หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

135

description

 

Transcript of หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

Page 1: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
Page 2: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

1

หลักสตูรเภสชัศาสตรบัณฑิต

(หลักสตูรปรับปรุง พ.ศ. 2552)

คณะเภสชัศาสตร มหาวิทยาลยัศลิปากร

1. ชื่อหลักสูตร

1.1 ภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต

1.2 ภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy Program

2. ชื่อปริญญา

2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต

2.2 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy

2.3 ชื่อยอภาษาไทย : ภ.บ.

2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ : Pharm.D.

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

4. ความเปนมา ปรัชญา และวัตถุประสงคของหลักสูตร

4.1 ความเปนมา

วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพท่ีเกี่ยวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรของการ

เสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นเปนยาสําเรจ็รปู

ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพื่อบําบัด บรรเทา ปองกัน

พิเคราะหโรค และสรางเสริมสุขภาพ วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกําหนดจดจํา

เอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให

เสื่อมคุณภาพ การปรุง การผสม การวิเคราะห และทําใหไดมาตรฐานตามกําหนดของยาและ

เวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีการผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย

การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวาจะ

เปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะอื่นใด รวมทั้ง

สัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใตกรอบ

บัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ

Page 3: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

2

ในปจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาเภสัชศาสตรในประเทศตาง ๆ เชน

สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศญี่ปุน มีแนวโนมเนนการปรับหลักสูตรเพื่อใหเภสัช

กรมีความพรอมทั้งดานองคความรูและประสบการณจริงในการดูแลกระบวนการใชยาในประชาชน

โดยตรงมากขึ้น เพื่อมุงใหเกิดสัมฤทธิ์ผลของยาตอประชาชนและสงเสริมคุณภาพชีวิต (Quality of life)

ของประชาชนเปนหลัก บทบาทของเภสัชกรตามความตองการของตลาดและสังคมในปจจุบันจึงมิได

สิ้นสุดอยูเพียงแคการผลิต การจัดซื้อจัดหา การกระจายยาและสงมอบยาแกประชาชนเทานั้น แตได

ขยายขอบเขตของบทบาทหนาที่ใหครอบคลุมถึงการใชยาของประชาชน การติดตามประเมินผลอัน

เกิดจากการใชยาของประชาชนและชุมชน การคุมครองผูบริโภค การแกปญหาสุขภาพชุมชน การ

บริหารจัดการงานเภสัชกรรม รวมถึงการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนองความตองการในการพึ่งพาตนเอง

ของประเทศในดานอุตสาหกรรมยารองรับเทคโนโลยีขั้นสูง และการถายทอดเทคโนโลยี ซึ่งมี

บทบาทเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยา บทบาทวิชาชีพดังกลาวนํามาซึ่งความจําเปนท่ีจะตองเพิ่มทั้งเนื้อหา

และการฝกปฏิบัติงาน มาตรฐานการศึกษาเภสัชศาสตรในสากล จึงมุงสูระบบการศึกษา 6 ป มากขึ้น

จากทิศทางขางตน ประกอบกับสภาเภสัชกรรมไดออกขอบังคับเภสัชกรรมวาดวยการ

รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันตาง

ๆ ซึ่งสภาเภสัชกรรมจะรับรองหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป เพียงหลักสูตรเดียวในป พ.ศ.

2557 และใชเปนเงื่อนไขในการสมัครเขาเปนสมาชิก และสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได

ซึ่งถือเปน entry level degree บัณฑิตทางเภสัชศาสตรที่สําเร็จการศึกษาในป พ.ศ. 2557 จะตอง

สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป เทานั้น ดังนั้นคณะฯ จึงปรับปรุงหลักสูตร

เภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป ในครั้งนี้ขึ้นเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดของสภาเภสัชกรรม และเพื่อให

หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยาง

รวดเร็ว โดยบัณฑิตท่ีไดจากหลักสูตรจะเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบ

วิชาชีพเภสัชกรรม

4.2 ปรัชญา

มุงผลิตบัณฑิตใหเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัช

กรรม พ.ศ.2545 มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ

4.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร

วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตร ตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต

6 ป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 มีดังนี้

4.3.1 วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตรควรมีลักษณะทั่วไปดังนี้

1. มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาท

ของเภสัชกรที่ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้----*--น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

Page 4: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

3

2. มีความรอบรูในศิลปวิทยาตาง ๆ สมกับเปนเภสัชกรที่ดี ที่ เพียบพรอมดวย

คุณธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธอันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอ

หนวยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพ

เพื่อบริการประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล

3. มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไป

ตลอดชีวิต เย่ียงวิชาชีพอื่น ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได

4. มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมือ่รวม

ทํางานกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน

5. มีความตระหนักรูซึ้งถึงความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพทั้งของตนเอง ของ

วิทยาการ และของวิชาชีพ ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่รองรับและกําหนดไวตามพันธกิจและ

ภารกิจเพื่อบรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และ

ในการคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงขึ้นไปอีกตามทิศทางและ

แนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป

6. มีทักษะทางวิชาชีพที่จําเปนในการปฏิบัติงาน

4.3.2 วัตถุประสงคเฉพาะ นักศึกษาเภสัชศาสตร ควรเปนผูมีความรูความสามารถดาน

วิชาการ ดังนี้

1. ความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเภสชักรรมทั่วไป

ตามพระราชบัญญตัิวิชาชีพเภสชักรรม พ.ศ.2545 และ

2. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานการบริบาลทางเภสัชกรรมไดแก

- การติดตามการใชยาของผูปวยในโรงพยาบาลและสถานปฏิบัติการเภสัช

กรรมชุมชน

- การวิเคราะหปญหาการใชยาในผูปวยแตละราย การไตรตรองวินิจฉัยผล

ของยาที่มีตอรางกายทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษรวมทั้งการประเมินผล

การใชยาในลักษณะตาง ๆ

- การวางแผนการรักษาดวยยา ในผูปวยแตละรายไดอยางเหมาะสม

- การวิจัยดานการบริบาลทางเภสัชกรรม หรือ

3. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานวิทยาการเภสัชศาสตรไดแก

- การประยุกตองคความรู เชิงลึก ดานการผลิต การประกันและหรือการ

ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑยา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพอื่น ๆ ใน

การแกไขปญหาการผลิต การประกันและหรือการควบคุมคุณภาพ

Page 5: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

4

- การคนควาวิจัยและพัฒนายา ผลิตภัณฑยา เคร่ืองสําอางและผลิตภัณฑ

สงเสริมสุขภาพท่ีมีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑสากลเพื่อการ

พัฒนาประเทศในการพึ่งพาตนเอง หรือ

4. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารไดแก

- การคุมครองผูบริโภคดานยา อาหาร เคร่ืองสําอางและผลิตภัณฑสุขภาพ

และอื่นๆ เชน วัตถุอันตราย สารเคมี ฯ

- การสื่อสารดานขอมูลความรูเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพ รวมถึงการ

แนะนําการปฏิบัติตัวในการใชยากับประชาชนและบุคลากรทางการแพทย

ที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ

- การประยุกตความรูเพื ่อการบริหารจัดการงานเภสัชกรรมในลักษณะ

ตางๆ

- การคนหาปญหาสาธารณสุข และเสนอแนวทางในการแกไข/ ปองกัน

ปญหาที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามการใชยาและผลิตภัณฑสุขภาพใน

ชุมชน

- การคนควาวิจัยดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร หรือ

5. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสขุภาพ

ไดแก

- การจัดเก็บขอมูลขาวสารดานเภสัชกรรม และดานสุขภาพอยางเปนระบบ

เพื่อความสะดวกในการเรียกใชขอมูลสําหรับการตัดสินใจหรือการ

ดําเนินการตาง ๆ

- การดูแลบํารุงรักษาระบบขอมูลขาวสารดานเภสัชกรรมและดานสุขภาพ

รวมถึงระบบความปลอดภัยของขอมูลขาวสาร

- การสืบคน และการเรียกใชขอมูลจากแหลง หรือจากฐานขอมูลตาง ๆ

รวมถึงการประเมิน วิเคราะห และสรุปผลขอมูลเพื่อการนําเสนอในรูปแบบ

ตาง ๆ

- การประยุกตความรูและทักษะดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ

สุขภาพในงานบริบาลทางเภสัชกรรมและการวิจัยและพัฒนายา และ

ผลิตภัณฑยา

- งานวิจัยดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ

5. กําหนดการเปดสอน

เร่ิมเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2552

Page 6: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

5

6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา

6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ

6.2 มีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญา

บัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) หรือ

6.3 ผูสําเ ร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานตาง ๆ ให

สามารถเขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มี

สิทธิไดรับการพิจารณาเทียบโอนและ / หรือยกเวนรายวิชาและหนวยกิตจากหนวยกิตที่

สําเร็จการศึกษา ทั้งนี้จํานวนรายวิชาและหนวยกิตที่ไดรับการเทียบโอน และ/หรือยกเวน

จะเปนไปตามดุลยพินิจของคณะกรรมการประจําคณะฯ แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลา

ศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 10 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 5 ปการศึกษาปกติ

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา

เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ

ตามลักษณะเฉพาะของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผานการสอบคัดเลือกของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับนักศึกษาเภสัช

ศาสตรสอบตรง (Direct Admissions) โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ / หรือหนวยงาน

โครงการอื่นใด

8. ระบบการศึกษา

8.1 การจัดการศึกษาใชระบบหนวยกิตทวิภาคหรือระบบอื่นที่เทียบเทา โดยระบบหนวยกิต

ทวิภาคนั้น หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา

ศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห

8.2 การคดิหนวยกิต

8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห

8.2.2 รายวิชาปฏิบตัิการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห

8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิตเทากับ 60 ชั่วโมง ตอภาคการศกึษาปกต ิ

8.2.4 การเรียนการสอนแบบโครงการ 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศกึษาปกติ

8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิตในแตละรายวิชากําหนดเกณฑในการกําหนดคาของหนวย

กิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอก

เวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลวหารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้

จํานวนหนวยกิต = บ + ป + น

3

Page 7: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

6

การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บเปนจํานวน

หนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติ และศึกษา

ดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จํานวนหนวยกิต ตัวเลขใน

วงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง

หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน

8.4 หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

9. ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 6 ป ทั้งนี้ไมเกิน 12 ป

10. การลงทะเบียนเรียน

การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับปริญญา

บัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา

11.1 การวัดผลการศึกษา

ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง

11.2 การสําเร็จการศึกษา

ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี้

11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เขาศึกษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2

เทาของระยะเวลาการศึกษา

11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00

11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00

11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนท่ีพอใจ ไมนอยกวา 2,000

ชั่วโมงปฏิบัติการ

11.2.5 ตองผานรายวิชาจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีกไมนอยกวา

135 ชั่วโมงปฏิบัติการ

11.2.6 ตองผานการเขารวมกิจกรรมตามประกาศที่คณะฯกําหนด

12. อาจารยผูสอน

12.1 อาจารยประจําหลักสูตร

Page 8: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

7

12.1.1 เภสัชกร รองศาสตราจารย ดร.ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน

12.1.2 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ดร.มนฤดี สุขมา

12.1.3 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย นุชนาฏ กิจเจริญ

12.1.4 เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย จันคนา บูรณะโอสถ

12.1.5 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ปารณีย มีแตม

12.2 อาจารยประจํา (ภาคผนวก ข)

12.3 อาจารยพิเศษ (ประกาศเปนรายป)

13. จํานวนนักศึกษา

ชั้นปท่ี จํานวนนักศกึษา (คน)

ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557

1 180 180 180 180 180 180

2 - 180 180 180 180 180

3 - - 180 180 180 180

4 - - - 180 180 180

5 - - - - 180 180

6 - - - - - 180

รวม 180 360 540 720 900 1080

จํานวนท่ีคาดวาจะสําเร็จ

การศึกษา

- - - - - 180

14. สถานที่และอุปกรณการสอน

14.1 สถานที่

ใชอาคารคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

ที่มีรายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับตาง ๆ

โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของกับงานและวิชาชีพเภสัชกรรม ทั้งภาครัฐและ

ภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพื่อเสริมทักษะและประสบการณการเรียนรูของนักศึกษาให

สามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป

14.2 อุปกรณการสอน

อ ุปกรณและคร ุภ ัณฑการศ ึกษาของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาล ัยศ ิลปากร แ ละ

หนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 9: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

8

15. หองสมุด

หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย

ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เกี่ยวของอื่น ๆ

รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยศิลปากร

ดังนี้

หนังสอื ภาษาไทย จํานวน 6,125 รายการ

ภาษาอังกฤษ จํานวน 4,355 รายการ

วารสาร ภาษาไทย จํานวน 40 ชือ่เรื่อง

ภาษาอังกฤษ จํานวน 60 ชือ่เรื่อง

ฐานขอมลู

1. ฐานขอมูลที่หอสมดุกลาง มหาวิทยาลัยศลิปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมลู ไดแก

1.1 ฐานขอมลู SpringerLink (มีท้ัง journal และ e-book)

1.2 ฐานขอมลู Netlibrary (e-book)

2. ฐานขอมูลทีส่ํานกังานคณะกรรมการการอดุมศึกษา รวมกับ ThaiLIS (Thai Library

Integrated System) บอกรับ จํานวน 5 ฐานขอมลู ไดแก

2.1 ฐานขอมลู Sciences Direct

2.2 ฐานขอมลูบทความวารสารของ H.W.Wilson ไดแก

2.2.1 ฐานขอมลู Applied Science & Technology

2.2.2 ฐานขอมลู General Science Fulltext

2.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract

2.3 ฐานขอมลู ISI Web of Science (ฐานขอมลู Citation ดานวิทยาศาสตรและ

สังคม

2.4 ฐานขอมลู Proquest (ฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปรญิญาโท/เอกของ

ตางประเทศ

2.5 ฐานขอมลู Dissertation Abstracts Online (DAO)

นอกจากนี้ยังมีฐานขอมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตรและที่เกี่ยวของ ไมนอยกวา 1,482

พันลานตัวอักษร 1,482 Gigabytes (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบันเครือขาย

ความรวมมือทางเภสัชศาสตร)

Page 10: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

9

16. งบประมาณ

16.1 ใชงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน

ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจําปตามแผนงาน งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร

16.2 คาใชจายในการผลิตบัณฑิต 1 คน เปนจํานวนประมาณ 100,000 บาท/คน/ป ทั้งนี้โดยใช

หลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน

17. หลักสูตร

17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลกัสูตร ไมนอยกวา 237 หนวยกิต

17.2 โครงสรางหลักสูตร 17.2.1 หมวดวิชาศกึษาทั่วไป 30 หนวยกิต

17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ 201 หนวยกิต

- วิชาพื้นฐานวชิาชีพ 47 หนวยกิต

- รายวิชาบังคับวิชาชีพ 130 หนวยกิต

กลุมวิชาทางดานผลิตภัณฑ 35 หนวยกิต

กลุมวิชาทางดานผูปวย 42 หนวยกิต

กลุมวิชาทางดานเภสชัศาสตรสังคม

และการบริหาร 14 หนวยกิต

กลุมวิชาการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ 36 หนวยกิต

รายวิชาจุลนิพนธ 3 หนวยกิต

- รายวิชาเลือกวิชาชีพ 24 หนวยกิต

17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

รวม 237 หนวยกิต

17.3 รายวิชา

รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวน

วรรคหนึ่งชวงระหวางเลขสามหลักแรกและสามหลักหลัง

ตัวเลขสามหลักแรก เปนเลขประจําหนวยงานท่ีรับผิดชอบรายวิชานั้น เชน

080 มหาวิทยาลัยศิลปากร

550, 551 คณะเภสชัศาสตร

561 ภาควิชาชีวเภสชัศาสตร

562 ภาควิชาเภสชักรรม

Page 11: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

10

563 ภาควิชาเภสชักรรมชุมชน

564 ภาควิชาเภสชัเคมี

565 ภาควิชาเภสชัวิทยาและพษิวิทยา

566 ภาควิชาเภสชัเวท

567 ภาควิชาเทคโนโลยเีภสัชกรรม

568 ภาควิชาสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหสัวิชา

เลขตัวแรก

1-3 หมายถึง รายวชิาในระดับปริญญาบัณฑิต

4-9 หมายถึง รายวชิาในระดับบณัฑิตศกึษา

เลขตัวที่สองและสาม หมายถึงลําดับที่ของรายวิชา

1. หมวดวิชาศกึษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1.1 วิชาบังคับ จํานวน 24 หนวยกิต

ใหนกัศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้

กลุมวิชาภาษา จํานวน 15 หนวยกิต

080 176 ภาษากับการสื่อสาร

(Language and Communication)

3(3-0-6)

080 177 ภาษาอังกฤษ 1

(English I)

3(2-2-5)

080 178 ภาษาอังกฤษ 2

(English II)

3(2-2-5)

550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1

(English for Pharmacy Students I)

3(2-2-5)

550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2

(English for Pharmacy Students II)

3(2-2-5)

กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต

080 122 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ

(Professional Ethics)

2(2-0-4)

550 153 หลักการออกแบบเบื้องตน

(Basic Principle of Design)

2(1-3-2)

Page 12: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

11

กลุมวิชาสังคมศาสตร จาํนวน 2 หนวยกิต

080 144 หลักการวิจัย

(Principles of Research)

2(2-0-4)

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 3 หนวยกิต

ใหเลอืกลงทะเบียนเรยีนจากรายวิชาตาง ๆ ดงัตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการ

ประจําคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ

080 153 วิทยาศาสตรกับชีวิตประจําวัน

(Science and Everyday Life)

3(3-0-6)

080 156 มลพิษสิ่งแวดลอม

(Environmental Pollution)

3(3-0-6)

080 162 กระบวนการแกปญหา

(Problem Solving Process)

3(3-0-6)

080 168 พลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อชีวิต

(Energy and Environment of Life)

3(3-0-6)

080 171 เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดลอม

(Clean Technology and Enivironment)

3(3-0-6)

1.2 วิชาเลอืก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต

ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจํา

คณะฯ พิจารณาเห็นชอบ

080 101 มนุษยกับการสรางสรรค

(Man and Creativity)

3(3-0-6)

080 107 ดนตรีวิจักษ

(Music Appreciation)

2(2-0-4)

080 114 ศิลปวิจักษ

(Art Appreciation)

2(2-0-4)

080 117 วรรณคดีวิจักษ

(Literary Appreciation)

2(2-0-4)

080 119 อารยธรรมตะวันออก

(Eastern Civilization)

2(2-0-4)

080 127 จิตวิทยาเบื้องตน

(Introduction to Psychology)

2(2-0-4)

Page 13: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

12

080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน

(Economics in Everyday Life)

2(2-0-4)

080 135 กฎหมายกับสังคม

(Law and Society)

2(2-0-4)

080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1

(Basic French I)

3(2-2-5)

080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2

(Basic French II)

3(2-2-5)

080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1

(Basic German I)

3(2-2-5)

080 184 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2

(Basic German II)

3(2-2-5)

080 187 ภาษาจีนเบื้องตน 1

(Basic Chinese I)

3(2-2-5)

080 188 ภาษาจีนเบื้องตน 2

(Basic Chinese II)

3(2-2-5)

080 189 ภาษาญี่ปุนเบือ้งตน 1

(Basic Japanese I)

3(2-2-5)

080 190 ภาษาญี่ปุนเบือ้งตน 2

(Basic Japanese II)

3(2-2-5)

415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉยีงใต

(Southeast Asian World)

2(2-0-4)

449 106 การอนุรกัษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

(Conservation of Resources and Environment)

2(2-0-4)

554 101 สมุนไพรพื้นฐาน*

(Elementary Herbal Medicines)

3(3-0-6)

554 102 ความรูพื้นฐานดานยา*

(Basic Drug Knowledge)

3(3-0-6)

554 103 มนุษยกับสารพิษ *

(Man and Toxic Substances)

3(3-0-6)

554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ *

(Food for Health)

3(3-0-6)

Page 14: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

13

* หมายเหต ุ เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ

ขอลงทะเบียนไดโดยไมนับเปนหนวยกิตรายวิชาคณะในการสําเร็จการศึกษา แตนับ

รวมเปนหนวยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได

2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวนหนวยกิต 201 หนวยกิต

2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 47 หนวยกิต

ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้ หรือรายวิชาอื่นที่คณะกรรมการประจําคณะฯ

พิจารณาวาเทียบเทา

2.1.1 วิชาคณิตศาสตรและสถิติ จํานวน 8 หนวยกิต

550 101 การประยกุตคอมพิวเตอรขัน้พื้นฐานทางเภสชัศาสตร

(Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences)

2(1-3-2)

511 103 แคลคูลสัสําหรับนกัวิทยาศาสตรชีวภาพ

(Calculus for Biological Scientists)

3(3-0-6)

515 203 สถติิสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(Statistics for Pharmacy Students)

3(2-2-5)

2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน จํานวน 21 หนวยกิต

512 106

ชีววิทยาทั่วไป

(General Biology)

4(4-0-8)

512 107 ปฏิบัตกิารชีววิทยาทั่วไป

(General Biology Laboratory)

1(0-3-0)

513 108 เคมีท่ัวไปสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(General Chemistry for Pharmacy Students)

4(4-0-8)

513 220 เคมีฟสิคัล

(Physical Chemistry)

3(3-0-6)

513 256 หลักเคมอีนิทรีย

(Principles of Organic Chemistry)

4(4-0-8)

514 109 ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(General Physics for Pharmacy Students)

4(4-0-8)

514 110 ปฏิบัตกิารฟสิกสทั่วไปสําหรับนกัศกึษาเภสชัศาสตร

(General Physics Laboratory for Pharmacy Students)

1(0-3-0)

Page 15: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

14

2.1.3 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 18 หนวยกิต

561 104 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุลสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy Students)

2(2-0-4)

561 105 สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Human Physiology for Pharmacy Students)

5(5-0-10)

561 135 ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Human Physiology Laboratory for Pharmacy Students)

1(0-3-0)

561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Biochemistry for Pharmacy Students)

3(3-0-6)

561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Microbiology for Pharmacy Students)

3(3-0-6)

561 206 วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Immunology for Pharmacy Students)

1(1-0-2)

561 207 พยาธิวิทยาทั่วไป

(General Pathology)

1(1-0-2)

561 234 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Biochemistry Laboratory for Pharmacy Students)

1(0-3-0)

561 235 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Microbiology Laboratory for Pharmacy Students)

1(0-3-0)

2.2. รายวิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 130 หนวยกิต

2.2.1 กลุมวิชาดานผลิตภัณฑ จํานวน 35 หนวยกิต

564 111 เภสัชอนินทรียเคมี

(Inorganic Pharmaceutical Chemistry)

1(1-0-2)

564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี

(Pharmaceutical Chemistry Laboratory)

1(0-3-0)

564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1

(Pharmaceutical Quality Control I)

3(3-0-6)

564 132 ปฏิบัตกิารการควบคุมคณุภาพยา 1

(Pharmaceutical Quality Control Laboratory I)

1(0-3-0)

564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

(Pharmaceutical Quality Control II)

3(3-0-6)

Page 16: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

15

564 233 ปฏิบัตกิารการควบคุมคณุภาพยา 2

(Pharmaceutical Quality Control Laboratory II)

1(0-3-0)

566 101 เภสัชพฤกษศาสตร

(Pharmaceutical Botany)

2(1-3-2)

566 111 เภสัชเวท 1

(Pharmacognosy I)

3(3-0-6)

566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1

(Pharmacognosy Laboratory I)

1(0-3-0)

566 211 เภสัชเวท 2

(Pharmacognosy II)

2(2-0-4)

566 221 ปฏิบัตกิารเภสชัเวท 2

(Pharmacognosy Laboratory II)

1(0-3-0)

567 265 หลักการผลิตท่ีด ี1

(Good Manufacturing Practice I)

1(1-0-2)

567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1

(Pharmaceutical Technology I)

1(1-0-2)

567 267 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2

(Pharmaceutical Technology II)

3(3-0-6)

567 268 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3

(Pharmaceutical Technology III)

2 (2-0-4 )

567 269 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4

(Pharmaceutical Technology IV)

2 (2-0-4)

567 270 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5

(Pharmaceutical Technology V)

2(2-0-4)

567 271 เทคโนโลยีเภสชักรรม 6

(Pharmaceutical Technology VI)

1(1-0-2)

567 287 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2

(Pharmaceutical Technology Laboratory II)

1(0-3-0)

567 288 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3

(Pharmaceutical Technology Laboratory III)

1(0-3-0)

567 289 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4

(Pharmaceutical Technology Laboratory IV)

1(0-3-0)

Page 17: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

16

567 290 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5

(Pharmaceutical Technology Laboratory V)

1(0-3-0)

2.2.2 กลุมวิชาทางดานผูปวย จํานวน 42 หนวยกิต

561 211 ชีววัตถุ

(Biologics)

2(2-0-4)

562 362 เภสชับําบัด 2

(Pharmacotherapeutics II)

5(4-3-8)

562 363 เภสัชกรรมการจายยา

(Dispensing Pharmacy)

3(2-3-4)

562 364 หลักการพื้นฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล

(Principles of Hospital Pharmacy)

2 (2-0-4)

562 365 เภสัชกรรมปฏิบัติ

(Pharmacy Practice)

4(3-3-6)

562 366 บริการเภสัชสนเทศ

(Drug Information Services)

2 (1-3-2)

562 367 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

(Biopharmaceutical and Pharmacokinetics)

3 (3-0-6)

564 211 เคมีทางยา 1

(Medicinal Chemistry I)

3(3-0-6)

564 212 เคมีทางยา 2

(Medicinal Chemistry II)

4(4-0-8)

565 353 เภสัชวิทยา 1

(Pharmacology I)

4(4-0-8)

565 354 เภสัชวิทยา 2

(Pharmacology II)

4(4-0-8)

565 355 เภสัชบําบัด 1

(Pharmacotherapeutics I)

3 (2-3-4)

565 356 พิษวิทยา

(Toxicology )

2 (2-0-4)

565 357 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา

(Pharmacology Laboratory)

1(0-3-0)

Page 18: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

17

2.2.3 กลุมวิชาทางดานเภสชัศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 14 หนวยกิต

550 151 เภสัชนิเทศ

(Pharmacy Orientation)

1(1-0-2)

563 251 สาธารณสุขพื้นฐาน

(Basic Public Health)

2(2-0-4)

563 256 นิติเภสัช

(Pharmacy Law)

1(1-0-2)

563 257 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1

(Basic Pharmacy Administration I)

2(2-0-4)

563 258 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2

(Basic Pharmacy Administration II)

2(1-3-2)

563 259 ระบบสุขภาพ

(Health System)

2(2-0-4)

563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร

(Principles of Pharmacoepidemiology and Pharmacoeconomics)

1(1-0-2)

563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ

(Communication and Health)

1(0-3-0)

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Health Informatics)

2 (1-3-2)

2.2.4 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรม จํานวน 36 หนวยกิต

2.2.4.1 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพภาคบังคับ จํานวน 6 หนวยกิต

550 251 การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานสุขภาพ

(Experiential Learning in Pharmacy Setting)

1(ไมนอยกวา 60 ชั่วโมง)

550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

(Professional Practice)

5(ไมนอยกวา 400 ชั่วโมง)

2.2.4.2 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมสาขา จํานวน 30 หนวยกิต

รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 30 หนวยกิต

551 331 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 1

(Pharmaceutical Sciences Clerkship I)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 332 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2

(Pharmaceutical Sciences Clerkship II)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

Page 19: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

18

551 333 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3

(Pharmaceutical Sciences Clerkship III)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 334 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 4

(Pharmaceutical Sciences Clerkship IV)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 335 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 5

(Pharmaceutical Sciences Clerkship V)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 336 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 6

(Pharmaceutical Sciences Clerkship VI)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 30 หนวยกิตประกอบดวย

บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 20 หนวยกิต

551 337 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

อายุรศาสตร

(Pharmaceutical Care Clerkship in Medicine)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 338 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางการ

ดูแลผูปวยนอก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 339 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

เภสัชกรรมชุมชน

(Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 340 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

บริการเภสัชสนเทศ

(Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 10 หนวยกิต

551 341 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 342 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

เภสัชกรรมสถานพยาบาล

(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

Page 20: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

19

551 343 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

กุมารเวชศาสตร

(Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 344 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางผูสูงอายุ

(Pharmaceutical Care Clerkship in Geriatrics)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 345 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสชักรรมทางโรคติดเชือ้

(Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 346 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสชักรรมทางโรคหัวใจ

และหลอดเลอืด

(Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 347 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมโดยใชขอมูล

อิเล็กทรอนิกสของการดูแลผูปวย

(Pharmaceutical Care Clerkship in Electronic Pharmaceutical Care)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 348 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยที่ใช

การรักษาทางเลือก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 349 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในการจัดการ

