วารสาร สพป.ลบ.1

16
อภิลักขิตมหาสมัย ผองชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนหรรษา น้อมเคารพนบน้อมกราบบูชา เดือนสิงหาที่สิบสองของทุกปี ขอพระองค์ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา แผ่เมตตาทั่วหล้าสุขเกษมศรี สรรพสิ่งมงคลทรงเปรมปรีด์ พระบารมีแผ่ไพศาลตลอดกาลเทอญ วารสาร สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 ถ.พระปิยะ ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี โทร. 0-3641-1730 แฟกซ์ 0-3642-1906 ปีท6 ฉบับที45 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นายสุเมธี จันทร์หอม ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 พร้อมด้วยข้าราชการ ครู บุคลากรทางการศึกษา

Transcript of วารสาร สพป.ลบ.1

Page 1: วารสาร สพป.ลบ.1

อภิลักขิตมหาสมัย ผองชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนหรรษาน้อมเคารพนบน้อมกราบบูชา เดือนสิงหาที่สิบสองของทุกปี ขอพระองค์ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา แผ่เมตตาทั่วหล้าสุขเกษมศรีสรรพสิ่งมงคลทรงเปรมปรีด์ พระบารมีแผ่ไพศาลตลอดกาลเทอญ

วารสาร สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1ถ.พระปิยะ ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี โทร. 0-3641-1730 แฟกซ์ 0-3642-1906

ปีที่ 6 ฉบับที่ 45 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2555

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะข้าพระพุทธเจ้า นายสุเมธี จันทร์หอม

ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1พร้อมด้วยข้าราชการ ครู บุคลากรทางการศึกษา

Page 2: วารสาร สพป.ลบ.1

เดือนสิงหาคมถือว่าเป็นเดือนมหามงคลคือวันแม่และวันแม่แห่งชาติ ซึ่งพสกนิกรชาวไทยต่างปลื้มปิติระลึกถึงพระคุณและพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้

เดือนสิงหาคมถือว่าเป็นระยะเวลาที่พวกเราชาวการศึกษาได้ตั้งตัวจากการเปิดภาคเรียนปีการศึกษา๒๕๕๕ได้อย่างลงตัวแล้วทั้งแผนงานและแผนคนมีกลยุทธ์ โครงการกิจกรรมในทุกมิติอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เกิด  “ชั่วโมงคุณภาพ” และ“นักเรียนคุณภาพ” ในที่สุด

ธรรมดาของการดำาเนินงาน ย่อมมีอุปสรรคและปัญหาเข้ามาขวางกั้นและปิดบังความสำาเร็จถือว่าเป็นความท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู ที่จะร่วมใจร่วมแรงสร้างพลังอันแกร่งกล้า ก้าวผ่านให้ได้อย่างองอาจ และทรนง การก้าวเดินที่มุ่งมั่น ทุ่มเทและเสียสละ จึงเป็นอุดมการณ์พื้นฐานที่ผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครูต้องมีอย่างเต็มหัวใจ

พวกเรามีความท้าทายมากมาย สำาหรับการทำาหน้าที่ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ แต่ก่อนที่จะท้าทายสิ่งอื่น ในเดือนสิงหาคม อยากฝากให้ท่านผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู และบุคลากรบนสำานักงานเขต ได้ท้าทายกับความอ่อนล้า ความเฉื่อยชา  ความไม่รู้ร้อนรู้หนาวของนักเรียน ในความรับผิดชอบของพวกเราก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งผมเชื่อว่าพวกเราต้องทำาได้และทำาได้อย่างดี

ด้วยบริสุทธิ์ใจ

นายสุเมธีจันทร์หอมผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต๑

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1๑

Page 3: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ได้มีโอกาสไป

ศึกษาดูงานกับบอร์ดบริหารทั้ง3องค์คณะของสำานักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต1 เป็นเวลา4

วัน 3 คืนด้วยกัน ก่อนไปก็วาดฝันถึงความสวยงามของ

เกาะบาหลีว่าต้องหรูเลิศอลังการและโรแมนติคแต่เมื่อ

ไปถึงสนามบินที่เดนปาร์ซาร์ เมืองหลวงของเกาะบาหลี

หะแรกต้องพบกับความผิดหวังอย่างแรงหมดความรู้สึกที่

อยากไปเที่ยวชมในที่ไหนๆ

ทั้งนั้น

เนื่องจากไปพบสภาพการ

จราจรที่แออัดเมื่อออกจาก

สนามบิน สภาพของสนาม

บินก็ไม่สวยงามโอ่โถงเหมือน

สุวรรณภูมิบ้านเรา บางจุดก็

ประหยัดไฟ ประหยัดแอร์

อีกต่างหากสภาพบ้านเมือง

ที่เดินทางไปสกปรกรกรุงรัง

เต็ม ไปด้ วยการก่อสร้ าง

ทัศนียภาพสองข้างทาง ส่วนใหญ่ไม่สวยงามเอาเสียเลย

หาความเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่ได้เลย แม้แต่ความเจริญ

ในแถบที่ชาวต่างชาติไปท่องเที่ยวกันมาก ๆ อย่างหาดจิม

บารันและหาดคูตาร์ ก็สู้พัทยา กระบี่ หรือที่ไหน ๆ ใน

เมืองไทยไม่ได้ รวมทั้งอาหารการกิน กล่าวโดยสรุป และ

โดยรวมคือ ถ้าจะพูดถึงความศิวิไลซ์ ความละเมียดละไม

ความอลังการ หรูหรา ยังอีกหลายช่วงตัว กว่าจะเทียบเท่า

เมืองไทย แต่มีสิ่งหนึ่งซึ่งสะดุดตา

สะดุดใจนั่นคือศรัทธาอันแรงกล้า

ต่อการกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์

หรือสิ่งเคารพนับถือเทพเจ้า ผีสาง

นางไม้ของคนที่บาหลี ที่สามารถ

พบเห็นได้ตลอดเส้นทางที่ผ่านทั้ง

อาคารบ้านเรือนร้านค้า

รถราต่างๆไม่เคยว่างเว้นจากการบูชา

เท่าที่สังเกตดู เครื่องบูชาหน้ารถ

ซึ่งเป็นดอกไม้สดฉีกเป็นกลีบๆกอง

รวมกันในกระทงสานสี่เหลี่ยม นัยว่าเพื่อให้กลิ่นหอมของ

ดอกไม้กรุ่นกำาจายออกมา จะถูกเปลี่ยนทุกเช้า ตามหน้า

บ้านร้านค้าหรือวัดวาต่างๆ ก็เช่นเดียวกันสังเกตดูจะเป็น

ของใหม่ บางจุดเช่นร้านค้า หรือแม้แต่ซุปเปอร์มาร์เก็ตที่

ทันสมัย เป็นเวลาใกล้เที่ยงหรือบ่ายคล้อยแล้ว ก็ยังเห็นมี

การนำาเครื่องบูชาดังว่ามาวางตามจุดต่างๆให้เห็นตลอด

วัน สองข้างทางที่ขับรถผ่านแทบทุกบ้าน หากให้คะเน

ด้วยสายตา น่าจะประมาณ 98% ของทั้งหมด จัดพื้นที่

ภคจิรานักประชาสัมพันธ์ชำานาญการ

สพป.ลบ1

“ถ้ า จ ะ พู ด ถึ งค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์

ความละเมียดละไม ค ว า ม อ ลั ง ก า ร หรูหรา ยังอีกหลายช่วงตัว กว่าจะเทียบเท่าเมืองไทย”

Page 4: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

¹†Ø»‹Õ§ÞÕèÍ¢¨çÃàÓÊÁÒǤÂѨ¨˜»

