ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง...

59
ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที......................... ห้อง ม.3/..........................

Transcript of ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง...

Page 1: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที่ ......................... ห้อง ม.3/..........................

Page 2: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท ๒๓๑๐๑ ครูผู้สอน ๑. มิสปาริชาติ ด ารงพิริยกุล ๒. มาสเตอร์พิพิธธนศักดิ์ คะเชนทร์กูล ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑ จ านวน ๓ คาบ/สัปดาห์ ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จ านวน ๑.๕ หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ............................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษา การพูด การฟัง การอ่าน การดู และการเขียนเพ่ือสร้างความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆ ตีความ ประเมินค่าอย่างมีวิจารณญาณ อ่านบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อ่านวรรณกรรมประเภทต่างๆ อ่านออกเสียง อ่านในใจ แปลความ ตีความ ขยายความ ถอดความ สรุปจับใจความ เล่าเรื่อง ย่อเรื่อง ประเมินค่าจากเรื่อง ศึกษาหลักและการใช้ภาษาเก่ียวกับค า กลุ่มค าและความสัมพันธ์ของค า การสร้างค าไทย การสร้างกลุ่มค า การสร้างประโยค วิเคราะห์โครงสร้างประโยคที่ซั บซ้อน การสังเกตค าไทยแท้และการใช้ค าภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทย การใช้ส านวนโวหาร การท่องบทอาขยาน การเขียนสะกดค าถูกต้องตามอักขรวิธีโดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ หาเหตุผล กระบวนการสื่อความหมาย เข้าใจในภาษาซึ่งเป็นภาษาประจ าชาติ ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารที่หลากหลาย เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่า เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมในระดับที่ยากยิ่งขึ้น การพิจารณาคุณค่าของเรื่องที่อ่าน ฟัง ดู ด้านเนื้อหา ภาษา สภาพสังคม ความเป็นอยู่ วิถีชีวิต ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความเชื่อ ค่านิยมได้อย่างถูกต้อง และมีมารยาท

โดยใช้กระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุป วิเคราะห์ข้อมูลจากเรื่องและสื่อต่างๆ ที่อ่านฟังและดูเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจน าไปใช้ชีวิตประจ าวันได้อย่างภาคภูมิใจรักความเป็นไทย ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันท างานและมีจิตสาธารณะ สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด ( จ านวน ๒๗ ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑, ๔, ๗, ๙, ๑๐ สาระท่ี ๓ การฟัง การดูและการพูด มาตรฐานที่ ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑, ๒, ๓, ๖ สาระท่ี ๔ หลักและการใช้ภาษา มาตรฐานที่ ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑, ๒, ๓, ๖ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑, ๒, ๓, ๔

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิตและมี นิสัยรักการอ่าน

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ๒. ระบุความแตกต่างของค าที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ๓. ระบุใจความส าคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน ๔. อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น ๖. ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน ๗. วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การล าดับความ และความเป็นไปได้ของเรื่อง ๘. วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน ๙. ตีความและประเมินคุณค่า และแนวคิดท่ีได้จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือน าไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ๑๐. มีมารยาทในการอ่าน

Page 3: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๔. เขียนย่อความ ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง ในเรื่องต่างๆ ๙. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน ๑๐. มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู ๒. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู เพื่อน าข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต ๓. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

๑. จ าแนกและใช้ค าภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน ๓. วิเคราะห์ระดับภาษา ๖. แต่งบทร้อยกรอง

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น ๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ๓. สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน เพ่ือน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๔. ท่องจ าและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีก าหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและน าไปใช้อ้างอิง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่

(ระหว่างภาค) คะแนน

ปลายภาค ตัวช้ีวัดที่

(ปลายภาค) ๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๑.๑ (๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๗,

๘, ๙, ๑๐) มาตรฐาน ท ๓.๑ (๑, ๒, ๓, ๖)

คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

มาตรฐาน ท ๔.๑ (๑, ๒, ๓, ๖) มาตรฐาน ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๒.๑ (๑, ๘, ๙, ๑๐) มาตรฐาน ท ๔.๑ (๑, ๒, ๓, ๖) มาตรฐาน ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๓. กลางภาค ๓๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๒.๑ (๔, ๗, ๙) มาตรฐาน ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๔. แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๒.๑ (๙, ๑๐) รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 4: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร

- ประวัติผู้แต่ง / ที่มาของเรื่อง / ลักษณะค าประพันธ์ / จุดประสงค์ในการแต่ง

- เนื้อหา / ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง / ลักษณะนิสัยตัวละคร - ค าศัพท์ / ส านวนโวหารที่ปรากฏในเรื่อง พระบรมราโชวาท - ประวัติผู้แต่ง / ที่มาของเรื่อง / ลักษณะค าประพันธ์ / จุดประสงค์ในการแต่ง - เนื้อหา / ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง / ลักษณะนิสัยตัวละคร - ค าศัพท์ / ส านวนโวหารที่ปรากฏในเรื่อง ๒. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

อิศรญาณภาษิต - ประวัติผู้แต่ง / ที่มาของเรื่อง / ลักษณะค าประพันธ์ /จุดประสงค์ในการแต่ง - เนื้อหา / ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง /ค าศัพท์ / ส านวนโวหารที่ปรากฏในเรื่อง ค าไทยแท้และค าที่มาจากภาษาอ่ืน - ค าไทยแท้ / บาลี / สันสกฤต สมบัติวรรณคดีไทย - วรรณคดี / วรรณกรรม / วรรณกรรมซีไรท์ หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานวรรณคดีวิจักษ์ ของ กระทรวงศึกษาธิการ

- หลักภาษาไทย ของ ก าชัย ทองหล่อ - หลักการใช้ภาษา ของ ปรานี บุญชุ่ม - หลักภาษาไทย ของ เปลื้อง ณ นคร - อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ของ ราชบัณฑิตยสถาน - พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตตยสถาน - ใบงาน / ใบความรู้ที่ครูแจกให้

Page 5: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัส ค23101 ครูผู้สอน 1. มิสวิภาภรณ์ แซ่ลิ้ม 2. มิสจรรยา ใจเย็น ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2561 จ านวน 4 คาบ / สัปดาห์ 80 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 2 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........... ค าอธิบายรายวิชา ศึกษา / ฝึกทักษะการคิดค านวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ พื้นที่ผิวและปริมาตร การหาพ้ืนที่และปริมาตรของปริซึม การหาพ้ืนที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก การแก้โจทย์ปัญหา เกีย่วกับ พ้ืนที่ผิวและปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร การ คาดคะเนเกี่ยวกับการวัด การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวและปริมาตร ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม กราฟ กราฟเส้นตรง การน าไปใช้ กราฟอ่ืนๆ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระบบสมการเชิงเส้น กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ความคล้าย สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้าย การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดย ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดค านวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และน าประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการ เรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถ ท างานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง การวัดผลและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด (จ านวน 17 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 2 การวัด มาตรฐานที่ ค 2.1 ตัวช้ีวัดที่ 1 , 2, 3, 4 มาตรฐานที่ ค 2.2 ตัวช้ีวัดที่ 1 สาระท่ี 3 เรขาคณิต มาตรฐานที่ ค 3.1 ตัวช้ีวัดที่ 1 มาตรฐานที่ ค 3.2 ตัวช้ีวัดที่ 1 สาระท่ี 4 พีชคณิต มาตรฐานที่ ค 4.2 ตัวช้ีวัดที่ 2 ,3 ,4 ,5 สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐานที่ ค 6.1 ตัวช้ีวัดที่ 1 ,2, 3, 4, 5, 6 มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด

1. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก 2. หาปริมาตรของปริซึมทรงกระบอก พีระมิด กรวยและทรงกลม 3. เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบและเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม 4. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐาน ค 2.2 แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ พ้ืนที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 1. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจ าลองทาง เรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา 1. ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา

Page 6: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematic model) อ่ืนๆ แทน สถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและน าไปใช้

1. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น 2. เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. อ่านและวิเคราะห์ความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและกราฟอื่นๆ 4. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและน าไปใช้ในการแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ

ค าตอบ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการ น าเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา

2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆได้อย่าง เหมาะสม

3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการน าเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และน าความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์

อ่ืนๆ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที(่ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ค 2.1 (1 , 2, 3, 4) มาตรฐาน ค 2.2 (1) มาตรฐาน ค 3.1 (1) มาตรฐาน ค 3.2 (1) มาตรฐาน ค 4.2 (2 ,3 ,4 ,5) มาตรฐาน ค 6.1 (1 ,2, 3, 4, 5, 6)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

มาตรฐาน ค 2.1 (1 , 2, 3, 4) มาตรฐาน ค 2.2 (1) มาตรฐาน ค 3.1 (1) มาตรฐาน ค 3.2 (1) มาตรฐาน ค 4.2 (2 ,3 ,4 ,5) สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน ค 2.1 (1 , 2, 3, 4)

มาตรฐาน ค 2.2 (1) มาตรฐาน ค 3.1 (1) มาตรฐาน ค 3.2 (1) มาตรฐาน ค 4.2 (2 ,3 ,4 ,5) มาตรฐาน ค 6.1 (1 ,2, 3, 4, 5, 6)

กลางภาค 30 คะแนน มาตรฐาน ค 2.1 (1 , 2, 3, 4) มาตรฐาน ค 2.2 (1) มาตรฐาน ค 3.1 (1) มาตรฐาน ค 4.2 (2 ,3 ,4)

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ค 2.1 (1 , 2, 3, 4) มาตรฐาน ค 2.2 (1) มาตรฐาน ค 3.1 (1) มาตรฐาน ค 6.1 (1 ,2, 3, 4, 5, 6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 7: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

1.พ้ืนที่ผิวและปริมาตร 1.1 การหาพ้ืนทีผ่ิวและปริมาตรของปริซึม 1.2 การหาพ้ืนที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก 1.3 การหาปริมาตรและพ้ืนที่ผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม 1.4 การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร 1.5 การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด 1.6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวและปริมาตร 1.7 ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม

2.กราฟ 2.1 กราฟเส้นตรง การน าไปใช้ กราฟอ่ืน ๆ 2.2 สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด

1.พ้ืนที่ผิวและปริมาตร 1.1 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวและปริมาตร

2.กราฟ 2.1 กราฟเส้นตรง การน าไปใช้ กราฟอ่ืน ๆ 2.2 สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

3.ระบบสมการเชิงเส้น 3.1 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3.2 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3.3 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

4.ความคล้าย 4.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้าย 4.2 การแก้ปัญหาโดยใช้สมบัติของสามเหลี่ยมคล้าย

หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม เอกสารการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนจัดท าขึ้น , หนังสือคู่มือของส านักพิมพ์ต่าง ๆ

Page 8: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ว23101 ครูผู้สอน 1. มิสวลัยพร ห้องแซง 2. มาสเตอร์พงษ์ธร แก้วยองผาง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2561 จ านวน 3 คาบ / สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืน ๆ ............................. ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานเกี่ยวกับ พันธุกรรม ยีนและโครโมโซม กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพกับพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลและการอนุรักษ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ อนุกรมวิธาน การจ าแนกและการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว์ ) ไวรัส ความก้าวหน้าการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน และศึกษาอธิบาย วิเคราะห์ ค านวณ ส ารวจ ตรวจสอบ ระบุเกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ค าอุปสรรค ปริมาณทางฟิสิกส์ ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร่ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา การเคลื่อนที่ในแนวตรง (แนวราบ) และแนวดิ่ง การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง การเคลื่อนที่วัตถุแนววงกลม กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง แรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง พลังงาน แรงลอยตัว ความดัน ความหนาแน่น งาน ก าลัง พลังงานกล พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (พลังงานศักย์สปริง) กฎการอนุรักษ์พลังงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 13 ตัวชี้วัด) สาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต มาตรฐานที่ ว 1.2 ตัวช้ีวัดที่ 1 ,2, 3, 4, 5, 6 สาระท่ี 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐานที่ ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ,2, 3, 4, 5 มาตรฐานที ่ว 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2 สาระท่ี 5 พลังงาน มาตรฐานที่ ว 5.1 ตัวช้ีวัดที่ 1 มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1. สังเกต อธิบาย และวิเคราะห์ ลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

2. อธิบาย และวิเคราะห์ ความส าคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตและการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส

3. อธิบาย อภิปราย และวิเคราะห์ โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม และน าความรู้ไป ใช้ประโยชน์เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพกับพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

4. สืบค้นข้อมูล ส ารวจ อธิบาย และวิเคราะห์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น ผลกระทบและการอนุรักษ์ของ ความหลากหลายทางชีวภาพที่ท าให้สิ่งมีชีวิตด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล

5. สืบค้นข้อมูล ส ารวจ อธิบาย และวิเคราะห์เกี่ยวกับ อนุกรมวิธาน การจ าแนกและการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต การ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว์) ไวรัส ที่มีผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพส่งผลต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และ สิ่งแวดล้อม

Page 9: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

6. อภิปรายผลของความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบันต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม

1. ทดลอง อธิบาย และค านวณ ระบุเก่ียวกับ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ค าอุปสรรค ปริมาณทางฟิสิกส์ ระยะทาง การ กระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร่ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 2. ทดลอง อธิบาย และค านวณ การเคลื่อนที่ในแนวตรง (แนวราบ) และแนวดิ่ง แรงและผลของแรงลัพธ์ที่กระท า ต่อวัตถุ

3. ทดลอง อธิบาย การเคลื่อนที่วัตถุแนววิถีโค้ง การเคลื่อนที่วัตถุแนววงกลม 4. ทดลอง อธิบาย และค านวณ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาที่กระท าต่อวัตถุ 5. ทดลอง อธิบาย และค านวณ แรงลอยตัวของของเหลว ความหนาแน่น ความดัน ที่กระท าต่อวัตถุ

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

1. ทดลอง อธิบาย และค านวณ แรง แรงเสียดทาน ความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานจลน์ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ทดลอง อธิบาย และค านวณ โมเมนต์ของแรง และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด ารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ น าความรู้ไปใช้ประโยชน์

1. ทดลอง อธิบาย และค านวณ ก าลัง งาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (พลังงานศักย์สปริง) กฎการอนุรักษ์พลังงาน และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

การวัดและการประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัด (ระหว่างภาค) คะแนน ปลายภาค

ตัวช้ีวัด ปลายภาค

สื่อสาร 10 คะแนน -. สมุดและพฤติกรรมในชั้นเรียน 5 คะแนน - สอบเก็บคะแนน 5 คะแนน

มาตรฐาน ว 1.2 (1 - 6) มาตรฐาน ว 4.1 (1 – 5) มาตรฐาน ว 4.2 (1 - 2) มาตรฐาน ว 5.1 (1)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

มาตรฐาน ว 1.2 (4 - 6) มาตรฐาน ว 4.1 (5) มาตรฐาน ว 4.2 (2) มาตรฐาน ว 5.1 (1)

สภาพจริง 20 คะแนน - โครงงาน 10 คะแนน - Lab 5 คะแนน - ค่ายทักษะ 5 คะแนน

มาตรฐาน ว 1.2 (1 - 6) มาตรฐาน ว 4.1 (1 – 5) มาตรฐาน ว 4.2 (1 - 2) มาตรฐาน ว 5.1 (1)

กลางภาค 30 คะแนน มาตรฐาน ว 1.2 (1 – 3) มาตรฐาน ว 4.1 (1 – 4) มาตรฐาน ว 4.2 (1)

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน - ชีววิทยา 5 คะแนน - ฟิสิกส์ 5 คะแนน

มาตรฐาน ว 1.2 (1 - 6) มาตรฐาน ว 4.1 (1 – 5) มาตรฐาน ว 4.2 (1 - 2) มาตรฐาน ว 5.1 (1)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 10: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ 1. พันธุกรรม ยีน โครโมโซม และ DNA กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส และการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพกับพันธุกรรม 2. ค าอุปสรรค ปริมาณทางฟิสิกส์ ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร่ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา การเคลื่อนที่ในแนวตรงและแนวดิ่ง การเคลื่อนที่วัตถุแนววิถีโค้ง การเคลื่อนที่ วัตถุแนววงกลม แรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา แรงเสียดทาน แรงเสียดทานสถิต แรง เสียดทานจลน์ รายละเอียดการสอบ ข้อสอบอัตนัย 1. ค านวณความน่าจะเป็น เป็นไปตามกฏของเมนเดล 2. การเคลื่อนที่ในแนวตรงและแนวดิ่ง

2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ

1. ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น ผลกระทบและการอนุรักษ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ 2. อนุกรมวิธาน การจ าแนกและการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต (อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว์) ไวรัส และความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

3. แรงลอยตัวของของเหลว ความหนาแน่น ความดัน โมเมนต์ของแรง ก าลัง งาน พลังงานจลน์ พลังงาน ศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนของโรงเรียนเซนต์คาเบรียล 2. พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2559, วิทยาศาสตร์ เล่ม 1-3, ส านักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ, กรุงเทพมหานคร.

Page 11: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัส ส23101 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธีรเมธ อาษากิจ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2561 จ านวน 2 คาบ / สัปดาห์ 40 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1.0 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาเรื่องการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ส ารวจอภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ตระหนักและเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มีจิตส านึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน ศึกษาเรื่อง อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่มีต่อบุคคล กลุ่มคนและประเทศชาติ อภิปรายบทบาทความส าคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในระหว่างประเทศ ตระหนักถึงความเข้าใจในกลไกราคาทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการก าหนดราคาสินค้าและบริการ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับระบบสหกรณ์ เพ่ือการด ารงชีพอย่างมีดุลยภาพ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ เข้าใจระบบเศรษฐกิจความสัมพันธ์ และความจ าเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (จ านวน 14 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐานที ่ส 5.1 ตัวช้ีวัดที่ 1, 2 มาตรฐานที ่ส 5.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4 สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐานที ่ส 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4 มาตรฐานที ่ส 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4 มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวมวิเคราะห์และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง กายภาพและสังคม ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอมเมริกาเหนือและ อเมริกาใต้

Page 12: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี จิตส านึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน 1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และทางสังคมของ

อเมริกา เหนือและอเมริกาใต้ 2. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ 3. ส ารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ 4. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ที่

ส่งผลต่อ ประเทศไทย มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ 1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออมฃ 2. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ 3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนในฐานะผู้บริโภค มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจ าเป็นของการ ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ 2. ยกตัวอย่างท่ีสะท้อนให้เห็นการพ่ึงพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย 3. วิเคราะห์การกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 4. วิเคราะห์การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศที่ส่งผลต่อคุณภาพสินค้าปริมาณการผลิตและราคา สินค้า

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 (1,2) มาตรฐาน ส 5.2 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.1 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.2 (1,2,3,4)

30 คะแนน

มาตรฐาน ส 3.1 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.2 (1,2,3,4)

2. สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 (1,2) มาตรฐาน ส 5.2 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.1 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.2 (1,2,3,4)

4. สอบกลางภาค 30 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 (1,2) มาตรฐาน ส 5.2 (1,2,3,4)

5. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 (1,2) มาตรฐาน ส 5.2 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.1 (1,2,3,4) มาตรฐาน ส 3.2 (1,2,3,4)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 13: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ - เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ - ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ - ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และประชากรของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ - สิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอมเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ - วิกฤติการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ - แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ต่อประเทศไทย

2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ - กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ - เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาท้องถิ่นและระบบสหกรณ์ - รัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ และนโยบายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล - ปัญหาเศรษฐกิจในระดับประเทศ - การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือชุดกิจกรรมพัฒนาการคิด เสริมสร้างสมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิชาภูมิศาสตร์ - หนังสือชุดกิจกรรมพัฒนาการคิด เสริมสร้างสมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ - หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) - หนังสือโลกน่ารู้จากแผนที่ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ส านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจ ากัด(ทวพ.) - หนังสือ ATLAS แผนที่ภูมิศาสตร์-ประวัติศาสตร์ New Edition ส านักพิมพ์วัฒนาพานิช(วพ.) - ใบความรู้และใบงานวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

Page 14: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ รหัส ส23103 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่….. มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 /2561

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระเพ่ิมเติม อ่ืนๆ………..