ความเสี่ยงและความปลอดภัยของผูปวย

(Pharmaceutical Care Clerkship in Risk Management and Patient

Safety)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 30 หนวยกิต

551 350 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 1

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship I)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 351 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 2

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship II)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 352 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 3

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship III)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 353 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 4

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship IV)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 354 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 5

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship V)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

Page 21: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

20

551 355 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสชัศาสตรสังคมและการบริหาร 6

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship VI)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวน 30

หนวยกิต ประกอบดวย

บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ

จํานวน 20 หนวยกิต

551 356 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพ ทางการศึกษาระบบงานและการกําหนดปญหา

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System

Study and Problem Identification)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 357 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ

สุขภาพ ทางการวิเคราะหระบบงานและแนวทางการแกปญหา

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System

Analysis and Solutions to Problem)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 358 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพเชิงบูรณาการ 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration

of Pharmaceutical and Health Informatics I)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 359 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพเชิงบูรณาการ 2

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration

of Pharmaceutical and Health Informatics II)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ

จํานวน 10 หนวยกิต

551 360 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System

Implementation I)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 361 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 2

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

Page 22: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

21

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System

Implementation II)

551 362 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพ ทางการวิเคราะหขอมูล การคนคืนขอมูล และการ

นําเสนอขอมูล 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data

Analysis, Information Retrieval and Publishing I)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

551 363 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม

และสุขภาพ ทางการวิเคราะหขอมูล การคนคืนขอมูล และการ

นําเสนอขอมูล 2

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data

Analysis, Information Retrieval and Publishing II)

5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)

2.2.5 รายวิชาจุลนิพนธ จํานวน 3 หนวยกิต

551 364 จุลนิพนธ 1

(Senior Project I)

1(0-3-0)

551 365 จุลนิพนธ 2

(Senior Project II)

2(0-6-0)

2.3 รายวิชาเลือกวิชาชีพ จํานวน 24 หนวยกิต

2.3.1 กลุมวิชารายวิชาเลอืกวชิาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 24 หนวยกิต

ประกอบดวย

รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 20 หนวยกิต

561 241 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร

(Pharmaceutical Biotechnology)

2(2-0-4)

561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ

(Biological Quality Control in Pharmaceutical Products)

2(2-0-4)

561 246 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ

(Biological Quality Control in Pharmaceutical Products Laboratory)

1(0-3-0)

564 234 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห

(Integrated Study in Pharmaceutical Analysis)

3(1-6-2)

565 358 การพัฒนาและควบคุมยา

(Drug Development and Regulation)

2(2-0-4)

Page 23: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

22

567 272 หลักการผลิตที่ดี 2

(Good Manufacturing Practice II)

2(2-0-4)

567 273 การจัดการทางเภสัชศาสตร

(Management in Pharmaceutical Sciences)

2(2-0-4)

567 274 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ

(Pharmaceutical Formulation and Development)

4(2-6-4)

567 275 การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับอุตสาหกรรม

(Pharmaceutical Production Planning and Processing)

2(1-3-2)

รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต เลือก

เรียนจากรายวิชาดังนี ้

561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด

(Nutrition and Nutritional Therapy)

2(2-0-4)

561 243

การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา

(Drug Biotransformation)

3(3-0-6)

561 244 เภสัชวิทยาจีโนม

(Pharmacogenomics)

2(2-0-4)

561 302 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม

(Safety of Foods and Drinking Water)

3(1-6-2)

561 311 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสชักร

(Molecular Biotechnology for Pharmacists)

3(2-3-4)

564 235 การแยกเพื่อการวิเคราะหเภสัชภัณฑ

(Analytical Separation of Pharmaceuticals )

3(2-3-4)

564 236 วิธีพิเศษในการวิเคราะหยา

(Special Methods in Medicinal Analysis)

3(2-3-4)

564 237 เภสัชวิเคราะห

(Pharmaceutical Analysis)

4(2-6-4)

564 238 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ

(Medicinal Analysis in Biologicals)

3(2-3-4)

564 239 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร

(Current Topics in Pharmaceutical Sciences)

2(2-0-4)

Page 24: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

23

564 240 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร

(Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)

2(2-0-4)

564 241 การสังเคราะหยา

(Pharmaceutical Synthesis)

3(2-3-4)

564 242 การเรียนรูเคมีทางยาโดยใชปญหาเปนฐาน

(Problem-Based Learning in Medicinal Chemistry)

2(2-0-4)

564 243 เคมีทางยาของยาใหม

(Medicinal Chemistry of New Drugs)

2(2-0-4)

564 244 เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี

(Chemical Aspects in Drug Metabolism)

2 (2-0-4)

564 245 การอธิบายโครงสรางของอินทรียสารดวยวิธีทางสเปกโทรเมตรี

(Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds)

3(3-0-6)

565 359 พิษวิทยาภาวะแวดลอม

(Environmental Toxicology)

3(2-3-4)

565 360 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุล

(Cellular and Molecular Pharmacology)

3(3-0-6)

565 361 การทดลองทางเภสัชวิทยา

(Experimental Pharmacology)

2(1-3-2)

565 362 เภสัชวิทยาของยาท่ีออกฤทธิ์ตอจิตประสาท

(Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)

2(2-0-4)

565 363 เภสัชวิทยาของยาท่ีออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด

(Pharmacology of Cardiovascular Drugs)

2(2-0-4)

565 364 เภสัชวิทยาของยาท่ีออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร

(Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)

2(2-0-4)

565 365 ยาใหม

(New Drugs)

2(2-0-4)

565 366 การประเมินฤทธิ์ของยา

(Evaluation of Drug Action)

2(1-3-2)

566 222 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร

(Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)

3(2-3-4)

566 223 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร

(Research and Development in Medicinal Plants)

3(2-3-4)

Page 25: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

24

566 224 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร

(Biotechnology of Medicinal Plants)

3(2-3-4)

566 225 เภสชัเวทประยุกต

(Applied Pharmacognosy)

2(2-0-4)

566 226 พฤกษบําบัดบนหลกัฐานเชิงประจักษ

(Evidence Base Phytotherapy)

2(2-0-4)

566 227 ยาสมุนไพรพื้นบาน

(Indigenous Medicines)

3(2-3-4)

567 276 ระบบนําสงยาแบบใหม

(Novel Drug Delivery System)

2(2-0-4)

567 277 วิทยาการเคร่ืองสําอาง

(Cosmeticology)

4(2-6-4)

567 278 การบริหารการผลิต

(Manufacturing Management)

4(3-3-6)

567 279 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ

(Quality Control and Quality Assurance Systems)

4(3-3-6)

567 280 การเคลือบยาเม็ด

(Tablet Coating)

3(2-3-4)

567 281 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม

(Introductory Polymer Sciences in Pharmacy)

2(2-0-4)

567 282 อนามัยอุตสาหกรรม

(Industrial Hygiene)

4(3-3-6)

567 283 นาโนเทคโนโลยีทางเภสัชศาสตร

(Pharmaceutical Nanotechnology)

3(3-0-6)

567 284 พื้นฐานทางวิศวเภสชักรรม

(Basics in Pharmaceutical Engineering)

2(2-0-4)

567 285 รังสเีภสชัภณัฑ

(Radiopharmaceuticals)

2(2-0-4)

Page 26: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

25

2.3.2 กลุมรายวิชาเลอืกวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 24 หนวยกิต

ประกอบดวย

รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลอืกวิชาชีพสาขาบรบิาลทางเภสชักรรม จาํนวน 20 หนวยกิต

562 369 การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานเภสัชกรรม

(Experiential Learning in Pharmacy Setting)

2(ไมนอยกวา

120 ชั่วโมง)

562 370 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ

(Evidence Based Pharmaceutical Care)

2 (2-0-4)

562 371 ปฏิบัติการการบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ

(Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory)

1 (0-3-0)

562 372 การบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยนอก

(Ambulatory Care in Pharmacy Practice)

2 (1-3-2)

562 373 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนแนวทางการรักษาปจจุบัน

(Current Therapy in Pharmaceutical Care)

2 (2-0-4)

562 374 เภสัชกรรมคลินิกขั้นสูง

(Advanced Clinical Pharmacy)

3(2-3-4)

562 375 เภสัชกรรมโรงพยาบาลและการจัดการการใชยา

(Hospital Pharmacy and Drug Utilization Management)

2 (1-3-2)

562 376 ยาและการรักษาโรคติดเชื้อ

(Drugs and Treatments in Infectious Diseases)

2 (1-3-2)

562 377 การจัดการโรคเรื้อรังและผูปวยรายกรณี

(Chronic Diseases and Case Management)

2 (1-3-2)

562 378 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องตน

(Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship)

2 (0-6-0)

รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต เลอืกจาก

รายวิชาดังนี้

562 379 การสื่อสารเชิงวิชาชีพ

(Professional Communication)

2(1-3-2)

562 380 การจัดการขอมูลในการบริบาลทางเภสัชกรรม

(Information Management in Pharmaceutical Care)

2 (1-3-2)

562 381 เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก

(Clinical Pharmacokinetics)

2 (1-3-2)

Page 27: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

26

562 382 การประเมินผลลัพธทางเภสัชกรรม

(Outcomes Assessment in Pharmacy)

2 (2-0-4)

562 383 การประเมินผลทางยา

(Drug Evaluation)

2 (1-3-2)

562 384 หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ

(Current Topics in Pharmacy Practice)

2(2-0-4)

562 385

ปญหาพิเศษทางบริบาลเภสัชกรรม

(Special Problems in Pharmaceutical Care)

2(1-3-2)

562 386 โภชนาการคลินิกสําหรับเภสัชกร

(Clinical Nutrition for Pharmacist)

2(2-0-4)

2.3.3 กลุมรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 24 หนวยกิต

ประกอบดวย

รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 15

หนวยกิต

563 262 การสื่อสารเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ

(Communication for Health Promotion)

3(1-6-2)

563 263 เภสัชเศรษฐศาสตร

(Pharmacoeconomics)

2(2-0-4)

563 264 เภสัชระบาดวิทยา

(Pharmacoepidemiology)

2(2-0-4)

563 265 หลักการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ

(Principle of Consumer Protection in Health)

3(3-0-6)

563 266 การตลาดสําหรับบริการทางสุขภาพเชิงวิชาชีพ

(Marketing for Professional Health Service )

3(3-0-6)

563 267 พฤติกรรมสุขภาพและจิตวิทยา

(Health Behavior and Psychology)

2(2-0-4)

รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร ไมนอยกวา 9 หนวยกิต

เลือกจากรายวิชาดังนี้

563 268 ระบบยา

(Drug System)

3(3-0-6)

Page 28: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

27

563 269 เภสัชศาสตรสังคม

(Social Pharmacy)

2(2-0-4)

563 270 การบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชน

(Pharmaceutical Care in Community Pharmacy)

3(2-3-4)

563 271 การจัดการเชิงกลยุทธทางเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร

(Strategic Management in Social and Administrative Pharmacy)

3(3-0-6)

563 272 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการทางระบบสุขภาพ

(Integrated Marketing Communication in Health System)

3(3-0-6)

563 273 การจัดการบริการในระบบสุขภาพ

(Health Service Management)

3(3-0-6)

563 274 เภสัชศาสตรสาธารณสุข

(Public Health Pharmacy)

3(3-0-6)

563 275 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท

(Pharmacists and Rural Health Care)

4(2-6-4)

563 276 การสรรหาและการคัดเลือกยา

(Drug Procurement and Drug Selection)

3(2-3-4)

563 277 กฎหมายสําหรับงานคุมครองผูบริโภค

(Laws for Consumer Protection)

2(2-0-4)

563 278 การบริบาลเภสัชกรรมเพื่อการสงเสริมฟนฟสูขุภาพ

(Pharmaceutical Care for Health Promotion and Rehabilitation)

2(2-0-4)

2.3.4 กลุมรายวิชาเลอืกวิชาชพีสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรมและสุขภาพ

จํานวน 24 หนวยกิตประกอบดวย

รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลอืกวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ

สุขภาพ จํานวน 15 หนวยกิต

568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตนสําหรับสารสนเทศศาสตรทาง

เภสชักรรม

(Introduction to Computers and Programming for Pharmaceutical

Informatics)

3(2-2-5)

568 303 ระบบการจัดการฐานขอมลูสําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

(Database Management System for Pharmaceutical Informatics)

3(2-2-5)

Page 29: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

28

568 304 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

(Computer Programming for Pharmaceutical Informatics)

3(2-2-5)

568 305 การเผยแพรสารสนเทศทางเภสชักรรมผานสือ่อเิลก็ทรอนกิส

(Pharmaceutical Informatics Presentation through Electronic Medias)

3(2-2-5)

568 306 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศทางเภสชักรรม

(Analysis and Design of Pharmaceutical Information Systems)

3(2-2-5)

รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวนไม

นอยกวา 9 หนวยกิต เลอืกจากรายวิชาดังนี ้

568 307 สถติิสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Statistics for Health Informatics)

3(2-3-4)

568 308 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา

(Computer-Aided Drug Discovery and Development)

2(2-0-4)

568 309 โครงสรางขอมลูและอลักอริทึม

(Data Structure and Algorithms)

2(2-0-4)

568 310 เทคนิคการจําลอง

(Simulation Techniques)

3(3-0-6)

568 311 การพัฒนาอนิเทอรเนต็เว็บไซต

(Internet Web Site Development)

3(2-2-5)

568 312 การพัฒนาอนิเทอรเน็ตเว็บไซตขัน้สูง

(Advanced Internet Web Site Development)

3(2-2-5)

568 313 ซอฟทแวรโอเพนซอรสสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Open Source Software for Health Informatics)

3(2-2-5)

568 314 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสขุภาพ 1

(Special Problems in Health Informatics I)

2(1-2-3)

568 315 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสขุภาพ 2

(Special Problems in Health Informatics II)

4(3-2-7)

568 316 โปรแกรมประยุกตทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Application Programs in Health Informatics)

4(3-2-7)

568 317 การพัฒนาสือ่อิเลค็ทรอนิคสทางสุขภาพขั้นสูง

(Advanced Health Electronic Media Development)

3(2-2-5)

Page 30: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

29

568 318 ชีวสารสนเทศศาสตรเบือ้งตน

(Basic Bioinformatics)

3(2-2-5)

568 319 การประยกุตเคโมเมทริกซในการวิเคราะหยา

(Chemometrics-assisted Determination of Pharmaceutical Compound)

2(1-2-3)

568 320 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่การจัดการปญหาการใชยา

(Information Technology for Drug Utilization Problem Management)

3(2-2-5)

568 321 การคนคืนขอมูลดานสุขภาพ

(Health Information Retrieval)

3(2-2-5)

568 322 สารสนเทศศาสตรทางสมุนไพรเบือ้งตน

(Basic Herbal Informatics)

3(2-2-5)

568 323 การจัดการสารสนเทศสําหรับงานสาธารณสุข

(Information Management for Public Health)

3(2-2-5)

568 324 การจัดการสารสนเทศทางเภสชัศาสตรการตลาด

(Information Management for Pharmaceutical Marketing)

3(2-2-5)

568 325 ระบบสารสนเทศทางเภสชัวิทยาและพิษวิทยา

(Information Systems for Pharmacology and Toxicology)

3(2-2-5)

568 326 ระบบสารสนเทศทางเภสชัอุตสาหกรรม

(Information Systems for Industrial Pharmacy)

3(2-2-5)

568 327 การประยกุตสารสนเทศดานการบริบาลทางเภสชักรรม

(Applied Pharmaceutical Care Informatics)

3(2-2-5)

ทั้งนี้นักศึกษาสามารถขอลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาอื่นใดในหลกัสตูรทีเ่ปดสอน

ซึ่งเอื้อประโยชนตอการศึกษาได โดยความเห็นชอบของกลุมสาขาตนสังกัดและกลุมสาขาที่สนใจจะ

ไปลงทะเบียนเรียนดวย

3. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวน 6 หนวยกิต

ใหเลือกรายวิชาที่มีการเปดสอนโดยคณะวิชาตาง ๆ ทุกคณะวิชาในมหาวิทยาลัย

ศิลปากร และหรือนอกมหาวิทยาลัย หรือนอกประเทศตามกําหนด หากนักศึกษาเลือกศึกษารายวิชา

ของคณะวิชาในกลุมวิชาเลือกของหมวดวิชาเฉพาะดาน จะตองนําไปคิดคาระดับเฉลี่ยรวมกับกลุมวิชา

วิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมวิชาแกนวิชาชีพ และกลุมสาขา เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขการสําเร็จการศกึษา ดัง

กําหนดไวในเงื่อนไขสําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร

Page 31: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

30

17.4 แผนการศึกษา

ทั้งนี ้อาจม ีการปรับเปลี ่ยนไดตามความเหมาะสม ตามสถานภาพและแนวโนมการ

เปลี่ยนแปลงของสาขาวิชาชีพ เปนดังนี้

ปที่ 1 ภาคการศกึษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6)

080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5)

511 103 แคลคูลัสสําหรับนักวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6)

512 106 ชีววิทยาทั่วไป 4(4-0-8)

512 107 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1(0-3-0)

513 108 เคมีทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 4(4-0-8)

550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2)

xxx xxx วิชาเลือกศึกษาทั่วไป 3

รวมหนวยกิต 22

ปที่ 1 ภาคการศกึษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5)

513 220 เคมีฟสิคัล 3(3-0-6)

513 256 หลักเคมีอินทรีย 4(4-0-8)

514 109 ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 4(4-0-8)

514 110 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0)

515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5)

567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(1-0-2)

xxx xxx วิชาศึกษาทั่วไป (หมวดวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร) 3

รวมหนวยกิต 22

Page 32: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

31

ปที่ 2 ภาคการศกึษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5)

561 104 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกลุสําหรับนกัศกึษาเภสชัศาสตร 2(2-0-4)

563 251 สาธารณสุขพื้นฐาน 2(2-0-4)

564 111 เภสัชอนินทรียเคมี 1(1-0-2)

564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1(0-3-0)

566 101 เภสัชพฤกษศาสตร 2(1-3-2)

567 267 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6)

567 287 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0)

550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2)

xxx xxx วิชาเลือกศึกษาทั่วไป 3

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 2 ภาคการศกึษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

550 153 หลักการออกแบบเบื้องตน 2(1-3-2)

561 105 สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 5(5-0-10)

561 135 ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0)

563 257 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1 2(2-0-4)

564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6)

564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 1(0-3-0)

567 268 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 2(2-0-4)

567 288 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสชักรรม 3 1(0-3-0)

567 269 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4)

567 289 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0)

รวมหนวยกิต 20

Page 33: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

32

ปที่ 3 ภาคการศกึษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6)

561 234 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0)

563 259 ระบบสุขภาพ 2(2-0-4)

563 258 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2 2(1-3-2)

564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6)

564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0)

565 353 เภสัชวิทยา 1 4(4-0-8)

565 357 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1(0-3-0)

567 270 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4)

567 290 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 1(0-3-0)

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 3 ภาคการศกึษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

550 251 การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานสุขภาพ 1(ไมนอยกวา 60

ช่ัวโมง)

561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6)

561 235 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0)

561 206 วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(1-0-2)

561 207 พยาธิวิทยาทั่วไป 1(1-0-2)

564 211 เคมีทางยา 1 3(3-0-6)

565 354 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8)

566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6)

566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0)

567 271 เทคโนโลยเีภสชักรรม 6 1(1-0-2)

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2(1-3-2)

รวมหนวยกิต 21

Page 34: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

33

ปที่ 4 ภาคการศกึษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

561 211 ชีววัตถ ุ 2(2-0-4)

562 365 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6)

562 366 บริการเภสัชสนเทศ 2(1-3-2)

563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร 1(1-0-2)

564 212 เคมีทางยา 2 4(4-0-8)

565 355 เภสัชบําบัด 1 3(2-3-4)

566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4)

566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0)

567 265 หลักการผลิตที่ด ี1 1(1-0-2)

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 4 ภาคการศกึษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

080 122 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4)

080 144 หลักการวิจัย 2(2-0-4)

562 362 เภสัชบําบัด 2 5(4-3-8)

562 363 เภสัชกรรมการจายยา 3(2-3-4)

562 364 หลักการพ้ืนฐานทางเภสชักรรมสถานพยาบาล 2(2-0-4)

563 256 นิติเภสัช 1(1-0-2)

563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ 1(0-3-0)

562 367 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6)

565 356 พิษวิทยา 2(2-0-4)

รวมหนวยกิต 21

Page 35: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

34

ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

550 351 ประสบการณการฝกปฏิบตัิงานวิชาชีพ 5(ไมนอยกวา 400 ชั่วโมง)

551 364 จุลนิพนธ 1 1(0-3-0)

xxx xxx บังคับเลือกและเลือกวิชาชีพ 12

xxx xxx เลือกเสรี 3

รวมหนวยกิต 21

ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร 2 3(2-2-5)

551 365 จุลนิพนธ 2 2(0-6-0)

xxx xxx บังคับเลือกและเลือกวิชาชีพ 12

xxx xxx เลือกเสร ี 3

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 6 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

xxx xxx ฝกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมสาขา 20

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 6 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชือ่รายวิชา จํานวนหนวยกิต

xxx xxx ฝกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมสาขา 10

รวมหนวยกิต 10

Page 36: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

35

การเทียบฐานะชัน้ป

การเทียบฐานะชั้นปของนักศึกษาเภสัชศาสตรคิดจากจํานวนหนวยกิตที่สอบไดตามแผนการ

ศึกษาของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ไมนับรวมรายวิชาที่นักศึกษาไปลงทะเบียนนอกหลักสูตร)

เปนดังนี้

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ต่ํากวา 32 หนวยกิต ใหเทียบฐานะ

เปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปท่ี 1

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ตั้งแต 32 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํา

กวา 64 หนวยกิตใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 2

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ตั้งแต 64 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํา

กวา 96 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปท่ี 3

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ตั้งแต 96 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํา

กวา 128 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 4

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ตั้งแต 128 หนวยกิตขึ้นไป แต

ต่ํากวา 160 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 5

- นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตามแผนการศึกษา ตั้งแต 160 หนวยกิตขึ้นไป ให

เทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปท่ี 6

อนึ่ง การกําหนดเทียบสถานะของชั้นปของนักศึกษาเภสัชศาสตรมิไดหมายความครอบคลมุถึง

เงื่อนไขการลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกําหนดไวในแผนการศึกษาและหลักสูตร

17.5 คําอธิบายรายวิชา

080

101

มนุษยกับการสรางสรรค

(Man and Creativity)

ศึกษาหลักความคิดเกี่ยวกับความสํานึกในตน อันเกิดจากการพิจารณาเอกภาพของโลก ความสัมพันธระหวางปจเจก

บุคคลกับเพื ่อนมนุษย ระหวางปจเจกบุคคลกับสิ่งแวดลอม การดํารงอยูของจักรวาล โลกและมวลมนุษย อันเปนปจจัย

กอใหเกิดแรงสรางสรรคตอบุคคลและพลังรวมในการจรรโลงความเปนมนุษย ทั้งที่เปนในรูปของปรัชญา ศาสนา และความ

เชื่อ สภาวะทางจิต สภาวะทางธรรมชาติ และสังคมที่เอื้อตอการสรางสรรคทางศิลปะ ตลอดจนการประดิษฐ คิดคน ทาง

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทั้งนี้ใหศึกษาตัวอยางที่สําคัญๆจากกิจกรรมสรางสรรคของมนุษยทั้งในอดีตและปจจุบัน

รวมท้ังอุปสรรคที่มีตอการสรางสรรค

080

107

ดนตรีวิจักษ

(Music Appreciation)

ศึกษาองคประกอบของดนตรี เครื่องดนตรีไทยและตางชาติ ผลงานของคีตกวีไทยและตางประเทศที่สําค ัญ

เปรียบเทียบลักษณะของดนตรีชาติตาง ๆ รวมทั้งดนตรีพื้นบาน ลักษณะเฉพาะของดนตรีประจําชาติไทย ความสัมพันธ

Page 37: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

36

ระหวางคีตศิลปกับศิลปะแขนงอื่น ทั้งนี้โดยใหนักศึกษาไดฟงดนตรีไทย และตางชาติใหมากที่สุดเทาที่จะมากได

080

114

ศิลปวิจักษ

(Art Appreciation)

ศึกษาลักษณะและความสําคัญของทัศนศิลป โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชมและความสํานึกในคุณคาของงาน

สรางสรรคทางศิลปะ จากตัวอยางศิลปกรรมทั้งในอดีตและปจจุบัน บทบาทของทัศนศิลปในวัฒนธรรมของมนุษยชาติ

ตะวันออก และตะวันตก โดยเฉพาะอยางย่ิงในการแสดงออก ทั้งนี้ใหเห็นอิทธิพลโดยตรงของทัศนศิลปท่ีมีตอการดํารงชีวิตของ

คนไทย

080

117

วรรณคดีวิจักษ

(Literary Appreciation)

ฝกการอานวรรณคดีไทยดีเดน โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชม และความสํานึกในคุณคาของงานสรางสรรคทาง

วรรณศิลปโดยทั่วไป ศึกษาคุณลักษณะของวรรณคดีทั้งในสวนที่เปนสากลและในสวนที่เปนเอกลักษณของชาติ ทั้งนี้ให

สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหวิจารณเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อานได

080

119

อารยธรรมตะวันออก

(Eastern Civilization)

ศึกษาพัฒนาการของอารยธรรมจีน อินเดีย และอิสลาม ซึ่งมีสวนสําคัญในการหลอหลอมอารยธรรมในเอเชีย

ตะวันออก เอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใต การถายทอดและการผสมผสานระหวางอารยธรรมจีน อินเดีย อิสลาม กับ

วัฒนธรรมทองถิ่นอันกอใหเกิดลักษณะรวมกันและแตกตางกันไปตามสภาวะแหงพัฒนาการทางประวัติศาสตรของแตละ

ภูมิภาค เนนศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางดานภูมิปญญา ลัทธิความเชื่อทางศาสนา วิทยาการ การสรางสรรคทางศิลปะ

การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม จนถึงปจจุบัน

080

122

จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ

(Professional Ethics)

จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพของวิทยาการแขนงสาขาตางๆ กฎ ระเบียบ เกณฑ มาตรการในการ

ควบคุม เนนความรับผิดชอบท่ีมีตอวิชาชีพและสังคม

Codes and oaths of professional ethics of various disciplines; rules, regulations and ethical criteria concerning

practice and control, with emphasis on privileges and responsibilities to professions and society.

080

127

จิตวิทยาเบื้องตน

(Introduction to Psychology)

Page 38: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

37

ศึกษาประวัติ พัฒนาการและวิธีการศึกษาทางจิตวิทยา กลุมแนวคิดทางจิตวิทยา พื้นฐานทางชีววิทยาตอพฤติกรรม

ภาวะการรูสึกตัว การรูสึก การรับรู การคิดและภาษา การจํา การเรียนรู เชาวนปญญา แรงจูงใจ อารมณ บุคลิกภาพ การปรับตัว

และพฤติกรรมปกติ การประยุกตความรูทางจิตวิทยาในดานตาง ๆ

080

133

เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน

(Economics in Everyday Life)

ศึกษาภาพรวมของเศรษฐกิจในสังคมสมัยใหม โดยเฉพาะการทํางานของกลไกราคาในระบบตลาด และบทบาทของ

ภาครัฐ ชุมชนและเอกชน เพื่อเปนพื้นฐานในการวิเคราะหปรากฎการณทางเศรษฐกิจในชีวิตประจําวัน ภายใตกระแสการ

เปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง และพัฒนาการรวมสมัยอื่น ๆ

080

135

กฎหมายกับสังคม

(Law and Society)

ศึกษาปญหาของการรักษาระเบียบในสังคมมนุษย ความสัมพันธระหวางกฎหมายกับสังคม กลไก จุดประสงคและ

ทีม่าของกฎหมาย ขอบเขตและประเภทของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวัน กระบวนการยุติธรรมและระบบ

ศาล รวมทั้งศึกษารัฐธรรมนูญ

080

144

หลักการวิจัย

(Principles of Research)

แนวคิด ความหมาย หลักการของการวิจัย การจําแนกประเภทและชนิดของการวิจัย ขั้นตอนและกระบวนการวิจัย การ

ประมวลผลขอมูลและการรายงาน

Concepts, definitions, principles of research, classification and type of research, procedures and processes of

research, data processing and reporting.