ส่วนหน้าของอาคารบ้านเรือนหรือบนดาดฟ้า เป็นที่ตั้งของ

สิ่งปลูกสร้างเพื่อบูชาเทพลักษณะคล้าย ๆ กับศาลพระภูมิ

และศาลตายายบ้านเรา แต่ที่น่าทึ่ง คือ บางบ้านที่มีฐานะดี

ครึ่งหนึ่งของพื้นที่ส่วนหน้าจะเต็มไปด้วยสิ่งปลูกสร้างน้อยใหญ่

อยู่รวมกันเป็นหมู่ บางจุดทำาจากหินทรายล้วน บางจุด

หลังคาเป็นใบไม้อะไรสักอย่างคล้าย ๆ

แฝกหรือจากฉีกเป็นเส้นเล็กๆซ้อนกัน

หนาเป็นตับเหมือนหมวกทหารจีนในหนัง

โบราณ แลเห็นเป็นสีดำาทะมึนเหมือนกัน

หมดทั้งตัวบ้านศาลรั้วประตูเนื่องจาก

บาหลีเป็นเมืองที่มีฝนตกชุกเกือบตลอด

ปีทำาให้เกิดเชื้อราและดำาทำาให้เป็นเสน่ห์

อย่างหนึ่งซึ่งน่าหลงใหลที่พูดเช่นนี้เพราะ

เนื่องจากเราเดินทางมายังวิหารหลวงทา

มันอายุน ซึ่งมีบางจุดสร้างและซ่อมแซมใหม่ ทำาให้ใบไม้

ที่ใช้มุงเป็นหลังคา แลดูใหม่เป็นสีเปลือกไม้ มองดูแล้้วไม่

สวยงามเลยสู้สีดำาๆทะมึนไม่ได้

ที่นี่เราได้ค้นพบอีกคำาตอบหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อดีของ

ศรัทธาและความเชื่ออย่างเคร่งครัด เนื่องจากชาวบาหลี

เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกล้วนมีเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ปกปักรักษาอยู่ จึงไม่มีการตัดไม้ทำาลายป่า ป่าที่นี่จึง

อุดมสมบูรณ์มากที่สำาคัญเกาะบาหลีเป็นแหล่งท่องเที่ยว

ที่มีชื่อเสียงมานาน มีนักท่องเที่ยวเข้ามามากมาย แต่ยัง

คงสภาพเดิมๆของหมู่บ้านชุมชนและวัฒนธรรมต่างๆ

เอาไว้ได้อย่างเหนียวแน่น

ช่ าง เป็นการลงทุนด้านการท่องเที่ ยวที่ แสน

มหัศจรรย์พันลึกเสียนี่กระไร คือ ไม่ต้องจ่ายเงินเพื่อการ

สร้างเสริมเติมแต่งอะไรเลย ไม่เหมือนเมืองไทย แค่ขยาย

ถนนหรือถนนตัดผ่าน ทุกสิ่งทุกอย่างในอดีต หายวับไปกับ

ตา เหลือเพียงสิ่งก่อสร้างที่สวยงามตระการตา สีสันสดใส

ทันสมัยโอ่โถงเข้ามาแทนที่ เพื่อเตรียมรับกับความเจริญที่

จะมาเยือนนี่แหละที่เราแตก

ต่างจากเขาอย่างสิ้นเชิงในเรื่อง

ของการรักษาอัตลักษณ์ของ

ตนเอง การรู้จักคุณค่าในตัวเอง

ซึ่งเราคงตอบไม่ได้ว่า อะไรดี

กว่าระหว่างความเปลี่ยนแปลง

กับการคงอยู่ คงต้องขึ้นอยู่กับ

มุมมองของแต่ละคน เนื่องจาก

ทุกสิ่งในโลกล้วนมีทั้งด้านดีและด้านเสีย

สรุปแล้ว ทริปนี้ข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจอย่างไม่เคย

เป็นมาก่อน ไม่เคยรู้เลยว่า วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ

ต่าง ๆ นั้น งดงามเหนือกาลเวลา งดงามเหนือคำาบรรยาย

งดงามกว่าโรงแรมหรูๆภัตตาคารชั้นเยี่ยมหรือช็อปปิ้งมอลล์

ชั้นยอด ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก ประเทศไทยคงต้องถึง

เวลาทบทวนใหม่เสียกระมังว่า อัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตน

ของเราคืออะไรและเราจะขายอะไรให้กับนักท่องเที่ยว

“วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อต่าง ๆ นั้น งดงามเหนือกาลเวลา งดงามเหนือคำาบรรยาย งดงามกว่าโรงแรมหรู ๆ ภัตตาคารชั้นเยี่ยม

หรือช็อปปิ้งมอลล์ชั้นยอด ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก”

Page 5: วารสาร สพป.ลบ.1

¹†Ø»‹Õ§ÞÕèÍ¢¨çÃàÓÊÁÒǤÂѨ¨˜»

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

นายสิทธิพงษ์ พฤกษอาภรณ์รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1

ตลอด 7 วันที่เดินทางและศึกษาดูงานในญี่ปุ่น สิ่งที่ผมเห็นได้ตลอดเวลา ทุกสถานที่ คือภาพของคนญี่ปุ่น นั่ง เดิน อ่านหนังสือ ในทุก ๆ สถานที่แม้แต่ขณะที่อยู่คอยไฟเขียวสำาหรับข้ามถนน ซึ่งก็ ไม่ ได้นานนักหนา

พวกเขาก็ยังพยายามที่จะยืนอ่าน และเป็นการอ่านอย่างมีสมาธิ และที่ลองสังเกตุพวกเขาอ่านหนังสือทุกประเภท เคยทราบมาว่าถ้าให้ดีลองขึ้นหรือลงไปดูในรถไฟฟ้า ทั้งใต้ดิน บนดิน ภาพที่จะเห็นก็คือพวกเขาอ่านหนังสือกันทั้งนั้น ไม่พูดไม่คุย ไม่รู้จริงหรือเท็จประการใด เพราะทริปนี้ไม่มีเวลาให้ลองไปสำารวจ แต่เมื่อมีโอกาสได้ไปเดินในย่านที่คนทุกเพศ ทุกวัย มักมาเดิน เช่น ย่าน ชินชุกุ ย่านอิเคบุโคโร ในห้างสรรพสินค้า หรือใกล้สถานีรถใต้ดิน มักพบ ร้านหนังสือทั้งขนาดเล็กและใหญ่ที่มีคนเข้าสมำ่าเสมอ บางร้านแน่นจนแทบเดินไม่ได้เมื่อเดินเข้าในร้านหนังสือ บางร้านมีหนังสือถึง 3 – 4 ชั้น และเป็นหนังสือใหม่ และหนังสือมือสองเยอะมาก ตรงนี้คงเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ว่ามีคนญี่ปุ่นจำานวนมากพาตัวเองเข้าไปสู่โลกของหนังสือ ถึงแม้วันนี้โลกของเทคโนโลยี มีหนังสือออนไลน์ อ่านโดยผ่าน ipad หรือการเล่นเกมส์ผ่านโทรศัพท์มือถือ (เหมือนในบ้านเราที่เรามักพบว่า เมื่อขึ้นรถไฟฟ้า หรือนั่งที่ใด ไม่เว้นแต่ในร้านอาหารขณะนั่งรับประทานกับครอบครัว เรามักพบภาพต่างคนก็ต่างงัดเอาโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเล่นเกมส์ หรือพิมพ์พูดคุยผ่านเทคโนโลยีดังกล่าวแบบไม่ลืมหูลืมตาโดยไม่คุยกับผู้ร่วมรับประทานอาหาร) ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงนักอ่านหนังสืออย่างนั้นเป็นข้อสงสัยที่ผมอยากจะค้นหา เมื่อมีผมได้โอกาสเขาไปเยี่ยมศึกษา ดูงานในสถาน

