แผนการจัดการเรียนรูbsq2.vec.go.th/Panitch/12business.pdf · 6...

Post on 24-Oct-2019

5 views 0 download

Transcript of แผนการจัดการเรียนรูbsq2.vec.go.th/Panitch/12business.pdf · 6...

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 1

แผนการจัดการเรียนรู

หลกัสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)

ประเภทวิชา ศิลปกรรม สาขางาน วิจิตรศิลป

รหัสวิชา 2301-1001 วิชา องคประกอบศิลปะเบื้องตน จํานวน 3 หนวยกิต 4 ช่ัวโมง/สัปดาห

จุดประสงครายวชิา 1. มีความรูความเขาใจ ธาตุทางทัศนศิลป หลกัการกฎเกณฑ และวิธีการที่นําไปใชเกี่ยวกับงาน

ทัศนศิลป 2. มีทักษะในการจัดวางองคประกอบศิลปะ ผลงานศิลปะตามหลักการจัดภาพรูปทรง เทคนิค และ

เนื้อหาเหมาะสมและมีความคิดสรางสรรค 3. เขาใจและมีทักษะในการใชสี สรางผลงานศิลปกรรมตามหลักทฤษฎีสี การจัดภาพ และมีความคิด

สรางสรรค 4. มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน มุงมั่นขยันหมั่นเพียร

มาตรฐานรายวิชา

ปฏิบัติการจัดวางองคประกอบศิลป ตามหลักการ คํานึงถึงหลักการจัดภาพความสัมพันธระหวาง รูปทรง เทคนิคและเนื้อหา กระบวนการ ขั้นตอนปฏิบัติงาน และความคิดสรางสรรค

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับ หลักการและทฤษฎีองคประกอบศิลปะ ธาตุทางทัศนศิลปและหลักการของเอกาภพ ขั้นตอนการออกแบบงานองคประกอบศิลปะ หลักการจัดภาพ ทฤษฎีสี วิธีการสรางสรรคศิลปะ รูปแบบแนวทางการสรางสรรคงานความสัมพันธระหวาง รูปทรง เนื้อหาและเทคนิค

2 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

ตารางวิเคราะหจุดประสงคการเรียนรู

รหัสวิชา 2301-1001 วิชา องคประกอบศิลปะเบื้องตน จํานวน 3 หนวยกิต 4 ช่ัวโมง/สัปดาห

ระดับพฤติกรรมท่ีพึงประสงค

พุทธิพิสัย หนวยท่ี

ช่ือหนวย / หัวขอยอย

1 2 3 4 5 6 ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

เวลา (ชม.)

1 ความหมายและหลักองคประกอบศิลป / / / / 4 2 หลักการและทฤษฎีองคประกอบศิลป (เอกภาพ) / / / / / 4 3 หลักการและทฤษฎีองคประกอบศิลป

(ดุลยภาพ) / / / / / 4

4 หลักการและทฤษฎีองคประกอบศิลป (จุดสนใจและความเดน)

/ / / / / 4

5 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (จุดและเสน) / / / / / 4 6 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (น้ําหนักออนแก) / / / / / 4 7 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (พื้นผิว) / / / / / 4 8 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (ชนิดของส ีการเห็น

การเกิดวงจรส ีสีอุนและสีเย็น) / / / / / 4

9 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (สีคูประกอบและสีขางเคียง ความรูสึกของสี)

/ / / / / 4

10 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (การใชสีกลมกลนืและสีตัดกัน)

/ / / / / 4

11 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (บรเิวณวาง) / / / / / 4 12 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (รูปราง) / / / / / 4 13 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (รูปทรง) / / / / / 4 14 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (ความกลมกลืนและ

ความไมเทากัน) / / / / / 4

15 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (การซ้ําและ การผันแปร)

/ / / / / 4

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 3

ระดับพฤติกรรมท่ีพึงประสงค

พุทธิพิสัย หนวยท่ี

ช่ือหนวย / หัวขอยอย

1 2 3 4 5 6 ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

เวลา (ชม.)