080

153

วิทยาศาสตรกับชีวิตประจําวัน

(Science and Everyday Life)

ศึกษาความสัมพันธของมนุษยกับสิ่งแวดลอมในแงการแปรรูปพลังงาน การปรับตัว การอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต

ปญหาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดลอมเนื่องจากการเพิ่มของประชากร การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทขอ

ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่ใหพลังงานและไมใหพลังงาน อัตราการใชทรัพยากรประเภทตาง ๆ การอนุรักษและเพิ่มผลผลิต

สาเหตุและการแกไขปญหาความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดลอม ประโยชนและโทษของการใชสารเคมีและสารกัมมันตรังสี

ตาง ๆ ที่มีตอมนุษยและวิธีปองกัน หลักการและประโยชนของการใชสิ่งมีชีวิตในการควบคุมการแพรกระจายของสัตวและพชื

ที่เปนภัยตอเศรษฐกิจ

Page 39: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

38

08 0

156

มลพิษสิ่งแวดลอม

(Environmental Pollution)

สวนประกอบความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ สาเหตุและลักษณะของมลพิษตาง ๆ เชน มลพิษทางน้ํา

ทางอากาศ มลพิษทางดิน ของเสียที่มีอันตราย แสง เสียง ความรอน รังสี และมลพิษทางอาหาร การปองกันแกไขมลพิษตาง ๆ

กรณีตัวอยางของปญหามลภาวะที่เกิดขึ้น

08 0

162

กระบวนการแกปญหา

(Problem Solving Process)

ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของปญหา ขั้นตอนในการแกปญหา การระบุปญหา การกําหนดวัตถุประสงค บทบาทของผู

แกปญหา วิธีการหาสาเหตุของปญหา ความสัมพันธระหวางสาเหตุและปญหา การกําหนดเปาหมายในการแกปญหา แนว

ทางแกไขปญหา การกําหนดทางเลือกในการแกปญหา การสรุปผลการแกปญหา กรณีศึกษากระบวนการแกปญหา

08 0

168

เทคโนโลยีชีวภาพกับคุณภาพชีวิต

(Biotechnology and Life Quality)

ประวัติ วิวัฒนาการและหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวของกับอาหารและเครื่องดื่ม การแพทยและ

สุขภาพ การเกษตร สิ่งแวดลอม และพลังงาน เทคโนโลยีชีวภาพ และความปลอดภัยตอมนุษยและสิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีชีวภาพและเศรษฐกิจ การใชเทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาคุณชีวิต

08 0

171

เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดลอม

(Clean Thchnology and Environment)

ขอจํากัดของทรัพยากรธรรมชาติและอิทธิพลของมนุษย แหลงของมลภาวะและผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม

แหลงของพลังงานและการนําไปใชโดยเนนพลังงานสะอาด เทคโนโลยีสะอาดและการนําไปใชในอุตสาหกรรมอาหาร

อุตสาหกรรมเคมีการเกษตร อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมฟอกยอมและสิ่งทอ และอุตสาหกรรมพลาสติก การสังเคราะห

สะอาดและการออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม

080

176

ภาษากับการสื่อสาร

(Language and Communication)

ศึกษาหลักเกณฑและแนวความคิดที่เปนพื้นฐานของการสื่อสาร และการใชภาษาเพื่อการสื่อความหมายไปยังผูรบัให

สัมฤทธิ์ผล ใหรูจักคิดและลําดับความคิดอยางมีเหตุผล ฝกการใชถอยคํา ประโยค สํานวน โวหาร ฝกการเตรียมและรวบรวม

ขอมูลในการสื่อสารตามจุดประสงค การใชภาษาในเชิงบรรยาย พรรณนา อธิบาย และอภิปราย

Page 40: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

39

080

177

ภาษาอังกฤษ 1

(English I)

ทบทวนและฝกทักษะในการใชภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน ซึ่งนักศึกษาได

เรียนมาแลวในชั้นมัธยมศึกษา ฝกการฟง การพูดในเรื่องทั่วไป เนนฝกทักษะการอานซึ่งจําเปนในการศึกษาระดับอุดมศึกษา

และฝกการเขียนใหสัมพันธกับเอกสารที่อาน

080

178

ภาษาอังกฤษ 2

(English II)

วิชาบังคับกอน : 080 177 ภาษาอังกฤษ 1

ฝกการใชทกัษะทั้ง 4 ในระดับท่ีสูงขึ้น และเนนทักษะการอาน โดยฝกอานเอกสารท่ียากขึ้น

080

179

ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1

(Basic French I)

ฝกทักษะผูเริ่มเรียนภาษาฝร่ังเศสในการฟง การพูด การอานและการเขียนที่ใชกันโดยทั่วไปในชีวิตประจําวัน โดย

ใชโสตทัศนศึกษา

080

180

ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2

(Basic French II)

วิชาบังคับกอน : 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบือ้งตน

ฝกการฟง การพูด การอานและการเขียนตอจากรายวิชา 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1

080

183

ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1

(Basic German I)

ฝกทักษะผูเริ่มเรียนภาษาเยอรมันในการฟง การพูด การอาน และการเขียน ศึกษาไวยากรณเบื้องตนและรูปประโยค

พื้นฐาน ฝกอานออกเสียงใหถูกตองตามหลักสัทศาสตร ฝกเขียนประโยคงาย ๆ ใหถูกตองตามหลักไวยากรณ และอักขรวิธี

และฝกสนทนาเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน

080

184

ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2

(Basic German II)

Page 41: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

40

วิชาบังคับกอน : 080 183 ภาษาเยอรมนัเบือ้งตน 1

ฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียนตอจากรายวิชา 080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1

080

187

ภาษาจีนเบื้องตน 1

(Basic Chinese I)

ศึกษาระบบเสียงภาษาจีนกลางทั้งหนวยเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต และสัทอักษรจีนระบบพินยิน

ศึกษาหลักการเขียนตัวอักษรจีนในระดับพื้นฐาน พรอมทั้งฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียนจากคําศัพทที่เกี่ยวกับ

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวในชีวิตประจําวัน ศึกษาอักษรจีนอยางนอย 300 ตัว ศึกษาโครงสรางและรูปประโยค

งาย ๆ

080

188

ภาษาจีนเบื้องตน 2

(Basic Chinese II)

วิชาบังคับกอน : 080 187 ภาษาจีนเบือ้งตน 1

ศึกษาคําศัพท โครงสรางและรูปประโยคพื้นฐานของภาษาจีน พรอมทั้งฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียน

ศึกษาอักษรจีนอยางนอย 800 ตัว

080

189

ภาษาญี่ปุนเบื้องตน 1

(Basic Japanese I)

ฝกการอานออกเสียงและการเขียนอักษรฮิรากานะและอักษรคาตาคานะ ศึกษาหลัก ไวยากรณและรูปประโยคเบือ้งตน

ฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียนเพื่อใหสามารถใชในการสื่อสารไดอยางถูกตอง

080

190

ภาษาญี่ปุนเบื้องตน 2

(Basic Japanese II)

วิชาบังคับกอน : 080 189 ภาษาญี่ปุนเบือ้งตน 1

ศึกษาหลักไวยากรณและรูปประโยค ฝกการฟง การพูด การอานและการเขียนประโยคที่ซับซอนขึ้น

415

151

โลกเอเชียตะวันออกเฉยีงใต

(Southeast Asian World)

ศึกษาการตั้งหลักแหลง ภูมิหลังทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม และพัฒนาการทางสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใตตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศึกษาการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชวง

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และความสัมพันธกับตางประเทศ

Page 42: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

41

449

106

การอนุรกัษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

(Conservation of Resources and Environment)

ศึกษาความหมาย ล ักษณะ ความสําคัญและประเภทของทรัพยากรและสิ ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวาง

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมกับมนุษยในดานสังคม การเมือง เศรษฐกิจ กฎหมายและจริยธรรม แนวทางการแกปญหาและ

อนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนใหตระหนักถึงคุณคาและมีจิตสํานึกตอการใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดย

ยกตัวอยางกิจกรรมที่สําคัญในระดับชุมชน ระดับชาติและระดับนานาชาติ

51 1

103

แคลคลูสัสําหรับนกัวิทยาศาสตรชีวภาพ

(Calculus for Biological Scientists)

การหาอนุพันธและการหาปริพันธ อนุกรมเทยเลอรและอนุกรมแมคลอริน สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่งและการ

ประยุกต

512

106

ชีววิทยาทั่วไป

(General Biology)

เง่ือนไข : สําหรับนกัศกึษาที่ไมใชนกัศึกษาคณะวิทยาศาสตร

วิชาบังคับกอน : 512 107 ปฏิบัตกิารชีววิทยาทั่วไป*

*อาจเรียนพรอมกนัได

พื้นฐานของชีวิตระดับโมเลกุล การจัดองคประกอบระดับเซลล เนื้อเย่ือและอวัยวะ ความหลากหลายทางชีวภาพ การ

สืบพันธุและการเจริญของสัตว พันธุกรรมและวิวัฒนาการ มนุษยกับระบบนิเวศ การปรับตัวและพฤติกรรมของสัตว เนื้อเย่ือ

และอวัยวะของพืช ฮอรโมนพืชและไฟโตโครม การหายใจระดับเซลลและการสังเคราะหดวยแสง ชีววิทยาประยุกต

Condition : Students who are not Sciences Students

Pre-requisite : 512 107 General Biology Laboratory *

* can be co-requisite

Molecular basis of life. Cellular level of organization, tissues and organs. Biodiversity. Animal reproduction and

development. Genetics and evolution. Human and ecosystem. Adaptation and animal behavior. Plant tissue and organs.

Plant hormones and phytochrome. Cellular respiration and photosynthesis in plant. Applied biology.

512

107

ปฏิบัตกิารชีววิทยาทั่วไป

(General Biology Laboratory )

เง่ือนไข : สําหรับนกัศกึษาที่ไมใชนกัศึกษาคณะวิทยาศาสตร

Page 43: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

42

วิชาบังคับกอน : 512 106 ชีววิทยาทั่วไป*

*อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 512 106 ชีววิทยาทั่วไป

Condition : Students who are not Sciences Students

Pre-requisite : 512 106 General Biology *

* can be co-requisite

Laboratory work related to the contents in 512 106 General Biology.

513

108

เคมีทั่วไปสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(General Chemistry for Pharmacy Students)

ปริมาณสัมพันธ โครงสรางอะตอม และสมบั ติของธาตุ ตามตารางธาตุ พันธะเคมี กาช ของแข็ง เทอร

มิกส ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมีและสมดุลของไอออน

Stoichiometry. Atomic structure and properties of the elements in the periodic table. Chemical bonding. Gases. Solids.

Thermodynamics. Liquids and solutions. Chemical equilibrium and ionic equilibrium.

513

220

เคมีฟสคิลั

(Physical Chemistry)

วิชาบังคบักอน : (1) 511 102 แคลคลูสั 2

513 102 เคมีทั่วไป 2

หรอื (2) 511 103 แคลคลูสัสําหรบันกัศกึษา

วิทยาศาสตรชีวภาพ

513 108 เคมีทั่วไปสาํหรับนกัศกึษาเภสชั

ศาสตร

เทอรโมไดนามิกสของแกสและสารละลาย เคมีไฟฟา จลนเคมี หลักของเคมี นิวเคลียรและการประยุกตใชทาง

ชีวภาพ สเปกโทรสโกปเบื้องตน

Pre-requisite : (1) 511 102 Calculus II

513 102 General Chemistry II

or (2) 511 103 Calculus for Biological Scientists

513 108 General Chemistry for Pharmacy

Students

Thermodynamics of gas and solution. Electrochemistry. Chemical kinetics. Principles of nuclear chemistry and

biological applications. Introduction to spectroscopy.

Page 44: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

43

513

256

หลักเคมีอนิทรีย

(Principles of Organic Chemistry)

วิชาบังคับกอน : 513 108 เคมีทั่วไปสําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

โครงสราง สมบัติ และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย สเตอริโอเคมีพื้นฐาน กลไกของปฏิกิริยา ความสัมพันธ

ระหวางหมูฟงกชัน ชีวโมเลกุล การประยุกตเทคนิคอัลตราไวโอเลต และ อินฟราเรดสเปกโกปในการพิสูจนประเภทของหมู

ฟงกชัน

Pre-requisite : 513 108 General Chemistry for Pharmacy Students

Structures, properties and reaction of organic compounds. Basic stereochemistry. Reaction mechanisms.

Functional group interconversion. Biomolecules. Applications of ultraviolet and infrared spectroscopy in functional

group indentification.

514

109

ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(General Physics for Pharmacy Students)

กลศาสตรของวัตถุเกร็ง กลศาสตรของของไหล เทอรโมไดนามิกส ไฟฟาและแมเหล็ก แสง คลื่น

Mechanics of rigid body. Fluid mechanics. Thermodynamics. Electromagnetism. Optics. Waves.

514

110

ปฏิบัตกิารฟสิกสทั่วไปสําหรับนกัศกึษาเภสชัศาสตร

(General Physics Laboratory for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 514 109 ฟสกิสทั่วไปสําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

หรืออาจเรียนพรอมกันไมนอยกวา 10 สัปดาห*

การทดลองสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตรที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 514 109 ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษา

เภสัชศาสตร

Pre-requisite : 514 109 General Physics for Pharmacy Students

or may be co-study not less than 10 weeks*

Experiments related to the contents in 514 109 General Physics for Pharmacy Students.

515

203

สถติิสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

(Statistics for Pharmacy Students)

สถิติและความนาจะเปนเบื้องตน เทคนิคการสุมตัวอยางเบื้องตน การประมาณคา การทดสอบสมมติฐาน การ

Page 45: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

44

ถดถอยอยางงายและสหสัมพันธ การทดสอบโดยวิธีการทางสถิติท่ีไมใชพารามิเตอร การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว

และสองทาง การวางแผนการทดลองเบื้องตน

550

101

การประยุกตคอมพิวเตอรขัน้พื้นฐานทางเภสชัศาสตร

(Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences)

สวนประกอบหลักที่สําคัญของระบบคอมพิวเตอร การทํางานรวมกันของฮารดแวร และซอฟทแวร มโนทัศนการ

ประมวลผลขอมูล การทําโปรแกรมภาษาตางๆ พ้ืนฐานการประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร เพื่อการจัดการขอมูล การ

ประมวลผล นําเสนอรายงาน และการจัดเก็บขอมูล

Major components of computer system, hardware and software co-functions; concepts of data processing,

programming; basic principles of computer applications in pharmaceutical sciences, including data management, processing,

presentation and storage.

550

151

เภสัชนิเทศ

(Pharmacy Orientation)

ประวัติการเภสัชกรรม มารยาทวิชาชีพ โครงสรางหลักสูตรเภสัชศาสตรในประเทศไทย บทบาทของเภสัชกรใน

วิชาชีพสาขาตางๆ ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ความสัมพันธระหวางวิชาชีพในสายสาธารณสุข ตําราและวรรณกรรมทาง

เภสัชศาสตร

History of pharmacy; professional ethics; structure of pharmaceutical curricula in Thailand; roles of pharmacists in

various professions both in public and private sectors; inter-relationship among professions in public health; textbooks and

literatures in pharmaceutical sciences.

550

153

หลักการออกแบบเบื้องตน

(Basic Principle of Design)

หลักการออกแบบเบื้องตน หลักการออกแบบสิ่งพิมพ ฉลาก และภาชนะบรรจุ การออกแบบตกแตงสวน และศิลปะ

การจัดวางหรือตกแตงสถานที่ พรอมดวยปฏิบัติการในหัวขอที่เกี่ยวของ

Principle of basic design, principle design of printing, label and packaging, garden design and display or interior

design including practice in related topics.

550

155

ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1

(English for Pharmacy Students I)

ฝกทักษะการพูดและการสื่อสาร โดยเนนการสื่อสารขอมูลทางวิทยาศาสตรสุขภาพ

Page 46: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

45

Practicing skills in speaking and communication focusing on information in health sciences.

550

158

ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2

(English for Pharmacy Students II)

ฝกทักษะ การอาน การเขียน การยอและสรุปความ รวมถึงการนําเสนอขอมูลจากบทความทางวิทยาศาสตรสุขภาพ

Practicing skills in reading, writing, summarizing and concluding, including presenting information from articles in

health sciences.

55 0

251

การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานสุขภาพ

(Experiential Learning in Health Care Setting)

การศึกษามุมมองของผูปวยตอความเจ็บปวยและบริการสุขภาพ โดยมีประสบการณตรงกับผูปวยในหนวยงานสุขภาพ

Study of patients’ perceptions of illnesses and health care services through direct experience with patients in health

care settings.

550

351

ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

(Professional Practice)

การประเมินผล : S / U

เง่ือนไขการลงทะเบียน: นักศกึษาทีผ่านรายวิชาตามประกาศคณะฯ

การฝกปฏิบัติงานเพื่อสรางประสบการณในดานวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาตาง ๆ โดยเนนการปฏบิัติงานเภสชักรรมใน

โรงพยาบาล และรานขายยา

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : with the consent of the faculty

Practice to experience professional roles in various areas of pharmacy, emphasizing practice in hospital pharmacy

and community services.

551

331

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 1

(Pharmaceutical Sciences Clerkship I)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนการผลิตยา

Page 47: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

46

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing production of pharmaceutical dosage forms.

55 1 332

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2 (Pharmaceutical Sciences Clerkship II) การประเมินผล : S / U วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนการประกันคุณภาพยา Course Evaluation : S/U Pre-requisite : 550 351 Professional Practice Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing quality assurant of pharmaceutical dosage forms.

55 1

333

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3

(Pharmaceutical Sciences Clerkship III)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนบูรณาการทางการผลิต หรือการควบคุมคุณภาพ หรือการ

วิจัยและพัฒนายา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ รวมถึงการประกันคุณภาพ การขึ้นทะเบียนตํารับยา และการทําวิจัยทาง

คลินิกในสถานการณและบริบทท่ีแตกตางกัน

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing integration in production, quality control, or research

and development of drugs, cosmetics and health products, including quality assurance, market authorization and clinical

research in different situations and contexts.

55 1 334

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 4 (Pharmaceutical Sciences Clerkship IV) การประเมินผล : S / U

Page 48: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

47

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนบูรณาการทางการผลิต หรือการควบคุมคุณภาพ หรือการวิจัยและพัฒนายา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ รวมถึงการประกันคุณภาพ การขึ้นทะเบียนตํารับยา และการทําวิจัยทางคลินิกในสถานการณและบริบทท่ีแตกตางกัน Course Evaluation : S/U Pre-requisite : 550 351 Professional Practice Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing integration in production, quality control, or research and development of drugs, cosmetics and health products, including quality assurance, market authorization and clinical research in different situations and contexts.

55 1 335

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 5 (Pharmaceutical Sciences Clerkship V) การประเมินผล : S / U วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนบูรณาการทางการผลิต หรือการควบคุมคุณภาพ หรือการวิจัยและพัฒนายา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ รวมถึงการประกันคุณภาพ การขึ้นทะเบียนตํารับยา และการทําวิจัยทางคลินิกในสถานการณและบริบทท่ีแตกตางกัน Course Evaluation : S/U Pre-requisite : 550 351 Professional Practice Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing integration in production, quality control, or research and development of drugs, cosmetics and health products, including quality assurance, market authorization and clinical research in different situations and contexts.

55 1

336

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 6

(Pharmaceutical Sciences Clerkship VI)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร โดยเนนบูรณาการทางการผลิต หรือการควบคุมคุณภาพ หรือการ

วิจัยและพัฒนายา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ รวมถึงการประกันคุณภาพ การขึ้นทะเบียนตํารับยา และการทําวิจัยทาง

คลินิกในสถานการณและบริบทท่ีแตกตางกัน

Page 49: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

48

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical sciences, emphasizing integration in production, quality control, or research

and development of drugs, cosmetics and health products, including quality assurance, market authorization and clinical

research in different situations and contexts.

551

337

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางอายุรศาสตร

(Pharmaceutical Care Clerkship in Medicine)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานพยาบาลสําหรับผูปวยอายุรกรรม รวมกับบุคลากรทางการ

แพทยสาขาอื่นๆ ในการดูแลผูปวย การเก็บรวบรวมขอมูลผูปวยจากแหลงตางๆ การนําขอมูลที่ไดมาประมวลหาปญหาที่อาจเกี่ยวข

องกับการใชยา วางแผนในการแกไขและปองกันปญหาอันอาจเกิดจากการใชยา การวางแผนการรักษา และการติดตามการใชยา

สําหรับผูปวยแตละราย โดยทํางานรวมกับบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ เพื่อประโยชนสูงสุดแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in medicine inpatient settings; working in collaboration with other

health care professionals in delivery of care to individual patients; gathering patient information from various source; using

obtained information to analyze problems related to drug usage; determining and resolving or preventing drug

problems, drug therapy planning and monitoring drug usage of individual patients; working with other health care providers

to provide the best possible care to patients.

551

338

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางการดูแลผูปวยนอก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน: 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานพยาบาลสําหรับผูปวยนอก รวมกับบุคลากรทางการ

แพทยสาขาอื่นๆ ในการดูแลผูปวย ซึ่งรวมถึงการสัมภาษณผูปวยเพื่อหาประวัติการใชยา การคนหาปญหาที่อาจเกี่ยวของกบัการ

Page 50: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

49

ใชยา แกไขและปองกัน ปญหาที่อาจเกี่ยวเนื่องกับการใชยา วางแผนการรักษาและการติดตามการใชยา การจัดทําแบบบันทึ

ประวัติการใชยาของผูปวยแตละราย รวมทั้งการใหคําแนะนําปรึกษาดานยาแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in ambulatory settings; working in collaborating with other health care

professionals in delivery of care to patients, including interviewing patients to gain medication taking history; determining

drug-related problems and resolving or preventing them; drug therapy planning and monitoring; making patient profile;

providing drug information consultation and patient counseling.

551

339

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางเภสัชกรรมชุมชน

(Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน มีประสบการณในการให

บริบาลเภสัชกรรมแกผูปวยหรือผูมารับบริการ ซึ่งรวมถึงการดําเนินการเกี่ยวกับใบสั่งยา การจายยา การใหความรูและคาํปรกึษา

แกผูปวยเกี่ยวกับยา โรค และการดูแลรักษาตนเอง การซักประวัติผูปวยเพื่อวินิจฉัยและจายยาเพื่อรักษาโรคที่ไมซับซอน การสง

ตอผูปวยที่ควรพบแพทย การติดตามการใชยาในผูปวยโรคเรื้อรัง การพัฒนาทักษะการสื่อสารและสัมพันธภาพกับผูปวย

บุคลากรทางการแพทยอื่นๆ

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in community pharmacy settings; experiences in providing

pharmaceutical care to patients or customers, including prescription processing and dispensing; patient educating and

counseling on medication; diseases and self-care, eliciting patients’ background information for diagnosis and dispensing fo

the treatment of uncomplicated diseases; refering patients to physicians; drug therapy monitoring of patients with chronic

diseases; development of communication and relationship skills with patients and other health care providers.

551

340

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางบริการ

เภสัชสนเทศ

(Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service)

Page 51: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

50

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในหนวยบริการเภสัชสนเทศ มีประสบการณในการสืบคนขอมูล

อยางเปนระบบ การประเมินคุณคาแหลงขอมูล และการนําเสนอสารสนเทศทางยาแกผูสอบถาม อันไดแก บุคลากรทาง

การแพทย ผูปวย หรือประชาชนทั่วไป การเขารวมในกิจกรรมตางๆ ที่หนวยใหบริการ ซึ่งรวมถึงการจัดเตรียมสารสนเทศทาง

ยาแกคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด การเผยแพรจดหมายขาวสารและวารสาร การประเมินการใชยา และการรายงาน

อาการไมพึงประสงคจากการใชยา การบริหารจัดการหนวยบริการเภสัชสนเทศ การพัฒนาทักษะของการสื่อสารสัมพันธภาพ

กับผูปวย บุคลากรทางการแพทยสาขาอื่นๆ รวมทั้งประชาชนทั่วไป

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in drug information service units; experiences in systematic searching,

evaluating information sources and presenting drug information to requesters, including health care providers, patie

the public; participating in drug information service activities including preparation of drug information for pharmacy and

therapeutics committee; newsletter and journal publicizing; drug use evaluation and adverse drug reaction report;

administration and management of drug information units; development of communication skills and professional

relationship with patient, other health care providers and the public.

551

341

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

562 381 เภสัชจลนศาสตรคลินิก

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมโดยใชหลักการทางเภสัชจลนพลศาสตรสําหรับผู ปวย

ซึ่งรวมถึงการคํานวณขนาดยาเริ่มตนเพื่อคงระดับยาในเลือดที่เหมาะสม การติดตามระดับยาในเลือดหรือของเหลวในรางกาย

และการปรับเปลี่ยนการใหยาตามคาพารามิเตอรทางเภสัชจลนพลศาสตรที่ไดจากการคํานวณ และตามสภาวะทางคลินิกของ

ผูปวย เพื่อใหไดผลการรักษาที่ดี

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Page 52: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

51

562 381 Clinical Pharmacokinetics

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care by principles of clinical pharmacokinetic for individual patients,

including calculation of initial dosage to maintain dosage regimen, drug monitoring in blood or body fluids, and appropriate

dosing adjustment based on calculated pharmacokinetic parameters and the patient's clinical conditions for optimal therapy.

551

342

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล

(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม โรงพยาบาล ศึกษาและฝกปฏิบัติงาน

ดานระบบการบริการและบริหารเภสัชกรรมโรงพยาบาล ครอบคลุมงานจัดซื้อจัดหาเวชภัณฑ บริการจายยาผูปวยนอก และยาผู

ปวยใน งานการผลิตยา การประเมินใบสั่งยาหรือสารอาหารทางหลอดเลือดดําสําหรับผูปวยเฉพาะราย ในดานความถูกตองของ

ขนาดที่ใช การเขากันไดและความคงตัวของยาเตรียม ตั้งแตผลิตจนกระจายไปยังหอผูปวยเพื่อใหผูปวยไดรับผลิตภัณฑที่มี

คุณภาพดีและปลอดภัย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in hospital pharmacy settings; study and practice of hospital pharmacy

services and administration services, including drug procurement and stock, drug dispensing to outpatients and inpatients;

extemporaneous preparations especially parenteral preparations; evaluation of parenteral drug and nutrition prescrib

individual patients concerning appropriate dosage regimen, compatibility and stability of drug from the time of preparation,

distribution until administration to patients to ensure safety and good quality pharmaceutical products.

551

343

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง

กุมารเวชศาสตร

(Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพโดยนําหลักการบริบาลทางเภสัชกรรมมาใชในการดูแลผูปวยเด็ก รวมกับบุคลากรทางการ

Page 53: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

52

แพทยสาขาอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการเก็บขอมูลของผูปวยจากแหลงตางๆ การนําขอมูลที่ไดมาประมวลหาปญหา แกไขและป

ปญหาอันอาจเกิดจากการใชยา วางแผนการรักษา และการติดตามการใชยาสําหรับผูปวยแตละราย ตลอดจนการใหคําแนะนํา

สารสนเทศทางยา และการใหคําปรึกษาแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice based on pharmaceutical care for pediatric patients, collaborating with other health care

providers, including patient information gathering, analyzing data to determine, resolve and prevent drug related problems;

drug therapy planning and therapeutic monitoring for individual patients, including drug information advising and patient

counseling.

551

344

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางผูสูงอายุ

(Pharmaceutical Care Clerkship in Geriatrics)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพโดยนําหลักการบริบาลทางเภสัชกรรมมาใชในการดูแลผูสูงอายุ รวมกับบุคลากรทางการ

แพทยสาขาอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการเก็บขอมูลของผูปวยจากแหลงตางๆ การนําขอมูลที่ไดมาประมวลหาปญหา แกไขและป

ปญหาอันอาจเกิดจากการใชยา วางแผนการรักษา และการติดตามการใชยาสําหรับผูปวยแตละราย ตลอดจนการใหคําแนะนํา

สารสนเทศทางยา และการใหคําปรึกษาแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice based on pharmaceutical care for geriatric patients, collaborating with other health care

providers, including patient information gathering, analyzing data to determine problem, resolve and prevent drug related

problems; drug therapy planning, and therapeutic monitoring for individual patients, including drug information advicing

and patient counseling.

551

345

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคติดเชื้อ

(Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

Page 54: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

53

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพโดยนําหลักการบริบาลทางเภสัชกรรมมาใชในการดูแลผูปวยโรคติดเชื้อ รวมกับบุคลากร

ทางการแพทยสาขาอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการเก็บขอมูลของผูปวยจากแหลงตางๆ การนําขอมูลที่ไดมาประมวลหาปญหา แก

องกัน ปญหาอันอาจเกิดจากการใชยา วางแผนการรักษา การติดตามการใชยาสําหรับผู ปวยแตละราย การใหคําแนะนํา

สารสนเทศทางยา และการใหคําปรึกษาแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice based on pharmaceutical care for patients with infectious diseases, collaborating with other

health care providers, including patient information gathering, analyzing data to determine, resolve and prevent drug related

problems; drug therapy planning, and therapeutic monitoring for individual patients, including drug information advicing

and patient counseling.