ศึกษา ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย สิ่งที่ผมตามเข้าไปค้นหาก็คือ ห้องสมุด พบว่าทุกโรงเรียน ทุกระดับมีห้องสมุด เป็นห้องสมุดที่ไม่ได้ใหญ่โต โอ่โถงมากนักขนาดเพียง 1-2 ห้องเรียนเท่านั้น แต่สิ่งที่พบคือมีครูบรรณารักษณ์ หรืออาสามัคร ที่มาจากผู้ปกครองนักเรียนมาอยู่ประจำาห้องสมุด คอยดูแลให้คำาแนะนำา จัดเก็บ จัดเรียง ซ่อมแซมหนังสือ คัดเลือกหนังสือเพื่อทำาป้ายนิเทศแนะนำานักเรียนเกี่ยวกับหนังสือที่น่าสนใจ เมื่อดูลึกเขาไปในชั้นหนังสือหยิบหนังสือในแต่ละหมวดขึ้นมาดู เท่าที่สังเกตุเห็นหนังสือเกือบทั้งหมดเป็นปกแข็งอาบมันเกือบทั้งนั้น ยกเว้นหนังสืองานวิชาการ งานวิจัย ที่ห้องสมุดเล่านั้นถ่ายเอกสารมา แต่ก็มีสภาพน่าดู น่าจับ น่าสนใจ พลิกเปิดเข้าไปในแต่ละเล่มสิ่งที่พบก็คือห้องสมุดโรงเรียนระดับประถมและมัธยมต้น ไม่เว้นแม้แต่มัธยมปลายก็คือ หนังสือแต่ละเล่มภาพประกอบหนังสือ ส่วนใหญ่เป็นภาพลักษณะการ์ตูนสไตล์ญี่ปุ่น ผมตามเข้าไปดูในหนังสือประกอบการเรียนของนักเรียนญี่ปุ่น เกือบทุกเล่มมีลักษณะตรงกันกับหนังสือในห้องสมุดคือมีภาพประกอบเป็นลักษณะการ์ตูนเช่นกัน ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ ผมได้มีโอกาสดี คือได้มีโอกาสสังเกตุการสอนในสาระสังคมศึกษา วิชาประวัติศาสตร์ สิ่งที่ได้สังเกตุพบในการจัดการเรียนการสอนของครูก็คือ เด็กนักเรียนจะถูกฝึกและเรียนรู้ว่าจะสามารถหาคำาตอบเรื่องราวต่าง ๆ ได้จากการค้นคว้าจากหนังสือ การสังเกตุ เด็กจึงตระหนักถึงความสำาคัญของการค้นคว้าหาสิ่งใหม่ ๆ และเพลิดเพลินกับการเปิดโลกทัศน์ของตนเองด้วยการอ่าน เท่าที่สอบถามครูและผู้บริหารพบว่าคนญี่ปุ่นรักการเรียนรู้ นอกจากจะถูกฝึกการอ่านอย่างหนักจากครู โรงเรียนแล้ว

Page 6: วารสาร สพป.ลบ.1

ครอบครัว อีกทั้งในห้องสมุดประจำาตำาบล หมู่บ้านจะมีมุมหนังสือสำาหรับเด็กเป็นมุมที่คึกคักมักมีเด็ก ๆ ไปนั่งอ่านอยู่เสมอ จึงเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่าน ให้กับเด็กมาอย่างตลอดแนว ดังนั้น ภาพที่ชาวญี่ปุ่นทุกเพศทุกวัย อ่านหนังสือในสถานที่ต่าง ๆ หรือภาพร้านหนังสือโดยเฉพาะบริเวณสถานีรถไฟแน่นขนัดไปด้วยผู้คน คงเป็นที่มาจากการที่เด็กนักเรียน เยาวชนได้ถูกบ่มเพาะมาตลอดเมื่อเข้าสู่การทำางาน เขาก็ยังคงศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้ความชำานาญในสาขาอาชีพ เพื่อพัฒนาทักษะการทำางาน ติดตามความก้าวหน้าของวงการต่างๆ หรืออ่านตำาราฝึกภาษาต่างประเทศ แม้กระทั่งบางคนที่ต้องการพักผ่อนก็ยังอ่านหนังสือการ์ตูนหรือหนังสืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับงานอดิเรก ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงเป็นนักอ่าน นักศึกษา ค้นคว้า ไม่หยุดนิ่งเช่นนั้น หากแต่ดูจากข้อมูลที่กล่าวมาเฉพาะที่เราสังเกตุและพบเห็นมาประมวล หลังจากกลับมาเมืองไทยผมลองค้นคว้าต่อไปว่านโยบายส่งเสริมการอ่านของนโยบายของรัฐบาลให้การสนับสนุนการอ่านชัดเจนมีการออกกฏหมายเกี่ยวกับห้องสมุด มีการออกกฎหมายห้องสมุดโรงเรียน (School Library Law) ที่กำาหนดให้โรงเรียนซึ่งมี จำานวนห้องเรียนมากกว่า 12 ห้องต้องมีบรรณารักษ์ประจำาห้องสมุด

ภายในตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 คือ ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็กสำาหรับเด็ก ที่เรียกว่า Bunko จัดตั้งและดำาเนินการโดยอาสาสมัครที่เป็นบุคคล หรือกลุ่มเอกชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแม่บ้านที่อาสาสมัครเปิดบ้านตนเอง ออกเงินและบริหารเองบางแห่งเจ้าของ เป็นข้าราชการเกษียณ ซึ่งนำาเงินบำาเหน็จของตนมาดำาเนินการ นอกจากนี้สภาการศึกษาของทุกเมืองจังหวัด จัดห้องสมุดและสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับห้องสมุดของท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดรับประสานกับนโยบายของรัฐบาลที่จัดให้มีสภาส่งเสริมการอ่านหนังสือแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Council for Promotion of Book Reading) มีห้องสมุดนานาชาติด้านวรรณกรรมเด็ก(The International Library of Children’s Literature: ILCL) ตั้งอยู่ที่ Ueno Park กรุงโตเกียว รวมทั้งในปี ค.ศ.2005 รัฐบาลออกกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน

อีก 2 ฉบับคือ กฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมด้านตัวหนังสือและสิ่งพิมพ์ และกฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมการเขียนคำา แค่เพียงตัวอย่างที่ค้นพบดังกล่าวนั่นแสดงว่าทุกภาคส่วนร่วมมือกันอย่างจริงจังทั้ง ครอบครัว บ้าน ชุมชน โรงเรียน สถานศึกษา ท้องถิ่น กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology: MEXT) รวมจนถึงรัฐบาลทำางานกันอย่างสอดรับกันทำาให้การปลูกฝังการรักการอ่านของประชาชนชาวญี่ปุ่นหยั่งลึกลงในสายเลือดของประชาชนแบบยั่งยืน ทำาให้ชาวญี่ปุ่นมี

ทัศนคติที่ดีมากต่อการอ่าน ไม่เห็นว่าเป็นการเรียน ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นการหาข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเอง เป็นการเรียนรู้ที่ต้องกระทำาตลอดชีวิต ทำาให้มีอำานาจในการแข่งขัน สร้างโอกาส สร้างความสำาเร็จ เพราะสังคมญี่ปุ่นประเมินค่าที่สติปัญญา ความสามารถและประสบการณ์ มิใช่ที่ความรู้แบบฉาบฉวยหรือความมั่งคั่งทางวัตถุ ที่สำาคัญการอ่านมาก อ่านองค์ความรู้อื่น ๆ ทั่วโลกทำาให้คนญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักต่อยอดนวัตกรรมสามารถคิด ดัดแปลง นำาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มาต่อยอด พัฒนาได้ดียิ่งขึ้น ประเทศญี่ปุ่นจึงสามารถพัฒนา

เป็นประเทศชั้นนำาของโลกในเวลาอันรวดเร็วอย่างและประสบผลสำาเร็จเป็นที่ประจักษ์

สุดท้ายจากสิ่งที่พบเมื่อมองเขาแล้วย้อนกลับมาดูบ้านเรา การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่าง

ไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ หรือขาดอาหารสมองเพื่อเสริมการคิดวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวต้องสะสม เพิ่มพูนและมีรากฐานมาจากการอ่านนั่นเอง กระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาล คงต้องมีนโยบายด้านการอ่านที่ชัดเจน มิใช่เพียงปีหนึ่ง ๆ จัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เพียงครั้ง หรือสองครั้ง เท่านั้น นโยบายด้านการอ่านต้องต่อเนื่อง จริงจัง บทเรียนความสำาเร็จของญี่ปุ่นเราสามารถนำามาต่อยอดให้เด็กไทยเป็นนักอ่าน นักค้นคว้า และนักพัฒนานวัตกรรมได้ในอนาคตและหากยังไม่มีหน่วยงานใดเริ่มพวกเราคงต้องมาเริ่มต้นปลูกฝังนิสัยการอ่านให้กับตัวเราคนใกล้ตัวเราก่อน คุณว่าดีไหม

“การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่างไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ”

