บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)

45
บบบบบ 4 (2) บบบบบบบบบบบบบบบบบบ (Optimal Taxation) 1

description

บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation). ความหมายของความเหมาะสมของภาษี. คุณสมบัติของการเก็บภาษีด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ที่ต้องคำนึงอยู่เสมอในการเก็บภาษี ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity) ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity) - PowerPoint PPT Presentation

Transcript of บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)

Page 1: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

1

บทท่ี 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)

Page 2: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

2

ความหมายของความเหมาะสมของภาษี คณุสมบติัของการเก็บภาษีด้านประสทิธภิาพ

(Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ท่ีต้องคำานึงอยูเ่สมอในการเก็บภาษี◦ ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity)◦ ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity)

เนื่องจากการจดัเก็บภาษีทกุๆ ครัง้ก่อใหเ้กิดการบดิเบอืน ของการจดัสรรทรพัยากร ยกเวน้ภาษีท่ีไมท่ำาใหร้าคา เปรยีบเทียบเปล่ียนแปลง (ภาษีแบบเหมาจา่ย) และมผีล

ต่อความเป็นธรรมระหวา่งผู้เสยีภาษีทำาใหก้ารออกแบบภาษีต้องคำานึงวา่จะทำาอยา่งไรจงึจะทำาให้การจดัเก็บภาษีท่ีผลต่อการเปล่ียนแปลงของราคาใหน้้อย

ท่ีสดุ ที่นำาไปสูก่ารหลบเล่ียงภาษีน้อยที่สดุ

Page 3: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

3

ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสนิค้า(Optimal Community Taxation) เป็นตัวอยา่งที่ดีแสดงการเก็บภาษีที่เหมาะสม

เพราะมปีัจจยัประกอบทัง้ราคาสนิค้า และการ จดัสรรทรพัยากรสำาคัญ คือเวลาท่ีใชใ้นการ

ทำางานหารายได้ หลักการพจิารณาคือ จะเก็บภาษีอยา่งไร

อัตราท่ีเหมาะสม สนิค้าใดควรถกูจดัเก็บภาษี อยา่งไร ภายใต้ขอ้สมมุติการหารายได้จาก

ภาษีของรฐับาลต้องมภีาระภาษีสว่นเกิน(Deadweight loss) ท่ีตำ่าท่ีสดุ โดยไมใ่ช่การเก็บแบบเหมาจา่ย

Page 4: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

4

ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสนิค้า(Optimal Community Taxation)

Optimal commodity taxation คือการเลือกอัตราภาษีระหวา่งสนิค้าต่างๆ ที่ เหมาะสมท่ีทำาใหเ้กิดภาระสว่นเกินน้อยที่สดุ

แล้วทำาใหร้ฐับาลสามารถได้รบัรายได้ตามที่กำาหนด

Page 5: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

5

ตัวอยา่งการศึกษาสมมุติมผีู้บรโิภคคนหนึ่งท่ีสามารถเลือกการ

บรโิภคสนิค้า 2 ชนิดคือ x และ y และเลือกเวลา กากรพกัผ่อน (การทำางาน) L โดยมเีง่ือนไขดังนี้

โดย w = อัตราค่าจา้ง T* = time endowment (24 ชัว่โมง) Px = ราคาสนิค้า x Py = ราคาสนิค้า y

yx PyPxLTw )*(

Page 6: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

6

ตัวอยา่ง

wLPyPxwT yx *

จดัเทอมใหมไ่ด้คือ

สมมุติมกีารจดัเก็บภาษีสนิค้าทัง้สองและการพกัผ่อนเพิม่ขึ้นโดยรฐับาลทำาใหเ้ป็น

LtwPtyPtxwT yx )1()1()1(*

Page 7: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

7

ตัวอยา่งการเก็บภาษีท่ีเหมาะสม หารตลอดด้วย (1+t) จะได้

ซึ่งเมื่อเปรยีบเทียบก่อนและหลังการเก็บภาษีพบวา่การเก็บภาษี อัตรา t เหมอืนเป็นการเก็บภาษีแบบเหมาจา่ย เพราะเป็นการทำาให้ มูลค่า time endowment ลดลงในสดัสว่นของอัตราภาษีท่ีจดั