16 ทัศนธาตุในงานทัศนศลิป (จังหวะและการเคลื่อนไหว)

/ / / / / 4

17 การสรางสรรคผลงานศิลปะ 1 / / / / / 4 18 การสรางสรรคผลงานศิลปะ 2 / / / / / 4

หมายเหตุ ระดับความรู 1 = ความจํา 2 = ความเขาใจ 3 = การนําไปใช

4 = วิเคราะห 5 = สังเคราะห 6 = ประเมินคา

4 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

แผนการจัดการเรียนรูที ่6 หนวยการเรียนที ่ 6 รหัส 2301-1001 วิชา องคประกอบศิลปะเบื้องตน ระดับ ปวช จํานวน 3 หนวยกิต

ช่ือหนวย ทัศนธาตุในงานทศันศิลป จํานวน 4 ช่ัวโมง ช่ือเร่ือง น้ําหนัก จํานวน 4 ช่ัวโมง สาระสําคัญ

น้ําหนักคือ ความออนแก ที่เกิดจากแสงและเงา ที่ปรากฏบนวัตถุ หรือการระบายสี คาน้ําหนักแบบสองมิติ จะแสดงความกวางและความยาว คาน้ําหนักแบบสามมิติจะแสดงความกวาง ความยาวและความลึก ระดับคาน้ําหนักเปนความแตกตางของน้ําหนักขาวดํา หรือน้ําหนักของสี คาน้ําหนักจริง เปนคาน้ําหนักที่เกิดจากแสงเงาจริง ปรากฏบนวัตถ ุคาน้ําหนักจริง เปนคาน้ําหนักที่เกิดจากแสงเงาจริง ปรากฏบนวัตถุ คาน้ําหนักลวงตาเปนคาน้ําหนักที่สรางขึ้น มีท้ังสองมิติ และสามมิติ ที่ปรากฏบนพื้นระนาบ

จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกความหมายของนํ้าหนักได 2. อธิบายความหมายมติิของน้าํหนักแบบ 2 มิต ิและ 3 มิต ิได 3. ยกตัวอยางการใชคาน้าํหนักได 4. ใชคาน้ําหนักสรางความแตกตางระหวางรูปกับบริเวณวางได 5. ใชคานํ้าหนักสรางความแตกตางระหวางรูปรางและรูปทรงได 6. ใชคานํ้าหนักสรางปริมาตรความเปน 3 มิติแกรูปรางได 7. อธิบายความหมายของนํ้าหนักจริงและนํ้าหนักลวงตาได 8. จัดองคประกอบศิลปเรื่องน้ําหนักได

เนื้อหาสาระ 1. ความหมายของนํ้าหนัก 2. มิติของน้าํหนัก 3. ระดับความแตกตางของน้ําหนัก 4. การใชคาน้ําหนัก 5. คานําหนักจริงและคาน้าํหนักลวงตา

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 5

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูกลาวทักทายนักเรียน พรอมอธิบายสรุปบทเรียนที ่1 – 5 เพื่อความตอเนื่องในการเรียนทัศน

ธาตุเรื่องน้ําหนัก 2. ครูแจกใบความรูทัศนธาตุเบื้องตนเรื่องน้ําหนัก 3. ครูนําภาพตัวอยางงานองคประกอบศิลปะเร่ือง การใชน้ําหนัก ดวยเทคนิควิธีการตาง ๆ ให

นักเรียนดูในขณะที่ทําการสอน 4. ครูสาธิตวิธีการสรางน้ําหนักดวยเทคนิควิธีการตาง ๆ ใหนักเรียนดู เชน การลดคาน้ําหนักและ

เพิ่มคาน้ําหนักดวยสีโปสเตอร และดินสอ 5. นักเรียนปฏิบัติงานที่ไดรบัมอบหมาย 6. นักเรียนทําแบบฝกหัดทายบทเรียน 7. ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติม เร่ือง น้ําหนัก จากหนังสือและแหลงความรู