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1๕

Page 7: วารสาร สพป.ลบ.1

ครอบครัว อีกทั้งในห้องสมุดประจำาตำาบล หมู่บ้านจะมีมุมหนังสือสำาหรับเด็กเป็นมุมที่คึกคักมักมีเด็ก ๆ ไปนั่งอ่านอยู่เสมอ จึงเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่าน ให้กับเด็กมาอย่างตลอดแนว ดังนั้น ภาพที่ชาวญี่ปุ่นทุกเพศทุกวัย อ่านหนังสือในสถานที่ต่าง ๆ หรือภาพร้านหนังสือโดยเฉพาะบริเวณสถานีรถไฟแน่นขนัดไปด้วยผู้คน คงเป็นที่มาจากการที่เด็กนักเรียน เยาวชนได้ถูกบ่มเพาะมาตลอดเมื่อเข้าสู่การทำางาน เขาก็ยังคงศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้ความชำานาญในสาขาอาชีพ เพื่อพัฒนาทักษะการทำางาน ติดตามความก้าวหน้าของวงการต่างๆ หรืออ่านตำาราฝึกภาษาต่างประเทศ แม้กระทั่งบางคนที่ต้องการพักผ่อนก็ยังอ่านหนังสือการ์ตูนหรือหนังสืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับงานอดิเรก ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงเป็นนักอ่าน นักศึกษา ค้นคว้า ไม่หยุดนิ่งเช่นนั้น หากแต่ดูจากข้อมูลที่กล่าวมาเฉพาะที่เราสังเกตุและพบเห็นมาประมวล หลังจากกลับมาเมืองไทยผมลองค้นคว้าต่อไปว่านโยบายส่งเสริมการอ่านของนโยบายของรัฐบาลให้การสนับสนุนการอ่านชัดเจนมีการออกกฏหมายเกี่ยวกับห้องสมุด มีการออกกฎหมายห้องสมุดโรงเรียน (School Library Law) ที่กำาหนดให้โรงเรียนซึ่งมี จำานวนห้องเรียนมากกว่า 12 ห้องต้องมีบรรณารักษ์ประจำาห้องสมุด

ภายในตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 คือ ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็กสำาหรับเด็ก ที่เรียกว่า Bunko จัดตั้งและดำาเนินการโดยอาสาสมัครที่เป็นบุคคล หรือกลุ่มเอกชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแม่บ้านที่อาสาสมัครเปิดบ้านตนเอง ออกเงินและบริหารเองบางแห่งเจ้าของ เป็นข้าราชการเกษียณ ซึ่งนำาเงินบำาเหน็จของตนมาดำาเนินการ นอกจากนี้สภาการศึกษาของทุกเมืองจังหวัด จัดห้องสมุดและสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับห้องสมุดของท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดรับประสานกับนโยบายของรัฐบาลที่จัดให้มีสภาส่งเสริมการอ่านหนังสือแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Council for Promotion of Book Reading) มีห้องสมุดนานาชาติด้านวรรณกรรมเด็ก(The International Library of Children’s Literature: ILCL) ตั้งอยู่ที่ Ueno Park กรุงโตเกียว รวมทั้งในปี ค.ศ.2005 รัฐบาลออกกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน

อีก 2 ฉบับคือ กฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมด้านตัวหนังสือและสิ่งพิมพ์ และกฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมการเขียนคำา แค่เพียงตัวอย่างที่ค้นพบดังกล่าวนั่นแสดงว่าทุกภาคส่วนร่วมมือกันอย่างจริงจังทั้ง ครอบครัว บ้าน ชุมชน โรงเรียน สถานศึกษา ท้องถิ่น กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology: MEXT) รวมจนถึงรัฐบาลทำางานกันอย่างสอดรับกันทำาให้การปลูกฝังการรักการอ่านของประชาชนชาวญี่ปุ่นหยั่งลึกลงในสายเลือดของประชาชนแบบยั่งยืน ทำาให้ชาวญี่ปุ่นมี

ทัศนคติที่ดีมากต่อการอ่าน ไม่เห็นว่าเป็นการเรียน ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นการหาข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเอง เป็นการเรียนรู้ที่ต้องกระทำาตลอดชีวิต ทำาให้มีอำานาจในการแข่งขัน สร้างโอกาส สร้างความสำาเร็จ เพราะสังคมญี่ปุ่นประเมินค่าที่สติปัญญา ความสามารถและประสบการณ์ มิใช่ที่ความรู้แบบฉาบฉวยหรือความมั่งคั่งทางวัตถุ ที่สำาคัญการอ่านมาก อ่านองค์ความรู้อื่น ๆ ทั่วโลกทำาให้คนญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักต่อยอดนวัตกรรมสามารถคิด ดัดแปลง นำาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มาต่อยอด พัฒนาได้ดียิ่งขึ้น ประเทศญี่ปุ่นจึงสามารถพัฒนา

เป็นประเทศชั้นนำาของโลกในเวลาอันรวดเร็วอย่างและประสบผลสำาเร็จเป็นที่ประจักษ์

สุดท้ายจากสิ่งที่พบเมื่อมองเขาแล้วย้อนกลับมาดูบ้านเรา การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่าง

ไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ หรือขาดอาหารสมองเพื่อเสริมการคิดวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวต้องสะสม เพิ่มพูนและมีรากฐานมาจากการอ่านนั่นเอง กระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาล คงต้องมีนโยบายด้านการอ่านที่ชัดเจน มิใช่เพียงปีหนึ่ง ๆ จัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เพียงครั้ง หรือสองครั้ง เท่านั้น นโยบายด้านการอ่านต้องต่อเนื่อง จริงจัง บทเรียนความสำาเร็จของญี่ปุ่นเราสามารถนำามาต่อยอดให้เด็กไทยเป็นนักอ่าน นักค้นคว้า และนักพัฒนานวัตกรรมได้ในอนาคตและหากยังไม่มีหน่วยงานใดเริ่มพวกเราคงต้องมาเริ่มต้นปลูกฝังนิสัยการอ่านให้กับตัวเราคนใกล้ตัวเราก่อน คุณว่าดีไหม

“การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่างไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ”

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

กุลจิตต์ รัชดาศิวะกุล

ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน

สวัสดีครับ เพื่อนครูและพี่น้องบุคลากรทางการ

ศึกษาทุกท่านครับ พบกันอีกครั้งนะครับใน

ฉบับนี้ จากฉบับที่แล้วผมได้นำาเสนอเรื่องของทิศทางการจัดการ

ศึกษาของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี ๒๕๕๕

เพื่อให้โรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำาแผนปฏิบัติการ

การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต๑ และทิศทาง จุดเน้น

การจัดการศึกษาของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม

ศึกษาลพบุรีเขต๑ปี๒๕๕๕ของเราดังนี้ครับ

W วิสัยทัศน์

ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม

น้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเทียบเคียงคุณภาพ

มาตรฐานสากลบนพื้นฐานความเป็นไทยใส่ใจสิ่งแวดล้อม

W พันธกิจ

๑.พัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา

๒.ส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา

อย่างทั่วถึง

๓.พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล

๔.ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและความเป็นไทย

๕.ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

W ค่านิยมองค์กร

เรียนรู้และพัฒนา ก้าวหน้าบริการ ทำางานเป็น

ทีมซื่อสัตย์และรับผิดชอบ

W เป้าประสงค์

๑.ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง

และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

๒.ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เทียบเท่าระดับสากล

๓.ผู้เรียนมีคุณธรรมนำาความรู้ ดำาเนินชีวิตตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๔.ครูผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา

ตามสมรรถนะที่กำาหนด

ประจำาปี (งบประมาณหรือปีการศึกษา) และเพื่อให้ทุกท่านได้เห็นความชัดเจนเป็นกรอบในการบริหารและจัดการศึกษา

นะครับฉบับนี้ขออนุญาตนำาเรียนทิศทางในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ของสำานักงานเขตพื้นที่

๕.ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก

เห็นคุณค่าการสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิใจใน

ความเป็นไทย

๖.ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก

เห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๗.สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา เป็นองค์กร

แห่งการเรียนรู้มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

ตามหลักธรรมาภิบาล

กลยุทธ์

ประเด็นกลยุทธ์ กลยุทธ์๑. มหานครแห่งการ

เรียนรู้๑. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุม

และพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ

๒. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาขององค์กรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

๓. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

๒. คุณภาพมาตรฐานสากล

๔. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามหลักสูตรสู่สากล

๓. ป รั ช ญ า ข อ งเศรษฐกิจพอเพียง

๕. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและส่งเสริมการดำาเนิน ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๔. ความเป็นไทย ๖. ปลูกฝังและสร้างจิตสำานึกในความเป็นไทย

๕.อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๗. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

W กลยุทธ์

W จุดเน้น สพป.ลบ 1 ปี 2555 จุดเน้นที่๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น

อย่างน้อยร้อยละ5

จุดเน้นที่๒ เตรียมความพร้อมด้านร่างกายอารมณ์สังคมสติปัญญาตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ

Page 8: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

จากทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานระยะ๔ปี

(พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) และจุดเน้นทั้ง ๑๔ จุดเน้น ประจำาปี

๒๕๕๕ ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเรา หากเราได้

ใช้เป็นกรอบในการทำางานผมเชื่อว่าเราสามารถตอบโจทย์

ทุกโจทย์ และจุดเน้นทั้ง ๑๐ จุดเน้น ของ สำานักงานคณะ

กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างแน่นอนอย่างไรก็ตาม

ต้องรบกวนท่านดูรายละเอียดเพิ่มเติมของตัวชี้วัดในแต่ละจุด

เน้นจากwww.infolop1.netนะครับ

ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านคงมีความมั่นใจมาก

ขึ้นในการดำาเนินงานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเราให้สูงขึ้นคุ้มค่ากับการ

ทุ่มเทอย่างเข้มข้นของทุก ๆ ท่านนะครับ ไว้พบกันฉบับหน้า

นะครับเป็นกำาลังใจให้ทุกๆท่านครับสวัสดีครับ...