เก็บ แต่ความจรงิคือจะเก็บภาษีจากการพกัผ่อนอยา่งไร ท่ีเทียบเท่ากับ

สนิค้าท่ีเป็นรูปธรรมชดัเจนได้ ดังนัน้การเก็บภาษีท่ีขาดการเก็บจากการพกัผ่อนจงึทำาใหเ้กิดการบดิเลือนอยา่งแน่นอน

wLyPxPwTt yx

*]

)1(1[

Page 8: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

8

ตัวอยา่งการเก็บภาษีท่ีเหมาะสมดังนัน้การเก็บภาษีจากสนิค้าทกุประเภทที่

ปรารถนาใหม้คีวามเป็นกลาง (neutral tax) ในอัตราเดียวกัน ท่ีไมร่วมการพกัผ่อน

จงึไมอ่าจทำาได้ โดยไมก่่อใหเ้กิดความไมม่ีประสทิธภิาพ

Page 9: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

9

Ramsey Rule’sเป็นความพยายามเก็บภาษีที่ทำาใหม้ภีาระสว่น

เกินน้อยที่สดุ ขณะที่รฐับาลยงัสามารถได้รายได้ภาษีตามต้องการจำานวนหนึ่ง

Page 10: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

10

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule กฎของ Ramsey คือ:

คือกำาหนดอัตราภาษีระหวา่งสนิค้าต่างๆ ท่ีทำาให้ สดัสว่นระหวา่ง สว่นเพิม่ของภาระสว่นเกิน

(marginal deadweight loss) กับ รายได้ สว่นเพิม่ท่ีเก็บได้เพิม่ (marginal revenue

raised) เท่ากันในทกุๆ สนิค้า

MDWLMR

i

i D

Page 11: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

11

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม

สมมุติมสีนิค้า 2 ชนิดท่ีไมท่ดแทนหรอืใชร้ว่มกัน ทำาให้การเก็บภาษีกับสนิค้าหนึ่งท่ีมผีลกระทบต่อราคา

ของสนิค้ายอ่มไมก่ระทบอีกสนิค้าหน่ึง โดยสมมุติวา่Supply ขนานกับแกนนอน

x0X1

∆X

โดยเริม่ต้นบรโิภคสนิค้าท่ี x0 แต่หลังมภีาษี ราคา เพิม่เป็น P0 + ux ทำาใหก้ารบรโิภคลดเหลือเพยีง x1

ทำาใหภ้าระสว่นเกินเท่ากับพื้นท่ี abc

Page 12: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

12

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

x0X1

∆x

X2

P0+ux +1g

h

j

f

i

e

ต่อมามกีารเก็บภาษีเพิม่อีกหนึ่งหน่วย เป็น P0+ux+1 ภาระสว่นเกินเพิม่เป็น fec โดยจะหาภาระสว่นเกินสว่นเพิม่จาก

พื้นท่ี fec – abc เท่ากับขนาดของ marginal Deadweight loss ท่ีเท่ากับ พื้นท่ี feab ท่ีมค่ีาเท่ากับ ½ ∆ x[ux +(ux + 1)] ∆โดย x คือหน่วยสดุท้ายของภาระภาษีในรูปสนิค้า x ท่ีลดน้อยลง

Page 13: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

13

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม ขณะน้ีเราสามารถหาค่าภาระสว่นเกินของภาษีได้แล้ว

สิง่ท่ีเหลือคือการหาค่ารายได้ภาษีสว่นเพิม่ โดยจากรูป ค่ารายได้ภาษีสว่นเพิม่อีกหนึ่ง หน่วยคือการเก็บเพิม่

จาก ux เป็น ux+1 จากรูปคือพื้นท่ีสีเ่หล่ียม ghif แต่การขึ้นภาษียงัมี

สว่นรายได้ภาษีท่ีหายไปอีกจากภาระสว่นเกิน คือพื้นที่ibea

ผลต่างของรายได้รายได้ภาษีสทุธจิงึเป็น พื้นท่ี ghif – ibea โดยสามารถเขยีนเป็นสตูรคณิตศาสตรไ์ด้คือ

x2(ux+1) – x1ux Marginal excess burden จงึเป็น 1/2∆x[ux +

(ux +1)] ∆ซึ่งมค่ีาเท่ากับ X

Page 14: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

14

เพราะวา่ 1/2∆x[ux + (ux +1)] ∆หรอื xux + ½∆x

∆สามารถประมาณได้เท่ากับ xux เนื่องจากค่า เทอมที่สอง มขีนาดเล็กจนอาจกำาหนดใหเ้ท่ากับ