ตาง ๆ เพื่อใหนักเรียนเตรียมพรอมในการเรียน 8. นักเรียนออกแบบองคประกอบศิลปดวยรูปทรงเรขาคณิต เรือ่ง น้ําหนักออนแกขนาด 5 นิ้ว X

9 นิ้ว จํานวน 3 ภาพ 9. นักเรียนใชรูปทรงเรขาคณิตมาจัดภาพดวยดินสอดํา ดังนี้ - แสดงคาน้ําหนักแบบ 2 มิติ 2 ภาพ - แสดงคานําหนักแบบ 3 มิติ 1 ภาพ 10. คัดเลือกผลงาน 1 ภาพในหัวขอเร่ืองนํ้าหนัก ขยายประมาณ 8 นิ้ว X 11¼ นิ้ว และคัด-ลอกให

เหมือนแบบ

สือ่และแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ 1.1 แบบประเมินผลกอนเรยีน หลังเรียน เร่ือง นํ้าหนัก 1.2 ใบความรู เร่ือง น้ําหนัก 1.3 ใบงาน เร่ือง นํ้าหนัก 1.4 ใบเฉลยแบบประเมินผลกอนเรียน หลังเรียน เร่ือง น้ําหนัก 1.5 ใบเฉลย ใบงาน เรื่องน้าํหนัก 1.6 แบบสังเกตพฤติกรรม เร่ือง น้ําหนัก 1.7 แบบเกณฑประเมินผลงานตามใบงาน เร่ือง น้ําหนัก 2. สื่อโสตทัศน โทรทัศนทางไกลผานดาวเทียม ตอนที ่6 เร่ือง น้ําหนัก เคร่ืองฉายภาพขามศรีษะ และแผนใสเรื่อง นํ้าหนัก 3. สื่อของจริง ภาพงานจิตกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ

4. แบบประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียน

6 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

แบบประเมนิผลกอนเรียน หนวยการเรียนที ่ 6 รหัส 2301-1001 วิชา องคประกอบศิลปะเบ้ืองตน ระดับ ปวช จํานวน 3 หนวยกิต

ช่ือหนวย น้ําหนัก จํานวนช่ัวโมงรวม 4 ช่ัวโมง ช่ือเร่ือง ความหมายของน้ําหนักออนแก น้ําหนักแบบ 2 มิติ และ

3 มิติ ระดับความแตกตางของคานํ้าหนัก การจัดองคประกอบศิลป

จํานวนช่ัวโมง 4 ช่ัวโมง

แบบฝกหัดและใบงาน กิจกรรมท่ี 1 1. จงอธิบายความหมายของน้ําหนัก .................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. จงอธิบายมิติของน้ําหนักแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ หมายความอยางไร .................................................... ..................................................................................................................................................... 3. จงยกตัวอยางเปนรูปภาพ เรื่องการใชคาน้ําหนักดังตอไปนี ้ 3.1 ใชคาน้าํหนักสรางความแตกตางระหวางรูปกับบรเิวณวาง .......................................................... .............................................................................................................................................. 3.2 ใชคาน้ําหนักสรางความเปน 2 มิติแกรูปราง ............................................................................... .............................................................................................................................................. 3.3 จงอธิบายความหมายของน้ําหนักจริงและน้ําหนักลวงตา ............................................................ .............................................................................................................................................. กิจกรรมท่ี 2 : ใหนักเรียนจัดองคประกอบศิลปเรื่องน้ําหนัก

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 7

ใบความรู ที ่6 หนวยการเรียนที ่ 6

รหัส 2301-1001 วิชา องคประกอบศิลปะเบ้ืองตน ระดับ ปวช จํานวน 3 หนวยกิต

ช่ือหนวย น้ําหนัก จํานวนช่ัวโมงรวม 4 ช่ัวโมง ช่ือเร่ือง น้ําหนัก จํานวนช่ัวโมง 4 ช่ัวโมง จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายของนํ้าหนกัออนแกได 2. อธิบายความหมายของนํ้าหนกัแบบ 2 มิติ และ 3 มิติได 3. อธิบายระดับความแตกตางของคาน้าํหนักเปนระยะตาง ๆ ได 4. ยกตัวอยางเปนรูปภาพ เรื่องใชคาน้ําหนักได 3 เร่ือง 5. จัดองคประกอบศิลป เรื่องน้ําหนักได