551

346

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคหัวใจและหลอดเลือด

(Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพโดยนําหลักการบริบาลทางเภสัชกรรมมาใชในการดูแลผูปวยโรคหัวใจและหลอดเลือด

รวมกับบุคลากรทางการแพทยสาขาอื่นๆ โดยเนนการเก็บขอมูลผูปวยจากแหลงตางๆ การนําขอมูลที่ไดมาประมวล แก

และปองกันปญหาอันอาจเกิดจากการใชยา การวางแผนการรักษา การติดตามการใชยาสําหรับผูปวยแตละราย การใหคําแนะนาํ

สารสนเทศทางยา และการใหคําปรึกษาแกผูปวย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice based on pharmaceutical care principle for patients with cardiovascular diseases collaborating

with other health care providers, including patient information gathering, analyzing data to determine, resolve and prevent

drug related problems; drug therapy planning, and therapeutic monitoring for individual patients, including drug information

advicing and patient counseling.

551

347

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมโดยใชขอมูลอิเล็กทรอนิกสของการดูแลผูปวย

(Pharmaceutical Care Clerkship in Electronic Pharmaceutical Care)

Page 55: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

54

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบตัิงานบริบาลทางเภสัชกรรม

เบือ้งตน

562 380 การจัดการขอมูลในการบริบาลทางเภสัชกรรม

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลเภสัชกรรมโดยใชขอมูลอิเล็กทรอนิกสในกระบวนการดูแลผูปวยปกติประจําวัน

จากระบบคอมพิวเตอรของหนวยงาน มาใชในการสืบคน แกไข และปองกันปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยาในผูปวยที่มีโอกาส

เกิดปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยาสูง

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

562 380 Information Management in Pharmaceutical Care

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care based on electronic routine patient care data recorded in the

information system of health care settings to identify, solve, and prevent drug related problems in patients with high potent

drug related problems.

551

348

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยที่ใชการรักษาทางเลือก

(Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบื้องตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติการบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยที่ใชการรักษาทางเลือก ครอบคลุม ยาสมุนไพร การแพทยแผนไทย

และอื่นๆ

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical care in patients based on alternative medicine, including herbal medicine,

Thai traditional medicine and others.

551

349

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในการจัดการความเสี่ยงและความปลอดภัยของผูปวย

(Pharmaceutical Care Clerkship in Risk Management and Patient Safety)

การประเมินผล : S / U

Page 56: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

55

วิชาบังคับกอน : 562 378 การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสชักรรมเบือ้งตน

เงือ่นไขการลงทะเบียน : ตองเปนนกัศกึษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปที่ 6

การฝกปฏิบัติวิชาชีพโดยการประยุกตใชแนวทางการบริบาลทางเภสัชกรรมในการจัดการความเสี่ยงของระบบยาของ

หนวยงานที่ใหบริการสุขภาพ เพื่อใหการดูแลผูปวยอยางปลอดภัย

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 562 378 Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship

Condition for registration : 6th year students

Professional practice by applying of pharmaceutical care in risk management of drug system in health care settings

in order to provide patient safety care.

55 1

350

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 1

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship I)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ โดยเนนการประยุกตความรูเพื่อการ

คุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข การคนหาและแกปญหาทางสาธารณสุข การใชยาในชุมชนและการสงตอ การวางแผน และ

ประยุกตความรูเพื่อการบริหารงานดานเภสัชกรรมในหนวยงานตางๆ โดยฝกปฏิบัติในสถานพยาบาลตางๆ ทั้งสวนรัฐและ

เอกชน รานยาแผนปจจุบัน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา บริษัทยาหรือผูประกอบการ

ดานยาหรือผลิตภัณฑสุขภาพ โดยสถานที่ฝกปฏิบัติงานไดรับความเห็นชอบจากกรรมการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice integrating social and administrative pharmacy, emphasizing knowledge application for health

consumer protection, indentifying and solving public health problems, community’s medication usage and referral system,

planning and applying knowledge to administrate different pharmaceutical organizations by offering training programs in both

private and public hospitals, modern medicine drugstores, provincial public health offices, Food and Drug Administration

(FDA), manufacturers and other medical production or health products approved by a professional practice committee.

55 1

351

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 2

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship II)

การประเมินผล : S / U

Page 57: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

56

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการตอเนื่องดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ เพื่อสรางเสริมทักษะ

และประสบการณใหมากขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice integrating social and administrative pharmacy to enhance skills and

experiences.

55 1

352

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 3

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship III)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการตอเนื่องดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ เพื่อสรางเสริมทักษะ

และประสบการณใหมากขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice integrating social and administrative pharmacy to enhance skills and

experiences.

55 1

353

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 4

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship IV)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการตอเนื่องดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ เพื่อสรางเสริมทักษะ

และประสบการณใหมากขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Page 58: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

57

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice integrating social and administrative pharmacy to enhance skills and

experiences.

55 1

354

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 5

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship V)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการตอเนื่องตอเนื่องดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ เพือ่สรางเสรมิ

ทักษะและประสบการณใหมากขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice integrating social and administrative pharmacy to enhance skills and

experiences.

55 1

355

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสชัศาสตรสังคมและการบริหาร 6

(Social and Administrative Pharmacy Clerkship VI)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการตอเนื่องดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารจัดการ เพื่อสรางเสริมทักษะ

และประสบการณใหมากขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice integrating social and administrative pharmacy to enhance skills and

experiences.

55 1

356

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการศึกษาระบบงานและการกําหนดปญหา

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Study and Problem Identification)

Page 59: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

58

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ โดยเนนการศึกษาระบบที่ทําอยูใน

แหลงฝก รวมทั้งกําหนดปญหาท่ีเกิดขึ้น

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice in pharmaceutical and health informatics, focusing on study of a pharmaceutical system at a

practical site and identitfying the problem of the system.

55 1

357

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการวิเคราะหระบบงานและแนวทางการแกปญหา

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Analysis and Solutions to Problem)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตอเนื่องดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ โดยเนนการออกแบบและ

วิเคราะหระบบงาน การออกแบบฐานขอมูลตามหลักการของแบบจําลองมโนทัศน แนวทางการแกไขปญหา

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice in pharmaceutical and health informatics, focusing on designing and analyzing

system, designing database based on conceptual model principle, solution to problems.

551

358

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิงบูรณาการ 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics I)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ครอบคลุมการออกแบบ

ในการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ การดูแลรักษาระบบขอมูล การคนคืนขอมูลจากแหลงตาง ๆ รวบรวมขอมูล การประเมิน

และประมวลขอมูลเพื่อการนําไปใชประโยชนทางเภสัชกรรมและดานสุขภาพรวมถึงเทคนิคการนําเสนอในรูปแบบตางๆ

Page 60: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

59

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice integrating pharmaceutical and health informatics, including design, implementation, and

maintenance of data manipulation system; data retrieving from various sources; analyzing and processing data fo

pharmaceutical and health usage as well as various presentation techniques.

551

359

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิงบูรณาการ 2

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics II)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเชิงบูรณาการดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ครอบคลุมการออกแบบ

ในการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ การดูแลรักษาระบบขอมูล การคนคืนขอมูลจากแหลงตาง ๆ รวบรวมขอมูล การประเมิน

และประมวลขอมูลเพื่อการนําไปใชประโยชนทางเภสัชกรรมและดานสุขภาพรวมถึงเทคนิคการนําเสนอในรูปแบบตางๆ

เนื้อหาตอเนื่องจากรายวิชา 551 358 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิงบูรณาการ

1

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Professional practice integrating pharmaceutical and health informatics, including design, implementat

maintenance of data manipulation system; data retrieving from various sources; analyzing and collecting of data for

pharmaceutical and health usage as well as various presentation techniques; a continuation of course 551 358

Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics I.

55 1

360

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation I)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตอเนื่องดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ การจัดทําระบบ การเลือก

ฮารดแวรและซอฟตแวร การพัฒนาระบบตามที่ไดออกแบบไว

Page 61: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

60

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice on pharmaceutical and health informatics; system implementation; hardware

and software selection; development of systems based on designed models.

55 1

361

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 2

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation II)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตอเนื่องดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ การจัดทําระบบ การเลอืกฮารดแวร

และซอฟตแวร การพัฒนาระบบตามที่ไดออกแบบไว ซึ่งมีเนื้อหาตอเนื่องจากรายวิชา 551 360 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดาน

สารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 1

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice on pharmaceutical and health informatics; system implementation; hardware and

software selection; development of systems based on designed models; a continuation of course 561 360 Pharmaceutical and

Health Informatics Clerkship in System Implementation I.

551

362

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการวิเคราะหขอมูล การคนคืนขอมูล และการ

นําเสนอขอมูล 1

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing I)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตอเนื่องดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ การวิเคราะหขอมูลดานยาและ

สุขภาพ บนหลักการพื้นฐานของ สถิติ ปญญาประดิษฐ การทําเหมืองขอมูล การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนคืนขอมูล

วิธีการเขาถึงและประเมินขอมูลจากแหลงขอมูล ทั้งในดานเนื้อหา โครงสรางเอกสาร โครงสรางของแหลงใหขอมูล พรอมทั้ง

วิธีการนําเสนอขอมูลดานยาและสุขภาพอยางเหมาะสมผานสื่อตางๆ

Course Evaluation : S/U

Page 62: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

61

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice in pharmaceutical and health informatics; pharmaceutical and health data

analysis based on statistics; artificial intelligence; data mining; information retrieval technology; methods to access and

evaluate data from information sources using content, structure of documents and sources of information, includ

presenting of pharmaceutical and health information using appropriate media.

551

363

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการวิเคราะหขอมูล การคนคืนขอมูล และการ

นําเสนอขอมูล 2

(Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing II)

การประเมินผล : S / U

วิชาบังคับกอน : 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 6

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตอเนื่องดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ การวิเคราะหขอมูลดานยาและ

สุขภาพ บนหลักการพื้นฐานของ สถิติ ปญญาประดิษฐ การทําเหมืองขอมูล การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนคืนขอมูล

วิธีการเขาถึงและประเมินขอมูลจากแหลงขอมูล ทั้งในดานเนื้อหา โครงสรางเอกสาร โครงสรางของแหลงใหขอมูล พรอมทั้ง

วิธีการนําเสนอขอมูลดานยาและสุขภาพอยางเหมาะสมผานสื่อตางๆ ซึ่งมีเนื้อหาตอเนื่องจากรายวิชา 551 362

ปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการวิเคราะหขอมูล การคนคืนขอมูล และการนาํเสนอ

ขอมูล 1

Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : 550 351 Professional Practice

Condition for registration : 6th year students

Continuing professional practice in pharmaceutical and health informatics; pharmaceutical and health data

analysis based on statistics; artificial intelligence; data mining; information retrieval technology; methods to access and

evaluate data from sources of information using content, structure of documents and sources of information, including

presenting of pharmaceutical and health information using appropriate media; a continuation of course 551 362

Pharmaceutical and Health InformaticsClerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing I.

551

364

จุลนิพนธ 1

(Senior Project I)

วิชาบังคับกอน : 080 144 หลักการวิจัย

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี 5

Page 63: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

62

การฝกปฏิบัติกระบวนการวางแผนการวิจัยทางเภสัชศาสตร การตั้งคําถามงานวิจัย กําหนดกรอบแนวคิด การคนคืน

ขอมูลจากฐานขอมูลตางๆ เพื่อทบทวนวรรณกรรม การวางแผนวิธีดําเนินงานวิจัย เพื่อเขียนโครงรางงานวิจัยและนําเสนอ

เนนการรวมปฏิบัติงานเปนหมูคณะ

Pre-requisite : 080 144 Principles of Research

Condition for registration : 5th year students

Practice of research planning process in pharmacy, setting research questions, specifying conceptual frameworks,

data retrieving from databases to review literature; research methodology planning to write and to present research proposals,

focusing on teamwork practice.

551

365

จุลนิพนธ 2

(Senior Project II)

วิชาบังคับกอน : 551 364 จุลนิพนธ 1

การศึกษาตอจากวิชาจุลนิพนธ 1 เพื่อดําเนินการวิจัยทางเภสัชศาสตร การวิเคราะหและประมวลผลการวิจัย การ

วิจารณและสรุปผลการวิจัย รวมถึงการเตรียมขอมูลเพื่อเขียนรายงานและนําเสนอผลการวิจัย โดยเนนการรวมปฏิบัติงานเปน

หมูคณะ

Pre-requisite : 551 364 Senior Project I

Continuation of Senior Project I to conduct research in pharmacy, analyze and process research data, discuss and

conclude research results, including prepare to write and to present research report, focusing on teamwork practice.

554

101

สมุนไพรพื้นฐาน

(Elementary Herbal Medicines)

พืชและผลิตภัณฑธรรมชาติอื่น ๆที่มีความสัมพันธตอชีวิตประจําวัน เนนการใชเปนยารักษาโรค อาหาร เครือ่งสาํอาง และพชื

พิษ

Plants and natural products related to daily life, with emphasis on medicinal, food, cosmetic and poisonous plants.

554

102

ความรูพื้นฐานดานยา

(Basic Drug Knowledge)

ความรูโดยทั่วไปเกี่ยวกับยาบําบัดโรค โดยจะเรียนรูเกี่ยวกับคุณสมบัติทั่วไปของยาบําบัดโรค แหลงที่มาของยา

การแพรกระจายของยา ขนาดใช ความแรง พิษ การแบงประเภทของยา การใชยาในทางที่ถูกตอง มาตรการความปลอดภัย

ยาสามัญประจําบาน ยาที่รับจากรานขายยาโดยไมตองใชใบสั่งยา สารเสพติด กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับยา ลักษณะ

Page 64: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

63

การใชยาในสังคมไทย

General knowledges about drugs with emphasis on general properties, sources, distributions, dosages, potency,

toxicity, categorization; rational uses, safety measures, household remedies, over the counter drugs, drug abuses, laws and

regulations of drugs, behavioral drug use patterns in Thai society.

554

103

มนุษยกับสารพิษ

(Man and Toxic Substances)

พิษจากสารเคมี อาหาร และสิ่งอื่น ๆ ท่ีพบทั่วไปในชีวิตประจําวัน การปฐมพยาบาลเบื้องตน กฎหมายที่เกี่ยวของ

การปองกัน และการเลือกใชสารอุปโภคบริโภค เพื่อใหผูใชปลอดภัยจากพิษเหลานั้น

Toxicity from chemicals, foods and other substances encountered in everyday life; first-aid treatments; relevant

laws; prevention and selection of consuming products to safeguard consumers from being intoxicated.

554

104

อาหารเพื่อสุขภาพ

(Food for Health)

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับความตองการอาหารของรางกาย องคประกอบของอาหาร สุขลักษณะของอาหารกับ

สุขภาพ อาหารที่ไมไดสัดสวนกับโรค อุปนิสัยการรับประทานอาหารกับสุขภาพ ปญหาทางโภชนาการ

Introduction to bodily needs of food; compositions of food; food hygiene and health; diet imbalanced with diseases;

eating habits and health; nutritional problems.

561

104

พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุลสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 512 106 ชีววิทยาทั่วไป

องคประกอบพ้ืนฐานภายในเซลล คุณสมบัติและหนาท่ีขององคประกอบเซลล วิธีการศึกษาทางดานชีวเคมี การ

ควบคุมกิจกรรมในระดับเซลล การขนสงสารผานเยื่อหุมเซลล หลักการเบื้องตนทางชีววิทยาระดับโมเลกุล โครงสรางและ

การทํางานของยีนและโครโมโซม การควบคุมการแสดงออกของยีน หลักการและเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเบื้องตนเพื่อ

ประยุกตในทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 512 106 General Biology

Fundamental components of cells; properties and functions of cell organelles; methods in biochemistry; regulations of

cellular activity; transport across cell membranes; basic principles in molecular biology; structures and functions of genes

and chromosomes; control of gene expression; principles and basic techniques in genetic engineering for pharmaceutical

applications.

Page 65: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

64

561

105

สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Human Physiology for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 104 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกลุ

สําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

เนื้อหาเชิงบูรณาการของกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา ชีวเคมี โดยเนนถึงโครงสรางและหนาที่ของเซลล เนื้อเยื่อ

อวัยวะ และระบบตางๆ ของรางกายมนุษยในภาวะปกติ รวมทั้งการรักษาภาวะธํารงดุลของรางกาย

Pre-requisite : 561 104 Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy

Students

Integrated biochemical, anatomical and physiological studies focusing on structures and functions of cells,

tissues, organs and systems of a human body in the normal state, including homeostasis.

561

135

ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Human Physiology Laboratory for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 105 สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร*

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการเพื่อใหเขาใจพื้นฐานทางสรีรวิทยามนุษย และระบบการควบคุมการทํางานของเซลล เนื้อเยื่อ และอวัยวะ

ตางๆ ของรางกายมนุษย โดยมีเนื้อหาสอดคลองกับรายวิชา 561 105 สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 561 105 Human Physiology for Pharmacy Students *

* can be co-requisite

Laboratory practice to understand principles of human physiology and regulations of cells, tissues, and organs of

a human body; contents related to 561 105 Human Physiology for Pharmacy Students.

561

204

ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Biochemistry for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 513 256 หลกัเคมอีินทรีย

561 104 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกลุ

สําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

เนื้อหาเชิงบูรณาการของชีวเคมีทางการแพทยในแงโครงสรางและหนาที่ของสารชีวโมเลกุล จลนศาสตรและการ

ทํางานของเอนไซม กระบวนการเมแทบอลิซึมของสารชีวโมเลกุล หลักการทางโภชนาการ

Pre-requisite : 513 256 Principles of Organic Chemistry

561 104 Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy

Students

Page 66: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

65

Integrated study of medical biochemistry focusing on structures and functions of biomolecules, enzyme kinetics

and enzyme actions, metabolism of biomolecules and principles of nutrition.

561

205

จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Microbiology for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัช

ศาสตร

หลักการพ้ืนฐานทางจุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา ชีวเคมี และสรีรวิทยาของจุลชีพกอโรค หลักการทําใหปราศจากเชือ้

พยาธิในคนและสัตว โรคจากสัตวติดคน การพิสูจนเอกลักษณเชื้อความไวของเชื้อตอยาตานจุลชีพ การประยุกตใชจุลชีพ

ในทางวิทยาการทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 561 204 Medical Biochemistry for Pharmacy Students

Basic principles of microbiology, parasitology, biochemical and physiological aspects of pathogenic microorganisms;

principles of aseptic techniques; parasitic infestations in man and animals; animal-borne diseases; identification of

microorganisms; antimicrobial susceptibility tests; application of microorganisms in pharmaceutical sciences.

561

206

วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Immunology for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร *

* หรืออาจเรียนพรอมกัน

หลักการพื้นฐานทางภูมิคุมกันวิทยา คุณสมบัติของแอนติเจน กระบวนการอักเสบ โครงสรางและหนาที่ของ

แอนติบอดี การตอบสนองทางภูมิคุมกันวิทยาตอการปลูกถายอวัยวะ ตอมะเร็ง ตอการติดเชื้อ และพยาธิสภาพทีม่สีาเหตุมาจาก

ระบบภูมิคุมกันบกพรอง และภูมิคุมกันไวเกิน รวมทั้งหลักการและเทคนิคที่เกี่ยวของในทางภูมิคุมกันวิทยา

Pre-requisite : 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students *

* can be co-requisite

Basic principles of immunology; antigen properties, inflammation processes; structures and functions of

antibody; immune response to transplantation, tumor, infections; pathology caused by immunodeficiency and

hypersensitivity, including principles and techniques related to immunology.

561

207

พยาธิวิทยาทั่วไป

(General Pathology)

วิชาบังคับกอน : 561 105 สรีรวิทยามนษุยสําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

ธรรมชาติและกลไกการเกิดโรค การปรับตัวและการตายของเซลล การอักเสบ พยาธวิทิยาทีเ่กดิจากสิง่แวดลอมและ

Page 67: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

66

อาหาร ความผิดปกติของเลือด ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดและของเหลว ความผิดปกตใินเด็กและคนชรา พยาธิวิทยา

ทั่วไปของเนื้องอก

Pre-requisite : 561 105 Human Physiology for Pharmacy Students

Nature and mechanism of diseases, adaptation and death of cells; inflammation; pathology caused by

environment and nutrition; hematological and hemodynamic disorders; pediatric and geriatric disorders; general pathology

of neoplasia.

561

211

ชีววัตถุ

(Biologics)

วิชาบังคับกอน: 561 105 สรีรวิทยามนษุยสําหรบันักศกึษาเภสชัศาสตร 561 206 วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทย

สําหรับ

นักศกึษาเภสชัศาสตร

แหลงกําเนิด รูปแบบยา วิธีการใชยา ขอบงใช กลไกการออกฤทธิ์ ขอควรระวังและขอหามใชของชีววัตถุ ไดแก

วัคซีน และแอนติซีรั่ม ผลิตภัณฑที่ไดจากเลือด สารวินิจฉัยและรักษาภูมิแพ ยาโปรตีนและเปบไทดตางๆ ไดแก โมโน

แอนติบอดี ซัยโตไคน เอนไซม ฮอรโมน ตลอดจนกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของกับการใชและการควบคุมชีววัตถุ

Pre-requisite : 561 105 Human Physiology for Pharmacy Students

561 206 Medical Immunology for Pharmacy Students

Origins, dosage forms, dosage administration mechanism of actions, precautions and adverse effects of biologics

including vaccines, antisera, blood products, agents for diagnosing and curing of allergy; protein and peptide drugs

including therapeutic monoclonal antibodies, cytokines, enzymes, hormones, including laws and regulations concerning

utilization and control of biologics.

561

234

ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Biochemistry Laboratory for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนกัศกึษาเภสชั

ศาสตร *

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการเพื่อใหเขาใจเทคนิคและเนื้อหาที่สอดคลองกับรายวิชา 561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษา

เภสัชศาสตร

Pre-requisite :561 204 Medical Biochemistry for Pharmacy Students*

* can be co-requisite

Laboratory practice to understand techniques and contents related to 561 204 Medical Biochemistry for

Page 68: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

67

Pharmacy Students.

561

235

ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

(Medical Microbiology Laboratory for Pharmacy Students)

วิชาบังคับกอน : 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร *

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการเพื่อใหเขาใจเทคนิคและเนื้อหาที่สอดคลองกับรายวิชา 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษา

เภสัชศาสตร

Pre-requisite :561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students*

* can be co-requisite Laboratory practice to understand techniques and contents related to 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students.

561

241

เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร

(Pharmaceutical Biotechnology)

วิชาบังคับกอน : 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร

เนื้อหาเชิงบูรณาการของการประยุกตใชฐานขอมูลทางชีววิทยา ยีน โปรตีน เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร

กรรมวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยีและระบบนําสงยาเพื่อผลิตเภสัชภัณฑและเคร่ืองสําอาง

Pre-requisite : 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students

Integrated study of application of biological databases; gene; protein; genetic engineering techniques

biotechnology processes; nanotechnology and drug delivery systems in the production of pharmaceuticals and cosmetics.

561

242

โภชนาการและโภชนบําบัด

(Nutrition and Nutritional Therapy)

วิชาบังคับกอน : 561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนกัศกึษาเภสชัศาสตร

หลักโภชนาการในมนุษย สารอาหาร การประเมินภาวะโภชนาการ โภชนาการในวัยตางๆ ภาวะทุพโภชนาการ

โรคอวน และโภชนบําบัดสําหรับโรคตางๆ

Pre-requisite : 561 204 Medical Biochemistry for Pharmacy Students Principles of human nutrition, nutrients, nutritional assessment, nutrition through lifespan, malnutrition, obesity, and dietary

therapy of various diseases.

Page 69: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

68

561

243

การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา

(Drug Biotransformation)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสชัวิทยา 2

หลักการเปลี่ยนรูปยาในรางกาย เมแทบอลิซึมแบบวัตภาคที่ 1 และวัตภาคที่ 2 วิถีการเปลี่ยนรูปตาง ๆ ของยาพรอม

กลวิธาน การเหนี่ยวนําและการยับยั้งการเปลี่ยนรูปของสารหรือยา การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยาภายนอกตับ

เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยาที่เปนพื้นฐานของอันตรกิริยาระหวางยาตอยา และยาตอสารหรืออาหาร

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Principles of transformation of drugs in the body; phase I and phase II metabolism; biotransformation pathways

and mechanisms; induction and inhibition of drugs or xenobiotics; extrahepatic biotransformation; drug biotransformation

resulting in drug-drug, drug-substance, and drug-food interaction.

561

244

เภสัชวิทยาจีโนม

(Pharmacogenomics)

วิชาบังคับกอน: 565 354 เภสชัวิทยา 2

ความแตกตางของพันธุกรรมในแตละบุคคลที่มีตอความไวของการเกิดโรค การตอบสนองตอยา การเกิดปฏิกิริยาไม

พึงประสงค และการเกิดพิษของยา เพื่อประยุกตใชในการศึกษาคนควา และออกแบบยา โดยมุงเนนการรักษาที่มีประสิทธิภาพ

เฉพาะบุคคล

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Genetic differences in individuals on the susceptibility of diseases; drug responses; drug adverse effects and

toxicity to apply for research study and drug design, emphasizing efficient therapy of individuals.

561

245

การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ

(Biological Quality Control in Pharmaceutical Products)

วิชาบังคับกอน: 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร

การควบคุมคุณภาพของยาโดยใชวิธีทางชีวภาพโดยเนนหลักการดานจุลชีววิเคราะหของยาปฏิชีวนะ วิตามิน และ

อื่นๆ การทดสอบประสิทธิภาพทางชีวภาพของยา การทดสอบความเปนพิษทั่วไป และความปราศจากเชื้อของยา

Pre-requisite : 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students

Quality control and assurance of pharmaceutical products utilizing biological methods, emphasizing micro

bioassays of antibiotics, vitamins, and other substances; determination of biological efficacy of drugs; determination of

general toxic effects and sterility of drugs.

Page 70: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

69

561

246

ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ

(Biological Quality Control in Pharmaceutical Products Laboratory)

วิชาบังคับกอน: 561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ *

* อาจเรียนพรอมกนัได

ปฏิบัติการเพื่อใหเขาใจเทคนิคและเนื้อหาที่สอดคลองกับรายวิชา 561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ

Pre-requisite : 561 245 Biological Quality Control in Pharmaceutical

Products *

* can be co-requisite

Laboratory practice to understand techniques and contents related to 561 245 Biological Quality Control in

Pharmaceutical Products.

56 1

302

ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม

(Safety of Foods and Drinking Water)

วิชาบังคับกอน : 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร

สวนประกอบของอาหารที่มีประโยชน สิ่งเจือปนในอาหารและน้ําดื่ม ภาชนะบรรจุ มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพ

อาหารและน้ําดื่ม การตรวจวิเคราะหที่เกี่ยวของ โดยเนนการคุมครองผูบริโภคตามกําหนดในกฎระเบียบ และขอบังคับที่

เกี่ยวของ

Pre-requisite : 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students

Useful components of foods; contaminants in foods and drinking water; food containers; quality control standards

of foods and drinking water; related methods of analysis, emphasizing consumer protection stated in related laws and

regulations.

561

311

เทคโนโลยชีีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร

(Molecular Biotechnology for Pharmacists)

วิชาบังคับกอน : 561 211 ชีววัตถ ุ

หลักการของเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุล เทคโนโลยีของดีเอนเอสายพันธุผสม การวิจัยระดับโมเลกุล การ

ควบคุมการแสดงออกของยีน การสังเคราะหโปรตีนในระบบตาง ๆ วิศวกรรมโปรตีน การผลิตโมเลกุลที่ใชรักษา ปองกัน และ

วินิจฉัยโรค รวมทั้งการกํากับดูแล และการใชประโยชนจากอนูเทคโนโลยีชีวภาพ รวมทั้งปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหา

รายวิชา

Pre-requisite : 561 211 Biologics

Page 71: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

70

Principles of molecular biotechnology; recombinant DNA technology; molecular biology research studies;

regulation of gene expression; protein synthesis in various systems; protein engineering; production of molecules for use in

therapy, prevention and diagnosis, including regulation and application of molecular biotechnology; laboratory related to

contents described above.

562

362

เภสชับําบัด 2

(Pharmacotherapeutics II)

วิชาบังคับกอน : 565 355 เภสชับําบัด 1

พื้นฐานทางพยาธิสรีรวิทยา สาเหตุตางๆของการเกิดโรค และการใชยาเพื่อรักษาความผิดปกติของระบบตางๆ ของ

รางกาย รวมถึงโรคติดเชื้อ ซึ่งมีเนื้อหาตอเนื่องจากรายวิชา 565 355 เภสัชบําบัด 1 โดยเนนการบูรณาการความรูในการวางแผน

ติดตามการใชยาอยางเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาทักษะของการแกปญหาทางคลินิกโดยใชกรณีศึกษา

Pre-requisite : 565 355 Pharmacotherapeutics I

Fundamentals of pathophysiology; etiology and drug therapy in diseases and disorders of various body systems as

well as infectious diseases; a continuation of course 565 355 Pharmacotherapeutics I, with emphasis on integrating

appropriate drug therapy monitoring, including skill development in clinical problem-solving employing case studies.