ศูนย์ และค่า 1/∆x เท่ากับ ux/∆X เพราะต่างเท่ากับ

slope ของเสน้ demand ดังนัน้∆xux = ∆X ซึ่งคือค่า excess burden ของภาษีที่เพิม่ขึ้น 1 หน่วยนัน่เอง

ขัน้ตอนถัดไปคือการหาค่ารายได้ภาษีท่ีเพิม่ขึ้นเพื่อหาสดัสว่นรายได้ภาษีที่เพิม่จากการเพิม่

อัตราภาษี (ux)

Page 15: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

15

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

x0X1

∆x

X2

P0+ux +1g

h

j

f

i

e

จากรูปในท่ีน้ีการหารายได้ท่ีเพิม่จากการเพิม่แตราภาษีดังกล่าวคือรายได้ภาษี = uxX1 (อัตราภาษีคณูกับหน่วยสนิค้าท่ีขาย) และ ขนาดรายได้ภาษีเท่ากับ hbaj ณ อัตราภาษีคือ ux และเมื่อเพิม่ เป็น ux + 1 ขนาดภาษีเท่ากับ gfih โดยมเีสยีภาษีไป ibae หรอืเท่ากับ X2 - (X1 – X2)ux

Page 16: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

16

เพราะ marginal tax revenue เท่ากับX2 (ux +1) – X1ux = X2 + ux(X2 – X1) เพราะจากรูป X2 = X1 - ∆x แทนค่าได้ X1 = ∆x -ux ∆x ∆แต่เพราะวา่ x = ∆X/ux

ดังนัน้ X1 - ∆X(1 + ux)/ux

แต่ ux > 1 เสมอ ทำาให้ ประมาณได้เท่ากับ X1 - ∆X เท่ากับ marginal tax revenue

marginal excess burden/ เงินรายได้ ภาษีที่เพิม่ขึ้น คือ ∆X/X1 - ∆X

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

Page 17: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

17

สำาหรบัสนิค้า Y จะได้เหมอืนกันคือ ∆Y/Y1 - ∆Y

ภายใต้เง่ือนไขของภาระสว่นเกินน้อยท่ีสดุ∆X/X1 - ∆X = ∆Y/Y1 - ∆Y จดัเทอมใหมไ่ด้ ∆X/X1 = ∆Y/Y1 ความหมายของสมการน้ีคือ percentage

change นัน่เอง ดังนัน่ การท่ีต้องการภาระ สว่นเกินรวมของภาษีน้อยท่ีสดุ ต้องจดัเก็บ

อัตราภาษีท่ีทำาให้ percentage change ของการ ลดลงของปรมิาณสนิค้าต่างๆ เท่ากัน

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

Page 18: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

18

การแปลความหมายตามกฎของแรมซีย่์เพราะการเปล่ียนแปลงของอุปสงค์สามารถ

แสดงความสมัพนัธกั์บค่าความยดืหยุน่ได้

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

Page 19: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

19

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule

เป้าหมายของ Ramsey Rule คือ ต้องการ minimize ภาระสว่นเกินจากภาษี

ใหม้ากท่ีสดุ ขณะที่สามารถเก็บรายได้ภาษีได้ตามจำานวนท่ีกำาหนด

มูลค่ารายได้ที่เพิม่ของรฐับาล คือมูลค่าของเงินท่ีอยูใ่นมอืของรฐับาลแทนท่ีจะอยูใ่นภาคเอกชน

Page 20: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

20

ภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม กับกฎสว่นกลับของ ความยดีหยุน่ Inverse elasticity rule