ค าอธิบายรายวิชา อธิบาย วิเคราะห์ สืบค้นข้อมูลเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในอดีตและเชื่อมโยงกับมิติของเวลา โดยใช้

กระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ศึกษาการสถาปนากรุงเทพมหานครอันเป็นราชธานีของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามช่วงสมัยต่างๆ รวมทั้งเหตุการณ์ส าคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีผลต่อการพัฒนาชาติไทย เช่น การท าสนธิสัญญาเบาว์ริงในสมัย รัชกาลที่ 4 การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เป็นต้น

โดยใช้กระบวนการความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ และสังเคราะห์อันจะสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการประเมินค่าสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในประวัติศาสตร์ไทยที่มีผลต่อสถานการณ์ปัจจุบัน เพ่ือให้เกิดความตระหนัก มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ (BSG) สามารถน าผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและสันติสุขภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 5 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานที่ ส.4.1 ตัวช้ีวีดที่ 1,2 มาตรฐานที่ ส.4.3 ตัวช้ีวีดที่ 1,2,3 มาตรฐานที่ ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ 1. วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ส าคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล

2. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนสนใจ มาตรฐานที่ ส.4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความ เป็นไทย 1. วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่างๆ

2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ 3. วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย

Page 15: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การวัดและการประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 (1,2) มาตรฐาน ส 4.3 (1,2,3)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

มาตรฐาน ส 4.1 (1,2) มาตรฐาน ส 4.3 (1,2,3) สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 (1,2)

มาตรฐาน ส 4.3 (1,2,3) กลางภาค 30 คะแนน

มาตรฐาน ส 4.1 (1,2) มาตรฐาน ส 4.3 (1,2,3)

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 (1,2) มาตรฐาน ส 4.3 (1,2,3)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน การทดสอบ 1. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ 1.วิธีการทางประวัติศาสตร์ 2. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี 3. พัฒนาการด้านการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2325 – พ.ศ.2394) 4. พัฒนาการด้านการปกครองสมัยการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย (พ.ศ.2394 – พ.ศ.2475) 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ 1. พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์สมัยตอนต้น (พ.ศ.2325 – พ.ศ.2394) 2. พัฒนาการด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศสมัยรัตนโกสินทร์สมัยการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย (พ.ศ.2394 – พ.ศ.2475) 3. พัฒนาการด้านการปกครองยุคประชาธิปไตยสมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2475 – ปัจจุบัน) 4. พัฒนาการด้านเศรษฐกิจในสมัยประชาธิปไตย (พ.ศ.2475 – ปัจจุบัน) 5. ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในโลกปัจจุบัน หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม วงเดือน นาราสัจจ์ และ ชมพูนุจ นาคีรักษ์. 2555.ประวัติศาสตร์ ม.3.กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

Page 16: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษา รหัส พ 23101 ครูผู้สอน มาสเตอร์ศุภสิทธิ์ ดาลัดจรัสแสง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 / 2561 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1.0 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ....................................ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตแต่ละช่วงวัย แนวทางการด าเนินชีวิตของวัยรุ่นที่สอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม การวิเคราะห์สื่อโฆษณา การปฏิบัติเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมกับวัยของตน สถาบันครอบครัวและแนวทางป้องกันความขัดแย้งในครอบครัว คุณค่าของอาหารกับการเสริมสร้างสุขภาพ โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ การแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรง การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับการเกิดอุบัติเหตุ หลักการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพ้ืนฐาน การวางแผนการออกก าลังกายและการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหา สามารถประยุกต์และน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้จักการท างานเป็นทีมและปรับตัวในสังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (จ านวน 6 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 1 การเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐานที่ พ.1.1 ตัวช้ีวัดที่ 1,2,3 สาระท่ี 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐานที่ พ.2.1 ตัวช้ีวัดที่ 1,2,3 มาตรฐาน พ.1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 1. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาแต่ละช่วงของชีวิต 2. วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น 3. วิเคราะห์สื่อโฆษณาท่ีมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น มาตรฐาน พ.2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด าเนินชีวิต 1. อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม 2. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ 3. วิเคราะห์สาเหตุและเสนอแนวทางการป้องกันแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน มาตรฐาน พ.1.1(1-3) มาตรฐาน พ.2.1(1-3)

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มาตรฐาน พ.1.1(1-3) มาตรฐาน พ.2.1(1-3)

2.สภาพจริง …30… คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 17: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ 1. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาแต่ละช่วงชีวิต 2. อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น 3. สื่อโฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ 1. การเจริญเติบโตแต่ละช่วงวัย 2. แนวทางการด าเนินชีวิตของวัยรุ่นที่สอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม 3. การวิเคราะห์สื่อโฆษณา 4. อนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมกับวัยของตน 5. สถาบันครอบครัวและแนวทางป้องกันความขัดแย้งในครอบครัว หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักพิมพ์เอมพันธ์ จ ากัด 2. หนังสือเรียน รายวชิาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา ม.3 ส านักพิมพ์วัฒนาพานิช ส าราญราษฎ์ จ ากัด

Page 18: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา พลศึกษา (ว่ายน้ า) รหัส พ23101 ครูผู้สอน มาสเตอร์ประทุม เลิศหงิม ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 / 2561 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 40 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1.0 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาประวัติกีฬาการช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บจากการ วิธีการด าเนินการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นในหน้าที่ของตนเอง (Rescue) การช่วยชีวิต (Resuscitation) ว่ายน้ าโดยก าหนดเวลาไม่เกิน 10 นาที หรือระยะทาง 300 เมตร การโยนอุปกรณ์ (Throwing) การช่วยเหลือผู้จมน้ าที่หมดสติในระยะ 10 เมตร การด าน้ าในระดับความลึก 3.00 เมตร เพ่ือเก็บวัตถุ สถานการณ์จ าลอง (Initiative) เทคนิคการป้องกันตัว (Defensive Technique) โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฏกติกา มุ่งม่ันในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครั วชุมชนและรักในการออกก าลังกาย สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (จ านวน 8 ตัวชี้วัด) สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐานที่ พ 3.1 ตัวช้ีวัดที่ 1,2,3 มาตรฐานที่ พ 3.2 ตัวช้ีวัดที่ 1,2,3,4,5 มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา

1. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ได้อย่างละ 1 ชนิดโดยใช้เทคนิค ที่เหมาะสมกับตนเองและทีม 2. น าหลักการ ความรู้และทักษะ ในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นกม และการเล่นกีฬาไปใช้

เสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ 3. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรมและน าหลักความรู้วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับผู้อ่ื

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฎิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. มีมารยาทในการเล่นและดูกีฬาด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา 2. ออกก าลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ าเสมอและน าแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน ด้วยความภาคภูมิใจ 3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่นตามชนิดกีฬาที่เลือกและน าแนวคิดที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ของตนในสังคม 4. จ าแนกกลวิธีการรุก การป้องกัน และใช้ในการเล่นกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ ตามสถานการณ์ของการเล่น 5. สนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกก าลังกาย และการเล่นกีฬาเป็นประจ า

Page 19: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน พ 3.1 (1-3) มาตรฐาน พ 3.2 (1-5)

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มาตรฐาน พ 3.1 (1-3) มาตรฐาน พ 3.2 (1-5)

2.สภาพจริง 25+5 คะแนน 3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับคะแนน 80 : 20

1.การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความตั้งใจเรียน , การเข้าร่วมท ากิจกรรม 4 1. ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมสม่ าเสมอ = 4 คะแนน 2. ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมบางครั้ง= 2 คะแนน 3. ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมน้อย = 1 คะแนน

2. การตอบค าถาม , ความสะอาด เรียบร้อย สวยงามในการท างาน 4

1. สม่ าเสมอ = 4 2. บางครั้ง = 2 3. น้อย = 1

3. การส่งงานตรงต่อเวลา 2

1. สม่ าเสมอ = 2 2. บางครั้ง = 1 3. น้อย = 0

คะแนนรวม 10

2.การประเมินสภาพจริง (25 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความรับผิดชอบ 5 - เวลาเรียน = 3 คะแนน - เครื่องแต่งกาย = 2 คะแนน

2. ระเบียบวินัย 10 - ดูแลรักษาอุปกรณ์ = 3 คะแนน - การเดินแถว = 3 คะแนน - ตรงต่อเวลา = 4 คะแนน

3. พัฒนาตนเอง 10 - พัฒนาการทางกาย = 3 คะแนน - พัฒนาการทางทักษะ = 3 คะแนน - พัฒนาการทางบุคลิกภาพ = 4 คะแนน

คะแนนรวม 25

Page 20: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

3.การประเมินแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ใบงานทักษะพ้ืนฐาน Life Saving

10

1. ความถูกต้องของข้อมูล = 3 คะแนน 2. รูปแบบการน าเสนอของข้อมูล และความคิดสร้างสรรค์

= 3 คะแนน 3. ความปราณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน 4. การส่งงานตรงตามเวลาที่ก าหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

4. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน)

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด น้ าหนักความส าคัญ

(%) คะแนน

1.ทักษะการช่วยชีวิต (Resuscitation)

-การจัดท่าผู้จมน้ าที่หมดสติ (Lateral-Position)

