ผิวหนัง · 2017-05-05 · ไนดาเรียน (ไฮดรา...

Post on 11-Feb-2020

0 views 0 download

Transcript of ผิวหนัง · 2017-05-05 · ไนดาเรียน (ไฮดรา...

ผิวหนัง พบใน

ไนดาเรียน เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ปะการัง

หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย

แอนิลิด เช่น ไส้เดือนดิน ทากดูดเลือด

ปลิงดูดเลือด

ปลาตีน ใช้ผิวหนังบริเวณหาง

ปลาดุก ใช้ผิวหนังล าตัว

สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

สัตว์เล้ือยคลาน เช่น เต่า ใช้ผิวหนัง

บริเวณคอและหาง

เหงือก (Gill)

ประกอบด้วยเส้นเหงือกเล็กๆ เรียงกันเป็นแผง ภายใน

มีเส้นเลือดฝอยจ านวนมาก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

2.1 เหงือกภายนอก (External gill) เช่น ในไส้เดือนทะเล หรืแม่เพรียง กุ้ง ปู หอย 2 ฝา ปลาหมึก สัตว์สะเทิน

น้ าสะเทินบก ในระยะตัวอ่อน Newt กับ Salamander ตัวอ่อนแมลงท่ีอยู่ในน้ า (ตัวอ่อนแมลงปอและชีปะขาว) ดาวทะเล

2.2 เหงือกภายใน (Internal gill) เช่น ในปลา

ระบบท่อ (Tracheal system)

ท่อลม (Trachea) พบในอาร์โทรพอดที่อยู่บนบก เช่น แมลง แมง ตะขาบ

กิ้งกือ และแมงมุมบางชนิด

ระบบท่อลม ประกอบด้วยโครงสร้างดังนี้

Spiracles ระบบหายใจ

ที่ล าตัวทุกปล้อง

trachea (ท่อลม)

tracheoles (แขนงท่อลม)

Cells (เซลล์ร่างกาย)

ถุงลม

O2 O2 O2

O2 O2

CO2

O2

CO2 CO2

ในแมลงที่บินได้ดี จะมีถุงลม (tracheal air sac) ช่วยเก็บอากาศไว้ส าหรับหายใจ เช่น ในผึ้ง, แมลงวัน

ในพวกแมลงที่มีรงควัตถุล าเลียงแก๊สในเลือด

(Respiratory pigment) เนื่องจากปลายสุดของแขนงท่อลม (Tracheoles) ไปแทรกเข้าไปชิดกับเซลล์โดยตรง

เรสไพราทอรี ทรี (Respiratory tree)

เป็นท่อยาวยื่นจากช่องเปิดของล าตัวด้านท้ายสุด (cloaca) เข้าไปในร่างกาย

แตกแขนงคล้ายกิ่งไม้ โดยมีน้ าทะเลไหลเวียนอยู่ภายใน

พบในปลิงทะเล

ลังบุก (Lung book)

คล้ายเหงือก มีลักษณะเป็นเส้นๆ แตกกิ่งก้านยื่นออกมา

จากผิวร่างกาย พบในแมงมุมบางชนิด

แตกต่างจากท่อลมตรงที่ภายในมขีองเหลวหมุนเวียน

เพื่อล าเลียงแก๊สไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ

บุกจิลล์ (book gill)

พบใน แมงดาทะเล คล้าย lung book

ปอด (lung)

หอยบก เช่น หอยทาก ทาก

พบใน

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

ปลาปอด (lung fish) สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

สัตว์เล้ือยคลาน

นก

สัตว์เล้ียงลูกด้วยนม

รวมทั้งวาฬและโลมา

โครงสร้างพิเศษที่ช่วยหายใจในนก คือ ถุงลม (air sac)

โดยถุงน้ันจะ

แยกออกไปจากปอด ไม่ได้แลกเปล่ียนแก๊สโดยตรงเพราะ

รอบๆ ถุงลมไม่มีหลอดเลือดฝอยดังที่พบในแอลวีโอลัส

และมีหนังหนามาก

ช่วยส ารองอากาศให้ปอดใช้และช่วยให้ปอดรับ O2 ได้ 2 ครั้ง ช่วยระบายความร้อนเพราะนกไมม่ีต่อมเหงื่อ

ช่วยให้ตัวเบาขณะบิน

สิ่งมีชีวิต อวัยวะแลกเปล่ียนแก๊ส

1. ไนดาเรียน (ไฮดรา ปะการัง) หนอนตัว

แบน (พลานาเรีย) และแอนิลิด (ไส้เดือด

ทากดูดเลือด)

ผิวหนัง

2. อาร์โทรพอด (แมลง, แมง, ตะขาบ,

กิ้งกือ)

ระบบท่อลม

3. แมงมุมบางชนิด บุคลัง

4. แมงดาทะเล บุคจิลล์

5. ปลิงทะเล เรสไพราทอรี ทรี

6. หอย 2 ฝา กุ้ง กั้ง ปู ตัวอ่อนแมลงปอ

และตัวอ่อนชีปะขาว ดาวทะเล ตัวอ่อน

สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

เหงือก

สิ่งมีชีวิต อวัยวะแลกเปล่ียนแก๊ส

7. ลูกน้ ายุง ท่อไซฟอน (siphon) 8. ปลาตีน ปลาดุก ผิวหนัง และเหงือก

9. กบ อึ่งอ่าง งูดิน ผิวหนังและปอด

10. ซาบามานเดอร์, Newt ผิวหนัง เหงือก และปอด

11. ทาก หอยทาก ปลาปอด

สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูก

ด้วยนม

ปอด

12. เต่า ตะพาบน้ า ผิวหนัง และปอด