที่ถูกตองยังไมได จึงตองหาวิธีการที่จะทําใหผูเรียน วิเคราะหหมวดหมูไดอยางถูกตอง วิธีแก้ปัญหา (Need Analysis) : ตองการใหผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 000-900 ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง การวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) Job : ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง Job Inventory : วิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 000-900 ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง Sub-Job : วิเคราะห์หมวดหมู ่หนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 000 ความรูทั่วไป แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 200 ศาสนา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 300 สังคมศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 400 ภาษา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาตและคณิตศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอีหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)

description

 

Transcript of ตัวอย่าง...

Page 1: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

1

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหท์รพัยากรสารสนเทศ

การวิเคราะห ์(Analysis)

ปญหาและการแกปญหา (Analysis)

ปญหา : ในการศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชา

บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปท่ี 2 จํานวน 40 คน ปญหาท่ีสําคัญในรายวิชานี้คือผูเรียนยังขาดความ

เขาใจ และขาดทักษะการวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เนื่องดวย

เนื้อหารายวิชานี้คอนขางท่ีจะมาก และอาศัยหลักการวิเคราะหเนื้อหาของหนังสือเพ่ือเลือกใหเขาหมวดหมูตามระบบ

ทศนิยมดิวอี้ บางครั้งผูเรียนยังวิเคราะหหนังสือเพ่ือใหเขาหมวดท่ีถูกตองยังไมได จึงตองหาวิธีการที่จะทําใหผูเรียน

วิเคราะหหมวดหมูไดอยางถูกตอง

วิธีแก้ปัญหา (Need Analysis) :

ตองการใหผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

การวิเคราะหภ์ารกิจ (Task Analysis) Job : ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

Job Inventory :

วิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

Sub-Job : วิเคราะหห์มวดหมู่หนังสือในระบบทศนิยมดิวอ้ี หมวด 000-900

แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูท่ัวไป แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาตและคณิตศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)

Page 2: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

2

แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร

รูและเขาใจการแบงหมวดหมูตามลําดับของการแบงครั้งท่ี 1 และการแบงครั้งท่ี 2 ได

ใช้ตารางช่วยในระบบทศนิยมดิวอ้ีได้อย่างถกูต้อง ระบุเลขตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน ระบุเลขตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล ระบุเลขตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม ระบุเลขตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา ระบุเลขตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ ระบุเลขตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา ระบุเลขตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล ใช้ตารางเลขหมู่ในระบบทศนิยมดิวอ้ีได้อย่างถกูต้อง รูการใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้ รูคําอธิบายขอบเขตหนังสือ รูการใชเลขฐาน รูลักษณะการใหหัวเรื่องท่ีครอบคลุมหลายหมู รูการใชคําล่ัง Add to

รูการใชเลขหมูอยางสรุป รูการใชสวนโยง (See) รูการใชรวมถึง (Including) รูการใชคําส่ัง Class here รูการใชคําล่ัง Class in รูการใชคําส่ัง Option Class in รูลักษณะการใชคําส่ังเลขหมูท่ีปรากฏใน [ ] รูลักษณะเครื่องหมาย * ท่ีปรากฏในบางเลขหมู

ใช้ดรรชนีสมัพนัธใ์นระบบทศนิยมดิวอ้ีได้อย่างถกูต้อง รูการเปนดรรชนีสัมพันธ

รูการเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ รูลักษณะของรายการโยง รูขอบเขตเรื่องท่ีปรากฏในดรรชนีสัมพันธ รูขอบเขตเรื่องท่ีไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ รูคําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ

Page 3: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

3

Outline Format 1. หมวด 000 ความรูท่ัวไป 1.1 010 บรรณานุกรม 1.2 020 บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร 1.3 030 สารานุกรมท่ัวไป 1.4 040 (ไมใช) 1.5 050 ส่ิงพิมพตอเนื่องท่ัวไป

1.6 060 องคการท่ัวไปและพิพิธภัณฑวิทยา 1.7 070 วารสารศาสตร การพิมพ 1.8 080 รวมเรื่องท่ัวไป 1.9 090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก

2. หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา 2.1 110 อภิปรัชญา 2.2 120 ทฤษฏีความรู สาเหตุมนุษย 2.3 130 จิตวิทยานามธรรม 2.4 140 แนวคิดของปรัชญาเฉพาะกลุม 2.5 150 จิตวิทยา 2.6 160 ตรรกวิทยา 2.7 170 จริยศาสตร 2.8 180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง ปรัชญาตะวันออก 2.9 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม

3. หมวด 200 ศาสนา 3.1 210 ศาสนาธรรมชาติ 3.2 220 คัมภีรไบเบ้ิล 3.3 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา 3.4 240 หลักศีลธรรมของชาวคริสต 3.5 250 คริสตศาสนาในทองถ่ินและขอบังคับในคริสตศาสนา 3.6 260 เทววิทยาคริสตทางสังคมและศาสนจักร 3.7 270 ประวัติศาสนาคริสต 3.8 280 นิกายตาง ๆ ของสาสนาคริสต 3.9 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ

4. หมวด 300 สังคมศาสตร 4.1 310 รวมเรื่องสถิติท่ัวไป 4.2 320 รัฐศาสตร 4.3 330 เศรษฐศาสตร 4.4 340 กฎหมาย 4.5 350 รัฐประศาสนศาสตรและวิชาการทหาร 4.6 360 ปญหาสังคมและบริการสังคม

Page 4: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

4

4.7 370 การศึกษา 4.8 380 การพาณิชย การติดตอส่ือสาร และการขนสง 4.9 390 ขนบธรรมเนียมประเพณี และคติชาวบาน

5. หมวด 400 ภาษา 5.1 410 ภาษาศาสตร 5.2 420 ภาอังกฤษและภาษาอังกฤษเกา 5.3 430 ภาษาเยอรมัน 5.4 440 ภาษาฝรั่งเศส 5.5 450 ภาษาอิตาเลียน 5.6 460 ภาษาสเปน ปอรตุเกส 5.7 470 ภาษาละติน 5.8 480 ภาษากรีก 5.9 490 ภาษาอื่น ๆ

6. หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร 6.1 510 คณิตสาสตร 6.2 520 ดาราศาสตร 6.3 530 ฟสิกส 6.4 540 เคม ี6.5 550 วิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลก 6.6 560 บรรพชีวินวิทยา 6.7 570 วิทยาศาสตรของส่ิงมีชีวิต ชีววิทยา 6.8 580 พืช 6.9 590 สัตว

7. หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต) 7.1 610 แพทยศาสตร 7.2 620 วิศวกรรมศาสตร 7.3 630 เกษตรศาสตร 7.4 640 คหกรรมศาสตรและชีวิตครอบครัว 7.5 650 การจัดการและการบริการทางธุรกิจ 7.6 660 อุตสาหกรรมเคมี 7.7 670 โรงงานอุตสาหกรรม 7.8 680 โรงงานผลิตส่ิงเบ็ดเตล็ด 7.9 690 การกอสราง

8. หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป 8.1 710 ศิลปะการวางผังเมือง 8.2 720 สถาปตยกรรม 8.3 730 ศิลปะการปน ประตมิากรรม 8.4 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป

Page 5: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

5

8.5 750 จิตรกรรม 8.6 760 ศิลปะการพิมพ 8.7 770 การถายภาพและภาพถาย 8.8 780 ดนตรี 8.9 790 นันทนาการ และศิลปะการแสดง

9. หมวด 800 วรรณคดี 9.1 810 วรรณคดีอเมริกัน 9.2 820 วรรณคดีอังกฤษและวรรณคดีอังกฤษเกา 9.3 830 วรรณคดีเยอรมัน 9.4 840 วรรณคดีฝรั่งเศส 9.5 850 วรรณคดีอิตาเลียน 9.6 860 วรรณคดีสเปน ปอรตุเกส 9.7 870 วรรณคดีละติน 9.8 880 วรรณคดีกรีก 9.9 890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ

10. หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 10.1 910 ภูมศิาสตรท่ัวไป การทองเท่ียว 10.2 920 ชีวประวัติ 10.3 930 ประวัติศาสตรของโลกสมัยโบราณ 10.4 940 ประวัติศาสตรท่ัวไปของทวีปยุโรป 10.5 950 ประวัติศาสตรท่ัวไปของทวีปเอเชีย 10.6 960 ประวัติศาสตรท่ัวไปของทวีปแอฟริกา 10.7 970 ประวัติศาสตรท่ัวไปของทวีปอเมริกาเหนือ 10.8 980 ประวัติศาสตรท่ัวไปของทวีปอเมริกาใต 10.9 990 ประวัติศาสตรท่ัวไปของดินแดนแถบอื่น ๆ

11. ตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ 11.1 ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน

11.2 ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล 11.3 ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม 11.4 ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา 11.5 ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ 11.6 ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา 11.7 ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล

12. ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ 12.1 การใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้

12.2 คําอธิบายขอบเขตหนังสือ 12.3 การใชเลขฐาน 12.4 ลักษณะการใหหัวเรื่องท่ีครอบคลุมหลายหมู

Page 6: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

6

12.5 การใชคาํล่ัง Add to 12.6 การใชเลขหมูอยางสรุป 12.7 การใชสวนโยง (See) 12.8 การใชรวมถึง (Including) 12.9 การใชคาํส่ัง Class here 12.10 การใชคําล่ัง Class in 12.11 การใชคําส่ัง Option Class in

13. ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ 13.1 การเปนดรรชนีสัมพันธ 13.2 การเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ 13.3 ลักษณะของรายการโยง 13.4 ขอบเขตเรื่องท่ีปรากฏในดรรชนีสัมพันธ 13.5 ขอบเขตเรื่องท่ีไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ 13.6 คําอธบิายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ

การวิเคราะหก์ารสอน (Instructional Analysis) การสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดยใชรูปแบบการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey decimal classification) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรนั้น โดยเลือกใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา (Cognitive Theory) ในการเรียนรูคือผลของการเรียนรูท่ีเปนความสามารถทางสมองโดยใหความสําคัญกับความรูความเขาใจ หรือการรูคิดของมนุษย โดยบทบาทแนวคิดนี้ผูเรียนเปนเพียงผูรับสารสนเทศ ในขณะท่ีครูจะเปนผูนําเสนอสารสนเทศ เชนการบรรยาย นอกจากนี้การเรียนโดยใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา ยังสามารถท่ีจะใหผูเรียนถายโยงความรู และทักษะเดิม หรือส่ิงท่ีเรียนรูมาแลวไปสูบริบทและปญญาใหม การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศสอนโดยใชรูปแบบการสอนแบบการบรรยาย โดยเนนใหผูเรียนทําแบบฝกหัด เมื่อจบ 1 หมวดของระบบทศนิยมดิวอี้

Page 7: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

7

การอออกแบบ (Design) วัตถุประสงคปลายทาง (TPO)

ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

วัตถุประสงคนําทาง (Eos)

1. ผูเรียนมีความรูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญและลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ 1.1 ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ 1.2 ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได 2. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูท่ัวไป ไดอยางถูกตอง

2.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูท่ัวไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 2.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูท่ัวไปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

3. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา ไดอยาง ถูกตอง

3.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 100 ปรัชญาและจิตวทิยาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 3.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยาไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

4. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา ไดอยางถูกตอง 4.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 200 ศาสนาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 4.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 200 ศาสนาไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

5. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร ไดอยางถูกตอง 5.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 300 สังคมศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 5.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 300 สังคมศาสตรไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

6. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา ไดอยางถูกตอง 6.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 400 ภาษาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 6.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 400 ภาษาไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

7. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและ คณิตศาสตร ไดอยางถูกตอง

7.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร ของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางัอยางนอย 7 เรื่อง

Page 8: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

8

7.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร ไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

8. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต) ไดอยางถูกตอง

8.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 8.2 ผูเรยีนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

9. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป ไดอยางถูกตอง

9.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 9.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

10. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี ไดอยางถูกตอง 10.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 800 วรรณคดีของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 10.2 ผูเรยีนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 800 วรรณคดีไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

11. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ไดอยางถูกตอง

11.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 11.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

12. ผูเรียนสามารถใชตารางชวย ตารางเลขหมู และดรรชนีสัมพันธ ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.1 ผูเรียนสามารถใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.2 ผูเรียนสามารถใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.3 ผูเรียนสามารถใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

Page 9: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

9

ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือ ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 