30% 10

2.ว่ายน้ าโดยก าหนดเวลาไม่เกิน 10 นาที หรือระยะทาง 300 เมตร

-การว่ายระยะทาง 100 เมตรท่าว่ายน้ าช่วยชีวิตแบบกบหงาย (Breast-Stroke)

20% 5

3.การโยนอุปกรณ์ (Throwing) -กานโยนเสื้อชูชีพและการสวมเสื้อชูชีพในน้ า (P.E.D)

20% 5

4.การช่วยเหลือผู้จมน้ าที่หมดสติในระยะ 10 เมตร

-การผายปอด (E.A.R.) 30% 10

รวม 100 30

5. สอบปลายภาค ( 20 คะแนน)

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด น้ าหนักความส าคัญ

(%) คะแนน

1.การด าน้ าในระดับความลึก 3.00 เมตร เพื่อเก็บวัตถุ

- การใช้ศรีษะด าลงพับตัว (L-Support) 70% 15

2.สถานการณ์จ าลอง (Initiative)

- การน าพาผู้จมน้ าขึ้นสู่ฝั่ง 30% 5

รวม 100 20

Page 21: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา พลศึกษา (บาสเกตบอล 1) รหัส พ 23101 ครูผู้สอน มาสเตอรพิ์ษณุ ชาติกุล ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2561 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1.0 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

มุ่งให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องทักษะและการปฏิบัติกิจกรรมการออกก าลังกายด้วยกิจกรรมกีฬาบาสเกตบอลในเรื่องของทักษะการทรงตัว การเคลื่อนไหว ทักษะการรับ -ส่งลูกบอล การเลี้ยงบอล การยิงประตูและวิธีการเล่นแบบต่าง ๆ ทั้งในขณะที่เป็นผู้เล่นฝ่ายรุกและฝ่ายรับอย่างถูกต้อง มีความสนุกสนานและปลอดภัยในการเล่น รู้จักกฎกติกา ระเบียบการแข่งขัน มารยาทของการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดี มีน้ าใจนักกีฬา รู้จักบ ารุงรักษาสุขภาพและการเสริมสร้างสุขภาพโดยใช้หลักและวิธีการออกก าลังกายที่ถูกต้อง เพ่ือให้เกิดทักษะและน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 9 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐานที ่พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 มาตรฐานที ่พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4 มาตรฐานที่ พ 3.1 เข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา

1. วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆในการเล่นกีฬา 2. ใช้ความสามารถของตน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม ค านึงถึงผลที่เกิดต่อ ผู้อื่น และสังคม 3. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล/คู่ กีฬาประเภททีม อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5. เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิดไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและ

สังคม มาตรฐานที่ พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. ออกก าลังกาย และเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามรถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตนค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎกติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อ่ืนและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติ และใช้ในชีวิตอย่างต่อเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดูการเล่น และการแข่งขันกีฬาด้วยความมีน้ าใจนักกีฬาและน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาสจนเป็นบุคลิกภาพที่ดี

4. ร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของกีฬา การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน พ 3.1 (1-2)

20 คะแนน มาตรฐาน พ 3.2 (1-4) 2.สภาพจริง 25 คะแนน มาตรฐาน พ 3.1 (3-4) 3.ทฤษฎี 5 คะแนน มาตรฐาน พ 3.2 (2) 4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน พ 3.2 (1-4) 5.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน พ 3.1 (5) รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 22: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับคะแนน 80 : 20 1. การประเมินจากการสื่อสารรายบุคคล (10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความสนใจในชั้นเรียน 5 คะแนน 2. เวลาเรียน 5 คะแนน

2 .การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment (30 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

1. นักเรียนปฏิบัติจริงการหยุดและหมุนตัวถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 5 คะแนน 2. นักเรียนปฏิบัติจริงการรับ-ส่งบอลถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน 3. นักเรียนปฏิบัติจริงการเลี้ยงบอลถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน 4. สอบทฤษฎีปลายภาค 5 คะแนน

3. สอบปฎิบัติ (Performance Assessment) (30 คะแนน) รายละเอียดการสอบ

1. นักเรียนปฏิบัติจริงการยิงประตูที่เส้นโทษถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน 2. นักเรียนปฏิบัติจริงการกระโดดยิงประตูใต้แป้นถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน 3. นักเรียนปฏิบัติจริงการวิ่งยิงประตูถูกต้องตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

4. การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน) - ประวัติกีฬาบาสเกตบอล - พ้ืนฐานการทรงตัว - พ้ืนฐานการหยุดและหมุนตัว - พ้ืนฐานการรับลูกบาส - การเลี้ยงบอล - การยิงประตู - กติกากีฬาบาสเกตบอล

5. สอบปลายภาค (20 คะแนน) รายละเอียดการสอบ - แข่งขันบาสเกตบอลภายในห้องเรียน 10 คะแนน - กติกากีฬาบาสเกตบอล 10 คะแนน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา วิชาบาสเกตบอล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักพิมพ์เอมพันธ์ จ ากัด 2. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา วิชาบาสเกตบอล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักพิมพ์วัฒนา พานิช ส าราญราษฎ์ จ ากัด

Page 23: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ รหัส ศ23101 ครูผู้สอน มิสปานจิตต์ ชนะกานนท์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2561 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ การผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมายเป็นเรื่องราว ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่ืนหรือของศิลปิน การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพ่ือบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย ศึกษาอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ และทักษะที่จ าเป็นในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และน าไปใช้ในการจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล การประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (จ านวน 13 ตัวชี้วัด) สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐานที ่ศ 1.1 ตัวช้ีวัดที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11 มาตรฐานที ่ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 มาตรฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคางาน ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวั 1. บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 2. ระบุและบรรยายเทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3. วิเคราะห์และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ 4. มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท 5. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ 6. สร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ 7. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ 8. วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่ืนหรือของศิลปิน 9. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพ่ือบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย 10. ระบุอาชีพที่เก่ียวข้องกับงานทัศนศิลป์ และทักษะที่จ าเป็นในการประกอบอาชีพนั้น ๆ 11. เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และน าไปใช้ในการจัดนิทรรศการ มาตรฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล 1. ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล

Page 24: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 1.1 (1,2) มาตรฐาน ศ 1.2 (1,2)

20 คะแนน

มาตรฐาน ศ 1.1 (3,4,6,7) 2.สภาพจริง 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 1.1 (3,4,5, 6,7,8,9,10,11)

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 1.1 (3,4,5, 6,7,8,9,10,11)

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 1.1 (2,3) รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ตรงต่อเวลา 5 (สังเกต) มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา

2. ความสนใจในเวลาเรียน 3 (สังเกต) มีความสนใจ และกระตือรือร้น

3. การเข้าร่วมกิจกรรม 2 (สังเกต) เข้าเรียนสม่ าเสมอ ขยันหมั่นเพียร

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. สร้างสรรค์ผลงานออกแบบพาณิชย์ศิลป์ 10 อาชีพนักออกแบบ

2. สร้างสรรค์ผลงานศิลปะบริสุทธิ์ 10 ภาพร่างแบบงานส่วนตัว 2 มิติ และ 3มิต ิ

3. วิเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์ 5 ใบงาน 1 ชุด

4. แบบฝึกหัดภาคทฤษฎี 5 องค์ความรู้เกี่ยวกับทัศนศิลป์

คะแนนรวม 30

3. การประเมินภาคปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.สร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 10 เนื้อหา จัดองค์ประกอบภาพ ความคิดสร้างสรรค์ เรียบร้อย, สวยงาม การส่งงาน (ตรงตามก าหนดเวลา) 2.สร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 10

3. การหาข้อมูลศิลปิน 10

คะแนนรวม 30

Page 25: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

4. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าเอกสาร 5 เนื้อหา (ตามหัวข้อ, จัดเรียงข้อมูลและใช้ภาษาเหมาะสม)

3 เรียบร้อย, สวยงาม

2 การส่งงาน (ตรงตามก าหนดเวลา)

คะแนนรวม 10

5. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

สร้างสรรค์งานศิลปะบริสุทธ์ 15 การวาดภาพ จัดองค์ประกอบภาพ

5 การตรงต่อเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม การจัดองค์ประกอบศิลป์ , ทฤษฎีสี , Internet และห้องสมุด

Page 26: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้ศิลปะ วิชา ดนตรีไทย รหัส ศ 23101-23102 ครูผู้สอน มาสเตอร์บรรหาร ปาโล ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2561

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ องค์ประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิคร้องเพลง ร้อง-เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง แต่งเพลงง่าย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัยต่างๆ วิเคราะห์วิจารณ์งานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุ่มสาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด (จ านวน 9 ตัวชี้วัด) สาระดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1. เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอ่ืน 2. ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวงโดยเน้นเทคนิคการร้องการเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง 3. แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ 4. อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง 5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน 6. อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม 7. น าเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อ่ืนในกลุ่มศิลปะ มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล 1. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย 2. อภิปรายลักษณะเด่นที่ท าให้งานดนตรีนั้นได้รับการยอมรับ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1(4) คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มาตรฐาน ศ 2.1(7) สภาพจริง 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1 (1,5,)

มาตรฐาน 2.2 (1,2) ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1 (2,3) แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1(6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 27: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

o มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน 5 คะแนน o มีความรับผิดชอบในการเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน) 1.1 ความส าเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว (โดยแบ่งการเก็บคะแนน

ออกเป็น 2 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียดต่างๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 3 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน 1.2 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม

จริยธรรม เกณฑ์การให้คะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 1.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนว

หลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน 4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนน าเสนอรูปแบบการจัดท าการ์ดอวยพร ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o ความถูกต้องของชิ้นงานที่ครูก าหนด 5 คะแนน o ความสวยงามความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน o ตวามสะอาด 2 คะแนน