จุดเน้นที่๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3ทุกคนอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น

จุดเน้นที่๔ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6ทุกคนอ่านคล่องเขียนคล่องคิดเลขคล่องและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน

จุดเน้นที่๕ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3ทุกคนอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น

จุดเน้นที่๖ สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้า

ถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน

ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ

จุดเน้นที่๗ นักเรียน ครู และสถานศึกษาทุกแห่ง ได้รับการพัฒนาให้มี

คุณภาพสอดคล้องกับอัตลักษณ์

จุดเน้นที่๘ เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้และเพิ่มทักษะด้วย ICT ให้

นักเรียนทุกคน

จุดเน้นที่๙ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนา

คุณภาพสู่มาตรฐานสากล

จุดเน้นที่๑๐ นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 8 ประการและมี

ความกตัญญู

จุดเน้นที่๑๑ นักเรียนทุกคนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่4ถึงชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่3ได้เรียนรู้และเตรียมอนาคตตนเองได้

จุดเน้นที่๑๒ นักเรียนครูผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ

พัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อ

การเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม

จุดเน้นที่๑๓ สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในที่

เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพ

ภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท

โรงเรียนขยายโอกาสและโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

จุดเน้นที่๑๔ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์

มาตรฐานของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

Page 9: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน(ASEAN : Association of South East Asian Nations) มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า

การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2558

กำาพล อินชมฤทธิ์รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1

สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา ได้ดำาเนินงานโครงการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่โครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน:SpiritofASEANโดยคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมและศักยภาพในการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจะต้องเตรียมการในเรื่องการพัฒนาผู้บริหารการศึกษาผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมสามารถจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักเห็นความสำาคัญมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียนและมีทักษะพร้อมที่จะเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของอาเซียนโดยสามารถจัดการเรียนรู้ได้หลากหลาย โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551ซึ่งสพฐ. ได้กำาหนดตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหารคุณภาพครูและคุณภาพนักเรียนดังนี้

/ ตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหาร1. ผูบ้รหิารมวีสิยัทศันใ์นการจดัการศกึษาสูป่ระชาคมอาเซยีน2. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้

สภาวการณ์จำากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ3.ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

และทักษะในการใช้ICT4. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย

เพื่อความร่วมมือการจัดการเรียนรู้5. ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ ติดตามผลการ

ดำาเนินงาน6. ผู้บริหารมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ

ติดต่อสื่อสารกับภาคีเครือข่ายในกลุ่มประชาคมอาเซียน

/ ตัวชี้วัดคุณภาพครู1. ครูผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน2. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร3. ครูใช้หนังสือตำาราเรียนและสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศ

ในการจัดการเรียนรู้(Online)

4. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์(ICT)ในการจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผลและการเผยแพร่ผลงานทั้งระบบออนไลน์(Online)และออฟไลน์

(Offline)5. ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายในการจัดการเรียนรู้6. ครูสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการจัดการ

เรียนรู้ทั้งในประเทศและในกลุ่มประชาคมอาเซียน7. ครูใช้ประสบการณ์การวิจัยสื่อนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน

อย่างต่อเนื่อง

/ ตัวชี้วัดคุณภาพนักเรียน1. ด้านความรู้

1.1 มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมืองและด้านสังคมและวัฒนธรรม

1.2 มีความรู้เกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียน2. ด้านทักษะ/กระบวนการ

2.1 ทักษะพื้นฐานได้แก่สื่อสารได้อย่างน้อย2ภาษา(ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศในอาเซียนอีกอย่างน้อย 1ภาษา) มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี ในการทำางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น

2.2 ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคมได้แก่ เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีภาวะผู้นำา เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำาเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง

2.3 ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน ได้แก่ เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน(สิทธิเด็ก/สิทธิมนุษยชน)

มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง (การวางแผนการดำาเนินการตามแผนประเมินผล)

3. ด้านเจตคติ ได้แก่ มีความภูมิใจในความเป็นไทย/

Page 10: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

ความเป็นอาเซียนร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล (คารวะธรรมปัญญาธรรม สามัคคีธรรม) สันติวิธี/สันติธรรม ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา และดำาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศีกษาลพบุรี เขต1

(สพป.ลพบุรี เขต1) ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ ไว้ว่า“ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” จะเห็นได้ว่าวิสัยทัศน์ตระหนักถึงความสำาคัญในการพัฒนาสถานศึกษาให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกสนองต่อการเข้าสู่อาเซียนในปีงบประมาณ2550ได้จัดทำาMOUในการยกระดับคุณภาพการศึกษาระหว่างสพป.ลพบุรีเขต1กับINSTITUTAMINUD-DINBAKI:Malaysiaโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันในเรื่อง Improving teacher,principal and supervisorqual-ityปีงบประมาณ2551ร่วมมือกับBritishCouncilและสพฐ.จัดโครงการTheAsianDialogues :Curriculumdevelopt-mentProgram.ขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรGlobalCitizenโรงเรียนใน สพป.ลพบุรี เขต 1 เข้าร่วมโครงการ จำานวน 10โรงเรียนปีการศึกษา2553สพป.ลพบุรีเขต1ได้รับคัดเลือกให้ร่วมโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน:SpiritofASEANเป็น1ใน30เขตพื้นที่การศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการโดยมีโรงเรียนอนุบาลลพบุรีและโรงเรียนพิบูลวิทยาลัยเป็นโรงเรียนในโครงการ

กิจกรรมสำาคัญที่ดำาเนินการภายในโรงเรียนได้แก่ จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษาปีการศึกษา2553-2554โรงเรียนอนุบาลลพบุรีซึ่งเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน : Spiritof ASEAN มีผลการประเมินโครงการในภาพรวมได้ระดับดีเยี่ยมทุกกิจกรรมและยังได้สร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนทั้ง19กลุ่มรวมแล้ว58โรงเรียนปีงบประมาณ2555สพป.ลพบุรีเขต1ได้อนุมัติโครงการในการพัฒนาสถานศึกษาให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ได้แก่โครงการพัฒนาโรงเรียนสู่วิถีอาเซียน(ASEANway)มีเป้าหมายร้อยละ 100ของโรงเรียนสังกัด สพป.ลพบุรี 1 มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปีพ.ศ.2558เอกสารอ้างอิง :

๑. แนวการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ระดับประถมศึกษา สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ2554

๒. เอกสารการดำาเนินงานเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยดร.มาลีสืบกระแสผอ.กลุ่มนิเทศฯสพป.ลบ1

Page 11: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

ว ันภาษาไทยแหงชาติ วันเอกร

าชของคนไทย

๒๙กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันที่พวกเราชาวไทยทุกคน

จะหันมารำาลึกถึงคุณค่าภาษาไทยภาษาที่แสดงความเป็น

เอกราชที่ภาคภูมิใจมาตั้งบรรพกาลจวบถึงปัจจุบัน

ย้อนไปถึงบรรพกาล๒๙กรกฎาคม๒๕๐๕๕ทศวรรษ

ที่ผ่านมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปร่วมการประชุม

สัมมนาปัญหาภาษาไทยกับนักวิชาการณคณะอักษรศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพระองค์ท่านทรงเป็นห่วงด้านการ