กฎ สว่นกลับของความยดืหยุน่ เป็นการแสดง ผลของ กฎของRamsey อยา่งง่ายๆ เพื่อให้

สามารถเขา้ใจถึงนโยบายภาษีกับความยดืหยุน่ของอุปสงค์

กล่าวคือรฐับาลควรเก็บภาษีกับสนิค้าแต่ละ ชนิด โดยมกีฎพื้นฐานวา่ภาษีที่เก็บจากสนิค้า

แต่ละชนิดนัน้ความเป็นสว่นกลับกับค่าความ ยดืหยุน่ของอุปสงค์ของสนิค้านัน้ๆ นัน่คือ

◦ หากสนิค้ามค่ีาความยดืหยุน่ยิง่ตำ่าเท่าไร อัตราภาษีควรสงูมากขึ้นเท่านัน้

Page 21: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

21

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

การพสิจูน์ สมมุติมสีนิค้า 2 ชนิด x และ y ท่ีไมม่คีวาม สมัพนัธซ์ึ่งกันและกัน โดยมรีาคาสนิค้าคือ Px และ Py

ค่าความยดืหยุน่ของสนิค้า x คือ ηx และ ของสนิค้า y คือηy

การเก็บภาษีกับสนิค้า x คือ tx และสนิค้า y คือ ty

ดังนัน้ตามกฎของ Ramsey แล้วภาระสว่นเกินภาษีรวมคือ

ภายใต้เง่ือนไขของการเก็บรายได้ภาษีเท่ากับ

22 )())((21)())((

21

yyyxxx tyPtxPW

yyxx tyPtxPR )()(

Page 22: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

22

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่ดังนัน้ภายใต้เง่ือนไขของการเก็บภาษีที่มภีาระสว่น

เกินน้อยที่สดุทำาใหไ้ด้สมการ objective คือ

โดย subject to

22 )())((21)())((

21

yyyxxx tyPtxPMin

yyxx tyPtxPR )()(

Page 23: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

23

ตัง้สมการ Lagrangian equation ได้คือ

Set หาค่า multiplier ได้

และ

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

])()([)())((21)())((

21 22

yyxxyyyxxx tyPtxPRtyPtxP

0)()]())((21[2

xPtxPt xxxxx

0)()]())((21[2

yPtyPt yyyyy

Page 24: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

24

จาก

ได้

และจาก

ได้

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

)())()(( xPtxP xxxx

)())()(( yPtyP yyyy

)( xx t

)( yy t

Page 25: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

25

ดังนัน้

ท้ายท่ีสดุจะได้วา่

ซึ่งคือกฎ inverse elasticity rule นัน่เอง

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

)()( yyx ttx

x

y

y

x

tt

Page 26: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

26

การประยุกต์เรื่องความเท่าเทียมภายใต้กฎ Ramsey

จำาเป็นต้องมคีวามสมดลุของปัจจยัสองอยา่ง เพื่อจดัเก็บภาษีกับสนิค้าท่ีเหมาะสม:◦ กฎความยดืหยุน่ The elasticity rule: คือเก็บภาษีกับสนิค้าท่ีมค่ีาความยดืหยุน่ตำ่า

◦ กฎ ฐานภาษีทัว่ไป The broad base rule: อาจ เหมาะสมกวา่หากเก็บภาษีกับสนิค้าทกุๆ ชนิดด้วยอัตรา

ภาษีท่ีตำ่า เพราะภาระสว่นเกินของภาษีจะเพิม่ตามอัตรา ภาษี (พจิารณาจากสตูรภาระสว่นเกิน)

ดังนัน้รฐับาลจงึควรพจิารณาเก็บภาษีกับสนิค้า ทกุๆ ชนิดท่ีสามารถทำาได้ โดยมอัีตราท่ีแตกต่าง