Page 28: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

5. การสอบปลายภาค 20 คะแนน การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. ดุริยางค์ไทย (สงบศึก ธรรมวิหาร) 2. ดนตรีวิจักษณ์ (สุกรี เจริญสุข) 3. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต) 4. ดนตรีในวิถีชีวิตไทย (กรมวิชาการ) 5. ประวัติการดนตรีไทย (ปัญญา รุ่งเรือง)

Page 29: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้ศิลปะ วิชา ดนตรีสากล รหัส ศ 23101-ศ23102 ครูผู้สอน มาสเตอร์คทาหัสต์ นวลพลกรัง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2561

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ องค์ประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิคร้องเพลง ร้อง-เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง แต่งเพลงง่าย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัยต่างๆ วิเคราะห์วิจารณ์งานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุ่มสาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด (จ านวน 9 ตัวชี้วัด) สาระดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1. เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอ่ืน 2. ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวงโดยเน้นเทคนิคการร้องการเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง 3. แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ 4. อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง 5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน 6. อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม 7. น าเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อ่ืนในกลุ่มศิลปะ มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล 1. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย 2. อภิปรายลักษณะเด่นที่ท าให้งานดนตรีนั้นได้รับการยอมรับ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1(4) คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มาตรฐาน ศ 2.1(7) สภาพจริง 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1 (1,5,)

มาตรฐาน 2.2 (1,2) ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1 (2,3) แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ศ 2.1(6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 30: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 6. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

o มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน 5 คะแนน o มีความรับผิดชอบในการเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

7. การประเมินจากการปฏิบัติ/สอบกลางภาค (30 คะแนน) การบรรเลงรวมวง ตามแบบฝึกหัดท่ีก าหนดให้ในใบความรู้ที่1 (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

8. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน) 1.4 บรรเลงจากการเห็นโน้ตครั้งแรก /Sight Reading (20 คะแนน) ให้นักเรียนบรรเลงเดี่ยวตามแบบฝึกหัดที่

ก าหนดให้โดยนักเรียนไม่เคยเห็นมาก่อน เพ่ือวัดทักษะการอ่านโน้ตและปฏิบัติเครื่องดนตรีตามความเป็นจริงของนักเรียน (วัด2 ครั้งๆละ 10 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน o ความถูกต้องในการอ่านโน้ต 5 คะแนน o ความถูกต้องในการบรรเลง 3 คะแนน o ทัศนคติและความม่ันใจในการบรรเลง 2 คะแนน 1.5 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม

จริยธรรม เกณฑ์การให้คะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 1.6 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนว

หลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน 9. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนน าเสนอรูปแบบการจัดท าการ์ดอวยพร ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o ความถูกต้องของชิ้นงานที่ครูก าหนด 5 คะแนน o ความสวยงามความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน o ตวามสะอาด 2 คะแนน

Page 31: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

10. การสอบปลายภาค 20 คะแนน การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

6. ดุริยางค์ไทย (สงบศึก ธรรมวิหาร) 7. ดนตรีวิจักษณ์ (สุกรี เจริญสุข) 8. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต) 9. ดนตรีในวิถีชีวิตไทย (กรมวิชาการ) 10. ประวัติการดนตรีไทย (ปัญญา รุ่งเรือง) 11. สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีตะวันตก (ณรุทธิ์ สุทธจิต) 12. เว็บไซท์ต่างๆที่เก่ียวข้องกับดนตรี เช่น www.musictheory.net

Page 32: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Computer Code ง23101 Instructors : Kantapon Kewsanga Class Level : Primary ……….. Secondary 3 Semester 1 Academic year 2018

2 periods / week 40 periods/semester 1.0 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description:

Discuss efficient stages of working from the flowchart process. Explain technological levels and principles of implementing a project requiring application of information technologies. Write basic programming languages which are HTML and JavaScript. Have 21st Century Skills; critical thinking & problem solving, creativity & innovation, communication, information & media literacy, computing & media literacy, career & learning self-reliance and compassion. Use information technologies in forms appropriate to the type of work by using a Text Editor to create a website on the topic of the Local wisdom “Industry and handicraft” and create a webpage on the topic of “Reinforcing cultural heritage cooperation in ASEAN” Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed in daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and responsibility. Construct and design by conveying ideas through a projected picture. Apply skills for teamwork with morality involved by Sufficiency Economy Philosophy: consciously and morally.

By using the learning and understanding process, practical process, group dynamics, process concepts, critical thinking process, raising awareness, decision-making process, creative process, linking process, interpretation and presentation communication process.

To be honesty, integrity, self-discipline, avidity for learning, dedication and commitment to work. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Living and Family 1.1 Understanding of concept of work; endowment

with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economize on the use of energy and the environment for one’s life and for family.

Strand 2 : Design and Technology 2.1 Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment; and participation in sustainable technological management.

Strand 3 : Information and Communication Technology

3.1 Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem-solving, working and livelihood.

Page 33: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Indicators: (Write the details in items) O 1.1.1 Discuss efficient stages of working. O 1.1.2 Apply skills for team working with morality. O 2.1.1 Explain technological levels. O 2.1.2 Safely construct objects and utensils or methodologies through the technological process; design by conveying ideas through a projected picture, leading to constructing models of objects and utensils, or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on results of presenting the methodology. O 3.1.1 Explain principles of implementing a project requiring application of information technologies. O 3.1.2 Write basic programming languages. O 3.1.3 Use information technologies in forms appropriate to the type of work. O 3.1.4. Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed

in daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and responsibility.

Evaluation and Assessment During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks O 1.1 (1, 2) 20 marks O 3.1 (2, 3) Authentic 30 marks O 1.1 (1, 2)

O 2.1 (2) O 3.1 (1, 2, 3, 4)

Performance test 30 marks

O 1.1 (1) O 2.1 (1, 2) O 3.1 (1, 2, 3, 4)

Portfolio 10 marks O 2.1 (2) O 3.1 (3, 4)

Total 100 marks Assessment 1. Performance Assessment Topic/ subject matter: - Basic Flowchart

- Basic HTML Coding - Basic JavaScript Coding - Computer Project

Page 34: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

2. Final Examination Topic/ subject matter: - Basic HTML Programming

Structure Tags & Attributes Basic HTML Coding

- Basic JavaScript Programming Basic JavaScript Coding Functions

References: Topic/ subject matter:

http://www.w3schools.co

Page 35: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Technology Code : ง 23101 Instructor: Master Supoj Saarddee Class Level: Primary …….… Secondary 3 Semester 1 Academic year 2018

2 periods / week 40 periods / semester 1.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others

Course Description: Explain technological levels and searching for employment through diverse methods. Explain system and control, basics of control program, robotics, the principle of designing and constructing production and the stage of designing project. Discuss efficient stages of working. Discuss work by applying management skills for economising on energy, resources and the environment. Discuss the procedures of the Local wisdom “Natural resources and environment management” including advantages and effects on entering employment in ASEAN community. Construct objects and utensils or methodologies accurately and safely through the technological process under the Sufficiency Economy Philosophy. Describe the Local wisdom “Industry and Handicraft”. Design objects and utensils by conveying ideas through a three-dimensional sketch or a projected picture, leading to constructing models of objects and utensils or conveying concepts of the methodology through models. Report the results of presenting the methodology. Write basic programming languages: RoboPro Program. Use computers to facilitate creation of work pieces. Create the work pieces from imagination or work performed in daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and responsibility. Have 21st century skills; collaboration, teamwork & leadership, critical thinking & problem solving, creativity & innovation, computing & media literacy and career & learning self-reliance. Apply skills in group processes, seeking knowledge, solving problems and management for team working. Analyze the guidelines for entering employment. Evaluate alternatives for taking up occupations in keeping with their knowledge, attitudes and interests. By using group dynamics, problem–solving, critical thinking process, raising awareness, experience - based reasoning process, creative process, practical process, process concepts, decision-making process, investigation process, analysis, the learning and understanding process. To be honesty and integrity, observance of principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s way of life, avidity for learning, dedication and commitment to work.

Page 36: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Standard: Strand : Indicators :

Strand 1: Living and Family O 1.1 Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology O 2.1 Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

O 3.1 Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Strand 4: Occupation O 4.1 Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper perception of future career; technological application for occupational development; endowment with morality and favourable attitude towards occupations

Indicators (Write the details in items)

O 1.1.1 Discuss efficient stages of working. O 1.1.2 Apply skills for team working with morality. O 1.1.3 Discuss work by applying management skills for economising on energy, resources and

the environment. O 2.1.1 Explain technological levels. O 2.1.2 Safely construct objects and utensils or methodologies through the technological

process; design by conveying ideas through a projected picture, leading to constructing models of objects and utensils, or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on results of presenting the methodology.

O 3.1.2 Write basic programming languages. O 3.1.4 Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed

in daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and responsibility.

O 4.1.1 Explain searching for employment through diverse methods. O 4.1.2 Analyse the guidelines for entering employment. O 4.1.3 Evaluate alternatives for taking up occupations in keeping with their knowledge, attitudes

and interests.

Page 37: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

(Final examination) Communication 10 marks O 1.1.1, O 1.1.3, O 4.1.1

20 Marks

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.2, O 3.1.2, O.3.1.4

Authentic 30 marks

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.2, O 3.1.2, O 3.1.4, O 4.1.1, O 4.1.2, O 4.1.3

Performance Test 30 marks

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.1, O 2.1.2, O 3.1.2, O 3.1.4

Portfolio 10 marks O 1.1.1, O 1.1.3, O 4.1.1, O 4.1.2, O 4.1.3

Total 100 marks Assessment 1. Performance Assessment

Topic Subject matter

1. Computer Control.

- Using hardware components and software for controlling - Controlling instrument and appliance by using control program

2. Innovations of Technology.

- Computer aided design (CAD)

2. Final Examination

Topic Subject matter

1. Performance Test

- Preparation - Process of the performance - Achievement - Presentation

Reference : www.fischertechnik.com , www.technologystudent.com , www.bbc.co.uk/schools/, www.scienceray.com , www.need.org

Page 38: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: E.IE.1(Grammar) Code: อ23101 Instructor: Mr Ekarat Panitpattananon Class Level: Primary …… Secondary 3 Semester: 1 Academic year 2018 2 periods / week 40 periods / semester 2 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course description

The aim of this course is to enable students to improve their upper level writing and thinking skills by practicing assigned grammartical worksheets and exercises. During the introduction to each lesson the teacher will describe each part of speech in detail, explaining the first practice exercise of each lesson to the class. After the lesson and the first exercise are explained, students will complete the following practice exercises on their own. Answers will be reviewed before the end of class. The instructor will decide what worksheets or textbook exercises will be assigned for homework. Outside sources such as stories will be utilized to demonstrate parts of speech in a natural context.

