การสอบสวน ทางระบาดวิทยา · 2011-08-15 · 3...

Post on 03-Mar-2020

0 views 0 download

Transcript of การสอบสวน ทางระบาดวิทยา · 2011-08-15 · 3...

สํานักระบาดวิทยา1

การสอบสวนการสอบสวนทางทางระบาดระบาดวิทยาวิทยา(Epidemiological investigation)(Epidemiological investigation)

สํานักระบาดวิทยา2

การสอบสวนการสอบสวนททาางงระบาดระบาดวิทยาวิทยา

๏ เปนการคนหาขอเท็จจริงของเหตุการณการระบาด โดยการรวบรวมขอมูลตางๆ อธิบายรายละเอียดของปญหา คนหาสาเหตุ เพื่อนําไปสูการควบคุมปองกันปญหาการระบาดคร้ังนั้น ๆ และคร้ังตอไป

๏ เพื่อตอบคําถามวาเกิดอะไรขึ้น เกิดกับใคร เกิดท่ีไหน เกิดเม่ือไหร และเกิดอยางไร

สํานักระบาดวิทยา3

ทําไมตองทําไมตองทําการทําการสอบสวนสอบสวนททาางงระบาดระบาดวิทยาวิทยา

๏เพื่อการควบคุมและปองกันโรคท่ีเฉพาะเจาะจง๏เปนโอกาสในการวิจัย สรางความรูใหม๏เพื่อการฝกอบรม๏มีความสําคัญในแงความสนใจของประชาชน การเมือง กฎหมาย

๏ประเมินมาตรการปองกันและควบคุมโรคท่ีดําเนินไปแลว

การสอบสวนผูปวยเฉพาะราย (Individual case investigation)การสอบสวนการระบาด(Outbreak investigation)

การสอบสวนผูปวยเฉพาะราย (Individual case investigation)การสอบสวนการระบาด(Outbreak investigation)

ขนิดขนิดของการของการสอบสวนสอบสวนททาางงระบาดระบาดวิทยาวิทยา

ยืนยันการเกิดโรคปองกันไมใหเกิดการแพรกระจายของโรคตอไปเขาใจถึงลักษณะการเกิดโรคในผูปวยแตละราย

วัตถุประสงคของการวัตถุประสงคของการสอบสวนเฉพาะรายสอบสวนเฉพาะราย

รวบรวมขอมูลการปวยของผูปวยคนหาขอบเขตการกระจายของโรคในคน

การเก็บวัตถุตัวอยางสงตรวจควบคุมโรค

เขียนรายงาน

สํานักระบาดวิทยา7

ซักประวัต ิอาการการวินิจฉัยของแพทยผลการตรวจทางหองปฏิบัติการสภาพแวดลอมของผูปวยปจจัยอื่นๆ ทางระบาดวิทยา

สํานักระบาดวิทยา8

ผูสัมผัส ในครอบครัว ในชุมชน ในสถานที่ทํางาน

ผูปวยรายอ่ืนผูปวยรายอ่ืนเพ่ือใหแนใจวา เกิดการระบาดข้ึน

หรือไม หากมีลักษณะวาเกิดการระบาด จะตองเปลี่ยนเปน สอบสวนการระบาด แทน

สํานักระบาดวิทยา9

จากผูสัมผัส และส่ิงแวดลอม ซ่ึงสัมพันธกับโรคท่ีพบในผูปวยท่ีเปน index caseโดยอาศัยขอมูลการวินิจฉัยโรคของผูปวยเปนหลักในการพิจารณาตัดสินใจวาจะเก็บ ตัวอยางอะไรจากท่ีไหน สงตรวจดวยวิธีใด

สํานักระบาดวิทยา10

เม่ือทําการสอบสวนจนทราบถึงขอบเขตการปนเปอนในสิ่งแวดลอม และกลุมผูสัมผัสแลว ตองรีบดําเนินการทําลายเชื้อ เพ่ือควบคุมโรคไมใหมีการแพรกระจายตอไปจนอาจเกิดการระบาดข้ึน