เน้ือหาสาระ น้ําหนักออนแก (Tone) น้ําหนักออนแกของแสงและเงาที่ปรากฏบนวัตถุนั้น เปนผลมาจากแสงสวางในธรรมชาติหรือแสงที่มนุษยประดิษฐขึ้น เม่ือใดที่แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดเปนบริเวณสวางและบริเวณมืด โดยบริเวณสวางและบริเวณมืดจะคอย ๆ กระจายคาน้ําหนักความออนแกไดอยางกลมกลืนปรากฏเปนปริมาตรของรูปทรงวัตถุ เร่ืองของนํ้าหนักจึงเก่ียวของโดยตรงกับแสงสวาง ถาปราศจากแสงสวางหรือปริมาณนอยรูปทรงของวัตถุก็จะพรามัว

1. ความหมายของนํ้าหนัก ลาซาริและล ีไดกลาวถึงน้ําหนักไววา มีความหมายเหมือนหรือใกลเคียงกับ Value คือ น้ําหนักเปน

การตอบสนองทางการเห็น และสามารถรับรูไดดวยแสงสวางและเงามืดที่ปรากฏบนวัตถ ุ ชะลูด นิ่มเสมอ ไดใหความหมายของน้ําหนักไววา ความออนแกของขาวดํา ความออนแกของ

สีเทียบคาเปนความออนแกดําขาว เชน น้ําหนักของดําขาว น้ําหนักของส ี ดังนัน้จึงอาจกวาวไดวาน้าํหนัก หมายถึง ความออนแกบริเวณเน้ือท่ีถูกแสง และบริเวณเนื้อที่ที่เปน

เงา ในงานศิลปะน้ําหนักอาจเปนน้ําหนักขาวจนถึงดํา หรือน้ําหนักที่เกิดจากการใชสี สีเดียวหรือหลาย ๆ สี ทําใหเกิดความประสานความออนแกเลียนแบบธรรมชาติ หรือสรางขึ้นใหมีลักษณะแบนราบ

2. มิติของน้ําหนัก มิติของนํ้าหนักแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

8 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

2.1 แบบ 2 มิติ หมายถึง นํ้าหนักท่ีแสดงความกวางและความยาว ใหความเปน 2 มิติ แกรูปราง หรือ ทรงเลียนแบบธรรมชาติสรางขึ้นใหม (ภาพ 6-1)

ภาพที่ 6-1

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 9

2.2 แบบ 3 มิติ หมายถึง นํ้าหนักท่ีแสดงความกวางความยาว และความลึกใหความเปน 3 มิติ แกรูปทรง เลียนแบบธรรมชาติและรปูทรงทีส่รางขึ้นใหม (ภาพ 6-2)

ภาพที่ 6-2

10 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

3. ระดับความแตกตางของคานํ้าหนัก ระดับคาน้ําหนักที่เปนความแตกตางของน้ําหนักขาวดําหรือน้ําหนักของสี สามารถสรางใหเกิดระดับคา น้ําหนักตาง ๆ ไดหลายน้ําหนัก ระดับคาน้ําหนักที่สรางไดงายที่สุด คือ น้ําหนักขาว เทา ดํา นอกจากนี้ระดับคานํ้าหนักยังสามารถเพ่ิมใหมีความแตกตางข้ึนไดอีก เปน 5, 7 หรือ 9 ระยะ เปนตน