Students will learn Tenses Revision, Subject and Verb Agreement, The Passive, Relative Clauses and Modal Verbs to improve their writing skills and knowledge of sentence structure. These techniques will be applied to their conversational skills both inside and outside of the classroom, thus preparing them for future education beyond the high school level. Moreover, this course is designed especially for those in secondary three who wish to build on their knowledge of new words, recognising the need for secondary students to be armed with strong vocabulary skills. Deliberately set at a standard higher than the secondary three level, the objective of the course is to allow the learner to master a higher level of vocabulary so that he is able to apply distinctive words during examinations to impress markers further.

This course also focuses on the grammatical principles covered on many O-NET exams. Developing a firm understanding of these concepts will not only improve performance on these exams, but will also make students more effective communicators and will enhance their ability to use the English language in everyday situations.

Upon completion of this course, students will be prepared to face the challenges that lie ahead, which will open many doors for them and ensure that their futures will be filled with exciting opportunities.

Page 39: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

The Learning Standard: Strand Standard

Strand 1: Language for Communication Standard F1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions Standard F1.3: Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing

Strand 2: Language and Culture Standard F2.1: Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places Standard F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language

Strand 3: Language and Relationship with Other Learning Areas

Standard F3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view

Strand 4: Language and Relationship with Community and the World

Standard F4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society Standard F4.2: Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community

Indicators:

F1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves, various matters around them, experiences, situations, news / incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately

F2.2.2 Analyse / discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais and apply them appropriately

F3.1.1 Research / search for, make records, summarise and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing

F4.1.1 Use language for communication in real situations / simulated situations in the classroom, school, community and society

F4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting and summarising knowledge and various data from the media and different learning sources for further education and livelihood

Page 40: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Indicators: Evaluation and Assessment During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks F1.2.1 30 marks

F1.2.1, F2.2.2, F3.1.1, F4.1.1 Authentic 20 marks F2.2.2, F3.1.1, F4.1.1

Mid-term Test + Writing 30 marks

F1.2.1, F2.2.2, F3.1.1

Portfolio 10 marks F4.2.1

Total 100 marks Assessment

1) Mid-term Test - Tenses Revision, Subject & Verb Agreement, The Passive, Cloze Test and

Error Recognition Writing - Editing and Situational Writing

2) Final Examination - The Passive, Relative Clauses, Modal Verbs, Cloze Test, Error Recognition

References: Grammar Way by Jenny Dooley and Virginia Evans, TOEFL Test of English as a Foreign Language by Edith H. Babin, Carole V. Cordes, Harriet H. Nichols, A Year in the Life of an ESL Student: Idioms and Vocabulary You Can’t Live without by Edward Francis, Understanding and Using English Grammar by Betty Schrampfer Azar, A Practical English Grammar Exercises 1 & 2 by A.J. Thomson & A.V. Martinet, Score in Synthesis & Transformation by Cindy Lim

Page 41: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Mathematics I.E. Code ค 23201 Instructors : 1. Ms.Nuanpun Manossayawong 2. Ms.Chuna Takaki Class Level: Primary …… Secondary 3 Semester: 1 Academic year 2018 2 periods / week 40 periods / semester 2 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description :

The students will study concepts of mathematics such as; Factorization of a quadratic polynomial, Quadratic equation, Trigonometry and Parabola. From the above contents the students learn and educate how to calculate, solve problems by using experimentations and duplicated situations. They will have mathematics skills and processes so that the students are able to practice, experiment, conclude and report that improve their calculating assessment, problem solving, valid argument and mathematical communication. In addition, students should be able to select and use appropriate and efficient techniques and strategies to solve problems of increasing difficulty for lifelong learning and adaptation to everyday situations. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 2: Measurement Sub – strand: Trigonometry

Standard M.2.1: Understanding the basics of measurement; ability to measure and estimate the size of the objects to be measured.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Factorization of Polynomials

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Quadratic Equations

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Parabola

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving.

Page 42: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Indicators : Strand 2: Measurement

Sub – strand: Trigonometry Standard M.2.1: Understanding the basics of measurement; ability to measure and estimate the size of the objects to be measured. Indicators:

M.2.1.1 Define trigonometry; M.2.1.2 Identify the six trigonometric ratios of an angle; M.2.1.3 Calculate the trigonometric ratios of special angles;

Strand 2: Measurement Sub-strand: Height and Distance Standard M.2.2: Solving measurement problems. Indicators: M.2.2.1 Identify and differentiate angle of elevation and depression;

M.2.2.2 Solve problems involving angles of elevation and depression. Strand 4: Algebra

Sub – strand: Factorization of Polynomials Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving. Indicators:

M.4.2.1 Identify and give examples of polynomials; M.4.2.2 Rewrite polynomials in standard form; M.4.2.3 Identify and give examples of the types of polynomial; M.4.2.4 Determine the degree of a polynomial; M.4.2.5 Factorize polynomials using the different methods;

M.4.2.6 Calculate the remainder of a polynomial using remainder theorem; M.4.2.7 Determine the factors of the polynomial using the long division and factor theorem.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Quadratic Equations

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving. Indicators:

M.4.2.8 Identify and give examples of quadratic equations; M.4.2.9 Determine the nature of the roots of quadratic equation; M.4.2.10 Solve the roots of quadratic equations by factorisation; M.4.2.11 Solve quadratic equation by completing the square; M.4.2.12 Derive the quadratic formula; M.4.2.13 Solve quadratic equations using the quadratic formula; M.4.2.14 Analyze and solve word problems involving quadratic equation.

Page 43: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Strand 4: Algebra Sub – strand: Parabola

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for problem-solving. Indicators: M.4.2.15 Define parabola;

M.4.2.16 Graph quadratic equations; M.4.2.17 Determine the maximum point and the minimum point of the parabola; M.4.2.18 Solve quadratic equations that has different solutions; M.4.2.19 Determine the roots of the quadratic equations by graphing.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks M.2.1.1- M.4.2.19 30 marks

M.4.2.5 – M.4.2.7 M.4.2.10 – M.4.2.14 M.4.2.16 – M.4.2.19

Authentic 20 marks M.2.1.1- M.4.2.19 Performance test 30 marks M.2.1.1-.M.2.1.3

M.2.2.1-.M.2.2.2 Portfolio 10 marks M.2.1.1 - M.4.2.19

Total 100 marks Assessment 1. Performance Assessment Topic / subject matter: Chapter 6-7: Trigonometry and Height and Distance

- Trigonometric Ratios - Trigonometric Ratios for Special Angles. - Trigonometric Ratios of Complementary Angles.

- Solve problems involving angles of elevation and depression. 2. Final Examination Topic / subject matter: Chapter 1: Factorization of Polynomials

- Factorize polynomials using the different methods. - Calculate the remainder of a polynomial using remainder theorem.

- Determine the factors of the polynomial using the long division and factor theorem. Chapter 2: Quadratic Equations

- Solve the roots of quadratic equations using the different methods. - Solve quadratic equations using the quadratic formula.

- Solve word problems involving quadratic equation.

Page 44: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Chapter 4: Parabola - Graph quadratic equations; - Determine the maximum point and the minimum point of the parabola; in the form of y = a(x-h)2 + k; when a≠0 and y = ax2+bx + c; when a≠0

References : Topic / subject matter: - My world of Math Secondary 3 St Gabriel’s Foundation

Page 45: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Science IE. Code: ว23201 Instructors : 1. Mr. Khemmatat Nakpan and 2. Mr. Walter P. Class Level : Primary........... Secondary 3 Semester 1 Academic year 2018

2 periods /week 40 periods/semester 1.0 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description : The science syllabus includes the measurement of physical quantities, speed, velocity, and acceleration. Students also learn about force, Newton’s laws of motion, force diagrams, and friction as a force, increase and reduction of friction, mass, weight, density, floating and sinking, pressure and liquid pressure. The students learn by using the scientific processes of inquiry and investigation. They will learn how to search for knowledge and present their findings. They will learn how decisions are made and be able to relate this to their daily lives in their own locality. Standard:

Strand Standard Strand 4: Forces and Motion

Sc 4.1: Understanding of the nature of electromagnetic, gravitational and nuclear forces; investigative process of seeking knowledge and applying acquired knowledge for useful and ethical purposes. Sc4.2: Understanding of characteristics and various types of motion of natural objects; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge for useful purposes.