ใช้ภาษาและทรงมีพระราชดำารัสตอนหนึ่งว่า

เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณจึงสมควรอย่างยิ่ง ที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านการรักษาภาษานี้ มีหลายประการ

อย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในการออกเสียงคือ ให้ออกเสียงถูกต้อง ชัดเจน

อีกอย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในวิธีใช้หมายความว่า วิธีใช้คำาประกอบประโยค

นับเป็นปัญหาที่สำาคัญปัญหาที่สาม คือ ความรำ่ารวยในคำาภาษาไทย

ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่รำ่ารวยพอ จึงต้องมีบัญญัติศัพท์ใหม่ใช้

ด้วยมูลเหตุของกระแสพระราชดำารัส ครั้งนั้น จึงเป็น

ปฐมบทกำาหนดให้รัฐบาลมีมติเมื่อวันที่๑๓กรกฎาคม๒๕๔๒ให้

ทุกวันที่๒๙กรกฎาคมของทุกปีเป็น“วันภาษาไทยแห่งชาติ”

สำาหรับ“วันภาษาไทยแห่งชาติ”ปี๒๕๕๕ปีนี้

สพป.ลพบุรีเขต๑ของเราก็ต้องร่วมกันชื่นชมยินดีทั้งใน

ระดับโรงเรียนและระดับนักเรียนดังนี้

ระดับโรงเรียน

โรงเรียนเมืองใหม่ (ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์)

ได้รับการคัดเลือกจากสถาบันภาษาไทย สพฐ.

ให้เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการ

สอนภาษาไทยรางวัลชมเชยระดับประเทศและ

สถาบันภาษาไทยสพฐ.ให้โรงเรียนเมืองใหม่

(ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์) ไปจัดนิทรรศการ ณ

โรงแรมสตาร์ จ.ระยอง ตั้งแต่วันที่ ๒๖-๒๙

กรกฎาคม ๒๕๕๕ และเชิญ ผอ.รร.นายอาคม

เตียประเสริฐ รอง ผอ.รร. สุกิจกุล กินจำาปา

อ.จินตนาแย้มยิ้ม อ.ธนนันท์ถนอมวงศ์ ไป

ร่วมรับโล่พร้อมเงินรางวัล๕,๐๐๐บาทจาก

รองเลขาฯสพฐ.ดร.เบญจลักษณ์นำ้าฟ้า

วิบูลย์ ศรีโสภณ ศึกษานิเทศก์ สพป.ลพบุรี เขต ๑

๑๐

Page 12: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

ระดับนักเรียน

โรงเรียนบรรจงรัตน์ ได้รับรางวัลที่ ๓

ระดับประเทศ ในการแข่งขันเรียงความคัดลายมือ

นักเรียนชั้นป.๓คือดญ.วนัชพรเตชะวัฒนวรรณา

ด.ญ.สิริวรรณภู่พลายงามนักเรียนชั้นป.๓พร้อม

ผอ.วาม ดุลยากร และคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน

ไปรับโล่ เงิน

รางวัล เนื่องใน

วันภาษาไทย

แห่งชาติปี๒๕๕๕

จากรองเลขาฯ

สพฐ.ดร.เบญจลักษณ์นำ้าฟ้าณโรงแรมสตาร์

ระดับเขตพื้นที่

ศน.วิบูลย์ ศรีโสภณ ได้รับการแต่งตั้งเป็น

คณะทำางานเนื่องในวันภาษาไทย ปี ๒๕๕๕ ของ

สถาบันภาษาไทย สพฐ. ให้เป็นวิทยากรร่วมเสวนา

หัวข้อ“ภาษาไทย ภาษาชาติ” กับคุณนุ้ย

สุจิรา อรุณพิพัฒน์ อดีตนางสาวไทย ปี ๒๕๔๔

และคุณเปรมสุดาสันติวัฒนาพิธีกรฝนฟ้าอากาศ

ทางช่อง๗สีในวันที่๒๗กรกฎาคม๒๕๕๕ช่วง

เวลา๑๐.๐๐-๑๒.๐๐น.

และช่วงเวลา๑๓.๐๐-๑๖.๐๐น.ได้รับเกียรติ

อีกครั้งเป็นวิทยากรร่วมเสวนา“ภาษาไทย ภาษาชาติ”

กับ คุณแม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ศิลปินแห่งชาติ สาขา

เพลงพื้นบ้าน อีแซว และยังเป็นพิธีกรดำาเนินกิจกรรม

ตลอด๔วัน๒๖-๒๙กรกฎาคม๒๕๕๕

สำาหรับวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕ ของ

สพป.ลพบุรี เขต ๑ มีโรงเรียนต่างๆจัดกิจกรรมอย่าง

หลากหลาย มากมาย น่าสนใจ จึงจะขอยกตัวอย่างบาง

กิจกรรมของโรงเรียนบางโรงดังนี้

ลำาดับ โรงเรียน กิจกรรม

๑ บ้านวังจั่น วาดภาพประกอบคำา

๒ บ้านหนองแก เขียนชื่อตามรูป

๓ วัดหัวสำาโรง การขับเสภา

๔ วัดคงคาราม วาดภาพสุภาษิต

๕ วัดพานิชธรรมิการาม สุดยอดคนเก่งภาษาไทย

๖ บ้านเขาเตียน ลำาตัด/เปิดพจนานุกรม

๗ โคกลำาพานวิทยา วาดภาพสุภาษิตคำาพังเพย

๘ วัดใดยาว แฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย

๙ วัดบ้านดาบ ยกสยามแฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย

๑๐ วัดหนองมน ขับเสภาขุนช้างขุนแผน

และไม่ว่าวันใดๆเดือนใดๆก็ขอฝากครูทุกคนให้สร้าง

ความตระหนัก ให้นักเรียนรักความเป็นไทย ถือว่าทุกวัน

เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติด้วยครับ

๑๑

Page 13: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

อีกไม่นานเกินรอ..เราก็จะก้าวเข้าสู่การเป็นสมาคมอาเซียนกันอย่างเต็มรูปแบบคือในปีพ.ศ.2558ที่ประชากรในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง10ประเทศสามารถเดินทางเข้าออกโยกย้ายไป–มาทำามาหากินในอาชีพต่างๆที่กำาหนดไว้ในกลุ่มประเทศสมาชิกได้ซึ่งแน่นอนภาษากลางที่ต้องใช้และจำาเป็นสำาหรับชีวิตประจำาวันคือภาษาอังกฤษวันนี้ทีมข่าวประชาสัมพันธ์จึงขอนำาบทสนทนาแบบพื่นฐานที่จำาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำาวันมาฝากกันเริ่มตั้งแต่การพบกันและกล่าวทักทายและจากลากันถือเป็นแพทเทิร์นก็ว่าได้...ตามนี้เลยค่ะ การทักทายหรือสวัสดีในภาษาไทย(Greeting)เมื่อเราพบกันจะมีการทักทายพูดคุยเริ่มต้นด้วยประโยคเหล่านี้ทุกครั้งซึ่งมีดังต่อไปนี้ - Goodmorning (กึดมอร์หนิ่ง) คำาทักทายตอนเช้าถึงเที่ยง - Goodafternoon (กึดอ่าฟเทอร์นูน) คำาทักทายตอนหลังเที่ยงถึงก่อนพลบคำ่าหรือเย็น - Goodevening (กึดอีฟเว็นหนิ่ง) คำาทักทายตอนเย็นหรือพลบคำ่า - Hello!(เฮลโล่)หรือHullo!(ฮัลโล่)หรือHi!(ไฮ)ใช้กล่าวสวัสดีทั่วไปไม่จำากัดเวลาสามารถเอ่ยชื่อบุคคลตามหลังคำากล่าวสวัสดีเหล่านี้ได้ เช่นHi,Jenny.และมักสนทนาต่อด้วยประโยคต่อดังนี้ - Howdoyoudo? (ฮาวดูยูดู) สบายดีหรือ ใช้เมื่อพบกันครั้งแรกในชีวิตพูดตอบคำาเดิมคือHowdoyoudo? พบกันครั้งต่อไปให้ทักว่า - Howareyou? (ฮาวอาร์ยู) สบายดีหรือใช้ในโอกาสทั่วไปคำาตอบคือI’ m fine หรือwell หรือquite well. (ไอแอมไฟน์หรืออามไฟน์หรือเวลหรือไคว้เวล)สบายดี ส่วนกรณีนี้คือสนิทสนมกันเมื่อเจอกันก็ทักทายคุยกันต่อเนื่องเช่น - Notwell. (น้อทเวล) ไม่ค่อยสบายหรือ - Ihaveaheadache.(ไอแฮฟว์อะเฮ้ดเอ่ค)รู้สึกปวดศีรษะ - Ihavetheflu. (ไอแฮฟว์.เธอะฟลู) ไข้หวัดใหญ่หรือ - Notsowell,thanks.หรือIhaveacold.(น้อทโซเวล,แธ้งส์.หรือไอแฮบว์อะโคล) ไม่สบายค่ะเป็นหวัด หรือประโยคอื่นๆตามแต่จะสนทนาหลังจากนั้นก็จะเป็นการกล่าวลาเมื่อจบบทสนทนา สำาหรับผู้ที่เพิ่งรู้จักกันเมื่อจะยุติการสนทนานิยมใช้ - Itwasnicemeetingyou (อิทวอสไนซมีททิงยู) ยินดีที่รู้จัก และอีกฝ่ายหนึ่งก็จะตอบว่า - Nicemeetingyou,tooGoodbye (ไนซมีททิงยูทูกึดบาย) ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน ถ้ากรณีที่รู้จักกันอยู่แล้วมักจะใช้คำาพูดดังนี้ - Ireallymustbeoffnow. (ไอเรลลิมัสบีอ๊อฟนาว) ฉันต้องไปแล้วล่ะ - Imustgonow. (ไอมัสโกนาว) ฉันต้องไปแล้วล่ะและตามด้วยคำาอาลาดังต่อไปนี้(จะใช้คำาใดก็ได้ความหมายอยู่ที่นำ้าเสียงและการแสดงออก)