56 2

363

เภสัชกรรมการจายยา

(Dispensing Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบัด 2 *

* อาจเรียนพรอมกนั

หลักและกระบวนการในการเลือกสรรยาที่เหมาะสมใหกับผูปวย การจายเภสัชภัณฑตามใบสั่งยา ขอคํานึงถึงความ

เขากันไดในคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และการรักษาของรายการยาในใบสั่งยา (อันตรกิริยาของยา) การใหคําปรึกษา หรือ

ขอมูลของรายการยาในใบสั่งยา โดยเฉพาะกระบวนการในการจายเภสัชภัณฑที่อาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เชน เภสชัภณัฑ

ที่ตองผสมเอง เภสัชภัณฑทางตา หู คอ จมูก เภสัชภัณฑที่ใหทางหลอดเลือด เภสัชภัณฑรังสี

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II *

* can be co-requisite

Principles and processes in selecting appropriate drugs to patients; dispensing according to prescriptions,

considering physical, chemical and therapeutic compatibility of drugs in prescription (drug interaction), counseling or

providing information of drug items in the prescription, especially, in the process of dispensing pharmaceutical products tha

require special expertise, for example, mixtures, Eye Ear Nose Throat (EENT) products, parenteral products,

radiopharmaceutical products.

Page 72: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

71

56 2

364

หลักการพ้ืนฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล

(Principles of Hospital Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 562 365 เภสชักรรมปฏิบัต ิ

ระบบบริหาร และการจัดการองคกรบริการเภสัชกรรมในสถานพยาบาลที่ใหบริการสาธารณสุขในระดับตางๆ

โรงพยาบาล สถานบริการปฐมภูมิ สถานบริการสุขภาพอื่นๆ

Pre-requisite : 562 365 Pharmacy Practice

Administrative systems and organization management in hospital pharmacy settings providing services at different

levels of care, icluding, hospitals, primary care units, other health care settings.

56 2

365

เภสัชกรรมปฏิบัติ

(Pharmacy Practice)

วิชาบังคับกอน : 565 355 เภสชับําบัด 1 *

* อาจเรียนพรอมกนั

ความรูพื้นฐานสําหรับการปฏิบัติงานดานเภสัชกรรมคลินิก รวมถึงระบบเอกสารและพารามิเตอรตางๆ ที่จําเปนใน

กระบวนการใหการบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโดยบงชี้ แกไข และปองกันปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยา เพื่อใหผูปวยมี

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

Pre-requisite : 565 355 Pharmacotherapeutics I *

* can be co-requisite

Basic knowledge for practicing clinical pharmacy, covering documentary systems and essential parameters in

pharmaceutical care, by identifying, solving, and preventing drug-related problems.

56 2

366

บริการเภสัชสนเทศ

(Drug Information Services)

วิชาบังคับกอน : 565 355 เภสชับําบัด 1 *

* อาจเรียนพรอมกนั

การบริการสารสนเทศทางยาอยางเปนระบบ เพื่อสนับสนุนการดูแลผูปวยบนหลักฐานทางเชิงประจักษ โดย

ครอบคลุมกระบวนการสืบคนและเลือกใชแหลงขอมูลที่เหมาะสม การวิเคราะหและประเมินคุณคาเอกสารทางการแพทย

ประเภทตางๆ การตอบคําถามทางยา และการสื่อสารและเผยแพรสารสนเทศทางยา

Pre-requisite : 565 355 Pharmacotherapeutics I *

* can be co-requisite

Systematic provision of drug information services to support evidence-based practices of patient care, including

processes of searching and selecting appropriate drug information sources, analyzing and appraising medical literature,

Page 73: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

72

answering drug information questions, and communicating and disseminating drug information.

56 2

367

ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

(Biopharmaceutical and Pharmacokinetics)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบัด 2 *

* อาจเรียนพรอมกัน

ความสัมพันธระหวางคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของยา ปจจัยทางชีวภาพและปจจัยอื่นๆ ตอพลศาสตรและ

จลนพลศาสตรของการดูดซึม การกระจาย การเปลี่ยนรูปและการขับถายยา ตลอดจน ชีวสภาพพรอมใช ศึกษาแบบจําลอง

ทางคณิตศาสตร การประยุกตใชหลักการเหลานี้ในแผนการประเมินคุณคาและความเหมาะสมของยาสําเร็จรูปในแงเภสัชวิทยา

และเภสัชบําบัดเมื่อนําไปใชกับผูปวย

Pre-requisite : 565 362 Pharmacotherapeutics II *

* can be co-requisite

Relationship between physical and chemical properties of drugs; biological and other factors on dynamics and

kinetics of drug absorption, distribution, metabolism, and excretion, including bioavailability; mathematical models;

application of pharmacokinetic principles in assessing pharmaceutical products from pharmacological and

pharmacotherapeutic perspectives.

56 2

369

การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานเภสัชกรรม

(Experiential Learning in Pharmacy Setting)

การปฏิบัติงานในหนวยงานเภสัชกรรม และความสัมพันธระหวางเภสัชกรกับผูปวย โดยมีประสบการณตรงกับผูปวย

ในหนวยงานเภสัชกรรม

Practice in pharmacy units and pharmacist-patient relationships through direct experience with patients in pharmacy

health care setting.

56 2

370

การบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ

(Evidence Based Pharmaceutical Care)

วิชาบังคับกอน : 562 366 บริการเภสัชสนเทศ

แนวคิดพื้นฐาน หลักการ และความสําคัญของการใชยาบนพื้นฐานของหลักฐานทางงานวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยและสถติทิี่

เกี่ยวของกับการวิจัยทางคลินิก การสืบคน และการวิเคราะหหลักฐานทางงานวิจัยที่เกี่ยวของ และการวิเคราะหตีความรายงาน

การวิจัย

Pre-requisite : 562 366 Drug Information Services

Page 74: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

73

Basic concepts, principles and importance of drug therapy based on research evidence; research methodology and

statistics in clinical research; retrieval and critical appraisal of related research evidence, and discussion of results in research

reports.

562

371

ปฏิบัติการการบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ

(Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory)

วิชาบังคับกอน : 562 366 บริการเภสชัสนเทศ

562 370 การบริบาลทางเภสชักรรมบนหลักฐาน

เชิงประจักษ *

* อาจเรียนพรอมกนั

การอานผล และประเมินรายงานการวิจัยทางคลินิกแบบตางๆ แนวทางเวชปฏิบัติคลินิก และการประเมินผลดาน

เศรษฐศาสตรสาธารณสุข การเลือกและนําเสนอขอมูลประกอบกระบวนการตัดสินใจเลือกใชยาและผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ

กับสุขภาพอื่นๆ

Pre-requisite : 562 366 Drug Information Services

562 370 Evidence Based Pharmaceutical Care *

* can be co-requisite

Practice in reading and critical appraising clinical research evidence, clinical practice guidelines and health

economic evaluation; selecting and presenting information used in decision making process of drugs and other health related

products.

562

372

การบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยนอก

(Ambulatory Care in Pharmacy Practice)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบดั 2

562 365 เภสชักรรมปฏิบัติ

การบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานพยาบาลสําหรับผูปวยนอก และการติดตามการใชยาในผูปวยโรคเรื้อรัง

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

562 365 Pharmacy Practice

Pharmaceutical care in ambulatory settings and drug therapy, monitoring drug usage in patients with chronic

diseases.

56 2

373

การบริบาลทางเภสัชกรรมบนแนวทางการรักษาปจจุบัน

(Current Therapy in Pharmaceutical Care)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบดั 2

Page 75: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

74

562 365 เภสชักรรมปฏิบัติ

การติดตามความกาวหนาทางวิชาการและสถานการณปจจุบันเกี่ยวกับการบริบาลทางเภสัชกรรม การนําเสนอและ

อภิปรายเกี่ยวกับแนวคิดใหมบนพื้นฐานการพัฒนาดานความกาวหนาของเภสัชบําบัด

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

562 365 Pharmacy Practice

Following academic advancement and recent knowledge in pharmaceutical care; presentation and discussion of

novel concepts based on development in advancement in pharmacotherapy.

56 2

374

เภสัชกรรมคลินิกขั้นสูง

(Advanced Clinical Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

หลักการขั้นสูงของเภสัชกรรมคลินิกปฏิบัติดานการบริการเภสัชสนเทศ การใหคําปรึกษาดานยา การปรับระดับยาเพื่อ

การบําบัดรักษา โภชนบําบัด การปฏิบัติงานบนหอผูปวย การแปลผลการตรวจทางหองปฏิบัติการของเหลวชีวภาพและอนุมูลเกลือ

แรในรางกาย การติดตามผลการใชยา การเตรียมยาเฉพาะอยาง การเตรียมยาผสมที่ใหทางหลอดเลือดดํา และยาที่มีพิษตอรางกาย

บูรณาการ องคความรูทางเภสัชศาสตรเชิงคลินิกปฏิบัติ และการสัมมนาทางเภสัชกรรมคลินิก

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Advanced principles of clinical pharmacy practice concerning drug information service, pharmacy counseling,

therapeutic drug monitoring, dietotherapy, practice in patient wards, interpretation of laboratory results of biological flui

and mineral radicals in body; drug therapy monitoring, preparation of intravenous admixture and toxic drugs; integrating

clinical pharmacy practice knowledge and seminar in clinical pharmacy.

562

375

เภสัชกรรมโรงพยาบาลและการจัดการการใชยา

(Hospital Pharmacy and Drug Utilization Management)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

การจัดการเพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุสมผลในการรักษากลุมโรคพื้นฐานในบริบทตางๆ ของงานเภสัชกรรม

โรงพยาบาล โดยพิจารณาผลกระทบในมุมมองของผูปวย ผูใหบริการสุขภาพ ผูใหประกันสุขภาพ และระบบสุขภาพ

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Management for rational utilization of particular drugs used in common diseases in various contexts of hospital

pharmacy, taking into consideration the impacts from the perpectives of patients, health care providers, health insurance

providers and health care systems.

56 2 ยาและการรักษาโรคติดเชื้อ

Page 76: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

75

376 (Drugs and Treatments in Infectious Diseases)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

ยาที่ใชในการรักษาโรคติดเชื้อในระบบตางๆ ของรางกาย ท้ังโรคติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อไวรัส และจุลชีพอื่นๆ

ที่เปนปญหาสําคัญทางดานการแพทย การผสมผสานองคความรูทางดานเภสัชวิทยา ดานเภสัชจลนพลศาสตร และทักษะดาน

การบริบาลทางเภสัชกรรม เพื่อการดูแลผูปวยโรคติดเชื้อ

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Drugs used in treating various infected organs in the body including infections caused by bacteria, fungi, virus and

other micro-organisms that can cause serious medical problems; combining pharmacology, pharmacokinetic knowledges and

skills in pharmaceutical care in infected patients.

56 2

377

การจัดการโรคเรื้อรังและผูปวยรายกรณี

(Chronic Disease and Case Management)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

การดูแลผูปวยดวยกระบวนการจัดการโรคเรื้อรังที่พบบอยซึ่งตองการการรักษาดวยยา และการจัดการผูปวยรายกรณี

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Management approaches to care for patients with common chronic diseases by drug usage and individual case

management.

56 2

378

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องตน

(Introduction to Pharmaceutical Care Clerkship)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบดั 2

562 365 เภสชักรรมปฏิบัติ

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องตน เนนการสรางความคุนเคยกับการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรวมกับ

บุคลากรทางการแพทย ฝกรวบรวมขอมูลของผูปวยและวิเคราะหปญหาจากการใชยาและวางแผนในการติดตามการใชยา

รวมถึงการใหขอมูลและความรูดานยาแกผูปวยและบุคลากรทางการแพทย

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

562 365 Pharmacy Practice

Basic practice in pharmaceutical care, emphasizing gaining familiarity with the provision of pharmaceutical care to

patients collaborating with health care providers; practice in collecting patient data and evaluating drug related problems,

drug therapy planning and monitoring, including providing drug information to patients and health care providers.

56 2

379

การสื่อสารเชิงวิชาชีพ

(Professional Communication)

วิชาบังคับกอน : 563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ

Page 77: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

76

หลักการและทักษะการสื่อสารระหวางบุคคล ท่ีนํามาประยุกตทางเภสัชกรรมปฏิบัติและการบริบาลผูปวย ครอบคลุม

การใหคําปรึกษาแกผูปวย ทักษะการสื่อสารและสัมพันธภาพระหวางบุคลากรทางการแพทยสาขาอื่น ๆ

Pre-requisite : 563 261 Communication and Health

Principles and skills in interpersonal communication applied to pharmacy practice and pharmaceutical care including

patient counseling, communication skills, and professional relationship with other health care providers.

562

380

การจัดการขอมูลในการบริบาลทางเภสัชกรรม

(Information Management in Pharmaceutical Care)

วิชาบังคับกอน : 562 366 บริการเภสัชสนเทศ

การนําขอมูลหลักฐานเชิงประจักษมาประยุกตใชในการบริบาลทางเภสัชกรรม และการนําขอมูลที่เกิดขึ้นจากการ

ปฏิบัติงานปกติประจําวันมาสะทอนปญหาเพื่อนําไปสูการปรับปรุงการดูแลผูปวย

Pre-requisite : 562 366 Drug Information Services

Application of evidence-based clinical information in pharmaceutical care and use of data generated from routine

practices to reflect the problems, leading to patient care improvement.

562

381

เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก

(Clinical Pharmacokinetics)

วิชาบังคับกอน : 562 367 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

การนําหลักการทางเภสัชจลนพลศาสตรมาใชในการกําหนดขนาดและความถี่ของการใหยา ตลอดจนติดตามตรวจ

ปรับระดับยาใหเหมาะสมสําหรับผูปวยแตละราย การวัดและแปลผลระดับยาในเลือดและในของเหลวชีวภาพอื่นๆ และการ

ประเมินความเสีย่งในการเกิดพิษของยาจากขนาดและความถี่ของการใหยาตางๆ เพื่อใหมีความปลอดภัยและประสิทธิภาพใน

การรักษา

Pre-requisite : 562 367 Biopharmaceutical and Pharmacokinetics

Application of pharmacokinetics principles in adjusting dosage regimen; therapeutic drug monitoring in individual

patients; measuring and interpreting drug concentration in blood and biological fluids; assessing risk of toxicity of drug

dosage and frequency of drug administration for safe and efficient therapy.

562

382

การประเมินผลลัพธทางเภสัชกรรม

(Outcomes Assessment in Pharmacy)

วิชาบังคับกอน: 562 365 เภสชักรรมปฏิบัต ิ

การวัดผลลัพธการรักษาทางคลินิก ดานคุณภาพชีวิต และเชิงเศรษฐศาสตร ที่สามารถนําไปประยุกตในการ

ประเมินผลการใหบริการสุขภาพ บริการเภสัชกรรม และการใชเภสัชภัณฑ

Pre-requisite : 562 365 Pharmacy Practice

Page 78: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

77

Determining clinical treatment outcomes in terms of humanistic-especially quality of life and economic applied in

evaluating healthcare services, pharmacy services, and pharmaceutical product usage.

56 2

383

การประเมินผลทางยา

(Drug Evaluation)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

การประเมินผลการพัฒนายากอนการทดสอบทางคลินิก และการทดสอบทางคลินิก รวมถึงการประเมินผลทางเภสัช

กรรม โดยเนนการจัดการขอมูลและประเมินผล

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Evaluation of drug development before clinical trials and clinical trials, including pharmaceutical evaluation with

emphasis on data management and evaluation.

56 2

384

หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ

(Current Topics in Pharmacy Practice)

วิชาบังคับกอน : 562 365 เภสัชกรรมปฏิบัติ

การติดตามความกาวหนาทางวิชาการในการรักษาโรค และ การบริบาลทางเภสัชกรรม

Pre-requisite : 562 365 Pharmacy Practice

Following academic advancement in disease therapy and pharmaceutical care.

56 2

385

ปญหาพิเศษทางบริบาลเภสัชกรรม

(Special Problems in Pharmaceutical Care)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสัชบําบัด 2

ปญหาเฉพาะที่เกี่ยวของกับการบริบาลเภสัชกรรม และแนวทางการปฏิบัติงานของเภสัชกรในการดูแลผูปวย

Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

Particular problems related to pharmaceutical care and practice guidelines for pharmacists in patient care.

56 2

386

โภชนาการคลินิกสําหรับเภสัชกร

(Clinical Nutrition for Pharmacist)

วิชาบังคับกอน : 562 365 เภสัชกรรมปฏิบัติ

ความรูพืน้ฐานทางโภชนาการคลินิก การประเมินภาวะโภชนาการในระดับบุคคล หลักการคํานวณความตองการ

พลังงานและสารอาหาร แนวทางการบริโภคเพื่อสุขภาพสําหรับคนปกติ หลักการใหโภชนบําบัดแกผูปวยเฉพาะโรค และ

Page 79: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

78

ความรูใหมดานโภชนาการเพื่อสุขภาพ

Pre-requisite : 562 365 Pharmacy Practice

Basic knowledge in clinical nutrition; nutritional assessment in individuals; principles of energy and nutritional

requirement calculation; concepts of consumption for health; principles of nutrition therapy in patients with specific

diseases, and novel nutritional knowledge for health.

563 251 สาธารณสุขพื้นฐาน

(Basic Public Health)

พื้นฐานสาธารณสุข ระบบและนโยบายของงานสาธารณสุข

ของประเ ทศไ ทย รวมทั้งงานส าธารณ สุ ขมูลฐาน แ ผนพัฒนา

สาธารณสุข ปญหาสาธารณสุข เครื่องมือที่ใชในงานสาธารณสุข

ครอบคลุม ชีวสถิติ ระบาดวิทยา เศรษฐศาสตร และระบบสารสนเทศ

Basic public health; system and policy in public health of

Thailand, including primary health care, public health development

plan, public health problems, instruments used in public health,

including biostatistics, epidemiology, economics, and informatic

systems.

2(2-0-4)

563 256 นิติเภสัช

(Pharmacy Laws)

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย หลักการทางนิติธรรม

พระราชบัญญัติยา กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน

ของเภสัชกรในการประกอบวิชาชีพตางๆ ความรับผิดชอบของเภสชักร

ตอสังคม การใชกฎหมายในการแกปญหาที่เกี่ยวของกับวิชาชีพเภสัช

กรรม

Basic knowledge in laws; concepts for nautirise; drug acts;

laws and regulations related to practice of pharmacists in different

professions; pharmacists’ responsibility for society; usage of laws to

solve problems related to pharmaceutical professions.

1(1-0-2)

563 257 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1

(Basic Pharmacy Administration I)

2(2-0-4)

Page 80: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

79

พื้นฐานของงานดานการบริหารงานทั่วไป ทั้งในลักษณะ

ของภาครัฐบาลและภาคเอกชน กระบวนการจัดการ ครอบคลุม การ

วางแผน การจัดองคกร การนํา และการควบคุม การตลาด ธุรกิจ และ

การประกันภัย การจัดการความเสี่ยง ตลอดจนกลวิธีแนวทางตางๆ ที่

สามารถนําไปประยุกตใชในการบริหารงานเภสัชกรรม

Fundamentals of general administration both in public and

private sectors; management process including planning, organizing,

leading and controlling, marketing, business, and insurances; risk

management including strategies applied in pharmaceutical

administration.

563 258 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2

(Basic Pharmacy Administration II)

วิชาบังคับกอน : 563 257 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1

หลักเบื้องตนเศรษฐศาสตรจุลภาคและมหภาค การบัญชีเพื่อ

การบริหาร การวิเคราะหงบการเงิน ระบบบัญชีตนทุน และการบริหาร

สินคาคงคลัง การประยุกตใชในการบริหารงานเภสัชกรรมในสาขา

ตางๆ

Pre-requisite : 563 257 Basic Pharmacy Administration I

Basic principles of microeconomics and macroeconomics;

accounting for administration; financial statement analysis; cost

accounting system and inventory administration; application for

various pharmaceutical administration.

2(1-3-2)

563 259 ระบบสุขภาพ

(Health System)

วิชาบังคับกอน : 563 251 สาธารณสุขพื้นฐาน

ความสําคัญและองคประกอบของระบบสุขภาพ ระบบ

บริการสุขภาพตางๆ รวมถึงความรับผิดชอบและบทบาทของการ

บริการ ธรรมชาติและลักษณะของงานบริการสุขภาพ การพัฒนาระบบ

สุขภาพ ระบบประกันสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ

2(2-0-4)

Page 81: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

80

Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health

Importance and components of health systems; various

health service systems, including responsibilities and roles of services;

natures and characteristics of health services; health system

development; health insurance systems and health behaviors.

563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร

(Principles of Pharmacoepidemiology and Pharmacoeconomics)

วิชาบังคับกอน : 515 203 สถติิสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

563 259 ระบบสขุภาพ

การวัดทางระบาดวิทยา รูปแบบการศึกษาในทางระบาด

วิทยา และการประยุกตใชระบาดวิทยาในงานสาธารณสุขและงานเภสชั

กรรม การประยุกตใชเภสัชเศรษฐศาสตรในการประเมินทางสุขภาพ

ครอบคลุมถึงมิติและผลลัพธในการประเมิน การจําแนกตนทุน ผลลัพธ

ทางสุขภาพประเภทตางๆ และเครื่องมือที่ใชในการประเมินทางดาน

เภสัชกรรม

Pre-requisite : 515 203 Statistics for Pharmacy Students

563 259 Health System

Measurement in epidemiology; study design in

epidemiology; application of epidemiology in public health and

pharmacy; application of pharmacoeconomics in healthcare

evaluation, including perspectives and outcomes, cost identification,

types of health outcomes, and evaluation tools in pharmacy.

1(1-0-2)

563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ

(Communication and Health)

วิชาบังคับกอน : 565 355 เภสัชบําบัด 1

การฝกปฏิบัติการสื่อสารในหนวยงานสาธารณสุข ฝกทักษะ

การ สื่อสารเพื่ อประเมินและจัดการกับปญหาดานสุ ขภาพของ

ผูรับบริการสุขภาพ และการสื่อสารกับบุคลากรทางดานสาธารณสุข

Pre-requisite : 565 355 Pharmacotherapeutics I

Communication practice in public health organizations;

1(0-3-0)

Page 82: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

81

communication skill practice to assess and manage health problems of

health service receivers; and communication with health care

providers.

563 262 การสื่อสารเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ

(Communication for Health Promotion)

วิชาบังคับกอน: 563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ

ทักษะการสื่อสารกลุม ปจจัยที่มีผลตอการสื่อสารกลุม

เคร่ืองมือในการสื่อสาร เทคนิคการพูดในที่ชุมชน ทักษะการใหความรู

ดานการสงเสริมสุขภาพแกประชาชน การใชสื่อในการสื่อสุขภาพกับ

บุคคลตางๆ รวมถึง แพทย เภสัชกร ผูปวย และประชาชนทั่วไป

Pre-requisite : 563 261 Communication and Health

Group communication skills; factors affecting group

communication; communication tools; public speaking techniques;

educational skills for health promotion to people; media use for health

communication with other people including physicians, pharmacists,

patients, and public.

3(1-6-2)

563 263 เภสัชเศรษฐศาสตร

(Pharmacoeconomics)

วิชาบังคับกอน: 563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร

แนวคิดพื้นฐานของเศรษฐศาสตรดานยา ความสําคัญของ

เศรษฐศาสตรตอระบบสาธารณสุข และนโยบายดานยา ระบบการเงิน

การคลังสาธารณสุข การประเมินทางเศรษฐศาสตรกับเทคโนโลยีดาน

สุขภาพ ครอบคลุมถึง การวิเคราะหตนทุน การประเมินผลลัพธ และการ

ใชเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรในการประเมินผล

Pre-requisite : 563 260 Principles of Pharmacoepidemiology and

Pharmacoeconomics

Basic concepts of pharmacoeconomics; importance of

economics to public health system and drug policy; healthcare financial

2(2-0-4)

Page 83: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

82

system; economic and health technology evaluation, including cost

analysis, outcome assessment, and use of economic tools for evaluation.

563 264 เภสัชระบาดวิทยา

(Pharmacoepidemiology)

วิชาบังคับกอน: 563 259 ระบบสขุภาพ

563 260 หลักเภสชัระบาดวิทยาและเภสชั

เศรษฐศาสตร

หลักการเภสัชระบาดวิทยา ประเภท รูปแบบและวิธีดําเนินการ

ดานเภสัชระบาดวิทยา สถิติที่ใชในงานดานเภสัชระบาดวิทยา การ

สอบสวนปญหาที่เกิดขึ้นจากการใชยา ระบบการเฝาระวังปญหาดาน

การใชยาและผลิตภัณฑสุขภาพ การประยุกตใชเภสัชระบาดวิทยาทาง

สาธารณสุขและทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 563 259 Health System

563 260 Principles of Pharmacoepidemiology and

Pharmacoeconomics

Principles of pharmacoepidemiology; types, design and

methodology in pharmacoepidemiology; statistics in

pharmacoepidemiology; drug related problem investigation;

drug and health product surveillance systems; applications of

pharmacoepidemiology in public health and pharmacy.

2(2-0-4)

563 265 หลักการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ (Principle of Consumer Protection in Health) วิชาบังคับกอน: 563 256 นิติเภสชั

563 259 ระบบสขุภาพ หลักการ แนวคิด กฎหมาย ขอบังคับ นโยบาย แผน กลวิธี กิจกรรมในการคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข สิทธิผูบริโภค

พฤติกรรมผูบริโภคดานสาธารณสุข กระบวนการตัดสินใจของปจเจกบุคคล จิตวิทยาสังคม ปจจัยที่มีผลตอผูบริโภคดานสุขภาพ Pre-requisite : 563 256 Pharmacy Laws

3(3-0-6)

Page 84: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

83

563 259 Health System Principles, concepts, laws, regulations, policies, plans,

strategies, activities in public health consumer protection; consumer rights; public health consumer behavior; individual decision making process; social psychology; factors affecting consumers’ health.

563 266 การตลาดสําหรับบริการทางสุขภาพเชิงวิชาชีพ

(Marketing for Professional Health Service)

วิชาบังคับกอน: 563 258 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2

แนวคิดและบทบาทที่สําคัญทางการตลาดสําหรับวิชาชีพ

บริการ การวิเคราะหโอกาสทางการตลาด การวิจัยและการเลือกตลาด

เปาหมาย การวางแผนการตลาด การจัดการสวนผสมทางการตลาด การ

จัดองคการ การควบคุมทางการตลาดสําหรับการบริการเชิงวิชาชีพ

Pre-requisite : 563 258 Basic Pharmacy Administration II

Important concepts and roles of marketing in professional

service; marketing opportunity analysis; research and target market

selection; marketing planning; marketing mix managing; organizing;

controlling for professional service.

3(3-0-6)

563 267 พฤติกรรมสุขภาพและจิตวิทยา

(Health Behavior and Psychology)

วิชาบังคับกอน: 563 259 ระบบสุขภาพ

พฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมการใชยา กระบวนการตัดสินใจ

ของปจเจกบุคคล ทฤษฎีการรับรู จิตวิทยาสังคม ปจจัยตางๆ และทฤษฎี

ที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพ การรับรูเกี่ยวกับความเจ็บปวย การรักษา

การปองกันโรค การสงเสริมสุขภาพ แนวทางการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมและการสงเสริมสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงความเชื่อและ

ทัศนคติทางดานสุขภาพ

Pre-requisite : 563 259 Health System

Health behavior; drug use behavior; individual decision

making process; perception theories, social psychology; factors and

theories affecting health behavior; perceptions on illness, treatment,

2(2-0-4)

Page 85: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

84

disease prevention, health promotion; guidelines for behavior change

and health promotion; changes in health beliefs and attitudes.

563 268 ระบบยา

(Drug System)

นโยบายแหงชาติดานยา นโยบายอื่นที่เกี่ยวของ ความสัมพันธ

ของระบบยากับระบบสุขภาพ ระบบยาครอบคลุมตั้งแต การคัดเลือกยา

การจัดหายา การกระจายยา และการใชยา บัญชียาหลักแหงชาติ ปญหา

ตางๆที่เกิดในระบบยาและมาตรการแกไข

National drug policy; other related policies; relationship

between drug system and health system; drug system including drug

selection, drug procurement, drug distribution, and drug utilization,

national list of essential drugs, problems and solutions in drug system.

3(3-0-6)

563 269 เภสัชศาสตรสังคม

(Social Pharmacy)

วิชาบังคับกอน: 563 259 ระบบสุขภาพ

มุมมองเชิงสังคมและวัฒนธรรม บูรณาการสหสาขาวิชา

ครอบคลุม สังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา การสื่อสาร เศรษฐศาสตร

เพื่ออธิบายปรากฏการณทางการแพทยที่เกี่ยวของ กับวิชาชีพทางสุขภาพ

และระบบยา

Pre-requisite : 563 259 Health System

Social and cultural perspectives; integrating multidisciplines

including sociology, anthropology, psychology, communication, and

economics to explain medical phenomenon related to health professions

and drug system.