Indicators : (Write the details in items) Unit 1 : Physical quantities and measurement Sc.4.1.1. Understand SI units and use various prefixes

Sc.4.1.2. Understand scalar and vector quantities, base and derived quantities. Sc.4.1.3. Understand scientific notation. Sc.4.1.4. Measure length, time, area and volume using different instruments. Sc.4.1.5. Use formula to calculate area and volume. Unit 2 : Kinematic Sc.4.2.1. Meaning distance, displacement, speed and velocity. Sc.4.2.2. Calculate speed and average speed using formula. Sc.4.2.3 Understand uniform and non- uniform acceleration Sc.4.2.4. Calculate uniform acceleration using formula. Sc.4.2.5. Understand that due to free fall near Earth is approx 10 2

ms

Page 46: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Unit 3 : Dynamics

Sc.4.1.6. How balanced and unbalance forces affect a body. Sc.4.1.7. Effect of force on motion. Sc.4.1.8. Identify forces acting on a body and draw free body diagram. Sc.4.1.9. Understand the effect of friction on the motion of a body. Unit 4 : Mass weight and density Sc.4.1.10. Understand that mass is measure of the amount of matter in an object whereas weight is a force. Sc.4.1.11. Calculate density using formula. Sc.4.1.12. Understand how density is related to floating and sinking. Unit 5 : Pressure and liquid pressure Sc.4.1.13. Understand the pressure depends on force and area over which the force acts. Sc.4.1.14. Use pressure= Force/ Area to solve problems. Sc.4.1.15. Calculate liquid pressure by using formula.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks Sc.4.1(1 – 15) Sc.4.2(1 – 5)

30 marks Sc.4.1(10 – 15 )

Authentic.....20......marks Sc.4.1(1 – 15) Sc.4.2(1 – 5)

Performance test.......30.......marks

Sc.4.1(1 – 9) Sc.4.2(1 – 5)

Portfolio .....10.......marks Sc.4.1(1 – 15) Sc.4.2(1 – 5)

Total …100…….. marks Assessment 1. Performance Assessment Topic / subject matter: Unit 1 Physical quantities Unit 2 Kinematics Unit 3 Dynamics 2. Final Examination Topic / subject matter: Unit 4 Mass weight and density Unit 5 Pressure and liquid pressure References : Topic / subject matter: My world of science Secondary 3 and Science websites

Page 47: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Social studies IE. Code ส 23201 Instructor: Ms.Rattana Amornratchai Class Level Primary ……… Secondary 3 Semester 1 Academic year 2017 2 periods / week 40 periods/semester 1 unit of learning Basic Subject Intensive Subject others......... Course Description: This course will be focused on Geography; the students will analyze, compare, and contrast the physical characteristic demographic trends different areas of the earth. They are able to learn how to use kinds of geographical tools and modern technology to search for information, furthermore; they will analyze the natural environments and resources of countries and regions of the world. Moreover, they will understand the relationship between economic and social systems. Students know the rights, responsibilities, regulations, situations and activities concerning with nature resources and environmental management. Finally, they can find out the proper ways to solve environmental problems in order to improve local environmental quality. Standard:

Strand Standard Strand 5: Geography So5.1 Understand the physical characteristics of the Earth and the relationship of various things in the natural system which affect one another: utilization of maps and geographical instruments for searching, and analysis, conclusion and efficient utilization of geo-data and information.

So. 5.1.1 Identify on a map the location of major physical and geographical features of each continent. So. 5.1.2 Analyze the influence of climate over a region and its population. (Europe, North America, South America, and Africa)

Strand 5: Geography So 5.2 Understanding of interrelationship between man and physical environment leading to cultural creativity: awareness of and participation in conservation of resources and the environment for sustainable development

So. 5.2.1 Analyze relationships between the cultural physical, economic and political characteristics and describe reasons that regions change over time in Europe, North America, South America, and Africa. So. 5.2.2 Specify guidelines for conservation of natural resources and environment in Europe, North America, South America, and Africa. So. 5.2.3 Explore and discuss environmental issues and problems in Europe, North America, South America, and Africa. So. 5.2.4 Analyze causes and continuing effects of environmental changes in Europe, North America, South America, and Africa.

Page 48: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Indicators: 1. Analyze and compare the physical characteristics and human beings’ modes of living in Europe, North America, South America and Africa.

2. Know how to use, and realize the significance of different kinds map, geographical tools in Europe, North America, South America and Africa.

3. Using geographical tools to search for information used in defining geographical terms in Europe, North America, South America and Africa. 4. Analyze the natural environment and resources of Europe, North America,

South America, and Africa. 5. Recognize the worth of the cultural environment of countries and regions around the world. 6. Evaluate the affects of man’s activities and changes in population and migration on problems

and crises within the natural and cultural environment in Europe, North America, South America, and Africa. 7. Have skills in studying and researching extensive environmental information and

apply to solve problems in Europe, North America, South America, and Africa Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

1.Communication .......10........marks 1-7 30 Marks

5-7 2. Authentic... 20.... marks 1-7

3. Performance test or Mid-Term Test…30...marks 1-7 5.Portfolio ...10...marks 1-7

Total 100 marks Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment Topic / subject matter: 1 .Paper test

Unit 1 The physical characteristic in Europe, North America, South America and Africa. 2. Listening test

Unit 1 The physical characteristic in Europe, North America, South America and Africa. 2. Final Examination Topic / subject matter:

Unit 2 The Society and Culture of Europe, North America, South America and Africa Unit 3 The Natural environment and resources of Europe, North America, South America and Africa: soil, water, forest and mineral

Unit 4 Environmental Crisis, Pollution and Solution: land, water and air. Reference: St. Gabriel’s Foundation.2012. Social Studies Textbook: Secondary 3 .India: Orient Black Swan

Page 49: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: EIE.2 Reading Code: อ23201 Instructors: Mr. Yuttana Petyotha Phongphaew Class Level Primary ……… Secondary 3 Semester 1 Academic year 2018 3 periods / week 60 periods/semester 1.5 unit of learning Basic Subject Intensive Subject others......... Course Description: This course employs both skill-based and genre-based approaches by providing a variety of text types including instructions (labels and manuals), official correspondence, narrative masterpiece, explanation (graphic information), external reading book 1, and values education book. Students will study as well as practice using several reading techniques so that they become more advanced readers who are able to decide and select the most appropriate way to read different text types. Introducing the reading strategies in this course comprises finding the main idea (implied main idea and various locations of main idea), analyzing supporting details, identifying facts and opinions (negative facts: not given and not true), drawing conclusions, summarizing and paraphrasing, and identifying author’s mood and tone. Student-centered learning such as self-study, pair work, group discussion and brainstorming will be applied in the classroom. This course places great emphasis on motivating students’ honesty, responsibility, discipline and attempt in learning. Students are expected to have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to school as well as positive attitude towards learning English. The Learning Standard: Strand 1: Language for Communication Use of foreign languages for listening, speaking, reading and writing, exchanging data and information, expressing feelings and opinions, interpreting, presenting data, concepts and views on various matters, and creating interpersonal relationships appropriately Standard F 1.1 Understanding of and capacity to interpret what has been heard and read from

various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning Indicator F 1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements and short poems by observing

the principles of reading. Indicator F 1.1.3 Specify and write various forms of non-text information related to sentences and

paragraphs heard or read. Indicator F 1.1.4 Choose/specify the topic, main idea and supporting details and express opinions

about what has been heard and read from various types of media, as well as provide justifications and examples for illustration.

Page 50: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Standard F 1.2 Possessing language communication skills for effective exchange of information; efficient expression of feelings and opinions

Indicator F 1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves, various matters around them, situations, news and matters of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately.

Indicator F 1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give information, explain, compare and express opinions about what has been heard or read.

Standard F 1.3 Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing Indicator F 1.3.2 Speak and write to summarise the main idea/theme and topic identified from

analysis of matters/news/incidents/situations of interest to society. Strand 2: Language and Culture Use of foreign languages harmonious with culture of native speakers; relationships, similarities and differences between languages and cultures of native speakers; languages and cultures of native speakers and Thai culture; and appropriate application Standard F 2.1 Appreciation of the relationship between language and culture of native

speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places Indicator F 2.1.2 Describe the lifestyles, customs and traditions of native speakers. Strand 3: Language and Relationship with Other Learning Areas Use of foreign languages to link knowledge with other learning areas, forming the basis for further development, seeking knowledge and broadening learners’ world views Standard F 3.1 Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as

foundation for further development and to seek knowledge and widen one's world view

Indicator F 3.1.1 Search for, collect and summarise the data/facts related to other learning areas from learning sources, and present them through speaking/writing.

Strand 4: Language and Relationship with Community and the World Use of foreign languages in various situations, both in the classroom and the outside community and the global society, forming a basic tool for further education, livelihood and exchange of learning with the global society Standard F 4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and

exchange of learning with the world community Indicator F 4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting and summarising knowledge

and various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Page 51: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

Evaluation and Assessment During the course Indicators Final

Examination Indicators

Communication 10 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4 30 marks

F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4, F1.2.1, F1.2.4, F1.3.2, F2.1.1, F3.1.1, F4.2.1

Authentic 20 marks F1.2.1, F1.2.4, F1.3.2 Performance Test 30 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4,

F1.2.1, F1.2.4, F1.3.2, F2.1.1, F3.1.1, F4.2.1

Portfolio 10 marks F3.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Assessment 1. Performance Assessment

- Skill-Based and Genre-Based Approaches Main Idea and Supporting Details Facts and Opinions Drawing Conclusions Summarizing and Paraphrasing

2. Final Examination - Reading Comprehension

References - My World of English 3 - Additional Documents

Page 52: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา หน้าที่พลเมือง 5 รหัส ส 23215 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธีรเมธ อาษากิจ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 / 2561 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา มีส่วนร่วมและแนะน าผู้อ่ืนให้อนุรักษ์มารยาทไทย ในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกและแนะน าผู้อ่ืนให้มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่อง ความซื่อสัต ย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและแนะน าผู้อ่ืนให้มีการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพรพระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีสติ ความขยัน อดทน หลักการทรงงาน ในเรื่องภูมิสังคม ขาดทุนคือก าไร และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรูและตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการติดตามข่าวสารบ้านเมือง ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเป็นผู้น าและการเป็นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของ ห องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ และรูทันข่าวสาร ปฏิบัติตน เป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ใฝ่หาความรู และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง เห็นคุณค่าของการอยูร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยค านึงถึง ความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพ่ึงพาซึ่งกันและกัน ในเรื่องการเคารพซึ่งกันและกัน ไมแสดงกิริยา และวาจาดูหมิ่นผู้อ่ืน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแกปัญหาความขัดแย้ง โดยสันติวิธีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ การใช้ของส่วนรวม ด้วยการเจรจาไกลเกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับ ความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝ่หาความรู ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ กระบวนการ แกปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้างเจตคต ิ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/จุดเน้น ( จ านวน 5 จุดเน้น) จุดเน้นที่ 1 ความเป็นไทย จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง

Page 53: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การวัดและการประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ผลการเรียนรู้

(ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ผลการเรียนรู้

(ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน จุดเน้นที่ 1 – 5

20 คะแนน จุดเน้นที่ 1 – 5

สภาพจริง 30 คะแนน จุดเน้นที่ 1 – 5 กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน จุดเน้นที่ 1 – 5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน จุดเน้นที่ 1 – 5 รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ(ทดสอบจากการปฏิบัติ) 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ รายละเอียดการสอบ 1. มีส่วนร่วมและแนะน าผู้อ่ืนให้อนุรักษ์มารยาทไทย 2. แสดงออกและแนะน าผู้อ่ืนให้มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ และเสียสละต่อสังคม 3. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย 4. เป็นแบบอย่างและแนะน าผู้อ่ืนให้มีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ 1. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1.เอกสารประกอบการเรียนที่ครูผู้สอนจัดท าขึ้น 2.หนังสือเรียนกิจกรรมรายวิชาเพ่ิมเติม หน้าที่พลเมือง 5 ทุกส านักพิมพ์

Page 54: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม รหัส ท๒๓๒๐๑ ครูผู้สอน มาสเตอร์ชาตรี ตั้งอัมพรตรีพล ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ จ านวน ๒ คาบ / สัปดาห์ ๔๐ คาบ / ภาคเรียน จ านวน ๑ หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ............................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติทางภาษา พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เรื่องราว ข้อมูล สื่อสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือสร้างความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปความคิดและประเมินค่าอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการ น าเสนอความรู้ แสดงคงวามคิดเห็น โต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จดหมายกิจธุระ เชิญวิทยากร ขอความช่วยเหลือ แสดงความขอบคุณ เขียนเรียงความสุภาษิต เขียนสรุปบันทึก ข้อความ เขียนย่อความจากสารคดี บทความ พระบรมราโชวาท จดหมาย ศึกษาธรรมชาติของภาษา กฎเกณฑ์ การแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องในการใช้ภาษาสื่อสาร ใช้ค าให้ตรงกับความหมาย การแต่งค าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ การใช้โวหารภาพพจน์ ถ้อยค าส านวนต่างประเทศและส านวนไทย วิเคราะห์ วิจารณ์ ตัวละครในวรรณกรรม วรรณคดี ให้เห็นคุณค่าและความงามทางภาษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา สืบเสาะแสวงหาความรู้ พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการคิด วเิคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ตีความ ประเมินค่า เพ่ือให้เกิดทักษะการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน อย่างภาคภูมิใจ มีนิสัยรักการอ่าน รักความเป็นไทย ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นท างานและมีจิตสาธารณะ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน ๒๖ ตัวช้ีวัด) ตัวช้ีวัด สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชี้วัด ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ตัวชี้วัด ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๗, ๑๐ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ ตัวชี้วัด ๑, ๒, ๓, ๖ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัด ๑, ๖ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ ตัวชี้วัด ๒, ๓, ๔ มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต และ

มีนิสัยรักการอ่าน ๒) ระบุความแตกต่างของค าที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ๓) ระบุใจความส าคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน ๔) อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ๕) วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น ๖) ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน ๗) วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การล าดับความ และความเป็นไปได้ของเรื่อง ๘) วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน ๙) ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดท่ีได้จากงานเขียนเพ่ือน าไปแก้ปัญหาในชีวิต ๑๐) มีมารยาทในการอ่าน

Page 55: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ๑) คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒) เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยค าได้ถูกต้องตามระดับภาษา ๓) เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องต่างๆ ๔) เขียนย่อความ ๕) เขียนจดหมายกิจธุระ ๗) เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆ ๑๐) มีมารยาทในการเขียน มาตรฐานที่ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส

ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ๑) แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู ๒) วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู เพื่อน าข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต ๓) พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ๖) มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ๑) จ าแนกและใช้ค าภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ๖) แต่งบทร้อยกรอง มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และน ามา

ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๒) วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ๓) สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่ือน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

๔) ท่องจ าและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีก าหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและน าไปใช้ อ้างอิง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บ ระหว่างภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค)

คะแนน ปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๑.๑ (๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐)

คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

มาตรฐาน ท ๑.๑ (๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐) มาตรฐาน ท ๒.๑ (๒, ๔, ๑๐) มาตรฐาน ท ๓.๑ (๑, ๒, ๓, ๖) มาตรฐาน ท ๔.๑ (๓) มาตรฐาน ท ๕.๑ (๒, ๓)

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๒.๑ (๑, ๓, ๕, ๗, ๑๐) มาตรฐาน ท ๕.๑ (๔)

๓. กลางภาค/ปฏิบัติ ๓๐ คะแนน มาตรฐาน ท ๑.๑ (๓, ๕, ๖, ๘) มาตรฐาน ท ๒.๑ (๓, ๕, ๑๐) มาตรฐาน ท ๔.๑ (๖)

๔. แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๕.๑ (๒, ๓) รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 56: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค รายละเอียดการสอบ ตอนที่ ๑ ข้อสอบแบบปรนัย - การเขียนจดหมายราชการ - การเขียนเรียงความสุภาษิต - การอ่านสรุปจับใจความ การอ่านคิดวิเคราะห์ ตีความ และประเมินค่า ตอนที่ ๒ ข้อสอบแบบอัตนัย - การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ ๒. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ - ข้อบกพร่องในการใช้ภาษาไทย - การเขียนย่อความ - หลักการสรุปจับใจความส าคัญ - การใช้ภาพพจน์และรสวรรณคดี หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

๑. หนังสือกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์วัชรพงศ์ โกพุทธธรรมวิบูลย์ ๒. หลักและการใช้ภาษาไทยของกรมวิชาการและอาจารย์ก าชัย ทองหล่อ

Page 57: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาต่างประเทศ(ภาษาจีน) รหัส จ23401 ครูผู้สอน 1. มิสสิรวิิมนต์ รัฐนันท์วดีกุล 2. Master Qin Yi ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 /2561 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 14 คาบ / ภาคเรียน จ านวน ……-…….. หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ วิชาชมรม ค าอธิบายรายวิชา

นักเรียนได้ฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาจีนระดับต้น การเขียนตัวอักษรจีน ค าศัพท์ โดยสอนวิธีการเขียนและการพัฒนาอักษรเดี่ยวที่มาจากรูปภาพ ประวัติความเป็นมาของอักษรจีน การฟังและปฏิบัติตามค าสั่งง่าย ๆ ฟังเข้าใจความหมายของค าศัพท์ระดับต้น มีความสนใจต่อการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในด้านภาษาจีน และสามารถใช้ ภาษาจีนกลางในการติดต่อสื่อสารได้ในระดับขั้นต้นได้ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 5 ตัวช้ีวัด ) สาระท่ี 1. ภาษาเพ่ือการสื่อสาร 2. ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต.1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต.1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่าง มีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต.1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆโดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต.2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ

กาลเทศะ มาตรฐาน ต.2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและ วัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกและเหมาะสม ตัวช้ีวัด

1. ปฏิบัติตามค าขอร้อง ค าแนะน า ค าชี้แจง และค าอธิบายง่ายๆที่ฟังและอ่าน 2. พูดและเขียนแสดงความต้องการและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับ ปฏิเสธ ในสถานการณ์ต่างๆ

3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมเรื่องใกล้ตัวและประสบการณ์ พร้อมให้เหตุผลสั้นๆประกอบ 4. ใช้ภาษา น้ าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของจีน

5. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่วัฒนธรรมของจีนกับของไทย การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค) 1. การสื่อสาร …10… คะแนน 1,2,3,4 30 คะแนน 2,4,5 2.สภาพจริง …20… คะแนน 2,3,4 3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน 2,4,5 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 2,4 รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หมายเหตุ ใช้เป็นเกณฑ์ประเมินผลการเรียนว่า “ผ่าน”หรือ”ไม่ผ่าน”

Page 58: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ รายละเอียดการสอบ บทที่ 1 ทบทวน 1 ถามเกี่ยวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) ค าศัพท์และบทสนทนาในบทเรียน เช่น การเขียนตามค าบอกจาก ค าศัพท ์ที่ได้ยินเป็นพินอิน บทที่ 2 เมื่อวานนี้ท าไมเธอไม่ได้มาเรียน ถามเกี่ยวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) ค าศัพท์และบทสนทนาในบทเรียน เช่น การ ถามค าศัพท์เกี่ยวกับอาการป่วย หรือการเรียงประโยคบทสนทนาให้ถูกต้อง เป็นต้น 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ บทที่ 3 ฉันวางแผนไปเซี่ยงไฮ้ ถามเกี่ยวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) ค าศัพท์และบทสนทนาในบทเรียน เช่น การถาม ค าศัพท์ใน บทเรียนโดยการเติมล าดับเขียนที่หายไปได้อย่างสมบูรณ์ บทที่ 4 เบอร์โทรศัพท์ของลี่ลี่คือหมายเลขอะไร ถามเกี่ยวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) ค าศัพท์และบทสนทนาในบทเรียน เช่น การเขียนตามค าบอกจากค าศัพท์ที่ได้ยินเป็นพินอิน หรือการเรียงประโยคบทสนทนาให้ถูกต้อง เป็นต้น หมายเหตุ ใช้เป็นเกณฑ์ประเมินผลการเรียนว่า “ผ่าน”หรือ”ไม่ผ่าน” หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือเรียนภาษาจีน เล่ม 6 (中文新天地 第六册 ) - บัตรค าอ่านสัทอักษร - สื่ออิเล็กทรอนิกส์อ่ืน ๆ - สื่อนวัตกรรม ภาพเคลื่อนไหว

Page 59: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/courseoutline/term1/m3.pdf · การทดสอบ ๑. สอบกลางภาค