กัน

Page 27: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

27

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

หากรฐับาลมกีารอุดหนุนราคาสนิค้าสองชนิด ขา้วโพด กับขา้ว ขณะเดียวกันเก็บภาษีจาก

นำ้ามนัพชืโดยเง่ือนไขตัวอยา่งน้ีแสดงในตารางถัดไป

Page 28: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

28

ตารางท่ี 2

อุปสงค์ของสนิค้าต่างๆ

สนิค้า

การอุดหนุ

PriceElasticity

การปรบั

นโยบาย

WelfareGain ขอ้กังวล

ขา้วโพด 40% -0.64

ลดการอุดหนุ

นน้อย

อยา่ลดการอุดหนุน

ขา้ว 40% -2.08

ลดการอุดหนุ

นมาก

ลดการอุดหนุน

นำ้ามนัพชื -5% -2.33 ลดภาษี มากลดภาษีมากขึน้

ภายใต้ค่าความยดืหยุน่ท่ีปรากฏต้องมกีารเปล่ียนนโยบายต่อสนิค้าต่างๆ

Page 29: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

29

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

จากตารางพบวา่การอุดหนุนทำาใหเ้กิดการบดิเบอืนการบรโิภค ในสนิค้าขา้วโพด และขา้วสงู เพราะมคีวามยดืหยุน่สงู เมื่อมี

การอุดหนุนจากรฐับาลทำาราคาตำ่ากวา่ควร ประชาชนจงึหนั มาบรโิภคขา้วโพด และขา้วมาก ก่อใหม้คีวามไมม่ปีระสทิธภิาพ

สงูขณะเดียวกันการก็บภาษีจากนำ้ามนัพชืก็ทำาใหม้ภีาระสว่นเกินอยูแ่ล้ว

หากใชก้ฎของ Ramsey’s ขอ้เสนอในการปรบัปรุงราคาท่ี กำาหนดจงึมขีอ้เสนอวา่ การปฏิรูปภาษีควรเพิม่ประสทิธภิาพ

และเป็นกลางในการจดัเก็บรายได้: นัน่คือการลดภาษีกับ นำ้ามนัพชื และลดการสญูเสยีรายได้จากการนำาไปอุดหนุนสนิ

ค้าอ่ืนๆ ในท่ีน้ีคือขา้วโพด และท่ีสำาคัญคือ สนิค้าขา้ว ต้องลดลง

Page 30: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

30

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

ปัญหาการกระจายรายได้ที่อาจเก่ียวขอ้งกับการปฏิรูปภาษี

โดยสนิค้า นำ้ามนัพชื และขา้วโพดอาจเป็น สนิค้าที่บรโิภคโดยผู้มรีายได้น้อยเป็นสำาคัญ

แต่ขา้วอาจบรโิภคโดยประชาชนทัว่ไปทกุระดับ ชัน้รายได้ หากเป็นกรณีดังกล่าว การลด

อุดหนุนขา้วโพดอาจทำาได้ยากลำาบาก และอาจไมค่วรจะต้องลดการอุดหนุนเพยีงเพื่อลด

ปัญหาความไมม่ปีระสทิธภิาพเท่านัน้ (แต่ต้องคำานึงประเด็นความเท่าเทียมประกอบด้วย)

Page 31: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

31

เราสามารถประยุกต์การเก็บภาษีที่เหมาะสมกับการคิดอัตราค่าธรรมเนียมบรกิารของรฐับาลจาก

ประชาชนได้ โดยลักษระการใหบ้รกิารของรฐับาล มกัเป็นรูปแบบผูกขาดตามธรรมชาติ (natural

monopolist) เชน่ไฟฟา้ นำ้าประปา ฯลฯ เพราะ เป็นการลงทนุที่มี sunk cost สงู แต่อัตรา ต้นทนุสว่นเพิม่ตำ่า (marginal cost) ซึ่งหากให้

เอกชนดำาเนินการอาจทำาไมไ่ด้เนื่องจากใชท้นุเริม่ ต้นจำานวนมาก แต่หากทำาได้จะมกีำาไรสว่นเกินสงู

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

Page 32: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

32

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

สงัเกตไุด้จากรูปวา่เป็นการผูกขาดเพราะ MC > AC เสมอ ดังนัน้ ยิง่มกีารขนาดการใหบ้รกิาร จะยิง่ได้รบัผลตอบแทนมากขึ้น

Page 33: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

33

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

Pm

ACm

การคิดราคาตามประสทิธภิาพสงูสดุ MC = MR ได้กำาไรสว่นเกิน เท่ากับ พื้นท่ีสเีขยีว

Zm

Page 34: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

34

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

หากคิดราคาตามต้นทนุเฉล่ียคือท่ี P = AC จะไมม่กีำาไรสว่นเกิน และไมข่าดทนุ ทำาได้เพยีงคุ้มทนุเท่านัน้