2(2-0-4)

563 270 การบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชน (Pharmaceutical Care in Community Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 562 362 เภสชับําบัด 2

3(2-3-4)

Page 86: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

85

563 251 สาธารณสุขพืน้ฐาน 563 261 การสื่อสารกับสขุภาพ

การประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตน หลักการคัดกรองโรค การวางแผนการบริบาลเภสัชกรรมสําหรับผูปวยโดยเฉพาะอาการเจ็บปวยที่พบบอยๆในรานยา การสงตอผูปวย การติดตามดูแลผูปวยโรคเรื้อรังใน

รานยา การเรียนรูผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ ยาแผนโบราณในรานยา บทบาทและความรับผิดชอบของเภสัชกรชุมชน Pre-requisite : 562 362 Pharmacotherapeutics II

563 251 Basic Public Health 563 261 Communication and Health

Evaluation of primary health status; disease screening

principles; planning pharmaceutical care for patients especially those inflected with common illnesses found in community pharmacy; patient referral; follow up for chronic patients in pharmacy units, and

learning about health supplement products; traditional medicines in community pharmacy; roles and responsibilities of community pharmacists.

563 271 การจัดการเชิงกลยุทธทางเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร

(Strategic Management in Social and Administrative Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 563 258 การบริหารเภสชักิจเบือ้งตน 2

ความหมายและขอบเขตในการวางแผนยุทธศาสตร การ

จัดการเชิงกลยุทธทางวิทยาการสังคมและการจัดการทางเภสัชศาสตร

การกําหนดวิสัยทัศ นและพันธกิจขององคกร การวิ เคราะห

สภาพแวดลอมภายนอกและภายในองคกร การกําหนดเปาประสงคและ

วัตถุประสงค การสรางกลยุทธ และการนํากลยุทธไปดําเนินการ การ

ควบคุม การประเมินกลยุทธและประยุกตใชสําหรับองคกรทางเภสัช

ศาสตร

Pre-requisite : 563 258 Basic Pharmacy Administration II

Definition and scope in strategic planning and management in

social and administrative pharmacy organization; organization vision

and mission setting; external and internal environment analysis;

outcome and objective setting; strategy creation and implementation;

3(3-0-6)

Page 87: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

86

control, strategy evaluation and application in pharmaceutical

organizations.

563 272 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการทางระบบสุขภาพ

(Integrated Marketing Communication in Health System)

วิชาบังคับกอน : 563 266 การตลาดสําหรับบรกิารทางสุขภาพเชิง

วิชาชีพ

บทบาทและความสําคัญของการสื่อสารทางการตลาดแบบ

บูรณาการ และทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ การกําหนดวิธีการและอุปกรณจําเปน

ที่ใชในกระบวนการสื่อสาร การใชเครื่องมือสื่อสารทางการตลาด

คลอบคลุม ตราสินคา การโฆษณา การประชาสัมพันธ การสงเสริมการ

ขาย การตลาดเจาะตรง การตลาดเชิงกิจกรรม การกําหนดงบประมาณ

และการพิจารณาคัดเลือกสื่อที่เหมาะสมสําหรับงานทางระบบสุขภาพ

Pre-requisite : 563 266 Marketing for Professional Health Service

Role and importance of integrated marketing communication

and related theories; setting method and necessary equipments used in

communication process; communication tool usage in marketing,

including branding, advertising, public relation, sale promotion, direct

sale, event marketing, budgeting and appropriate media consideration

and selection in health system.

3(3-0-6)

563 273 การจัดการบริการในระบบสุขภาพ

(Health Service Management)

วิชาบังคับกอน : 563 266 การตลาดสําหรับบรกิารทางสุขภาพเชิง

วิชาชพี

ลักษณะของสถานบริการและการบริการในระบบสุขภาพ ตัว

แบบการพัฒนา การสรางความพึงพอใจ ทักษะที่จําเปนของบุคลากร

สาธารณสุขที่ทําหนาที่บริการ การจัดสถานที่สินคา การสรางเครือขาย

3(3-0-6)

Page 88: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

87

บริการ และกรณีศึกษา

Pre-requisite : 563 266 Marketing for Professional Health Service

Characteristic of service settings and servicing in health

system; blueprint for development; satisfaction creation; necessary

skills for health practitioners providing services; location and product

layout setting; service-networking and case studies.

563 274 เภสัชศาสตรสาธารณสุข

(Public Health Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 563 264 เภสัชระบาดวิทยา

โครงสรางและหลักการของการดําเนินงานสาธารณสุข นวัตกรรม

ตางๆ ของระบบสาธารณสุข ทิศทางของงานสาธารณสุขทั้งในอดีตและ

ปจจุบัน และแนวโนมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งภายในและภายนอกประเทศ

พรอมปฏิบัติการปญหาสาธารณสุขที่สําคัญและแนวทางการแกไข

Pre-requisite : 563 264 Pharmacoepidemiology

Structure and principles of public health procedures;

innovations of public health system; directions of public health in past

and present, and trends in future both inside and outside the country,

including practicing for public health problems and solving.

3(3-0-6)

563 275 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท

(Pharmacists and Rural Health Care)

วิชาบังคับกอน : 563 264 เภสัชระบาดวิทยา

การแกปญหาทางสาธารณสุขในชนบทที่เภสัชกรมีบทบาท

เกี่ยวของ ความเชื่อมโยงของปญหาสุขภาพกับปญหาอื่นๆ ของชนบท

เนนชนบทภูมิภาคตะวันตกของประเทศ

Pre-requisite : 563 264 Pharmacoepidemiology

Public health problem solving in rural areas involving with

pharmacists; correlation of health problems and other problems of

people in the rural areas, especially those in western region of Thailand.

4(2-6-4)

563 276 การสรรหาและการคัดเลือกยา 3(2-3-4)

Page 89: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

88

(Drug Procurement and Drug Selection)

วิชาบังคับกอน : 563 263 เภสัชเศรษฐศาสตร

กระบวนการสรรหา และคัดเลือกยาที่มีจําหนายในตลาด การ

ประเมินคุณคาทางยาทั้งดานประสิทธิผล ความปลอดภัย และความคุมคา

การวิเคราะหขอมูลทางยาจากเอกสารกํากับยาและเอกสารวิชาการ

Pre-requisite : 563 263 Pharmacoeconomics

Drug procurement and selection process of pharmaceutical

products sold in the market; drug evaluation for effectiveness; safety

and efficiency; drug information evaluation from leaflets and

academic documents.

563 277 กฎหมายสําหรับงานคุมครองผูบริโภค

(Laws for Consumer Protection)

วิชาบังคับกอน : 563 265 หลักการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการออกกฎหมาย ประเภท

และ ลําดับชั้นของกฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย การตีความกฎหมาย

การแกไขกรณีการขัดแยงของกฎหมายแตละฉบับ การอุดชองวางของ

กฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวของกับงานคุมครองผูบริโภค โดยเฉพาะการ

คุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข

Pre-requisite : 563 265 Principle of Consumer Protection in Health

Concepts and theories of legislation; types and levels of

laws; law enforcement; legal interpretation; solving contradictions

among bills, filling legal gaps; consumer protection-related laws,

especially those in public health.

2(2-0-4)

563 278 การบริบาลเภสัชกรรมเพื่อการสงเสริมฟนฟูสุขภาพ

(Pharmaceutical Care for Health Promotion and Rehabilitation)

วิชาบังคับกอน: 563 267 พฤติกรรมสุขภาพและจิตวิทยา

ผลิตภัณฑที่เปนปญหาสุขภาพ อนามัยชุมชน ปจจัยสงเสริมการ

บริโภค การแกปญหา โครงการที่เกี่ยวของ ความหมาย แนวคิด ทฤษฎี

รูปแบบ องคประกอบและ บทบาทของการบริบาลเภสัชกรรมในการปองกนั

2(2-0-4)

Page 90: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

89

การสงเสริมและฟนฟูสุขภาพ การใหสุขศึกษา การประเมินผลโครงการ

Pre-requisite : 563 267 Health Behavior and Psychology

Products causing health problems; community hygiene;

factors promoting consuming; problem solving; related projects;

definitions; concepts, theories, forms, components, and roles of

pharmaceutical care in preventing, promoting, and rehabilitating

health; health education; project evaluation.

564 111 เภสัชอนินทรียเคมี

(Inorganic Pharmaceutical Chemistry)

วิชาบังคับกอน : 513 108 เคมีท่ัวไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

แหลงกําเนิด วิธีการเตรียมขึ้นเปนตัวยา คุณสมบัติทางเคมี

และกายภาพ การทดสอบเอกลักษณ ความบริสุทธิ์ ประโยชนทางการ

บําบัด ขอควรระวัง การเก็บรักษา ของยาประเภทอนินทรียเภสัชสาร

Pre-requisite : 513 108 General Chemistry for Pharmacy Students

Sources, pharmaceutical preparations; chemical and physical

properties, identification, purity rubrics, therapeutic use, precautions

and storage of inorganic pharmaceutical compounds.

1(1-0-2)

564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี

(Pharmaceutical Chemistry Laboratory)

วิชาบังคับกอน : 564 111 เภสชัอนนิทรียเคมี *

* อาจเรียนพรอมกนั

หลักความปลอดภัย เทคนิคเบือ้งตนในการทําปฏิบัตกิารดาน

เภสชัเคมี การเตรียมตัวยาทางเคมอีนินทรีย และเคมอีินทรีย รวมทั้ง

การทดสอบเอกลกัษณ ความบริสุทธิ์ ประโยชนทางการบาํบัด ขอควร

ระวัง และการเก็บรักษา

Pre-requisite : 564 111 Inorganic Pharmaceutical Chemistry *

* can be co-requisite

Safety guidelines; basic techniques in pharmaceutical

chemistry laboratory; preparation, identification, purification,

therapeutic use, precautions, and storage of inorganic and organic

pharmaceutical compounds.

1(0-3-0)

Page 91: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

90

564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1

(Pharmaceutical Quality Control I)

วิชาบังคับกอน : 513 108 เคมีทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

หลักการและความรูเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ

และเภสัชภัณฑ เทคนิคตาง ๆ ในการวิเคราะหเชิงปริมาณ และ

คุณภาพ เนนการวิเคราะหขอมูลและแปรผลทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 513 108 General Chemistry for Pharmacy Students

Principles and knowledge of quality control of raw materials

and pharmaceutical products, including qualitative and quantitative

analytical techniques, emphasizing data analysis and result

interpretation in pharmaceutical sciences.

3(3-0-6)

564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1

(Pharmaceutical Quality Control Laboratory I)

วิชาบังคับกอน : 564 121 ปฏิบัตกิารเภสชัเคม ี

564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 *

* อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ และเภสัชภัณฑตาม

ตํารายา โดยวิธีวิเคราะหเชิงกายภาพในลักษณะตางๆ ที่สอดคลองกับ

เนื้อหาในรายวิชา 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 เนนการวิเคราะห

ขอมูลและแปรผลทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 564 121 Pharmaceutical Chemistry Laboratory

564 131 Pharmaceutical Quality Control I *

* can be co-requisite

Quality control laboratory of raw materials and

pharmaceutical products according to pharmacopoeias by various

analytical methods conforming to the contents of 564 131

Pharmaceutical Quality Control, emphasizing data analysis and

result interpretation in pharmaceutical sciences.

1(0-3-0)

Page 92: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

91

564 211 เคมีทางยา 1

(Medicinal Chemistry I)

วิชาบังคับกอน : 513 256 หลกัเคมอีินทรีย

การคนพบยา บูรณาการเคมีทางยากับเภสัชจลนพลศาสตรเพื่อ

การบริหารยาอยางมีประสิทธิผลในผูปวย เนนความสัมพันธระหวาง

โครงสรางทางเคมีกับการออกฤทธิ์ของยา ฤทธิ์และพิษของยา และ

อาการอันไมพึงประสงคที่เกิดจากยา

Pre-requisite : 513 256 Principles of Organic Chemistry

Drug discovery; integration of medicinal chemistry with

pharmacokinetics to achieve effectiveness of drug administration in

patients, with emphasis on structure-activity relationship of drugs,

drug action and toxicity, and adverse drug reaction.

3(3-0-6)

564 212 เคมีทางยา 2

(Medicinal Chemistry II)

วิชาบังคับกอน : 564 211 เคมีทางยา 1

การคนพบยา บูรณาการเคมีทางยากับเภสัชจลนพลศาสตรเพื่อ

การบริหารยาอยางมีประสิทธิผลในผูปวย เนนความสัมพันธระหวาง

โครงสรางทางเคมีกับการออกฤทธิ์ของยา ฤทธิแ์ละพษิของยา และอาการ

อันไมพึงประสงคที่เกิดจากยาโดยมีเนื้อหาตอเนื่องจาก 564 211 เคมีทาง

ยา 1

Pre-requisite : 564 211 Medicinal Chemistry I

Drug discovery; integration of medicinal chemistry with

pharmacokinetics to achieve effectiveness of drug administration in

patients, with emphasis on structure-activity relationship of drugs,

drug action and toxicity, and adverse drug reaction; a continuation of

course 564 211 Medicinal Chemistry I.

4(4-0-8)

564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

(Pharmaceutical Quality Control II)

วิชาบังคับกอน : 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1

การควบคุมคุณภาพของยาโดยเนนหลักการ แ ละการ

3(3-0-6)

Page 93: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

92

ประยุกตใชเคร่ืองมือในการวิเคราะหคุณภาพตามตํารายา เนนการ

วิเคราะหขอมูล และแปรผลทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 564 131 Pharmaceutical Quality Control I

Pharmaceutical quality control focusing on principles and

applications of instrumental analysis in pharmaceutical quality

control, emphasizing data analysis and result interpretation in

pharmaceutical sciences.

564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2

(Pharmaceutical Quality Control Laboratory II)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 *

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัตกิารการควบคุมคณุภาพวัตถุดิบและเภสชัภัณฑตาม

ตํารายาโดยการวิเคราะหโดยใชเครือ่งมือ เนนการวิเคราะหขอมลูและ

แปรผลทางเภสชัศาสตร

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II *

* can be co-requisite

Quality control laboratory of raw materials and

pharmaceuticals according to pharmacopoeias by instrumental

analysis, emphasizing data analysis and result interpretation in

pharmaceutical sciences.

1(0-3-0)

564 234 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห

(Integrated Study in Pharmaceutical Analysis)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

564 233 ปฏิบัตกิารการควบคุมคณุภาพยา 2

บูรณาการของการวิเคราะหแบบดั้งเดิมและการวิเคราะหโดย

ใชเคร่ืองมือ สําหรับการวิเคราะหเภสัชภัณฑตามขอกําหนดในตํารายา

ครอบคลุมทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

564 233 Pharmaceutical Quality Control Laboratory II

Integration of classical and instrumental methods for

3(1-6-2)

Page 94: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

93

pharmaceuticals analysis according to specification in pharmacopoeias

from both qualitative and quantitative perspectives.

564 235 การแยกเพื่อการวิเคราะหเภสัชภัณฑ

(Analytical Separation of Pharmaceuticals )

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการและเทคนิค ในการแยกวัตถุดิบทางยา สารเจือปนและ

ผลิตภัณฑสําเร็จรูป เพื่อใชในการพิสูจนเอกลักษณ การทดสอบความ

บริสุทธิ์และวิเคราะหหาปริมาณ

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Principles and techniques in analytical separation of

pharmaceutical raw materials, impurities and finished products for

identification, purity test and assay.

3(2-3-4)

564 236 วิธีพิเศษในการวิเคราะหยา

(Special Methods in Medicinal Analysis)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการและเทคนิค การวิเคราะหยาโดยอาศัยวิธีพิเศษ

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Principles and techniques for medicinal analysis using

special methods.

3(2-3-4)

564 237 เภสัชวิเคราะห

(Pharmaceutical Analysis)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการและเทคนิคขั้นสูงในการวิเคราะหเภสัชภัณฑ โดย

เนนการใชเครื่องมือขั้นสูงที่มีความซับซอน

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Principles and advanced techniques in pharmaceutical

product analysis focusing the application of sophisticated instruments.

4(2-6-4)

564 238 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ

(Medicinal Analysis in Biologicals)

3(2-3-4)

Page 95: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

94

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการ เทคนิค และกระบวนการวิเคราะหหาปริมาณตัวยา

สําคัญ และ/หรือเมแทบอไลทของตัวยาสําคัญในสารชีวภาพ โดยเนนการ

รูจักคิดคน การแปรผล การวางแผน และการพัฒนากระบวนการวิเคราะห

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Principles, techniques and methods of quantitative analysis of

drugs and/or their metabolites in biological fluids, focusing on inquisition,

result interpretation, planning and developing analysis process.

564 239 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร

(Current Topics in Pharmaceutical Sciences)

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนป

ที่ 4 ขึ้นไป

หัวขอปจจุบันทางเภสัชศาสตรที่อยูในความสนใจ ความรูใหม

และความกาวหนาของวิทยาการดานเภสัชศาสตร

Condition for registration : 4th year students

Current topics of interest in pharmacy; novel knowledge and

advancement in pharmaceutical sciences.

2(2-0-4)

564 240 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร

(Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

แนวคิดที่เกี่ยวของกับงานประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร

โดยเนนมาตรฐาน ขอตกลง และขอบังคับระดับชาติและนานาชาติ

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Concepts of quality assurance in pharmacy focusing the

national and international standards, agreements, and regulations.

2(2-0-4)

564 241 การสังเคราะหยา

(Pharmaceutical Synthesis)

วิชาบังคับกอน: 564 212 เคมีทางยา 2

เทคนิควิธีตาง ๆ ที่ใช ในกระบวนการสังเคราะหยา การ

ควบคุมปฏิกิริยา การหาปริมาณของยาที่สังเคราะหและการพิสูจน

3(2-3-4)

Page 96: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

95

เอกลักษณสาร

Pre-requisite : 564 212 Medicinal Chemistry II

Techniques used in drug synthesis, reaction control;

quantitative analysis and identification of synthesized products.

564 242 การเรียนรูเคมีทางยาโดยใชปญหาเปนฐาน

(Problem-Based Learning in Medicinal Chemistry)

วิชาบังคับกอน : 564 212 เคมีทางยา 2

565 354 เภสชัวิทยา 2

การพัฒนาสารที่นํามาใชเปนยาโดยใชความรูทางอินทรียเคมี

ชีวเคมี เคมีทางยา และเภสัชวิทยา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงยาที่

เนื่องมาจากกลไกทางเคมีและเมแทบอลิซึม

Pre-requisite : 564 212 Medicinal Chemistry II

565 354 Pharmacology II

Development of compounds used as drugs by the application

of organic chemistry, biochemistry, medicinal chemistry and

pharmacology, including drug transformation through chemical

mechanism and metabolism.

2 (2-0-4)

564 243 เคมีทางยาของยาใหม

(Medicinal Chemistry of New Drugs)

วิชาบังคับกอน: 564 211 เคมีทางยา 1

หลักการและทฤษฎีในการคนหาและคนพบเปาหมายในการ

ออกฤทธิ์ของยาใหม กลไกการออกฤทธิ์ การบูรณาการความสัมพันธ

ระหวางโครงสรางทางเคมีและการออกฤทธิ์ พิษของยา และอาการไม

พึงประสงค รวมทั้งวิธีการทดสอบ การแปรผล และการประเมินผลการ

ทดสอบการออกฤทธิ์

Pre-requisite : 564 211 Medicinal Chemistry I

Principles and theories on searching and discovering targets

of new drugs; mechanism of action; integration of chemical structure-

activity; toxicity and adverse effect relationships, including testing,

interpretating and evaluating activity testing results.

2 (2-0-4)

Page 97: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

96

564 244 เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี

(Chemical Aspects in Drug Metabolism)

วิชาบังคับกอน : 564 211 เคมีทางยา 1

การศึกษาเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมของยาโดยละเอียดจากมุมมอง

ความรูทางเคมีที่สงผลตอเภสัชจลนพลศาสตร การออกฤทธิ์ทางชีวภาพ

การเกิดพิษ และผลขางเคียงของยา รวมทั้งการนํามาประยุกตใชในการ

ออกแบบยา

Pre-requisite : 564 211 Medicinal Chemistry I

Extensive study of drug metabolism from a chemical

standpoint and its impact on pharmacokinetics; biological action;

toxicity and side effects of drugs, including applications in drug

design.

2 (2-0-4)

564 245 การอธิบายโครงสรางของอินทรียสารดวยวิธีทางสเปกโทรเมตรี

(Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

ทฤษฎีและเทคนิคในการพิสูจนโครงสรางทางเคมีของอินทรีย

สารดวยวิธีทางสเปกโทรเมตรี

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Theories and techniques in structure identification of organic

compounds employing spectrometric methods.

3(3-0-6)

565 353 เภสัชวิทยา 1

(Pharmacology I)

วิชาบังคับกอน : 561 105 สรีรวิทยามนษุยสําหรับนกัศึกษาเภสชัศาสตร

561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศกึษาเภสชั

ศาสตร*

*อาจเรียนพรอมกนั

หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา การจัดประเภทของยาตาม

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กลวิธานการออกฤทธิ์ ขอบงใช ขนาดและวิธกีารใช

ยา อาการไมพึงประสงค ขอควรระวัง ขอหามใช ปฏิกิริยาระหวางยา

ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบ

4(4-0-8)

Page 98: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

97

ประสาทสวนกลาง ระบบหัวใจหลอดเลือดและไต

Pre-requisite: 561 105 Human Physiology for Pharmacy Students

561 204 Medical Biochemistry for Pharmacy Students *

* can be co-requisite

General principles of pharmacology; classification of drugs

according to their pharmacological effects; mechanisms of actions,

indications; dosage and administration; adverse effects, precautions,

contra-indications, drug interactions, including drugs acting on

autonomic nervous system, central nervous system as well as

cardiovascular and renal systems.

565 354 เภสัชวิทยา 2

(Pharmacology II)

วิชาบังคับกอน : 565 353 เภสชัวิทยา 1

561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษา

เภสชัศาสตร *

*อาจเรยีนพรอมกัน

การจัดประเภทของยาตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กลวิธานการ

ออกฤทธิ์ ขอบงใช ขนาดและวิธีการใชยา อาการไมพึงประสงค ขอควร

ระวัง ขอหามใช ปฏิกิริยาระหวางยา ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์

ตอระบบตอมไรทอ ระบบภูมิคุมกัน ระบบทางเดินอาหาร ระบบ

ทางเดินหายใจ ยาตานจุลชีพ ยาตานมะเร็ง

Pre-requisite : 565 353 Pharmacology I

561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students *

* can be co-requisite

Classification of drugs according to their pharmacological

effects, mechanisms of actions, indications, dosage and administration,

adverse effects, precautions, contraindications, drug interactions,

covering drugs acting on endocrine system, immunological system,

gastrointestinal system, respiratory system, covering antimicrobial

drugs as well as anticancer drugs.

4(4-0-8)

Page 99: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

98

565 355 เภสัชบําบัด 1

(Pharmacotherapeutics I)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

พยาธิสรีรวิทยา สาเหตุของการเกิดโรค และการใชยาเพื่อ

รักษาโรคและความผิดปกติของระบบตางๆ ของรางกาย รวมถึงโรคติด

เชื้อ โดยเนนการบูรณาการความรูในการวางแผนติดตามการใชยาอยาง

เหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาทักษะของการแกปญหาที่เกี่ยวของกับการ

ใชยาโดยใชกรณีศึกษา

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Pathophysiology, etiology, and drug therapy in diseases

and disorders of various body systems including infectious diseases,

with emphasis on integrated knowledge for appropriate monitoring

plan as well as skill development in drug-related problem solving by

employing case studies.

3 (2-3-4)

565 356 พิษวิทยา

(Toxicology)

วิชาบังคับกอน : 565 353 เภสัชวิทยา 1

หลักการทั่วไปทางพิษวิทยา การจัดกลุมสารพิษครอบคลุม

ยา ยาเสพติด เคร่ืองสําอาง สิ่งเจือปนในอาหาร สารพิษในที่อยูอาศัย

สารปราบวัชพืช โดยเนนที่ความเปนพิษตอระบบตางๆ ของรางกาย

การแกไขอาการพิษ และการปองกันอันตราย

Pre-requisite : 565 353 Pharmacology I

General principles of toxicology; classification of toxic

substances covering drugs, narcotics, cosmetics, food additives and

contaminants, household products, pesticides, with emphasis on

toxicity to various organs in the body, treatment of toxic symptoms

and safety measures.

2 (2-0-4)

565 357 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา

(Pharmacology Laboratory)

วิชาบังคับกอน : 565 353 เภสชัวิทยา 1*

*อาจเรียนพรอมกนั

1(0-3-0)

Page 100: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

99

ปฏิบัติการเกี่ยวกับเภสัชจลนพลศาสตรและการออกฤทธิ์

ทางเภสัชวิทยา ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาท

อัตโนมัติ ระบบประสาทสวนกลาง และระบบอื่นๆ

Pre-requisite : 565 353 Pharmacology I *

* can be co-requisite

Laboratory practice in pharmacokinetics and pharmacological

actions, covering drugs acting on autonomic nervous system, central

nervous system as well other systems.

565 358 การพัฒนาและควบคุมยา

(Drug Development and Regulation)

การพัฒนาผลิตภัณฑยา ผลิตภัณฑเคร่ืองสําอาง ชีววัตถุ

เนื้อหาครอบคลุม แหลงกําเนิดของสารออกฤทธิ์ การศกึษาการออกฤทธิ์

และความเปนพิษ การออกแบบระบบนําสงยา การประเมินทางคลินิก

รวมถึงแนวคิดและหลักการดานการประกันคุณภาพและการควบคุมยา

โดยเนนที่ มาตรฐาน ขอตกลง และขอบังคับระดับชาติและนานาชาติ

Development of pharmaceutical products, cosmetic

products, biological products, covering sources of active substances,

pharmacological and toxicological studies, design of drug delivery

systems, clinical evaluation, including concepts and principles

concerning about quality assurance and drug regulation, with emphasis

on national and international standards, agreements and regulations.

2(2-0-4)

565 359 พิษวิทยาภาวะแวดลอม

(Environmental Toxicology)

วิชาบังคับกอน : 565 356 พิษวิทยา

ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตเมื่อไดรับสารเคมีที่เปนสิ่งปนเปอน

จากภาวะแวดลอม เนนสาเหตุ ผล ขีดความปลอดภัย และผลตอระบบ

นิเวศ

Pre-requisite : 565 356 Toxicology

Effects of environmental chemical contaminants on living

creatures, with emphasis on causes, results, safety limit and effects on

3(2-3-4)

Page 101: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

100

ecological system.

565 360 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุล

( ฺCellular and Molecular Pharmacology)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

กลวิธานการออกฤทธิ์ของยาในระดับเซลลและโมเลกุล

เนื้อหาครอบคลุมโครงสรางและการทํางานของตัวรับยาชนิดตางๆ กล

วิธานการถายทอดสัญญาณ บทบาททางสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาของ

สารนําสงสัญญาณชนิดตาง ๆ รวมถึงกลวิธานการตอบสนองตอ

สัญญาณของเซลลเปาหมาย

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Mechanisms of drug actions in cellular and molecular

levels, covering structures and functions of various drug receptors,

signal transduction pathways, physiological and pathological roles of

various signaling molecules as well as target cell responses and

effector mechanisms.

3(3-0-6)

565 361 การทดลองทางเภสัชวิทยา

(Experimental Pharmacology)

วิชาบังคับกอน : 565 357 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา

หลักการในการทดลองทางเภสัชวิทยาระดับเซลลและระดบั

โมเลกุล รวมถึงแนวคิดในการศึกษาคุณสมบัติของยาและประสิทธิภาพ

ของยาในสัตวทดลอง

Pre-requisite : 565 357 Pharmacology Laboratory

Principles of experimentation in cellular and molecular

pharmacology, also covering concepts in studying drug characteristics

and drug efficacy in experimented animals.

2(1-3-2)

565 362 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท

(Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

ความกาวหนาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท เนื้อหา

2(2-0-4)

Page 102: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

101

ครอบคลุมกลวิธานการออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุล รวมทั้งการ

ประเมินผลเกี่ยวกับการใชยาและปญหาของยาในกลุมนี้

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Advancement in neuropsychoactive drugs, covering

mechanisms of drug actions at cellular and molecular levels as well as

evaluation of usage and problems related to these drugs.

565 363 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด

(Pharmacology of Cardiovascular Drugs)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

ความกาวหนาของยาท่ีออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอด

เลือด เนื้อหาครอบคลุมกลวิธานการออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุล

รวมทั้งการประเมินผลเกี่ยวกับการใชยาและปญหาของยาในกลุมนี้

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Advancement in cardiovascular drugs, covering

mechanisms of drug actions at cellular and molecular levels as well as

evaluation of usage and problems related to these drugs.

2(2-0-4)

565 364 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร

(Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

ความกาวหนาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร

เนื้อหาครอบคลุมกลวิธานการออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุล รวมทั้ง

การประเมินผลเกี่ยวกับการใชยาและปญหาของยาในกลุมนี้

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Advancement in gastrointestinal drugs, covering

mechanisms of drug actions at cellular and molecular levels as well as

evaluation of usage and problems related to these drugs.