1  2  3  4  5  6 

7  8  9  10  11  12 

1.1  1.2  2.1  2.2  3.1  3.2  4.1  4.2  5.1  5.2  6.1  6.2 

7.1  7.2  8.1  8.2  9.1  9.2  10.1 10.2  11.1  11.2  12.1  12.2  12.3 

Page 10: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

10

การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment Learning) การประเมินผลการเรียนรูรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปท่ี 2 จํานวน 40 คน ประเมินโดยใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement test) ประเภท แบบทดสอบองเกณฑ (Criterion referenced assessment : CRT) โดยใชรูปแบบขอสอบแบบเติมคํา/ขอความใหสมบูรณ ซึ่งสัมพันธกับพิสัยการเรียนรูแบบพุทธิพิสัย

Page 11: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

11

ตารางรายละเอียดข้อกาํหนดข้อสอบ (Table of Specification) ตารางขอกําหนดสําหรับขอทดสอบเรื่องการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศดวยระบบทศนิยมดิวอี้

ผลลพัธข์องพฤติกรรม

เนื้อหา รูหลักการ เขาใจหลักการ ระบุเลขหมูทศนิยม

ดิวอี้

รวม

ความรูท่ัวไปของระบบทศนิยมดิวอี้

3 3 - 6

หมวด 000 2 2 5 9

หมวด 100 2 2 5 9

หมวด 200 2 2 5 9

หมวด 300 2 2 5 9

หมวด 400 2 2 5 9

หมวด 500 2 2 5 9

หมวด 600 2 2 5 9

หมวด 700 2 2 5 9

หมวด 800 2 2 5 9

ตารางชวย 4 7 5 16

ตารางเลขหมู 5 13 5 23

ดรรชนีสัมพันธ 3 6 5 14

รวม 33 47 60 140

Page 12: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

12

การเลือกระบบถ่ายทอด (Delivery System Option) เทคโนโลยีท่ีนํามาถายทอดความรูใหกับผูเรียนในการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศคือเทคโนโลยีการพิมพ (Print Technology) ซึ่งเทคโนโลยีการพิมพมีคุณประโยชนท่ีใหผูเรียนใชสามารถจัดระบบระเบียบใหม จัดโครงสรางใหม และสามารถควบคุมการเรียนรูตามอัตราความสามารถในการเรียนของแตละคน และสามารถทําสําเนาซ้ําไดงาย โดยการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนกลุมคอนขางท่ีใหญจํานวน 40 คน มีอายุ การศึกษา ใกลเคียงกัน เทคโนโลยีการพิมพ เปนการลดปญหาของสภาพเศรษฐกิจของผูเรียน เพราะใชคาใชจายนอยมากเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีชนิดอ่ืนๆ การเลือกระบบการถายทอด โดยใชแบบจําลองการเลือกระบบถายทอด(Delivery System Model) ของ Seel และ Glasgow 1. ระบคุณุสมบติัของผูเ้รียน การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยระดับการศึกษาของผูเรียนอยูในระดับการศึกษาปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 อายุโดยเฉล่ีย 20 ป รายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปนวิชาแกนของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร โดยเปนวิชาท่ีผูเรียนจะตองเรียนและจะตองผานไมตํ่ากวาเกรด C ความสามารถทางภาษาของผูเรียนสามารถอานออกเขียนได และระดับภาษาอังกฤษของผูเรียนอยูในระดับพอใช โดยการเรียนในรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศผูเรียนจะตองใช คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับภาษาอังกฤษ พิมพครั้งท่ี 21 2. ระบคุณุสมบติัทางด้านช่องทาง การระบุชองทางจะตองสอดคลองกับการวิเคราะหคุณสมบัติผูเรียนเบื้องตนท่ีไดวิเคราะหไปแลว โดยระดับการศึกษา อายุ การใชภาษา ซึ่งจะตองเลือกชองทางใหสัมพันธกันการเรียนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศระตองใช 3 ชองทางในการเรียนรู คือ ทางโสตเพื่อฟงการบรรยาย ทางทัศนะเพื่อดูหนังสือและเอกสารการบรรยาย ทางการเคล่ือนไหวเพ่ือใชจดบันทึก และกิจกรรมในการเรียนการสอน ดังนั้นการเรียนการสอนจะใช เอกสารในการสอน การบรรยายจากครู และการฝกปฏิบัติวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยใชระบบทศนิยมดิวอี้ 3. การระบสุถานการณ์การเรียน การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนการเรียนกลุมใหญ จํานวนผูเรียน 40 คน การเรียนการสอนอยูในระบบการศึกษา โดยเทคโนโลยีท่ีเลือกนํามาใชในการเรียนการสอนรายวิชานี้คือเทคโนโลยีส่ิงพิมพ (Printed Technology) เพราะการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีส่ิงพิมพ สามารถควบคุมการเรียนไดตามอัธยาศัย ผูเรียนสามารถเรียนรูไดเร็วชาตามความตองการของผูเรียน สามารถทบทวนซ้ําได สามารถอัดสําเนาได ราคาและคาใชจายคอนขางต่ําสอดคลองกับการเรียนการสอนกลุมใหญจํานวน 40 คน

4. ระบเุง่ือนไขบงัคบัและทรพัยากร การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เรียนดวยการบรรยายและการเรียนแบบปฏิบัติ

โดยการระบุ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ อุปกรณการสอน ดังนี้ ทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย อาจารย จํานวน 1 ทาน ทําหนาท่ีสอนและบรรยายในชั้นเรียน ผูชวยสอน จํานวน 1 ทาน ทําหนาท่ีควบคุมการเรียนปฏิบัติของผูเรียน

Page 13: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

13

ผูเรียน จํานวน 40 คน ทําหนาท่ี ศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ และฝกปฏิบัติการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ

งบประมาณ ใชงบประมาณการจัดการเรียนสอนของมหาวิทยาลัย อุปกรณการสอน ประกอบดวย 1. จอโปรเจคเตอร 1 จอ 2. คอมพิวเตอร 1 เครื่อง 3. คูมือปฎิบัติระบบทศนิยมดิวอี้ 20 ชุด ชุดละ 4 เลม 4. กระดานไวทบอรด แปรง และ ไวทบอรด 1 ชุด 5. วินิจฉัยระบบการถ่ายทอด จากการระบุ ระบุคุณสมบัติของผูเรียน ระบุคุณสมบัติทางดานชองทาง การระบุสถานการณการเรียน ระบุ