Goodbye กึด บ๋าย Bye – bye บาย บาย Good night กึด ไนท์ (เฉพาะเวลากลางคืน) So long โซ ลอง See you ซี ยู See you later ซี ยู เลเทอร์ See you again ซี ยู อะเกน See you around ซี ยู อะราวด์ Take care เทค แคร์ All the best ออล เดอะ เบสท์

ค่ะ..ก็ลองฝึกดูนะคะคงไม่ยากจนเกินไปโอกาสหน้าจะนำาบทสนทนาในเรื่องอื่นๆที่จำาเป็นต้องใช้มานำาเสนอต่อค่ะGoodbye…

อันเนื่องมาจาก...ประชาคมอาเซียนโดย ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.ลบ1

๑๒

Page 14: วารสาร สพป.ลบ.1

ได้ยินได้ฟังกันหนาหูมากเรื่องของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันนี้ทีมข่าวประชาสัมพันธ์สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต 1 ขอนำาท่านมาพบกับเรื่องราวของประชาคมอาเซียน เพื่อท่านจะได้สามารถเตรียมรับมือกับการแข่งขันในอนาคตได้ก่อนปีพ.ศ.2558 อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ASEAN:TheAssociationofSouthEastAsianNations)ได้ก่อตั้งเมื่อวันที่8สิงหาคมพ.ศ.2510โดยประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียนคือไทยอินโดนีเซียมาเลเซียฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ต่อมาในปีพ.ศ.2527บรูไนดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยเวียดนามเข้ามาเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2538 ขณะที่พม่าและลาวเข้ามาเป็นสมาชิกใน พ.ศ. 2540และประเทศสุดท้ายคือกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน เมื่อพ.ศ.2542โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำารงไว้ซึ่งสันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมืองสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก

สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลม สีขาวและสีนํ้าเงินรวงข้าว10ต้นหมายถึงประเทศสมาชิก10ประเทศ

สีเหลือง หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึงความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์ สีนํ้าเงินหมายถึงสันติภาพและความมั่นคงปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด10ประเทศประกอบด้วย 1. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า “เนการาบรูไนดารุสซาลาม”มีเมือง “บันดาร์เสรีเบกาวัน” เป็นเมืองหลวงถือเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นักเพราะมีพื้นที่ประมาณ

5,765ตารางกิโลเมตรปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราชโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมีประชากร381,371คน(ข้อมูลปีพ.ศ.2550) โดยประชากรเกือบ 70% นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการดอกไม้ประจำาชาติ : ดอกSimpor(DilleniaSuffruticosa)เป็นดอกไม้ที่มีกลีบดอกขนาดใหญ่สีเหลืองเมื่อบานเต็มที่กลีบดอกจะบานคล้ายกับร่ม 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขต

ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ

1ใน3ของประเทศไทยมีประชากร14ล้านคน (ข้อมูลปีพ.ศ.2550)โดยประชากรกว่า80%อาศัยอยู่ในชนบท95%นับถือศาสนาพุทธนิกาย

รู้จักอาเซียน

รู้เขา

รู้เรา

รบร้อยครั้ง

ชนะร้อยครั้ง

ASEAN “One Vision, One Identity, One Community”

หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคมเถรวาทใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการแต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษฝรั่งเศสและเวียดนามได้ดอกไม้ประจำาชาติ :ดอกRumdulหรือดอกลำาดวนเป็นดอกสีขาวเหลืองอยู่บนใบเดี่ยวมีกลิ่นหอมช่วงเวลาคำ่า 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)

เมืองหลวง คือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีพื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตรและมีประชากรมากถึง240ล้านคน(ข้อมูล

ปีพ.ศ.2553) โดย61%อาศัยอยู่บนเกาะชวาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและใช้ภาษาBahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ ดอกไม้ประจำาชาติ :ดอกMoonOrchidหรือกล้วยไม้ราตรีเป็นกล้วยไม้สายพันธ์PhalaenopsisAmabilis 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR)

เมืองหลวง คือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตกโดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่

กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใดติดทะเล ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมโดยมีประชากร6.4ล้านคนใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลักแต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทยภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสได้ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธดอกไม้ประจำาชาติ :ดอกChampaหรือดอกลีลาวดีมีกลิ่นหอมและมีหลายสีเช่นสีแดงสีเหลืองสีชมพูและโทนสีอ่อนต่างๆเป็นตัวแทนของความจริงใจและความสุขในชีวิต 5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)

เมืองหลวง คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตรแบ่งเป็นมาเลเซียตะวันตกคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว

ทั้งประเทศมีพื้นที่329,758ตารางกิโลเมตรจำานวนประชากร26.24ล้านคน นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำาชาติ ใช้ภาษา BahasaMelayu เป็นภาษาราชการ ดอกไม้ประจำาชาติ : ดอก Bunga rayaหรือดอกพู่ระหงโดยทั้ง5กลีบดอกเป็นตัวแทน5หลักการแห่งความเป็นชาติของมาเลเซีย ซึ่งเป็นปรัชญาเพื่อเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นและความอดทนในชาติ 6. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวง คือ กรุงมะนิลาประกอบด้วยเกาะขนาด

ต่าง ๆ รวม 7,107 เกาะ โดยมีพื้นที่ดิน 298.170ตารางกิโลเมตรมีประชากร92ล้านคน(ข้อมูลปีพ.ศ.

2553)ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์และเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ4ของโลกมีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง170ภาษาแต่ใช้ภาษาอังกฤษและภาษาตากาลอกเป็นภาษาราชการดอกไม้ประจําชาติ :ดอกSampaguitaJasmineมีกลีบดอกรูปดาวสีขาวที่บานตลอดปีแย้มดอกตอนกลางคืนและมีกลิ่นหอม 7. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore) เมืองหลวง คือ กรุงสิงคโปร์ ตั้งอยู่บนตำาแหน่ง

ยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมาก

ที่สุดในย่านนี้แม้จะมีพื้นที่ราว699ตารางกิโลเมตรเท่านั้นมปีระชากร4.48ล้านคนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการแต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษา

โดย ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.ลบ1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1๑๓

Page 15: วารสาร สพป.ลบ.1

วา รสา รส ำ าน ั ก ง าน เขตพ ื ้ นท ี ่ ก า รศ ึ กษาประถมศ ึ กษาลพบ ุ ร ี เ ขต 1

บันทึกธรรมชาติ

ลีลาวดี สีสวย ดอกหอม

ลีลาวดี หรือ ลั่นทม (Frangipani, Plumeria,

Templetree) เป็นไม้ดอกยืนต้นในสกุล Plumeria มีหลาย

ชนิดด้วยกัน มีถิ่นกำาเนิดในทวีปอเมริกา พบในบริเวณพื้นที่

ตั้งแต่ประเทศเม็กซิโกตอนใต้ถึงตอนเหนือของทวีปอเมริกา

โดยเฉพาะหมู่เกาะทะเลแคริบเบียน เป็นไม้ยืนต้น มีขนาด

ตั้งแต่พุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.9-1.2 เมตร จนถึงต้นที่สูง