Pa

Za

Page 35: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

35

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

หากคิดราคาตามต้นทนุสว่นเพิม่ คือท่ี MC = P ทำาใหส้ามารถ ใหบ้รกิารได้มากท่ีสดุแก่ประชาชน แต่จะประสบกับการขาดทนุอยูด่ี

P*

Z*

Page 36: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

36

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม ด้วยวธิกีารตัง้ราคาบรกิารสาธารณะทัง้ 3 รูปแบบจงึพบวา่รฐับาลต้องกำากับการกำาหนดราคาและปรมิาณใหบ้รกิารที่มี

ประสทิธภิาพ เพื่อ◦ไมใ่หม้กีำาไรสว่นเกินมากเกินไป◦หากยอมใหก้ารขาดทนุเกิดขึ้นต้องได้รบัการชดเชย

กรณีท่ีมกีำาไรสว่นเกินสงู แต่ปรมิาณใหบ้รกิารไมม่ี ประสทิธภิาพรฐับาลจงึต้องดำาเนินการเอง เชน่ ไฟฟา้ นำ้าประปา

ฯลฯ กรณีท่ียอมคิดราคาตำ่ากวา่ต้นทนุ ปัญหาคือการเก็บภาษีแบบ

เหมาจา่ยที่ไมท่ำาใหร้าคาถกูบดิเบอืน เป็นเรื่องยากในทางปฏิบติั และจะจดัเก็บภาษีจากใคร หากคำานึงความเสมอภาคแท้จรงิ

แล้ว อาจต้องนำาหลัก Benefit received principle มา รว่มพจิารณา เพราะผู้ได้ประโยชน์เป็นผู้รบัภาระ

Page 37: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

37

การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม กับกฎของ Ramsey

จากแนวคิดราคาค่าบรกิารสาธารณะ หากนำาแนวคิดของ Ramsey มาประกอบ จะพบวา่การใหบ้รกิารของรฐัวสิาหกิจต่างๆ เสมอืนหนึ่ง

เป็นสนิค้าชนิดต่างๆ การคิดค่าธรรมเนียมบรกิารคือการเก็บภาษีนัน่เอง

เมื่อต้องการเก็บรายได้จากบรกิารต่างๆ อยา่งเป็นธรรมจงึทำาใหอั้ตราค่าบรกิารระหวา่งประเภทของบรกิารสาธารณะสามารถประยุกต์ใชก้ฎ

ของ Ramsey ได้คือ กฎสว่นกลับของค่าความยดืหยุน่แต่ในกรณีนี้บรกิารท่ีมค่ีาความยดืหยุน่ตำ่าอาจเป็นบรกิารท่ีประชาชน

ไมม่ทีางเลือกอ่ืน แมจ้ะมค่ีาบรกิารสงูเท่าไรก็ตามก็ต้องบรโิภค ดังนัน้ขอ้เสนอสำาคัญหนึ่งในทางปฏิบติั คือการคิดราคาท่ีเท่ากับ

ต้นทนุเฉล่ีย เพราะเป็นการกระจายภาระค่าบรกิารสาธารณะกับบรกิาร ของรฐับาลในทกุๆ ประเภทของบรกิาร

Page 38: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

38

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสม OPTIMAL INCOME TAXES

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสม คือการเลือกอัตรา ภาษีตามระดับชัน้รายได้ที่ทำาใหไ้ด้รบั social

welfare สงูสดุ ภายใต้ขอ้จำากัดที่วา่รายได้ รฐับาลสามารถจดัเก็บได้ตามต้องการ

choosing the tax rates across income groups to maximize social welfare subject to a government revenue requirement.◦ปัญหาสำาคัญในกรณีนี้คือการวเิคราะหค์วามเท่าเทียมแนวตัง้

Page 39: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

39

ตัวอยา่งการวเิคราะห์Optimal income taxes

สมมุติใหม้ขีอ้กำาหนดดังนี้:◦ ประชาชนทกุๆ คนมี utility เหมอืนกันหมด◦ โดยมี Diminishing marginal utility of income คือรายได้