2(2-0-4)

565 365 ยาใหม

(New Drugs)

2(2-0-4)

Page 103: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

102

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

คุณสมบัติของยาใหมโดยเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของยาที่มี

ใชในปจจุบันทางดานเภสัชจลนพลศาสตร กลวิธานการออกฤทธิ์ ขอบง

ใช ขนาดและวิธีใชยา อาการไมพึงประสงค ขอควรระวัง ขอหามใช

ปฏิกิริยาระหวางยา

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Characteristics of new drugs by comparing with those of

current drugs in pharmacokinetics, mechanisms of actions, indications,

dosage and administration, adverse effects, precautions,

contraindication, drug interactions.

565 366 การประเมินฤทธิ์ของยา

(Evaluation of Drug Action)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสัชวิทยา 2

การประเมินฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาชนิดใหม โดย

เปรียบเทียบกับยาที่มีการออกฤทธิ์แบบเดียวกัน และกลุมที่นํามาใชใน

การรักษาพยาธิสภาพเดียวกัน โดยเนนในดานการออกฤทธิ์ในระดับ

เซลลและโมเลกุล ประสิทธิภาพ และอาการขางเคียง

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

Evaluation of pharmacological effects of new drugs in

comparison with those of drugs with similar pharmacological actions

as well as those with the same indications, with emphasis on

mechanisms of actions at cellular and molecular levels, efficacies and

adverse effects.

2(1-3-2)

566 101 เภสัชพฤกษศาสตร

(Pharmaceutical Botany)

วิชาบังคับกอน : 512 106 ชีววิทยาทั่วไป

การจําแนกพวก การพิสูจนเอกลักษณ และการใชประโยชน

ทางยา ของเภสัชพฤกษตางๆ ที่มีคุณคาทางการบําบัดรักษาและ

เศรษฐกิจ โดยเนนพันธุเภสัชพฤกษที่มีอยูในประเทศไทย

Pre-requisite : 512 106 General Biology

Classification, identification and medical use of medicinal

2(1-3-2)

Page 104: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

103

plants with therapeutic and economic potentials, emphasizing

medicinal plants in Thailand.

566 111 เภสัชเวท 1

(Pharmacognosy I)

วิชาบังคับกอน : 513 256 หลกัเคมีอินทรีย

566 101 เภสชัพฤกษศาสตร

พฤกษเคมีของสมุนไพร การแยกหมวดหมู แหลงกําเนิดและ

การกระจายตัวในธรรมชาติ รวมถึงกระบวนการชีวสังเคราะห และ

การใชประโยชนทางการแพทยและเภสัชกรรม

Pre-requisite : 513 256 Principles of Organic Chemistry

566 101 Pharmaceutical Botany

Phytochemistry of medicinal plants, classification, sources

and natural distribution, including biosynthesis and application for

medical and pharmaceutical purposes.

3(3-0-6)

566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1

(Pharmacognosy Laboratory I)

วิชาบังคับกอน : 566 111 เภสชัเวท 1*

* อาจเรียนพรอมกนั

การสกัดแยกสารสําคัญจากพืชสมุนไพร การตรวจสอบและ

พิสูจนเอกลักษณเบื้องตนทางพฤกษเคมี

Pre-requisite : 566 111 Pharmacognosy I *

* can be co-requisite

Extraction and isolation of active constituents from

medicinal plants as well as primary screening and identification of

their phytochemistry.

1(0-3-0)

566 211 เภสัชเวท 2

(Pharmacognosy II)

วิชาบังคับกอน : 566 111 เภสชัเวท 1

การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑจากพืชสมุนไพร การเตรียม

2(2-0-4)

Page 105: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

104

และ การ ควบคุมคุณ ภาพวัตถุดิบแ ละผ ลิต ภัณฑจากสมุนไพร

เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร การใชผลิตภัณฑจากสมุนไพร

ทางยา อาหาร และเครื่องสําอาง รวมถึงการใชสมุนไพรตามแนวทาง

การแพทยทางเลือก

Pre-requisite : 566 111 Pharmacognosy I

Research and development of pharmaceuticals from

medicinal plants, preparation and quality control of herbal raw

materials and products, medicinal plant biotechnology, use of herbal

products for medicines, foods and cosmetics, including use of

medicinal plants according to alternative medicines.

566 221 ปฏิบัติการเภสชัเวท 2

(Pharmacognosy Laboratory II)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

566 121 ปฏิบัตกิารเภสชัเวท 1

566 211 เภสชัเวท 2*

* อาจเรียนพรอมกนั

การประเมินคุณภาพสมุนไพรและผลิตภัณฑจากสมุนไพร

การตรวจสอบเอกลักษณ การวิเคราะหปริมาณสารสําคัญ และการ

ตรวจสอบการปนปลอม

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

566 121 Pharmacognosy Laboratory I

566 211 Pharmacognosy II *

* can be co-requisite

Evaluation of medicinal plants and medicinal plants

products, identification, analysis of active compounds, and

determination of adulterants.

1(0-3-0)

566 222 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร

(Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

566 221 ปฏิบัตกิารเภสชัเวท 2

เทคนิคการสกัดแยกสารที่มีคุณคาทางยา เนนสารจากพืช

3(2-3-4)

Page 106: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

105

สมุนไพร เพื่อใชในการผลิต การวิเคราะห การหาเอกลักษณและสูตร

โครงสราง

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

566 221 Pharmacognosy Laboratory II *

* can be co-requisite

Techniques in extracting and isolating pharmaceutical

valuable compounds with emphasis on the constituents of medicinal

plants for production, analysis, identification and structure elucidation.

566 223 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร

(Research and Development in Medicinal Plants)

วิชาบังคับกอน : 566 211 เภสชัเวท 2

567 271 เทคโนโลยีเภสชักรรม 6

การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑจากสมุนไพรอยางเปนระบบ

การศึกษาขอมูลพื้นฐานของพืชสมุนไพร การเตรียมและการควบคุม

คุณภาพวัตถุดิบ ตลอดจนการเตรียมเภสัชภัณฑจากพืชสมุนไพร

Pre-requisite : 566 211 Pharmacognosy II

567 271 Pharmaceutical Technology VI

Systematic research and development of medicinal plants;

study of basic information of medicinal plants; preparation and

quality control of raw materials, including preparation of

pharmaceutical products from medicinal plants.

3(2-3-4)

566 224 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร

(Biotechnology of Medicinal Plants)

วิชาบังคับกอน : 566 211 เภสชัเวท 2

การประยุกตใชเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อผลิตสารทีม่ีประโยชน

ทางยา และสารที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ การเตรียมหองปฏิบัติการและ

อุปกรณ การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง เทคนิคและปจจัยตาง ๆ ตอการผลิต

สารสําคัญรวมถึงการประยุกตใชเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร การ

พัฒนาและการเก็บรักษาเซลลเพาะเลี้ยง

Pre-requisite : 566 211 Pharmacognosy II

Application of biotechnology for producing

3(2-3-4)

Page 107: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

106

pharmaceutically useful compounds and economically valuable

compounds; setting up operation and culturing rooms; preparing

culturing media; techniques and factors affecting the production of

active compounds, including application of genetic engineering

techniques, development, and storage of cell lines.

566 225 เภสชัเวทประยุกต

(Applied Pharmacognosy) วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสชัวิทยา 2 566 211 เภสชัเวท 2

การประยุกตความรูทางเภสัชเวทสําหรับการนําสมุนไพรไปใชประโยชน โดยมุงเนนสมุนไพรที่ไดรับความสนใจในประเทศไทย การออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ความเปนพิษ ประสิทธิผลทางคลินิกของ

พืชสมุนไพร การคัดกรองขอมูลและการแนะนําการใชผลิตภัณฑอยางสมเหตุสมผล รวมถึงการผสมผสานความรูดานการแพทยแผนปจจุบันกับการแพทยแผนไทย

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II 566 211 Pharmacognosy II

Application of pharmaognostic knowledge in making use use

of medicinal plants, emphasizing those of interest in Thailand; pharmacological actions, toxicity and clinical efficacy of medicinal plants; selection of appropriate information and rational suggestion, including

integration of knowledge of modern and Thai traditional medicine.

2(2-0-4)

566 226 พฤกษบําบัดบนหลกัฐานเชิงประจักษ

(Evidence Base Phytotherapy)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสชัวิทยา 2

566 211 เภสัชเวท 2

การประเมินและวิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ของการใชพืชสมุนไพรและเภสัชภัณฑจากสมุนไพรที่ จําหนายใน

ทองตลาด เพื่อรักษาโรคและสงเสริมสุขภาพบนพื้นฐานขอมูลทาง

2(2-0-4)

Page 108: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

107

วิทยาศาสตร

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

566 211 Pharmacognosy II

Evaluation and analysis of efficiency and efficacy of

medicinal plants and medicinal products available in market for

therapeutic and health promotion purposes based on scientific

information.

566 227 ยาสมุนไพรพื้นบาน

(Indigenous Medicines)

วิชาบังคับกอน : 565 354 เภสชัวิทยา 2

566 211 เภสชัเวท 2

แนวความคิดและปรชัญาของการแพทยแผนไทย และการ

ใชยาสมนุไพรพืน้บานในชุมชน

Pre-requisite : 565 354 Pharmacology II

566 211 Pharmacognosy II

Concepts and philosophy of Thai traditional medicine and

uses of indigenous medicines in community.

3(2-3-4)

567 265 หลักการผลิตท่ีด ี1

(Good Manufacturing Practice I)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

567 271 เทคโนโลยเีภสชักรรม 6

แนวคิดและขอกําหนดเบือ้งตนที่จําเปนสําหรับการปฏิบตัติาม

หลักการผลิตท่ีดสีําหรับเภสชัภณัฑ และชีวเภสชัภัณฑ

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

567 271 Pharmaceutical Technology VI

Basic concepts and requirements necessary in compliance

with good manufacturing practices for pharmaceuticals and

biopharmaceuticals.

1(1-0-2)

567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(1-0-2)

Page 109: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

108

(Pharmaceutical Technology I)

เภสัชภัณฑรูปแบบตางๆ คําจํากัดความ ความหมาย การ

จําแนกประเภท สวนประกอบสําคัญ การใชประโยชนทางเภสัชกรรม

เทคนิคการเตรียมเบื้องตน ตลอดจนการเลือกใชภาชนะบรรจ ุ

ความสําคัญของคุณสมบัติทางเคมีกายภาพตอการตั้งตํารับ และการ

คํานวณที่สําคัญในการเตรียมยา

All pharmaceutical dosage forms including their

definitions, classifications, terminology, compositions, application in

pharmacy and basic techniques of preparation including packaging;

Significance of physicochemical properties in pharmaceutical

formulations; Basic calculations for pharmaceutical formulations.

567 267 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2

(Pharmaceutical Technology II)

วิชาบังคับกอน : 567 266 เทคโนโลยีเภสชักรรม 1*

* อาจเรียนพรอมกนั

เทคโนโลยีของผงยา อาทิ ขนาดและการกระจายขนาด การ

วัดขนาดของอนุภาคในทางเภสัชกรรม การไหลของผงยา และ

เทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวของกับการผลิตยาในรูปแบบของแข็ง โดยเนน ยา

เม็ด ยาแคปซูล ยาเม็ดเคลือบ

Pre-requisite : 567 266 Pharmaceutical Technology I *

* can be co-requisite

Pharmaceutical powder technology such as size and size

distribution, measurement of particle size, flowability of powder and

other technologies related to the manufacturing of solid dosage forms

especially tablets, capsules and coated-tablets.

3(3-0-6)

567 268 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3

(Pharmaceutical Technology III)

วิชาบังคับกอน : 567 266 เทคโนโลยีเภสชักรรม 1

หลักการพื้นฐานของสารละลายและคาการละลาย เทคนิค

ในการเพิ่มการละลาย สารละลายและคุณสมบัติของสารละลาย

2 (2-0-4 )

Page 110: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

109

หลักการอื่นๆ ท่ีใชในการเตรียมยาสําเร็จรูป ในรูปแบบยาน้ํา การปรุง

ผสมยาและการเก็บรักษา สารชวยในการปรุงแตงยารูปแบบของเหลว

Pre-requisite : 567 266 Pharmaceutical Technology I

Basic principles of solution and solubility; techniques to

increase solubility; solution and solution properties; other principles

for preparation of finished products in liquid dosage form, preparation

and storage, and all liquid necessities.

567 269 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4

(Pharmaceutical Technology IV)

วิชาบังคับกอน : 567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1

รูปแบบ หลักการ เทคนิคในการเตรียม การรักษาความคง

ตัว และการพัฒนาตํารับของเภสัชภัณฑสําเร็จรูปที่มีลักษณะเปนยา

เตรียมประเภทเนื้อผสม รวมถึงคุณสมบัติทางกายภาพที่นํ าไป

ประยุกตใชกับเภสัชภัณฑรูปแบบเหลานี้

Pre-requisite : 567 266 Pharmaceutical Technology I

Dosage forms, principles and preparation techniques;

stability and formulation development of heterogeneous dosage

forms, including physical properties applied to these dosage forms.

2 (2-0-4)

567 270 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5

(Pharmaceutical Technology V)

วิชาบังคับกอน : 567 267 เทคโนโลยีเภสชักรรม 2

567 268 เทคโนโลยีเภสชักรรม 3

567 269 เทคโนโลยเีภสชักรรม 4

เทคโนโลยีและศิลปะในการผลิตยารูปแบบของแข็ง กึง่แขง็

และของเหลวปราศจากเชื้อ โดยเนนดานยาฉีด ยาตาและผลติภณัฑทีใ่ห

ทางเสนเลือด การควบคุมคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑปราศจาก

เชื้อในระดับอุตสาหกรรมปริมาณมาก รวมถึงการเก็บรักษา ภาชนะ

บรรจุและการเตรียมยาสําหรับผูปวยเฉพาะราย

Pre-requisite : 567 267 Pharmaceutical Technology II

2(2-0-4)

Page 111: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

110

567 268 Pharmaceutical Technology III

567 269 Pharmaceutical Technology IV

Technology and arts of manufacturing of sterile solid,

semisolid and solution dosage forms, focusing on injectable dosage

forms, eye preparations, and parenteral dosage forms; quality control

and industrial scale-up product development of sterile product,

including storage, packaging, and extemporaneous preparation.

567 271 เทคโนโลยีเภสชักรรม 6

(Pharmaceutical Technology VI)

วิชาบังคับกอน : 567 267 เทคโนโลยีเภสชักรรม 2

567 268 เทคโนโลยีเภสชักรรม 3

567 269 เทคโนโลยเีภสชักรรม 4

เทคนิคและวิธีการเตรียมระบบนําสงยาเพื่อใหไดผลิตภณัฑ

ตางๆ โดยการออกแบบและพัฒนาอุปกรณนําสงยา รวมถึงการ

ออกแบบระบบนําสงยา อันประกอบดวยตัวนําพายา ซึ่งสามารถนําตัว

ยาสําคัญไปปลดปลอยสูเนื้อเย่ือหรืออวัยวะเปาหมาย รวมถึงการเพิ่ม

การดูดซึมของตัวยา ตลอดจนการศึกษาความคงตัวของผลิตภัณฑยาใน

รูปแบบตางๆ

Pre-requisite : 567 267 Pharmaceutical Technology II

567 268 Pharmaceutical Technology III

567 269 Pharmaceutical Technology IV

Techniques and preparation methods of drug delivery

systems in order to yield products by designing and developing

delivery device including designing drug delivery systems consisting

of drug carriers which can deliver and release active ingredients into

tissues or target organs to enhance drug absorption, as well as

studying drug stability in various dosage forms.

1(1-0-2)

567 272 หลักการผลิตท่ีดี 2

(Good Manufacturing Practice II)

2(2-0-4)

Page 112: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

111

วิชาบังคับกอน : 567 265 หลักการผลิตท่ีดี 1

เงื่อนไขลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที ่

4 ขึ้นไป

แนวคิดและหลักการ ของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการ

ผลิตยา รวมถึงระบบคุณภาพ การตรวจรับรองและการตรวจสอบ

ความถูกตอง ขอกําหนดคุณภาพและการเลือกสรรยา เทคโนโลยีการ

วิเคราะหกระบวนการผลิต สถิติทางเภสัชกรรม และ การจัดการความ

เสี่ยงดานคุณภาพ

Pre-requisite : 567 265 Good Manufacturing Practice I

Condition for registration : 4th year students

Concepts and principles of good manufacturing practices

including quality system, qualification and validation, specification

and drug selection, process analytical technology, pharmaceutical

statistics, and quality risk management.

567 273 การจัดการทางเภสัชศาสตร

(Management in Pharmaceutical Sciences)

เงื่อนไขลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่

4 ขึ้นไป

การวางแผน การจัดการเกี่ยวกับบุคลากร ระบบการจัดซื้อ

ระบบคลังพัสดุ สําหรับการวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑในโรงงานเภสัช

อุตสาหกรรม รวมทั้ง การจัดการขอมูล การจัดการทรัพยากรมนุษยและ

การบริหารคาจางแรงงาน การจัดการของเสีย และอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภัย

Condition for registration : 4th year students

Planning, personnel management, purchasing and storing

system for research and development of pharmaceutical products in

pharmaceutical industry, including data management, human resource

management and payment administration, waste management and

occupational health and safety.

2(2-0-4)

Page 113: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

112

567 274 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ

(Pharmaceutical Formulation and Development)

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนป

ที่ 4 ขึ้นไป

หลักการและเทคนิคเพื่อสรางเสริมประสบการณ ทักษะ

ความชํานาญในการคิดคนและพัฒนาสูตรตํารับยารูปแบบตาง ๆ

ตลอดจนการใชขอพิจารณาในคุณสมบัติกายภาพและชีวภาพ เพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพและความคงตัวของผลิตภัณฑ

Condition for registration : 4th year students

Principles and techniques to improve skills and experience

in developing pharmaceutical dosage forms, including considering

physical and biological properties to enhance the efficacy and stability

of pharmaceutical dosage forms.

4(2-6-4)

567 275 การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับอุตสาหกรรม

(Pharmaceutical Production Planning and Processing)

เงื่อนไขลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่

4 ขึ้นไป

ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ ก า ร แ ก ป ญห า ก ร ะ บ วน ก าร ผ ลิ ต

กระบวนการตรวจสอบความถูกตองรวมถึงระบบเอกสารที่เกี่ยวของ

Condition for registration : 4th year students

Analyzing and solving problems related to production

process; validation process including related documentation.

2(1-3-2)

567 276 ระบบนําสงยาแบบใหม

(Novel Drug Delivery System)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

ระบบนําสงยาแบบใหม เนนเทคนิคและวิธกีารเตรียมเพือ่ใหได

ผลิตภณัฑที่มีความคงตัว และผลผลิตสูง

Condition for registration : 4th year students

Novel drug delivery system, focusing on techniques and

2(2-0-4)

Page 114: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

113

preparation of stable products with high productivity.

567 277 วิทยาการเครื่องสําอาง

(Cosmeticology)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

หลักการและเทคนิคในการผลิตและประดิษฐ เคร่ืองสําอาง

รวมทั้งสิ่งปรุงแตงกลิ่น สี และการรักษาความคงตัวของเคร่ืองสําอาง

รูปแ บบตาง ๆ หลักการในการทดสอบความปลอดภัย การแพ

เคร่ืองสําอาง เคร่ืองสําอางที่มีตัวยาผสม การเลือกใช การควบคุม

คุณภาพ

Condition for registration : 4th year students

Principles and techniques of preparation of cosmeticology

including flavors, colors and stabilities of various cosmetic products;

principles in safety testing; allergy to cosmetic products;

cosmeceuticals, selection and quality control of cosmetic products.

4(2-6-4)

567 278 การบริหารการผลิต

(Manufacturing Administration)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

การจัดการองคกรในโรงงานอุตสาหกรรมยา การวางแผนการ

ผลิตและการควบคุม การบริหารงานบุคคล ระบบการจัดซื้อและระบบ

คลังพัสดุ งานซอมบํารุง การปองกันอุบัติเหตุและการกําจัดของเสีย

Condition for registration : 4th year students

Organizational management in pharmaceutical industrial

firms; production planning and controlling; personnel administration;

purchasing and storing system; maintenance system; accident

preventing and waste management.

4(3-3-6)

567 279 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ

(Quality Control and Quality Assurance Systems)

4(3-3-6)

Page 115: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

114

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

การ วางแ ผนปฏ ิบัต ิการในระบบควบค ุมแ ละปร ะก ัน

คุณ ภาพของโร งงานเ ภสัช อ ุตส าหกรรม ตั ้งแต ว ัตถ ุด ิบจนเ ป น

ผลิตภัณฑสําเร็จรูป การวางแผนควบคุมและประกันคุณภาพ โดยใช

ระบบจัดการแบบตางๆ ระบบการปฏิบัติวิชาชีพทางอุตสาหกรรมที่

ถูกตอง

Condition for registration : 4th year students

Planning of operation in quality control and assurance

systems in pharmaceutical industrial firms beginning from raw

materials to finished pharmaceutical products; control planning and

quality assuarance by using various management systems; good

professional manufacturing practice.

567 280 การเคลือบยาเม็ด

(Tablet Coating)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

เทคโนโลยีและศิลปะขั้นสูงในการผลิตยาขั้นอุตสาหกรรม

ของการเคลือบยาเม็ด โดยเนนการเคลือบน้ําตาล การเคลือบฟลม

รวมทั้งหลักการและเทคนิควิธีการเตรียม การทดสอบคุณภาพและ

มาตรฐาน ปญหาท่ีพบในการเตรียม ตลอดจนแนวทางแกไขปญหา

Condition for registration : 4th year students

Advanced technology and arts for industrial manufacturing

of tablet coating, especially sugar coating and film coating, including

principles and techniques of preparation, evaluation and

standardization of dosage forms; preparation problem, including

problem solving.

3(2-3-4)

567 281 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม

(Introductory Polymer Sciences in Pharmacy)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชัน้เรียนปท่ี

2(2-0-4)

Page 116: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

115

4 ขึ้นไป

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของ

พอลิเมอรที่ใชทางดานการแพทยทั้งในสภาวะที่อยูในสารละลาย และ

สภาวะของแข็ง รวมทั้งเทคโนโลยีทางเภสัชกรรมของการประดษิฐพอลิ

เมอรใหอยูในรูปแบบที่ตองการ การประยุกตใช และอนาคตของการใช

พอลิเมอรในทางดานการแพทยอื่น

Condition for registration : 4th year students

Basic knowledge of physicochemical properties of medical

polymer both in solution and solid state covering pharmaceutical

technology of polymer modification application and future of polymer

usage for medical purposes.

567 282 อนามัยอุตสาหกรรม

(Industrial Hygiene)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

อนามัยของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม มาตรการการ

ปองกันอันตรายจากอุปทวเหตุ อันตรายจากปจจัยทางเคมีกายภาพ ตอ

สุขภาพทางรางกายและสุขภาพจิตของผูใชแรงงาน การบริการทาง

อนามัย กฎและระเบียบ การสันทนาการและสวัสดิการ

Condition for registration : 4th year students

Hygiene of employees in pharmaceutical industry, measures

of preventing danger and hazards caused by accidents, danger

triggered by physico-chemical factors for physical and mental healths

of laborers; hygiene health services, laws and regulations, recreations

and social welfares.

4(3-3-6)

567 283 นาโนเทคโนโลยีทางเภสัชศาสตร

(Pharmaceutical Nanotechnology)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบตาง ๆ ของระบบนา

3(3-0-6)

Page 117: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

116

โนเทคโนโลยีรวมถึงการเตรียม การพัฒนา ขอดีและขอเสีย และการ

ประยุกตทางดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร

Condition for registration : 4th year students

Basic knowledge of various types of nanotechnology

systems including preparation, development, advantages and

disadvantages as well as applications of nanotechnology system in

pharmaceutical sciences.

567 284

พื้นฐานทางวิศวเภสชักรรม

(Basics in Pharmaceutical Engineering)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

ขอมูลที่จําเปนเกี่ยวกับการคิดคนและพัฒนายาในอุตสาหกรรม

ยา ขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และ

กระบวนการขออนุญาตขึ้นทะเบียนยาที่มอีทิธพิลตอกระบวนการผลติยา

และบทบาทของการทํางานของเครื่องมือที่สําคัญในกระบวนการผลติยา

Condition for registration : 4th year students

Essential information about drug discovery and development

in pharmaceutical industry, Food and Drug Administration (FDA)

requirements and approval processes influencing pharmaceutical

processs, and roles of key operational units in drug manufacturing

processes.

2(2-0-4)

567 285 รังสเีภสชัภณัฑ

(Radiopharmaceuticals)

เงือ่นไขลงทะเบียน : ตองเปนนกัศึกษาเภสชัศาสตรเทียบชั้นเรียนปท่ี

4 ขึ้นไป

สารกัมมันตภาพรังสี ความปลอดภัยจากรังสี การออกแบบ

และจัดเตรียมเภสัชภัณฑรังสี และการใชเภสัชภัณฑรังสีสําหรับการ

วินิจฉัยและรักษาโรคในผูปวย

Condition for registration : 4th year students

2(2-0-4)

Page 118: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

117

Radioactive agents; safety and toxicity, designing and

preparation of radiopharmaceutical products for diagnosis and

treatment of patients.

567 287 ปฏิบัตกิารเทคโนโลยีเภสชักรรม 2

(Pharmaceutical Technology Laboratory II)

วิชาบังคับกอน : 567 267 เทคโนโลยเีภสชักรรม 2 *

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปะในการตั้งตํารับยา

รูปแบบของแข็งโดยเนนยาเม็ดและแคปซูล การควบคุมคุณภาพของ

ยารูปแบบของแข็งใหถูกตองตามเภสัชตํารับ การเลือกภาชนะบรรจุ

และการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต

Pre-requisite : 567 267 Pharmaceutical Technology II *

* can be co-requisite

Practice of technology and arts for development of solid

dosage forms especially tablets and capsules, their quality controls

of solid dosage form according to pharmacopoeia; packaging

selection, and manufacturing process validation.

1(0-3-0)

567 288 ปฏิบัตกิารเทคโนโลยีเภสชักรรม 3

(Pharmaceutical Technology Laboratory III)

วิชาบังคับกอน : 567 268 เทคโนโลยีเภสชักรรม 3 *

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการศึกษาเรื่องสารละลาย และคาการละลาย คุณสมบัติ

ของสารละลาย สารละลายบัพเฟอรและโทนิคซิตี้ รวมถึงการ

ปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปะในการตั้งตํารับยาน้ํา การทดสอบ

คุณภาพของยาเหลานั้นใหถูกตองตามเภสัชตํารับ การเลือกภาชนะ

บรรจุ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต

Pre-requisite : 567 268 Pharmaceutical Technology III *

* can be co-requisite

Practice of solution and solubility, solution properties,

buffer and isotonic solution, including practice of technology and

1(0-3-0)

Page 119: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

118

arts for liquid dosage form preparation, their quality controls

according to pharmacopoeia, packaging selection, and

manufacturing process validation.

567 289 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4

(Pharmaceutical Technology Laboratory IV)

วิชาบังคับกอน : 567 269 เทคโนโลยเีภสชักรรม 4*

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการเกี่ยวกับรูปแบบ เทคนิคในการเตรียม การรักษา

ความคงตัว และการพัฒนาตํารับของเภสัชภัณฑสําเร็จรูปประเภทเนื้อ

ผสม การทดสอบคุณภาพและมาตรฐานของยาเหลานั้นใหถูกตองตาม

เภสัชตํารับ การเลือกภาชนะบรรจุและวิธีการเก็บรักษา

Pre-requisite : 567 269 Pharmaceutical Technology IV *

* can be co-requisite

Practice of dosage form and techniques of preparation;

stability and formulation development of heterogeneous dosage

forms; quality control according to pharmacopoeias, packaging

selection, and storage conditions.

1(0-3-0)

567 290 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5

(Pharmaceutical Technology Laboratory V)

วิชาบังคับกอน : 567 270 เทคโนโลยีเภสชักรร ม 5*

* อาจเรียนพรอมกนั

ปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปะในการตั้งตํารับยา

ปราศจากเชื้อทั้งยาฉีดปริมาตรมาก และยาฉีดปริมาตรนอย การควบคุม

คุณภาพของยาปราศจากเชื้อใหถูกตองตามเภสัชตํารับ การเลอืกภาชนะ

บรรจุ การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

และการเตรียมยาสําหรับผูปวยเฉพาะราย

Pre-requisite : 567 270 Pharmaceutical Technology V *

* can be co-requisite

Practice of technology and arts for development of sterile

dosage forms, including large and small volume parenteral dosage

2(2-0-4)

Page 120: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

119

forms; their quality control according to pharmacopoeia, packaging

selection, sterilization process validation, and extemporaneous

preparation.