ภาพที่ 6-3

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 11

4. การใชคานํ้าหนัก น้ําหนักสามารถนํามาใชไดดังนี ้ 4.1 ใชสรางสรรคความแตกตาง หรือการตัดกันระหวางรูปราง หรือรูปทรงกับบริเวณวาง (ภาพ 6-4)

ภาพที่ 6-4

12 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

4.2 ใชสรางสรรคความเปน 2 มิติแกรูปราง (ภาพ 6-5)

ภาพที่ 6-5

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 13

4.3 ใชสรางสรรคปริมาตรความเปน 3 มิติแกรูปทรง (ภาพ 6-6)

ภาพที่ 6-6

14 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

4.4 ใชสรางสรรคความรูสึกในทางลึก (ภาพ 6-7)

ภาพที่ 6-7

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 15

4.5 ใชน้ําหนักเนนเพื่อเพิ่มความนาสนใจ (ภาพ 6-8)

ภาพที่ 6-8

16 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

4.6 ใชนํ้าหนักเพ่ือสรางสรรคอารมณและความรูสึก ( ภาพ 6-9)

ภาพที่ 6-9

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 17

5. คาน้ําหนักจริงและคาน้ําหนกัลวงตา 5.1 คาน้ําหนักจริง หมายถึง คาน้ําหนักที่เกิดจากแสงสวางและเงาจริงปรากฏบนวัตถ ุไดแก คาน้ําหนัก ในงานศิลปะ สาขาประติมากรรมและสถาปตยกรรม (ภาพ 6-10)

ภาพที่ 6-10

18 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

5.2 คาน้ําหนักลวงตา หมายถึง คานํ้าหนักท่ีเกิดจากการสรางข้ึนมีลักษณะ 2 มิติ และ 3 มิติ ในงาน จิตรกรรม ศิลปะภาพพิมพและงานออกแบบตาง ๆ ปรากฏบนพื้นระนาบกระดาษ ผาใบ ฯลฯ เปนคาน้ําหนักลวงตา ( ภาพ 6-11)

ภาพที่ 6-11

ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช. 19

สรุป น้ําหนักออนแกของแสงและเงา น้ําหนัก คือ ความออนแกของบริเวณท่ีถูกแสงสวาง และบริเวณที่เปนเงาของวัตถุ หรือการระบายสี ใหมีผลเปนความออนของสีหนึ่ง หรือหลายสี หรือบริเวณที่มีสีขาว สีเทา และสีดํา ในความเขมระดับตาง ๆ ในงานชิ้นหนึ่ง น้ําหนักที่ใชตามลักษณะของแสงเงาในธรรมชาติจะทําใหเกิดปริมาตรของรูปทรง นอกจากจะใหปริมาตร และความแนนแกรูปทรงแลว น้ําหนักยังใหความรูสึก และอารมณ ดวยการประสานความออนแก ในตัวของมันเองอีกดวย ในงานนามธรรม เราจะไดความรูสึก ความออนแก ของน้ําหนักที่ประสานกันอยูในภาพโดยตรง โดยไมตองผานรูปทรง ที่รูปไดเขาใจไดแตอยางใด

20 ตัวอยางแผนการจดัการเรียนรู ระดับ ปวช.

คําถามทายหนวย แบบฝกหัด 1. ความหมายของนํ้าหนัก คือ ................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................2. ความหมายของน้าํหนักแบบ 2 มิติ คือ ............................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................3. ความหมายของน้าํหนักแบบ 3 มิติ คือ ............................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................4. การใชคาน้ําหนัก มี 3 ลักษณะ ไดแก ................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................5. อธิบายความหมายของคาน้าํหนักจริง คือ ........................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................6. อธิบายความหมายของคาน้าํหนักลวงตา คือ ...................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... เอกสารอางอิง

เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. 2542. องคประกอบศิลปะ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทเฟองฟาพริ้นติ้ง จํากัด. กรรณิการ จันทรโกเมศ. 2547. เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฎีองคประกอบศิลปะเบ้ืองตน วิทยาลยัอาชีวศึกษาสุโขทัย. สุโขทัย