เพิม่ขึ้น ทำาให้MUI ลดลง◦ มรีายได้ทัง้หมดคงท่ี◦ ทัง้นี้สมการอรรถประโยชน์เป็นแบบ Utilitarian social welfare

function ภายใต้ระบบการเก็บภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสมทำาใหท้กุๆ คนมเีงินได้เท่ากันหลังการเก็บภาษี◦ หมายความวา่ หากใครมรีายได้เกินกวา่ค่าเฉล่ียจะถกูเก็บภาษีท่ีมี

marginal tax rate 100%◦ สดุท้ายกำาหนดใหร้ายได้รวม (labor supply) อยูค่งท่ี

Page 40: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

40

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

โดยหลักแล้วจะมกีาร tradeoff ระหวา่งความมีประสทิธภิาพและความเท่าเทียมเสมอในการเก็บภาษี

การเพิม่การจดัเก็บภาษียอ่มทำาใหม้ผีลต่อฐานของภาษีใน แง่ท่ีผู้เป็นฐานภาษีจะพยายามหลีกเล่ียงภาระภาษี ทำาใหม้ี

การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ตัวอยา่งการเพิม่ภาษีกับรายได้ของแรงงานจะมผีลสองประการ:◦ รายได้ภาษีท่ีจดัเก็บเพิม่ขึ้น ณ ระดับรายได้ของแรงงานท่ี

กำาหนด แต่ขณะเดียวกัน◦ เพราะภาษีท่ีเพิม่ขึ้น แรงงานจงึลดการหารายได้ ทำาใหม้รีายได้ภาษีลดลง

ในชว่งท่ีมอัีตราภาษีสงู อิทธพิลด้านท่ี สอง จะมคีวาม สำาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราภาษีท่ีเพิม่ขึ้น

Page 41: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

41

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

เสน้ Laffer curve เป็นเสน้ที่แสดงความสมัพนัธด์ังกล่าว และถกูใชเ้ป็นเครื่องมอืการ

จดัการด้าน supply side ในบางชว่งเวลา เสน้ Laffer Curve แสดงใหเ้หน็วา่รฐับาล

ไมส่ามารถเพิม่อัตราภาษีได้ตลอดเวลา เพราะ การเพิม่อัตราภาษีสงูเกินไป ทำาใหฐ้านภาษีจะ

หลบเล่ียงการเสยี และรายได้ภาษีอาจไมไ่ด้เพิม่ตามท่ีคาดการณ์

Page 42: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

42

อัตราภาษี

รายได้ภาษี

τ*%0 100%

ด้านท่ีควรจะเป็น ไมค่วรเป็น

Figure 7เสน้ Laffer curve ณ จุดสงูสดุการเพิม่อัตราไมท่ำาใหร้ายได้ภาษีเพิม่ขึ้น

Page 43: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

43

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

เป้าหมายของภาษีท่ีเหมาะสมคือการวเิคราะหท่ี์สามารถแสดง โครงสรา้งภาษีท่ีทำาใหส้วสัดิการสงัคมสงูสดุ พรอ้มกับรายได้

ภาษีสงูท่ีสดุด้วยซึ่งเง่ือนท่ีสามารถทำาใหไ้ด้เป้าหมายการเก็บภาษีดังกล่าวสามารถแสดงเง่ือนไขการเก็บภาษีได้คือ:

โดย MUi คือ the marginal utility ของบุคคลทัว่ไปท่ี i และ MR คือ marginal revenue จากบุคคลต่างๆ

MUMR

i

i

Page 44: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

44

Optimal income taxesAn example

As with optimal commodity taxation, this outcome represents a compromise between two considerations:◦Vertical equity◦Behavior responses

Figure 8 shows that optimal income taxation equates this ratio across individuals, leading to a higher tax rate for the rich.

Page 45: บทที่  4 (2)  ความเหมาะสมของภาษี  (Optimal Taxation)

45

อัตราภาษี

MU/MR

10% 20%

richpoor MRMU

MRMUλ

คนจนคนรวย

รูปท่ี 8

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสมทำาให้(MU/MR) เท่ากันสำาหรบัทกุๆ คน