เง่ือนไขบังคับและทรัพยากร จึงวินิจฉัยระบบการถายทอดเปนวัสดุส่ิงพิมพ เพราะลดการคาใชจาย สามารถอัดสําเนาไดในปริมาณมาก เหมาะสําหรับผูเรียนท่ีเรียนรูดวยตนเอง สนองการตอบสนองในการเรียนชา เร็ว ของผูเรียน สามารถทบทวนซ้ําได ตามความสามารถของบุคคล โดยผลิตภัณฑการออกแบบระบบการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ จะไดเปนเอกสารการสอน ใบงาน และแบบฝกหัด หลังจากท่ีระบุผูเรียนและวินิจฉัยระบบการถายทอดแลววาเปนเทคโนโลยีส่ิงพิมพ รายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ผูสอนจะตองผลิตเอกสารการสอนและส่ือประกอบการสอนเอง เมื่อเขาสูระบบการผลิตเปนส่ือตนแบบแลว และนําไปประเมินผลการตัดสินใจการออกแบบการสอน กอนท่ีจะนําส่ือไปใชจริง เปนการประเมินผลเพ่ือพัฒนา (Formative Evaluation)

Page 14: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

14

การนําไปใช้ (Impliment)

ในขั้นตอนนี้ ยังไมไดนําส่ือไปใช

การประเมิน (Evaluation)

ในขั้นตอนของการประเมินนี้ คําถามท่ีตองตอบใหไดคือ - เราไดแกปญหาไดแลวใชไหม - ผลท่ีไดคืออะไร - ส่ิงจําเปนท่ีตองเปล่ียนแปลงคืออะไร เนื่องดวยส่ือยังไมไดรับการนําไปใช ทําใหไมทราบผลของทั้ง 3 คําถามได

Page 15: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

15

แผนการจดัการเรียนรู้

Page 16: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

16

แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ือง ความรู้ทัว่ไปเก่ียวการจดัหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบทศนิยมดิวอ้ี

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาํคญั

ความหมายของการจดัหมวดหมู่หนังสือ การจัดหมวดหมูหนังสือ คือการจัดกลุมหนังสือ โดยพิจารณาจากเนื้อหาสาระของหนังสือเปนสําคัญ หรือลักษณะการประพันธอยางเดียวกันไวดวยกัน โดยมีสัญลักษณแสดงเนื้อหา ของหนังสือแตละประเภทโดยจะเขียนสัญลักษณแทนประเภทของหนังสือไวท่ีสันหนังสือแตละเลม เพ่ือจะเปนการบอกตําแหนงของหนังสือท่ีอยูในหองสมุด หนังสือท่ีเนื้อหาเหมือนกัน หรือคลายคลึงกันจะจัดวางไวดวยกันหรือใกลๆ กัน

ความสาํคญัของการจดัหมู่หนังสือระบบทศนิยมดิวอ้ี 1. ผูใชหองสมุดและเจาหนาท่ีหองสมุดสามารถคนหาหนังสือท่ีตองการไดงายและประหยัดเวลาเพราะเมื่อมี

การจัดหมูหนังสืออยางเปนระบบที่สันหนังสือทุกเลมจะมีเลขหมูหนังสือ ผูใชหองสมุดสามารถคนหนังสือไดโดยเปดดู เลขจากบัตรรายการ แลวตรงไปหาหนังสือจากชั้นไดอยางรวดเร็ว เจาหนาท่ีหองสมุดก็สามารถจัดเก็บหนังสือขึ้นได ถูกตองและรวดเร็ว

2. หนังสือท่ีมีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกันจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชหองสมุด มีโอกาสเลือกหนังสือเนื้อเรื่องท่ีตองการจากหนังสือหลาย ๆ เลมไดอยางรวดเร็ว

3. หนังสือท่ีมีเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือท่ี มีเรื่องราวเหมือนกันมาประกอบเนื้อหาใหสมบูรณย่ิงขึ้น4. ชวยใหทราบวามีจํานวนหนังสือในแตละหมวดมากนอยเพียงใด

5. เมื่อไดหนังสือใหมเขามาในหองสมุดก็สามารถจัดหมวดหมูแลวน าออกขึ้นชั้นรวมกับหนังสือท่ีมีอยูกอนแลว เพ่ือใหบริการไดอยางรวดเร็ว

ประโยชน์ของการจดัหมวดหมู่หนังสือ 1. หนังสือแตละเลมจะมีสัญลักษณแทนเนื้อหาของหนังสือ 2. หนังสือท่ีมีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกนัจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชมีโอกาส เลือกหนังสือหรือเนื้อเรื่องตามท่ีตองการจากหนังสือไดหลายเลม 3. หนังสือท่ีมีเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือท่ีมีเรื่องราวเหมือนกันมาใชประกอบเนื้อหาไดสมบูรณย่ิงขึ้น 4. หนงัสือท่ีมีลักษณะคําประพันธแบบเดียวกันจะอยูรวมกันตามภาษาของคําประพันธนั้น ๆ 5. ชวยใหผูใชหองสมุดสามารถคนหาหนังสือไดอยางสะดวกและรวดเร็ว และชวยประหยัดเวลาเพราะท่ีสัน หนังสือทุกเลมจะปรากฏเลขเรียกหนังสือ เจาหนาท่ีสามารถจัดเก็บเขาท่ีไดถูกตองถูกรวดเร็ว 6. ชวยใหทราบจํานวนหนังสือแตละสาขาวิชาวามีจํานวนมากนอยเทาใด หากวิชาใดยังมีจํานวนนอยไม

Page 17: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

17

เพียงพอกับความตองการจะไดจัดหาเพ่ิมเติมใหเหมาะสม 7. เพ่ิมประสิทธิภาพในการสืบคนวัสดุหองสมุด ลดความผิดพลาดในการสืบคน สามารถคนไดอยาง ถูกตอง สมบูรณ รวดเร็วและประหยัดเวลา ระบบการจดัหมวดหมู่หนังสือท่ีควรทราบ ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือท่ีส าคัญ การจัดหมวดหมูหนังสือในปจจุบันมีการจัดในระบบตางๆ ดังนี้ 1. ระบบเอ็กซแพนซีพ (Expansive Classification) ของชารลส แอมมิ คัดเตอร (Chartes Ammi Cutter) 2. ระบบทศนยิมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือ DC หรือ DDC ของเมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) 3. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ LC ของเฮอรเบิรท พุทนัม (Derbert Putnam) และคระบรรณารักษหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 4. ระบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) หรือ UDC ของพอล ออต เล็ต (Paul Otlet) และอองรีลา ฟอนแตน (Henri La Fontaine) 5. ระบบซับเจค(Subject Classification) หรือ SC ของเจมส ดัฟฟ บราวน(James Duff Brown) 6. ระบบโคลอน (Colon Classification) หรือ CC ของเอส. อาร. แรงกานาธาน (S.R. Ranganathan) 7. ระบบบรรณานุกรม (Bibliographic Classification) หรือ BC ของเฮนรี่ เอฟเวลิน บลิสส (Henry Evelyn Bliss) 8. ระบบกลิดเดน (Glidden Classification) หรือ GC ของวิลเลียม แอนเดอรสัน (William Anderson)9. ระบบหอสมุดแพทยแหงชาติอเมริกัน (National Library of Medicine ) หรือ NLM ของแมรี่ หลุยส มารแชล (Mary Louise Marshall) 10. การจัดหมูหนังสือท่ีไมใชตัวเลขเปนสัญลักษณ

ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือท้ัง 9 ระบบ บางระบบมีการนํามาใชนอยมาก แตบางระบบมีการนํามาใช แพรหลายในประเทศตางๆ รวมท้ังประเทศไทยดวย ไดแก ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และระบบทศนิยมของดิว อ้ี ท้ังสองระบบนี้หองสมุดไดนํามาใชแตกตางกันตามลักษณะและขนาดของหองสมุด ซึ่งนับวาเปนระบบการจัด หมวดหมูท่ีสําคัญ และเปนท่ีนิยมใชมากท่ีสุด ระบบทศนิยมดิวอ้ี การจัดหมวดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้(Dewey Decimal Classification) เรียกยอๆวา ระบบ D.C. หรือ D.D.C. ระบบนี้ต้ังชื่อตามผูคิดคน คือนายเมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษชาวอเมริกัน ดิวอี้มีความสนใจงานหองสมุดเปนพิเศษ ในขณะที่เปนนักศึกษาชั้นปท่ี 3 ในวิทยาลัยแอมเฮิรสต ในรัฐแมสซาซูเสตต ไดสมัครเขาทํางานหองสมุดของวิทยาลัยนั้น ในตําแหนงผูชวยบรรณารักษดิวอี้ไดไปดูงานดานการจัดหนังสือใหสะดวกแกการใชในหองสมุดตางๆถึง 50 แหง แลวจึงไดเริ่มคิดระบบการจัดหมวดหมูแบบทศนิยมขึ้นใน เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ไดนําเสนอตอคณะกรรมการหองสมุดของวิทยาลัยนั้น จัดพิมพเปนรูปเลมครั้งแรกเมื่อปค.ศ. 1876 และไดมีการปรับปรงุแกไขเพ่ิมเติมเลขหมูใหทันสมัยอยูเสมอ และจัดพิมพใหมครั้งหลังสุดเมื่อปพ.ศ. 2534 เปนการพิมพครั้งท่ี 20 ระบบนี้ใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนชนิดของหนังสือ โดยใชตัวเลขสามหลัก และยังสามารถใชจุดทศนิยมหลังเลขหลักรอย ชวยในการแบงยอยเน้ือหาวิชาไดอีกดวย ระบบนี้ใชงาย เขาใจและจําไดงาย จึงเปนระบบการจัดหมูท่ีนิยมใช

Page 18: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

18

กันแพรหลายในหองสมุดโรงเรียน หองสมุดประชาชน ในทุกๆ ประเทศท่ัวโลก รวมทั้งประเทศไทยเราดวย ระบบทศนิยมของดิวอี้แบงหนังสือเปนหมวดหมูใหญไปหาหมวดยอยๆ ดังนี้

2.1 หมวดใหญ่ (Classes) หรอืการแบงครั้งท่ี 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ โดย ใชตัวเลขหลักรอยเปนสัญลักษณ ดังตอไปนี้ หมวด 000 เบ็ดเตล็ด ความรูท่ัวไป บรรณารกัษศาสตร หมวด 100 ปรัชญา จิตวิทยา หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สังคมศาสตร หมวด 400 ภาษาศาสตร หมวด 500 วิทยาศาสตร คณิตศาสตร หมวด 600 เทคโนโลยี หรือวิทยาศาสตรประยุกต หมวด 700 ศิลปกรรม และนันทนาการ หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร

2.2 หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งท่ี 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวด ยอย โดยใชตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาตางๆ ดังตอไปนี้ 000 เบ็ดเตล็ด 010 บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกหนังสือ 020 บรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร 030 สารานุกรมท่ัวไป 040 (ยังไมก าหนด) 050 ส่ิงพิมพตอเนื่องและดรรชนี 060 องคกรตางๆ และพิพิธภัณฑวิทยา 070 วารสารศาสตร การพิมพ หนังสือพิมพ 080 รวมเรื่องท่ัวไป 090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก 100 ปรัชญาและจติวิทยา 110 อภิปรัชญา 120 ทฤษฎีแหงความรู ความเปนมนุษย 130 จิตวิทยาสาขาตางๆ ศาสตรเกี่ยวกับความลึกลับ 140 ปรัชญาระบบตาง ๆ 150 จิตวิทยา 160 ตรรกวิทยา 170 จริยศาสตร จริยธรรม ศีลธรรม 180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง และปรัชญาตะวันออก 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม

Page 19: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

19

200 ศาสนา 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 คัมภีรไบเบิล 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา 240 ศีลธรรมของชาวคริสเตียน 250 ระเบียบแบบแผนของศาสนาคริสต 260 สังคมของชาวคริสเตียน 270 ประวัติคริสตศาสนาในประเทศตาง ๆ 280 คริสตศาสนาและนิกายตาง ๆ 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ 300 สังคมศาสตร 310 สถิติท่ัวไป 320 รัฐศาสตร 330 เศรษฐศาสตร 340 กฎหมาย 350 รัฐประศาสนศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารกองทัพ 360 ปญหาสังคม สวัสดิภาพสังคม 370 การศึกษา 380 การพาณิชย การส่ือสาร การขนสง 390 ขนบธรรมเนียม ประเพณีคติชนวิทยา 400 ภาษาศาสตร 410 ภาษาศาสตรเปรียบเทียบ 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมันและภาษาในกลุมเยอรมัน 440 ภาษาฝรั่งเศส 450 ภาษาอิตาเลียน ภาษารูเมเนียน 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 470 ภาษาละติน 480 ภาษากรีก 490 ภาษาอื่น ๆ 500 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 510 คณิตศาสตร 520 ดาราศาสตร 530 ฟสิกส 540 เคมีโลหะวิทยา 550 ธรณีวิทยา 560 บรรพชีวินวิทยา ชีวิตโบราณศึกษา