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ (Health Informatics) วิชาบังคับกอน : 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพืน้ฐานทาง เภสชัศาสตร

หลักการพ้ืนฐานดานสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ ทักษะดานสารสนเทศศาสตร การศึกษาเปรียบเทียบสารสนเทศทางสุขภาพในสาขาตางๆ มโนทัศนในการจัดเก็บ การจัดระบบ การสืบคน และการนําขอมูลมาใชประโยชน การประยุกตสารสนเทศทางสุขภาพเบื้องตนในโรงพยาบาล คลินิก สถานบริการสาธารณสุข โรงงานยา และหนวยงานรัฐบาล Pre-requisite : 550 101 Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences

Basic principles of health informatics; informatics skills; comparing and contrasting health information from different disciplines; concepts of how health information is stored, organized, retrieved and used; applications of basic health information in hospitals, clinics, public health settings, pharmaceutical industries and government units.

2 (1-3-2)

568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตนสําหรับสารสนเทศศาสตรทาง

เภสชักรรม

(Introduction to Computers and Programming for Pharmaceutical

Informatics)

วิชาบังคับกอน : 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร โ ด ย เ น น ส วน ปร ะ ก อ บ ห ลัก ข อ ง

คอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการ ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และอุปกรณ

ที่เกี่ยวของ การประมวลผลขอมูลและการจัดการฐานขอมูล หลักการ

เขียนโปรแกรมเบื้องตนและการฝกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเพื่อใช

แกปญหาเบื้องตนทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

Pre-requisite : 568 301 Health Informatics

Computer system focusing on main components, operating

3(2-2-5)

Page 121: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

120

system, computer network, data processing, and database

management; programming languages and practices of programming

to solve basic problems in health informatics.

568 303 ระบบการจัดการฐานขอมลูสําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

(Database Management System for Pharmaceutical Informatics)

วิชาบังคับกอน : 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

มโนทัศนของโมเดลขอมูลแบบตางๆ เทคนิคของการจัดการ

ระบบแฟมขอมูล คําจํากัดความและการจัดการขอมูล การออกแบบและ

สรางฐานขอมูลที่เกี่ยวกับงานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมรวมถึง

การบริหารจัดการระบบฐานขอมูลเบื้องตน

Pre-requisite : 568 301 Health Informatics

Data modeling concepts; file management techniques; data

definition and manipulation; design and implementation of database

applications in health informatics and basic database administration.

3(2-2-5)

568 304 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

(Computer Programming for Pharmaceutical Informatics)

วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบื้องตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

มโนทัศนเบื้องตนของภาษาโปรแกรม ภาษาโปรแกรมแบบ

โครงสราง การกําหนดคา เงื่อนไข การวนรอบของโปรแกรม ประเภท

ของขอมูลแบบพ้ืนฐานและแบบซับซอน หลักการออกแบบอัลกอริทึม

เบื้องตน สภาวะแวดลอมและเคร่ืองมือสําหรับการพัฒนาโปรแกรม

เทคนิคการโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming

for Pharmaceutical Informatics

Basic concepts of programming languages, structural

programming languages; assignment, condition and loop, simple and

complex data types; basic principles of algorithm; environments and

tools, techniques for programming development; techniques of

programming in health informatics.

3(2-2-5)

Page 122: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

121

568 305 การเผยแพรสารสนเทศทางเภสชักรรมผานสื่ออเิลก็ทรอนกิส

(Pharmaceutical Informatics Presentation through Electronic Medias)

วิชาบังคับกอน : 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

แนะนําสื่ออิเล็กทรอนิกสชนิดตางๆ มโนทัศนและทักษะ

เบื้องตนของการออกแบบ การพัฒนา การเผยแพรและการปรับปรุง

ขอมูลทางเภสัชกรรมบนสื่ออิเล็กทรอนิกส การใชเคร่ืองมือเบื้องตนใน

การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส และจริยธรรมในการเผยแพรสื่อ

Pre-requisite : 568 301 Health Informatics

Introduction to electronic media; basic concepts and skills in

designing, developing, dissiminating and improving pharmaceutical

information via electronic media; developing electronic media using

basic tools; ethics on media distribution.

3(2-2-5)

568 306 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศทางเภสัชกรรม

(Analysis and Design of Pharmaceutical Information Systems)

วิชาบังคับกอน : 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

พื้นฐานการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ การ

กําหนดความตองการของผูใชระบบ การวิเคราะหระบบ การออกแบบ

ระบบ เครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหและออกแบบระบบ การสราง

ระบบ และการดําเนินงานและดูแลระบบสารสนเทศทางสุขภาพ

Pre-requisite : 568 301 Health Informatics

Fundamentals of information system analysis and design;

determining system requirements; system analysis; system design;

tools for system analysis and design, system development,

implementing and maintaining health information system.

3(2-2-5)

568 307 สถติิสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Statistics for Health Informatics)

วิชาบังคับกอน : 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพืน้ฐานทาง

เภสัชศาสตร

515 203 สถติิสําหรับนักศกึษาเภสชัศาสตร

3(2-3-4)

Page 123: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

122

เทคนิคของการวิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยเฉพาะเทคนิคการ

วิเคราะหความถดถอย โลจิสติกการวิเคราะหปจจัย การวิเคราะหตัวแปร

หลายตัว การวิเคราะหจําแนกกลุม การวิเคราะหตัวแปรรวม การ

วิเคราะหความแปรปรวนตั้งแตสองปจจัยขึ้นไป การวิเคราะหความเที่ยง

เทคนิคการพยากรณรวมถึงการแปลความหมายและสรุปผล

Pre-requisite : 550 101 Basic Computer Applications in

Pharmaceutical Sciences

515 203 Statistics for Pharmacy Students

Techniques for statistical data analysis, especially logistic

regression analysis, factor analysis, multivariate analysis, discriminant

and cluster analysis, analysis of covariance (ANCOVA), analysis of

variance (ANOVA), reliability analysis, forecasting techniques,

including data interpretation and conclusion.

568 308 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา

(Computer-Aided Drug Discovery and Development)

วิชาบังคับกอน : 564 212 เคมีทางยา 2

565 356 พิษวิทยา

เครื่องมือและวิธีการทางคอมพิวเตอรที่นิยมใชในการคนหา

และพัฒนายาใหม หลักการพื้นฐานของการนําคอมพิวเตอรมาชวยใน

การออกแบบยา ทั้งชนิดที่ขึ้นกับ ลิแกนและโครงสราง ครอบคลุมการ

เตรียมขอมูล ฐานขอมูลทางเคมี การคัดเลือกยาโดยการใชวิธีทาง

คอมพิวเตอร และการออกแบบยาดวยเทคนิคตางๆ การทํานาย

คุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตรและพิษวิทยา

Pre-requisite : 564 212 Medicinal Chemistry II

565 356 Toxicology

Computational tools and methodologies commonly used in

drug discovery and development; basic concepts of computer-aided

drug design, both ligand-based and structure-based approaches,

covering compound preprocessing, chemical databases, virtual

screening, various techniques for drug design, as well as predictions of

pharmacokinetic and toxicological properties.

2(2-0-4)

Page 124: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

123

568 309 โครงสรางขอมลูและอลักอริทึม

(Data Structure and Algorithms) วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบื้องตน สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

มโนทัศนของโครงสรางขอมูลและการโปรแกรม โครงสรางขอมูลแบบ สแตก คิว ลิงคลิสต ทรี กราฟ และโครงสรางขอมูลแบบอื่นๆ อัลกอริทึมสําหรับการเรียกใชตัวเอง ตารางแบบแฮช การเรียงลําดับ การ

สืบคนโดยเนนการประยุกตทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming for Pharmaceutical Informatics

Concepts of data structures and programming; data structures of stacks, queues, linked lists, trees, graphs, and others; algorithm for recursion, hash tables, sorting and searching with an emphasis on

application in health informatics.

2(2-0-4)

568 310 เทคนิคการจําลอง

(Simulation Techniques)

วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบื้องตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

568 309 โครงสรางขอมลูและอลักอริทึม

ความหมายแ ละประโยช นของการจําลองส ถานการณ

ความสําคัญของแบบจําลอง และขั้นตอนของการจําลองสถานการณ

ครอบคลุม การกําหนดปญหา การรวบรวม และการวิเคราะหขอมูล การ

สรางตัวแบบ การสรางตัวเลขสุม การตรวจสอบความถูกตองของตัว

แบบ การออกแบบการทดลองและการทําการทดลอง การประเมิน

ผลลัพธ รวมถึง เทคนิคการจําลองปญหาทางชีวสารสนเทศ

Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming

for Pharmaceutical Informatics

568 309 Data Structure and Algorithms

Definition and usefulness of modeling simulation; importance of

simulation models and simulation procedures, including problem

formulation, data collection and analysis, simulation model development,

3(3-0-6)

Page 125: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

124

random number federation, model verification and validation, model

optimization and experimentation, implementing simulation results, and

simulation techniques of bioinformatic problems.

568 311 การพัฒนาอนิเทอรเนต็เว็บไซต

(Internet Web Site Development)

วิชาบังคับกอน : 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพืน้ฐานทาง

เภสัชศาสตร

แนะนําระบบเครือขายแบบเวิลดไวดเว็บ มโนทัศนและทักษะ

เบื้องตนของการออกแบบ การพัฒนา การเผยแพรขอมูลดานเภสัชกรรม

และ สุ ขภาพอยางมีคุณภาพ การ บํ ารุ งรักษ าระบบเว็บไ ซ ตบน

อินเทอรเน็ต หลักการพื้นฐานของเครือขายอินเทอรเน็ตสําหรับเว็บไซต

ภาษาไฮเปอร เท็กซมารกอัพ แนะนําระบบสื่อผสมบนเครือขาย

อินเทอรเน็ต เครื่องมือและเทคนิคสําหรับการพัฒนาและการบํารุงรักษา

เว็บไซต รวมถึงแนะนําการสรางหนาเว็บแบบพลศาสตร

Pre-requisite : 550 101 Basic Computer Applications in

Pharmaceutical Sciences

Introduction to the World Wide Web, basic concepts and

skills in designing, developing, dissiminating quality pharmaceutical

and health information; maintenance of Internet Web site; Internet

fundamentals of Web site, Hypertext Markup Language; introduction

to multimedia on Internet; tools and techniques for Web site

development and maintenance, including introduction to creation of

dynamic web pages.

3(2-3-4)

568 312 การพัฒนาอนิเทอรเนต็เว็บไซตขัน้สูง (Advanced Internet Web Site Development) วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม 568 303 ระบบการจัดการฐานขอมลูสําหรับ สารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

หลักการสําคัญและเทคโนโลยีขั้นสูงสําหรับการสราง การออกแบบ การเผยแพรขอมูลดานเภสัชกรรมและสุขภาพอยางมีคุณภาพ

3(2-3-4)

Page 126: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

125

การจัดการเว็บไซตบนอินเทอรเน็ต การสรางหนาเว็บแบบพลศาสตร เว็บไซตแบบเชื่อมโยงกับระบบฐานขอมูล เทคโนโลยีระดับกลาง

สําหรับสื่อแบบผสมบนเครือขายอินเทอรเน็ต การติดตั้งการใหบริการแบบเว็บ เครื่องมือและการโปรแกรมขั้นสูงสําหรับการพัฒนาและบํารุงรักษาเว็บไซต

Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming for Pharmaceutical Informatics

568 303 Database Management System for

Pharmaceutical Informatics Important principles and advanced technology to create,

design and publicize quality pharmaceutical and health information;

managing Internet Web site; creating dynamic web pages, database driven Web sites; intermediate multimedia technology on Internet; Web server installation; advanced tools and programming for Web

sites development and maintenance.

568 313 ซอฟทแวรโอเพนซอรสสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Open Source Software for Health Informatics)

วิชาบังคับกอน : 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพืน้ฐานทาง

เภสัชศาสตร

แนะนําซอฟทแวรโอเพนซอรส ระบบปฏิบัติการที่เปนแบบ

โอเพนซอรส โปรแกรมประยุกตทั่วไป และโปรแกรมทางดาน

สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

Pre-requisite : 550 101 Basic Computer Applications in

Pharmaceutical Sciences

Introduction to open source software; open source operating

systems, general application programs and health informatics program.

3(2-2-5)

568 314 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสขุภาพ 1

(Special Problems in Health Informatics I)

วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

การฝกปฏิบัติการเพื่อแกปญหาเบื้องตนที่เกี่ยวของกับเภสัช

2(1-2-3)

Page 127: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

126

กรรมสารสนเทศและสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming

for Pharmaceutical Informatics

Practice in solving problems related to pharmaceutical

informatics and health informatics.

568 315 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสขุภาพ 2

(Special Problems in Health Informatics II)

วิชาบังคับกอน : 568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบื้องตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

ทฤษฎีและการฝกปฏิบัติการเพื่อแกปญหาท่ีเกี่ยวของกับเภสัช

กรรมสารสนเทศและสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ โดยเนนปญหา

ปจจุบันดานสารสนเทศทางสุขภาพ

Pre-requisite : 568 302 Introduction to Computers and Programming

for Pharmaceutical Informatics

Theories and practice in solving problems related to

pharmaceutical informatics and health informatics, focusing on current

problems in health informatics.

4(3-2-7)

568 316 โปรแกรมประยุกตทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

(Application Programs in Health Informatics)

วิชาบังคับกอน : 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพืน้ฐานทาง

เภสัชศาสตร

โปรแกรมประยุกตที่นํามาใชทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

การจัดการ การสืบคน การวิเคราะห และนําเสนอขอมูลโดยเนนระบบ

บริหารเวชภัณฑ ระบบงานในโรงพยาบาล ระบบงานในโรงงาน

อุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของกับระบบสุขภาพ งานดานระบาดวิทยา

สาธารณสุข คลินิก การตลาด และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงาน

ดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร การวิเคราะหทางเคมี การออกแบบยา

4(3-2-7)

Page 128: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

127

การคนหาและพัฒนายาใหม การทํานายค ุณ ส มบัติทาง เ ภส ัช

จลนศาสตรและพิษวิทยา รวมถึงการพัฒนาฐานขอมูลทางเภสัชศาสตร

Pre-requisite : 550 101 Basic Computer Applications in

Pharmaceutical Sciences

Application programs used in health informatics;

management, searching, analysis and presentation of data with an

emphasis on pharmaceutical administration, hospital pharmacy

systems, industrial pharmacy systems related to health systems,

epidemiology, public health, clinics, marketing and application of

computer programs in pharmaceutical sciences, chemical analysis,

drug design, drug discovery and development, prediction of

pharmacokinetic and toxicology properties, including database

development in pharmaceutical sciences.

568 317 การพัฒนาสือ่อิเลค็ทรอนิคสทางสุขภาพขั้นสูง

(Advanced Health Electronic Media Development)

วิชาบังคับกอน : 568 305 การเผยแพรสารสนเทศทางเภสชักรรมผาน

สื่ออเิล็กทรอนิกส

ทักษะขั้นสูงในการจัดทําสื่ออิเล็กทรอนิกสชนิดตางๆ การ

ออกแบบ การพัฒนา การเผยแพรและการปรับปรุงขอมูลดานสุขภาพ

บนสื่ออิเล็กทรอนิกสโดยเนนสื่อแบบประสม สามารถใชเครื่องมือใน

การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส

Pre-requisite : 568 305 Pharmaceutical Informatics Presentation

through Electronic Medias

Advanced skills for various electronic media creation, design,

development, dissimination, and improvement of health information

through electronic multimedia.

3(2-2-5)

568 318 ชีวสารสนเทศศาสตรเบือ้งตน

(Basic Bioinformatics)

วิชาบังคับกอน : 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรบันักศกึษา

เภสชัศาสตร

3(2-2-5)

Page 129: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

128

การประยุกตคอมพิวเตอรเพื่อวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการ

ทดลอง ฐานขอมูลและเคร่ืองมือที่เกี่ยวของทางดานเภสัชศาสตรชวีภาพ

รวมทั้งการออกแบบจําลองการทดลองจากชีวสารสนเทศ

Pre-requisite : 561 205 Medical Microbiology for Pharmacy Students

Application of computers to analyze data obtained from

experimentation, databases and instrumentation related to

biopharmaceutics, including designing of experimental models from

bioinformatics.

568 319 การประยกุตเคโมเมทริกซในการวิเคราะหยา

(Chemometrics-assisted Determination of Pharmaceutical Compound)

วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมภาพยา 2

568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตน

สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

ทฤษฎีและการปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการทางเคโมเมทริกซ

เบื้องตน ครอบคลุม พีซีเอ พีซีอาร และ พีแอลเอส และวิธีการนําไป

ประยุกตใชกับขอมูลชนิดหลายตัวแปรในการวิเคราะหยา

Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

568 302 Introduction to Computers and Programming

for Pharmaceutical Informatics

Theory and practice in basic chemometric methods including

PCA, PCR, and PLS and their applications on different kinds of

multivariate data for pharmaceutical analysis.

2(1-2-3)

568 320 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่การจัดการปญหาการใชยา (Information Technology for Drug Utilization Problem Management) วิชาบังคับกอน : 562 365 เภสชักรรมปฏิบัติ

568 302 คอมพิวเตอรและการโปรแกรมเบือ้งตน สําหรับสารสนเทศศาสตรทางเภสชักรรม

การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปญหาการใชยา

ครอบคลุมถึง ความคลาดเคลื่อนของการใชยา อาการไมพึงประสงคจากการใชยา และการแพยา มโนทัศนและการฝกปฏิบัติในเร่ืองของการสืบคน การบันทึก การรวบรวมและการวิเคราะหเรื่องของปญหาการใช

3(2-2-5)

Page 130: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

129

ยาโดยใชแนวคิดเร่ืองปญญาประดิษฐและเหมืองขอมูล Pre-requisite : 565 365 Pharmacy Practice

568 302 Introduction to Computers and Programming for Pharmaceutical Informatics

Application of information technology to reduce problems in

drug utilization, including medication errors, adverse drug reactions and drug allergy; concepts and practices of searching, recording, compiling and analyzing medication problems based on artificial

intelligence and data mining concepts.

568 321 การคนคืนขอมูลดานสุขภาพ

(Health Information Retrieval)

วิชาบังคับกอน : 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ประเภท และแหลงของสารสนเทศทางสุขภาพ เทคโนโลยีการ

คนคืนขอมูลที่มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของทฤษฎีสารสนเทศ โดย

เนนการประยุกตคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต ตลอดจนการประเมิน

ความถูกตอง ความนาเชื่อถือของขอมูลและแหลงขอมูลสารสนเทศ

รวมทั้งการจัดทําตัวคนคืนขอมูลเบื้องตน

Pre-requisite : 568 301 Health Informatics

Types and sources of health information; effective

information retrieving technology based on information theory,

focusing on applying computers and the Internet, and evaluation of

validity and reliability of information and sources of information,

including implementing of a basic information retrieving engine.

3(2-2-5)

568 322 สารสนเทศศาสตรทางสมุนไพรเบือ้งตน

(Basic Herbal Informatics)

วิชาบังคับกอน : 566 211 เภสชัเวท 2

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชกับขอมูลสมุนไพร

ครอบคลุมการรวบรวมขอมูล การจัดการขอมูล การสืบคน การ

วิเคราะหขอมูล และการนําเสนอขอมูลดานสมุนไพร

Pre-requisite : 566 211 Pharmacognosy II

3(2-2-5)

Page 131: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

130

568 301 Health Informatics

Application of information technology for herbal information,

including herbal information acquisition, management, searching,

analysis and presentation.

568 323 การจัดการสารสนเทศสําหรับงานสาธารณสุข

(Information Management for Public Health)

วิชาบังคับกอน : 563 251 สาธารณสขุพื้นฐาน

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ทฤษฏี กระบวนการและการประยุกตของระบบสารสนเทศเพือ่

การจัดการที่เกี่ยวของทางสาธารณสุข มโนทัศนและการฝกปฏิบัติใน

เรื่องเทคนิค มาตรฐานและความตองการของขอมูลเพื่อการจัดการระบบ

สารสนเทศทางสาธารณสุข

Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health

568 301 Health Informatics

Theory, process and application of management information

systems for public health; concepts and practices of techniques,

standard and requirements of data in public health information

management.

3(2-2-5)

568 324 การจัดการสารสนเทศทางเภสชัศาสตรการตลาด

(Information Management for Pharmaceutical Marketing)

วิชาบังคับกอน : 563 258 การบริหารเภสชักิจเบือ้งตน 2

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ทฤษฏี กระบวนการและการประยุกตของระบบสารสนเทศเพือ่

การจัดการที่เกี่ยวของทางดานเภสัชศาสตรการตลาด มโนทัศนและการ

ปฏิบัติในเรื่องเทคนิค มาตรฐานและความตองการของขอมูลเพื่อการ

จัดการระบบสารสนเทศทางเภสัชศาสตรการตลาด

3(2-2-5)

Page 132: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

131

Pre-requisite : 563 258 Basic Pharmacy Administration II

568 301 Health Informatics

Theory, process and application of information for

pharmaceutical marketing management, concepts and practices of

technical background, data standard and requirements in

pharmaceutical marketing management.

568 325 ระบบสารสนเทศทางเภสัชวิทยาและพษิวิทยา

(Information Systems for Pharmacology and Toxicology)

วิชาบังคับกอน : 565 356 พิษวิทยา

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชกับขอมูลดานเภสัช

วิทยาและพิษวิทยา การรวบรวมขอมูล การจัดการขอมูล การสืบคน การ

วิเคราะหขอมูล และการนําเสนอขอมูลขอมูลดานเภสัชวิทยาและ

พิษวิทยา

Pre-requisite : 565 356 Toxicology

568 301 Health Informatics

Application of information technology for pharmacology and

toxicology; pharmacological and toxicological information

acquisition, management, searching, analysis and presentation.

3(2-2-5)

568 326 ระบบสารสนเทศทางเภสัชอุตสาหกรรม

(Information Systems for Industrial Pharmacy)

วิชาบังคับกอน : 567 270 เทคโนโลยเีภสชักรรม 5

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชกับขอมลูดานการผลติ

การวิเคราะห และการพัฒนาสูตรตํารับยา การรวบรวมขอมูล การจัดการ

ขอมูล การสืบคน การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนอขอมูลดานการ

ผลิตและวิเคราะหยา

3(2-2-5)

Page 133: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

132

Pre-requisite : 567 270 Pharmaceutical Technology V

568 301 Health Informatics

Application of information technology for pharmaceutical

production, analysis and formulation; pharmaceutical production and

analysis information acquisition, management, searching, analysis and

presentation.

568 327 การประยกุตสารสนเทศดานการบริบาลทางเภสชักรรม

(Applied Pharmaceutical Care Informatics)

วิชาบังคับกอน : 562 365 เภสชักรรมปฏิบัติ

568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

ภาพรวมบทบาทของระบบสารสนเทศในองคกรทางสุขภาพ

และรานยา เทคนิค การจัดองคกร คาใชจายและผลประโยชน ที่

เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศทางสุขภาพ ครอบคลุมถึงการสนับสนุน

การตัดสินใจทางคลินิก เทคโนโลยีคอมพิวเตอรเครือขายและการ

กระจาย เภสัชกรรมทางไกล และการแกปญหาเชิงปญญาประดิษฐ

Pre-requisite : 562 365 Pharmacy Practice

568 301 Health Informatics

Overview of the role of information systems in health care

organizations and drug stores; techniques, organizations, cost and

benefit issues related to health care information systems, including

clinical decision making, networking and distributing computer

technologies, telepharmacy, and artificial intelligence solutions.

3(2-2-5)

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

18.1 การบริหารหลักสูตร

18.1.1 มีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

18.1.2 ระบบการจัดการเรียนการสอนเนนใหนักศึกษาสามารถศึกษาและแสวงหาความรู

ดวยตนเองโดยไมสิ้นสุด ดังกําหนดไวในวัตถุประสงคของหลักสูตรและลักษณะการจัดหลักสูตรให

นักศึกษาทุกคนที่เรียน

Page 134: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

133

18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน มีการจัดหาและผลิตตําราและสื่อการสอนในสาขาวิชาที่

เกี่ยวของเพิ่มขึ้นในแตละป ตลอดจนมีการเชิญวิทยากรผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขามาบรรยายพิเศษ

18.3 การสนับสนุนและการใหคําปรึกษานักศึกษา มีอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการและอาจารยที่

ปรึกษาวิทยานิพนธทั้งที่เปนอาจารยภายในและภายนอกสถาบัน

18.4 ความตองการของตลาดแรงงาน/สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต โดยมีการ

ตั้งคณะกรรมการสํารวจขอมูลการประกอบอาชีพของบัณฑิตรวมถึงความตองการของตลาดแรงงาน

ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตโดยการวิเคราะหประเมินผลอยางเปนระบบ

19. การพัฒนาหลักสูตร

19.1 ดําเนินการประเมินหลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตรอยางเปนระบบทุก 5 ป

19.2 กําหนดประเมินหลักสูตรคร้ังแรก พ.ศ.2557

20. เหตุผลของการปรับปรุงหลกัสูตร

คณะเภสัชศาสตรไดเริ่มเปดสอนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตั้งแตป พ.ศ.2529 และ

คณะไดมีการปรับปรุงหลักสูตรมาตลอดเปนระยะ ๆ จํานวน 4 ครั้ง คร้ังลาสุดคือครั้งท่ี 4 พ.ศ.2546 การ

ปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ เปนครั้งที่ 5 เปนการปรับปรุงใหญ เนื่องจากความเจริญกาวหนาดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนกลไกหนึ่งท่ีทําใหสังคมตองมีการเปลี่ยนแปลงและมวีวิฒันาการใหทนั

ตอกระแสของการเปลี่ยนแปลงดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช

ในกระบวนการผลิต คิดคน การสรางนวตกรรมใหม ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายทาง

สาธารณสุขและการคุมครองผูบริโภค ประกอบกับสภาเภสัชกรรมไดออกขอบังคับเภสัชกรรมวาดวย

การรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตรหรือวุฒิบัติในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบัน

ตาง ๆ ซึ่งสภาเภสัชกรรมจะรับรองหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป เพียงหลักสูตรเดียวในป พ.ศ.

2557 และใชเปนเงื่อนไขในการสมัครเขาเปนสมาชิก และสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได

ซึ่งถือเปน entry level degree บัณฑิตทางเภสัชศาสตรที่สําเร็จการศึกษาในป พ.ศ. 2557 จะตอง

สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป เทานั้น

21. ปการศึกษาทีเ่ริ่มใชหลักสูตรเดิมและปการศกึษาที่กําหนดใชหลกัสูตรปรับปรุงใหม

21.1 หลักสูตรเดิมหลกัสตูรเภสชัศาสตรบัณฑติ หลกัสตูรปรับปรุง พ.ศ.2546

21.2 หลักสูตรปรับปรุงเร่ิมใชภาคการศกึษาตน ปการศกึษา 2552

Page 135: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

สภามหาวิทยาลัยศลิปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552

134

22. การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลกัสูตรปรับปรุง

22.1 การเปรียบเทียบโครงสรางหลกัสูตรเดิมกับหลกัสตูรปรับปรุง

หมวดวิชา จํานวนหนวยกิต จํานวนหนวยกิต

ที่แตกตาง เกณฑ สกอ. โครงสรางเดิม โครงสรางใหม

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30

หนวยกิต

30 หนวยกิต 30 หนวยกิต คงเดิม

2. หมวดวิชาเฉพาะ

2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

2.2 รายวิชาบังคับวิชาชีพ

ไมนอยกวา

144 หนวยกิต

30 หนวยกิต

122 หนวยกิต

47 หนวยกิต

154 หนวยกิต

- กลุมวิชาดานผลิตภัณฑ 35 หนวยกิต

- กลุมวิชาดานผูปวย 42 หนวยกิต

- กลุมวิชาดานสังคมและ

การบรหิาร 14 หนวยกิต

- รายวิชาฝกปฏิบัติงาน 36 หนวยกิต

- รายวิชาเลือกวิชาชีพ 24 หนวยกิต

- รายวิชาจุลนิพนธ 3 หนวยกิต

1. ยายรายวิชาวิทยาศาสตร

สุขภาพและคลินิก รายวิชา

บังคับวิชาชีพ จํานวน 29

หนวยกิต ไปรวมเปนรายวิชา

พื้นฐานวิชาชีพจํานวน 18

หนวยกิต ที่เหลือ 11 หนวย

กิต ยายไปเปนบังคับวิชาชีพ

2. รายวิชาบังคับวิชาชีพแยก

ออกเปนกลุมวิชา 3 กลุม

ตามที่สภาเภสัชกรรมกําหนด

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6

หนวยกิต

6 หนวยกิต 6 หนวยกิต คงเดิม

จํานวนหนวยกิตรวม ไมนอยกวา

180 หนวยกิต

188 หนวยกิต 237 หนวยกิต หนวยกิตเพิ่มขึ้น 49

หนวยกิต