มาก อาจสูงถึง 12 เมตร ลำาต้นแตกกิ่งก้านสาขาและพุ่มใบ

สวยงาม มีนำ้ายางสีขาวข้น

เป็นไม้ผลัดที่สลัดใบในฤดูแล้งก่อนที่จะผลิดอกและ

ผลิใบรุ่นใหม่ กิ่งที่ยังไม่แก่มีสีเขียว อ่อนนุ่ม ดูเกือบจะอวบ

นำ้า กิ่งแก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะปํ่า กิ่งไม่สามารถทานนำ้าหนัก

ได้ กิ่งเปราะ เปลือกลำาต้นหนา ต้นที่โตเต็มที่แล้วจะพัฒนาจน

กระทั่งมีความแข็งแรงมากขึ้น ใบ เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัว

แบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มีลักษณะแตกต่างกันไป

ทั้งรูปร่าง ขนาด สี และความหนาแน่น

โดยทั่วไป ใบจะหนา เหนียวแข็ง และมีสีตั้งแต่สี

เขียวอ่อนถึงสีเขียวเข้ม มีเส้นกลางใบแตกสาขาออกไปคล้าย

ขนนก ขนาดใบแตกต่างกันช่อดอก ดอกจะผลิออกมาจาก

ปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อดอกใหญ่สวยงาม แต่ก็มีบาง

ชนิดที่ออกช่อดอกระหว่างใบ หรือใต้ใบ บางชนิดห้อยลงบาง

ชนิดตั้งขึ้น ในหนึ่งช่อจะมีดอกบานพร้อมกัน 10–30 ดอก

บางต้นที่มีความสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก

ต่อ 1 ช่อ ออกดอกประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน

บางพันธุ์สามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี

ลักษณะของ ดอก โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญ่ถึงกลาง

ยกเว้นบางพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้

เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกมีลักษณะคล้ายท่อ

ทำาให้มองไม่เห็นเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย โดยจะมีเกสร

ตัวผู้ 5 อัน อยู่ที่โคนก้านดอก ส่วนเกสรตัวเมียอยู่ลึกลงไป

ในก้านดอก เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียบานไม่พร้อมกัน ยาก

ต่อการผสมตัวเอง

ประจำาชาติ ปัจจุบันใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภามีสภาเดียว)ดอกไม้ประจำาชาติ :ดอกVandaMissJoaquimเป็นดอกกล้วยไม้ซึ่งเป็นที่รู้จักมากที่สุดในประเทศสิงคโปร์โดยตั้งชื่อตามผู้ผสมพันธุ์มีสีม่วงและรูปลักษณ์ที่สวยงาม 8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) เมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่

513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย77จังหวัดมีประชากร65.4ล้านคน(ข้อมูล

ปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ ดอกไม้ประจำาชาติ : ดอกRatchaphruek หรือราชพฤกษ์ มีช่อดอกสีเหลืองที่สวยงาม ชาวไทยถือว่าสีเหลืองของดอกไม้ชนิดนี้ คือ สีของพระพุทธศาสนาและความรุ่งโรจน์ 9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวง คือ กรุงฮานอยมีพื้นที่331,689

ตารางกิโลเมตร จากการสำารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน

ประมาณ25%อาศัยอยู่ในเขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ70นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ดอกไม้ประจำาชาติ : ดอก Lotus หรือ ดอกบัว สำาหรับชาวเวียดนามแล้ว ดอกบัวคือสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ความผูกพันและการมองโลกในแง่ดี 10. สหภาพพม่า (Union of Myanmar)

มีเมืองหลวง คือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร

ประชากร48ล้านคนกว่า90%นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทหรือหินยาน และใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ ดอกไม้ประจำาชาติ :ดอกPaduakหรือดอกประดู่ผลิดอกสีเหลืองทองและส่งกลิ่นหอมหลังฤดูฝนแรกของเดือนเมษายน โดยเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ผู้นำาอาเซียนได้ลงนามรับรองปฏิญญาชะอำา หัวหิน ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ.2009-2015) เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี2558ซึ่งประชาคมอาเซียนประกอบด้วยเสาหลัก3เสาดังต่อไปนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC) มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆเพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC) มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำานวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกันอันจะทำาให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได้เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดีและมีความมั่นคงทางสังคม

๑๔

Page 16: วารสาร สพป.ลบ.1

X 6 สิงหาคม 2555 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฝึกอบรมผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อทำาหน้าที่ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ณ ห้องประชุมสมบุญมากบุญสพป.ลบ1

X 7 สิงหาคม 2555นายสุเมธีจันทร์หอมผอ.สพป.ลบ1พร้อมคณะร่วมบันทึกเทปโทรทัศน์ถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถเนื่องในวโรกาส80พรรษามหาราชินี12สิงหาคม2555

X 8 สิงหาคม 2555 เวลา 14.19 น. คณะจากประเทศภูฏาน มาศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอนการศึกษาเด็กพิเศษ ที่โรงเรียนพลร่มอนุสรณ์มิตรภาพที่50

X 9 สิงหาคม 2555 สพป.ลบ1นำาโดยรองฯลออวิลัยพร้อมคณะร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจังหวัดลพบุรีร่วมกันจัดกิจกรรมฝึกอบรมลูกเสือ - เนตรนารี ร่วมกับชุมชนต้านภัยยาเสพติด เทิดพระเกียรติฯ ประจำาปี 2555 ณค่ายลูกเสือชั่วคราวโรงเรียนวัดท่าแค

X นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านดาบ ได้รับรางวัลชนะเลิศการพูดสุนทรพจน์ในหัวข้อ เรื่องเล่าคราวนำ้าท่วมในงานรักแม่ รักษ์แม่นำ้าลพบุรี จัดโดยชมรมคนรักแม่นำ้าณวัดตะลุงอ.เมืองลพบุรีเมื่อ11สค.55

X 12 สิงหาคม 2555 นายสุเมธี จันทร์หอมผอ.สพป.ลบ1พร้อมคณะร่วมกิจกรรมถวายพระพรเนื่องในโอกาสวันแม่แห่งชาติ ณ ศาลาประชาคมเทศบาลเมืองลพบุรี

X 15 สิงหาคม 2555 นายสุเมธี จันทร์หอมผอ.สพป.ลบ1ประชุมสัมมนา“ผู้อำานวยการโรงเรียนขนาดเล็ก”สังกัดสพป.ลบ1ณห้องประชุมโรงเรียนพลร่มอนุสรณ์มิตรภาพที่50

X 16 สิงหาคม 2555 โรงเรียนสิงหฤกษ์ประสิทธิ์จัดพิธีทำาบุญฉลองเนื่องในโอกาสที่ก่อตั้งโรงเรียนครบรอบ88ปี

X 17 สิงหาคม 2555 เวลา09.00น.คณะทำางานกำาหนดกรอบอัตรากำาลังฯ พร้อมคณะ ร่วมประชุมสัมมนาเพื่อหาทางออกเกี่ยวกับการกำาหนดกรอบอัตรากำาลัง ตำาแหน่งบุคลกรทางการศึกษาอื่นฯ ณสพป.ลบ1

X 15 สิงหาคม 2555 นายสุเมธี จันทร์หอมผอ.สพป.ลบ1 ประชุมสัมมนา “ผู้อำานวยการโรงเรียนขนาดเล็ก” สังกัดสพป.ลบ1ณห้องประชุมโรงเรียนพลร่มอนุสรณ์มิตรภาพที่50

X 18 สิงหาคม 2555สพป.ลบ1จัดอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสังกัด ประจำาปี 2555 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน อันจะส่งผลให้องค์การมีการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่ความสำาเร็จณห้องประชุมสมบุญมากบุญสพป.ลบ1

X 22 สิงหาคม 2555 ณห้องประชุมสมบุญมากบุญสพป.ลบ1จัดอบรมการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาTablet(OneTabletPcPerChild)ให้กับผู้บริหารและคณะครู