Page 20: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

20

570 วิทยาศาสตรชีวภาพ 580 พฤกษศาสตร 590 สัตววิทยา 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตรประยุกต 610 แพทยศาสตร 620 วิศวกรรมศาสตร 630 เกษตรศาสตร 640 คหกรรมศาสตร 650 ธุรกิจและการจัดการธุรกิจ 660 วิศวกรรมเคมี 670 โรงงานอุตสาหกรรม 680 โรงงานผลิตสินคาเบ็ดเตล็ดอ่ืน ๆ 690 การกอสรางและวัสดุกอสราง 700 ศิลปะและนันทนาการ 710 สิลปะการออกแบบบริเวณพื้นท่ี 720 สถาปตยกรรม

730 ประติมากรรม และศิลปะพลาสติก 740 มัณฑนศิลปและการวาดเขียน 750 จิตรกรรม 760 ศิลปะการพิมพ ศิลปะกราฟก 770 การถายภาพ และภาพถาย 780 ดนตรี 790 ศิลปะการแสดง นันทนาการ การกีฬา 800 วรรณคดี 810 วรรณคดีอเมริกัน 820 วรรณคดีอังกฤษ 830 วรรณคดีเยอรมัน 840 วรรณคดีฝรั่งเศส 850 วรรณคดีอิตาเลียน 860 วรรณคดีสเปน วรรณคดีโปรตุเกส 870 วรรณคดีละติน 880 วรรณคดีกรีก 890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ 900 ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร 910 ภูมิศาสตรและการทองเท่ียว 920 ชีวประวัติและสกุลวงศ 930 ประวัติศาสตรโลกโบราณ

Page 21: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

21

940 ประวัติศาสตรทวีปยุโรป 950 ประวัติศาสตรทวีปเอเชียตะวันออก ตะวันออกไกล 960 ประวัติศาสตรทวีปแอฟริกา 970 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาเหนือ 980 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาใต 990 ประวัติศาสตรสวนอื่น ๆ ของโลก2.3 หมูยอย (Section) หรือ

การแบงครั้งท่ี 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทนสาขาวิชา ดังตัวอยางตอไปนี้

หมวดยอย 640 คหกรรมศาสตร 641 อาหารและเครื่องด่ืม 642 การจัดเล้ียง 643 บานพักอาศัย และอุปกรณภายในบาน 644 เครื่องอ านวยความสะดวกภายในบาน 645 เครื่องประดับบาน 646 การตัดเย็บเส้ือผา การตกแตงรางกาย 647 การจัดการบานเรือน 648 การสุขาภิบาลในบาน 649 การเล้ียงดูเด็ก การพยาบาลในบาน

2.4 จดุทศนิยม หรือการแบงครั้งท่ี 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพ่ือ ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก โดยการใชทศนิยมหนึ่งต าแหนงไปจนถึงหลายต าแหนง ตัวอยางเชน 959 ประวัติศาสตรประเทศในเอเชียอาคเนย 959.1 ประวัติศาสตรประเทศพมา 959.3 ประวัติศาสตรประเทศไทย 959.31 ประวัติศาสตรไทยสมัยโบราณถึง พ.ศ. 1780 959.32 สมัยกรุงสุโขทัย 959.33 สมัยกรุงศรีอยุธยา 959.34 สมัยกรุงธนบุรี 959.35 สมัยรัตนโกสินทร – ปจจุบัน จะเห็นไดวาการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้นี้จะใชวิธีแบงหนังสือจากหมวดหมูใหญกวางๆ ไปหาหมวดหมูยอยๆ ตอไปไดอีกโดยใชจุดทศนิยมแบบไมรูจบ ซึ่งผูอานไมจําเปนจําใหไดท้ังหมด แตควรจําใหไดเฉพาะหมวดใหญ 10 หมวดวาแตละหมวดเกี่ยวกับสาขาวิชาอะไร และจําเลขหมูของหนังสือบางเลมท่ีผูอานใชเปนประจําก็เพียงพอแลว เพราะผูใชหองสมุดเปนตองรูจักวิธีการใชหองสมุดเพ่ือการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ จดุประสงคก์ารเรียนรู้

1. ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ 2. ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได

Page 22: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

22

ส่ือการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน แบบฝกหัด กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่โมงท่ี 1

- ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ความรูท่ัวไปเกี่ยวการจัดหมวดหมูหนังสือดวยระบบทศนิยมดิวอี้ - ใหผูเรียนแตละคนยกตัวอยางระบบการจัดหมวดหมูหองสมุดท่ีนักเรียนรูจัก - อาจารยอธิบายความหมายของการจัดหมวดหมูหนังสือ และความสําคัญของการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ ชัว่โมงท่ี 2 - อาจารยอธิบายประโยชนของการจัดหมวดหมูหนังสือและระบบการจัดหมวดหมูหนังสือท่ีควรทราบ - อาจารยบรรยายระบบการจัดหมวดหมูหนังสือทศนิยมดิวอี้โดยท่ัวไป คือ 1. หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบงครั้งท่ี 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ   ชัว่โมงท่ี 3 2. หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งท่ี 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวดยอย  3. การแบ่งครัง้ท่ี 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทนสาขาวิชา  4. จดุทศนิยม หรือการแบงครั้งท่ี 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพ่ือ ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก - อาจารยและนักศึกษารวมกันสรุปความรูเรื่องระบบทศนิยมดิวอี้ โดยใหนักเรียนเขียนสรุปสาระสําคัญท่ีไดในการเรียนวันนี้ใชเวลา 15 นาที

การวดัและประเมินผล

วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ์นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบกอนเรียน - งานท่ีไดมอบหมายใหเขียนสรุปสาระสําคัญ - 6 ประเด็น จาก 8 ประเด็น

Page 23: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

23

แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ือง การวิเคราะหท์รพัยากรสารสนเทศด้วยระบบทศนิยมดิวอ้ี หมวด 000

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง หมายเหต ุ: ใชแผนการจัดการเรียนรูนี้ต้ังแต หมวด 000-900 หมวดละ 3 ชั่วโมง

สาระสาํคญั การวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปนการระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900

000 ความรูท่ัวไป 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร 400 ภาษาศาสตร 500 วิทยาศาสตร 600 วิทยาศาสตรประยุกต และเทคโนโลยี 700 ศิลปกรรม 800 วรรณคดี 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร

จดุประสงคก์ารเรียนรู้

1. ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูท่ัวไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของอยางนอย 7 เรื่อง 2. ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูท่ัวไปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที

ส่ือการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งท่ี 21 และใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่โมงท่ี 1

- อาจารยอธิบายถึงสาระสังเขปของหมวด 000 - อาจารยใหผูเรียนแปลคําศัพทท่ีเนนพบบอยของหมวด 000 (เอกสารเปนเอกสารภาษาอังกฤษ : คูมือระบบทศนิยมดิวอี้) ชัว่โมงท่ี 2 และ 3 - อาจารยแจกชดุคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับนักศึกษา - อาจารยแนะนําคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับผูเรียน

Page 24: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

24

- อาจารยแจกใบงานการวิเคราะหเลขหมูหมวด 000 ใหกับผูเรียน - อาจารยใหผูเรียนทําใบงานในการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 ท่ีอาจารยไดมอบหมายให โดยระบุเลขหมูใหถูกตองกับ ชื่อเรื่อง และสาระสังเขป ของหนังสือท่ีมอบหมายให

การวดัและประเมินผล

วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ์

ผูเรียนทําใบงาน ใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลม ในเวลา 30 นาที

Page 25: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

25

แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ือง ตารางช่วยในระบบทศนิยมดิวอ้ี

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาํคญั ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล จดุประสงคก์ารเรียนรู้

1. อธิบายลักษณะท่ัวไปของตารางชวยไดถูกตอง 2. จําแนกหลักเกณฑในการใชตารางที่ 1 ไดถูกตอง 3. อธิบายวิธีใชตารางที่ 2 ไดถูกตอง 4. สรุปขั้นตอนในการใชตารางท่ี 4 ไดถูกตอง 5. บอกวิธีการใชตารางที่ 5 ไดถูกตอง 6. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตารางที่ 6 และตารางที่ 4 ไดถูกตอง 7. อธิบายลักษณะและวิธีใชตารางที่ 7 ไดถูกตอง

ส่ือการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งท่ี 21 และใบงานเรื่องตารางชวย กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่โมงท่ี 1 และ 2

- อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 1 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 1 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 2 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 2 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 3 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 3 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 4 ในระบบทศนิยมดิวอี้

Page 26: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

26

- อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 4 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 5 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 5 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 6 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 6 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 7 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยท่ี 7 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที ชัว่โมงท่ี 3 - อาจารยแจกใบงานและคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหผูเรียนทํา ใชเวลา 40 นาที - อาจารยและผูเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง ตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้

การวดัและประเมินผล

วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ์ผูเรียนทําแบบฝกหัดตารางชวย 1-7 แบบฝกหัด รอยละ 60 ผานเกณฑ ผูเรียนทําใบงาน ใบงาน รอยละ 80 ผานเกณฑ

Page 27: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

27

แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ือง ตารางเลขหมู่ในระบบทศนิยมดิวอ้ี

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาํคญั การใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้ คําอธิบายขอบเขตหนังสือ การใชเลขฐาน ลักษณะการใหหัวเรื่องท่ีครอบคลุมหลายหมู การใชคําล่ัง Add to

การใชเลขหมูอยางสรุป การใชสวนโยง (See) การใชรวมถึง (Including) การใชคําส่ัง Class here การใชคําล่ัง Class in การใชคําส่ัง Option Class in

จดุประสงคก์ารเรียนรู้

1. อธิบายความหมายของคําแนะนําตางๆ ท่ีปรากฎในตารางเลขหมูไดอยางถูกตอง 2. อธบิายคําอธิบายขอบเขตหนังสือไดอยางถูกตอง 3. อธิบายการใชเลขฐานไดอยางถูกตอง 4. อธิบายลักษณะการใหหัวเรื่องท่ีครอบคลุมหลายหมูไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการใชคําล่ัง Add toไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการใชเลขหมูอยางสรุป 7. อธิบายการใชสวนโยง (See) 8. อธิบายการใชรวมถึง (Including) 9. อธิบายการใชคําส่ัง Class here 10. อธิบายการใชคําล่ัง Class in และการใชคําส่ัง Option Class in

ส่ือการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ใบงาน

Page 28: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

28

กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่โมงท่ี 1 - ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยอธิบาย

การใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้ คําอธิบายขอบเขตหนังสือ การใชเลขฐาน ลักษณะการใหหัวเรื่องท่ีครอบคลุมหลายหมู การใชคําล่ัง Add to

การใชเลขหมูอยางสรุป การใชสวนโยง (See) ชัว่โมงท่ี 2 และ 3

- อาจารยอธิบาย การใชสวนโยง (See) การใชรวมถึง (Including) การใชคําส่ัง Class here การใชคําล่ัง Class in การใชคําส่ัง Option Class in

- อาจารยสรุปความรูเรื่อง ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกใบงานเรื่อง ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ ใชเวลา 30 นาที - ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ 20 นาที การวดัและประเมินผล

วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ์ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบกอนเรียน - ผูเรียนทําใบงาน ใบงาน รอยละ 80 ผานเกณฑ ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน รอยละ 80 ผานเกณฑ

Page 29: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

29

แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ือง ดรรชนีสมัพนัธใ์นระบบทศนิยมดิวอ้ี

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาํคญั การเปนดรรชนีสัมพันธ

การเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ ลักษณะของรายการโยง ขอบเขตเรื่องท่ีปรากฏในดรรชนีสัมพันธ ขอบเขตเรื่องท่ีไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ คําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ

จดุประสงคก์ารเรียนรู้

1. อธิบายการเปนดรรชนีสัมพันธไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธไดอยางถูกตอง 3. อธิบายลักษณะของรายการโยงไดอยางถูกตอง 4. อธิบายขอบเขตเรื่องท่ีปรากฏในดรรชนีสัมพันธไดอยางถูกตอง 5. อธิบายขอบเขตเรื่องท่ีไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธไดอยางถูกตอง 6. อธิบายคําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธไดอยางถูกตอง

ส่ือการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ใบงาน

กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่โมงท่ี 1 - ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยอธิบาย

การเปนดรรชนีสัมพันธ การเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ ลักษณะของรายการโยง

ชัว่โมงท่ี 2 และ 3 - อาจารยอธิบาย

ขอบเขตเรื่องท่ีปรากฏในดรรชนีสัมพันธ ขอบเขตเรื่องท่ีไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ คําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ

- อาจารยสรุปความรูเรื่อง ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้

Page 30: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

30

- อาจารยแจกใบงานเรื่อง ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ใชเวลา 30 นาที - ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ 20 นาที การวดัและประเมินผล

วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ์ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบกอนเรียน - ผูเรียนทําใบงาน ใบงาน รอยละ 80 ผานเกณฑ ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน รอยละ 80 ผานเกณฑ  

Page 31: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

31

ตวัอย่างใบงาน

Page 32: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

32

ใบงาน เร่ือง การวิเคราะหท์รพัยากรสารสนเทศด้วยระบบทศนิยมดิวอ้ี หมวด 000

จากการเรียนการวิเคราะห์ทรพัยากรสารสนเทศด้วยระบบดิวอ้ีหมวด 000 ความรู้ทัว่ไป ผู้เรียนจง

วิเคราะหแ์ละให้เลขหมู่หนังสือท่ีถกูต้องท่ีสดุเพียงเลขหมู่เดียว จากช่ือหนังสือ และสาระสงัเขปท่ีให้มาน้ี โดย

ใช้คู่มือระบบทศนิยมดิวอ้ี พิมพค์รัง้ท่ี 21

1. ช่ือหนังสือ : สร้างเทม็เพลต็ Joomla!&Mamboง่ายๆ ด้วยตวัเอง

สาระสังเขป : หนังสือท่ีจะชวยใหคุณสรางเท็มเพลต Joomla & Mambo งายๆ ดวยตัวเอง เจาะลึกทุกรายละเอียด

แนะนําต้ังแตเริ่มตนการออกแบบ เตรียมงาน ลงมือเขียนเท็มเพลตแบบ Ste by Step พรอมเปดเผยโครงสรางทุก

Component และ Module มาตรฐาน สรางเอกลักษณเว็บไซตใหโดดเดนเหนือคูแขงดวยตัวคุณ เนื้อหาครอบคลุมท้ัง

Joomla! 1.5.x, 1.0.x และ Mambo 4.6 เหมาะอยางยิ่งสําหรับเจาของเว็บไซต ธุรกิจ SME หรือบุคคท่ัวไปท่ีใช

Joomla! หรือ Mambo และกําลังมองหาเอกลักษณของเว็บไซตตัวเองอยางแทจริง รวมถึงนักออกแบบเว็บไซต นัก

ออกแบบเท็มเพลต ท่ีตองการรูระบบการออกแบบเท็มเพลตสําหรับ Joomla! หรือ Mambo โดยละเอียด ตลอดจนผูท่ี

อยากจะทดลองสรางเท็มเพลตขายในเมืองไทย

เลขหมู่ คือ.......................................................................................................................................................

2. ช่ือหนังสือ : แบบแผนการวจิยเชิงทดลองและสถิติวิเคราะห ์: แนวคิดพืน้ฐานและวิธีการ

สาระสังเขป : นําเสนอเนื้อหาท่ีสําคัญเกี่ยวกับแบบแผนการวิจัยเชิงทดลองและสถิติวิเคราะห เริ่มตั้งแตการทําความรูจัก

กับเบ้ืองตนของการวิจัยเชิงทดลอง แบบแผนการทดลองแบบตางๆ พรอมชนิดของแบบแผน และการทดสอบทางสถิติ

สําหรับแผนการทดลองชนิดตางๆ ในเลมไดใหเนื้อหาโดยละเอียด ถายทอดอยางเปนลําดับขั้นตอน พรอมแบบทดสอบ

หลากหลาย

เลขหมู่ คือ.......................................................................................................................................................

Page 33: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

33

3. ช่ือหนังสือ : ครบทกุเร่ือง Office 2007

สาระสังเขป : เริ่มตนดวยการติดต้ังโปรแกรม Office 2007, แนะนําใหรูจักกับองคประกอบตางๆ, แนะนําเคร่ืองมือ และ

ทดลองใชงาน ใชงาน Word 2007 สรางรายงาน เขียนจดหมาย เลาเรื่อง ฯลฯ ใชงาน Excel 2007 ซึ่งเปนสุดยอด

โปรแกรมคํานวณ ใชงาน PowerPoint 2007 สรางงานนําเสนอสวยๆ แบบมือโปร ใชงาน Outlook 2007 ใหมากกวา

การรับ-สงอีเมลธรรมดาๆใชงาน Access 2007 : สรางฐานขอมูลเบ้ืองตน สอนเรื่อง Access ท่ีวายาก ใหเขาใจไดงายๆ

กําจัดไวรัส ดวยโปรแกรมฟรี!! ท่ีชื่อ Avast!กําจัด Spyware ดวย Spybot และ Ad-Aware เวอรชั่นลาสุด!! 100 ทิป

พิเศษ!! เพ่ือการใชงาน Office 2007 อยางมืออาชีพ

เลขหมู่ คือ.......................................................................................................................................................

4. ช่ือหนังสือ : พิพิธภณัฑบ์นัทึก : ทบทวนบทเรียนจากการวิจยัและพฒันาพิพิธภณัฑ ์

สาระสังเขป : รวมบทความท่ีเลาเรื่องเกี่ยวกับส่ิงของ คน ชุมชน และชีวิตในพิพิธภัณฑทองถ่ิน ถายทอดดวยลีลาการ

เขียนและแงมุมเฉพาะตัวของผูเขียนแตละคน หลายเรื่องราวจะชวยเปดมุมมองใหมๆ ใหกับคณุไดเปนอยางดี

เลขหมู่ คือ......................................................................................................................................................

5. ช่ือหนังสือ : หวัเร่ืองภาษาไทย

สาระสังเขป : คูมือการใหหัวเรื่องภาษาไทย

เลขหมู่ คือ......................................................................................................................................................

Page 34: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

34

ใบงาน เรือ่ง ดรรชนีสมัพนัธ ์

จงตอบคาํถามต่อไปน้ีให้ถกูต้อง

1. จากภาพท่ีใหเปนการเรียงลําดับของดรรชนี

Barley คือ.................................................................

Botany คือ................................................................

Cooking คือ.............................................................

Food คือ..................................................................

Barns คือ.................................................................

2. see หมายความวา................................................................................................................................

Page 35: ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449

35

3. จากขอมูลท่ีใหดานบน จงอธิบาย

TI หมายถึง...............................................................................................................................................

T3B หมายถึง.............................................................................................................................................

A.C.T หมายถึง..........................................................................................................................................

Colo. หมายถึง...........................................................................................................................................

D.C. หมายถึง...........................................................................................................................................

Dept หมายถึง..........................................................................................................................................

III หมายถึง..............................................................................................................................................

La. หมายถึง ..........................................................................................................................................

N.J. หมายถึง..........................................................................................................................................