สํานักระบาดวิทยา11

เปนการเสนอรายละเอียดการดําเนินงานทั้งหมดใหผูเกี่ยวของไดทราบขอมูลการสอบสวนผูปวยแตละรายน้ี เมื่อนํามารวบรวมและวิเคราะห จะทําใหเห็นลักษณะการเกิดโรค ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามชวงเวลาในปจจัยตางๆ ซึ่งแตกตางไปจากผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากระบบเฝาระวังทางระบาดวิทยา

การสอบสวนการระบาดของโรคการสอบสวนการระบาดของโรค((Outbreak InvestigationOutbreak Investigation))

สํานักระบาดวิทยา13

การระบาดการระบาด๏การท่ีมีเหตุการณเกิดมากกวาปกตใินพื้นท่ีเดียวกัน เม่ือเปรียบเทียบกับระยะเวลาเดียวกันในปกอนๆหรือหรือ

๏เหตุการณท่ีเกิดข้ึนกับคนตั้งแต 2 คนข้ึนไปในระยะเวลาอันส้ัน หลังจากรวมกิจกรรมดวยกันมา หรือหรือ

๏๏ผูปวยเพียงผูปวยเพียง 11 รายราย แตเปนโรคท่ีไมเคยพบมากอนแตเปนโรคท่ีไมเคยพบมากอน

สํานักระบาดวิทยา14

อยางไรจึงจะเรียกวาอยางไรจึงจะเรียกวา ““มากมากกกววาาปกติปกติ””

๏โดยท่ัวไปใชวิธีเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยของจํานวนผูปวยยอนหลัง 3-5 ป ในชวงเวลาเดียวกัน ของพื้นท่ีเดียวกัน

๏“คาเฉลี่ยของจํานวนผูปวย” อาจใชคามัธยฐาน (median) หรือคาเฉลี่ยเลขคณิต (mean) + 2 S.D.

สํานักระบาดวิทยา15

การระบาดการระบาด

สํานักระบาดวิทยา16

ชนิดของการระบาดชนิดของการระบาด ( (Outbreak patterns)Outbreak patterns)๏ชนิดแหลงโรครวม (Common source

outbreak)Point: มีการแพรโรคในชวงเวลาส้ันๆContinuous: มีการแพรโรคแบบตอเนื่อง

๏ชนิดแหลงโรคแพรกระจาย (Propagated source outbreak)

สํานักระบาดวิทยา17

ประโยชนของการทราบชนิดการระบาดประโยชนของการทราบชนิดการระบาด

แหลงโรครวมแหลงโรครวม

แหลงโรคแพรกระจายแหลงโรคแพรกระจาย

กําจัดแหลงโรคกําจัดแหลงโรค

ใหสุขศึกษาใหสุขศึกษาปรับปรุงสุขาภิบาลปรับปรุงสุขาภิบาล

สํานักระบาดวิทยา18

การคนหาการระบาดการคนหาการระบาด

๏ขอมูลในระบบเฝาระวัง การวิเคราะหท่ีเปนประจําสมํ่าเสมอ ทันเวลา เชน การรายงานโรครายสัปดาหพบจํานวนผูปวยมากผิดปกติหรือมีกลุมผูปวยในบางสถานท่ี

๏ขอมูลนอกระบบเฝาระวัง ส่ือมวลชน อินเตอรเน็ต การแจงท่ีเปนทางการและ ไมเปนทางการ

สํานักระบาดวิทยา19

หลักเกณฑในการออกสอบสวนโรคหลักเกณฑในการออกสอบสวนโรค

๏มีผูปวยจํานวนมาก หรือมีอาการรุนแรง/ เสียชีวิต๏เปนโรคใหมที่ไมเคยพบมากอน๏ไมทราบสาเหตุของการระบาด๏ไมสามารถควบคุมได๏เพื่อการฝกอบรม๏ผูบริหารใหความสําคัญ หรือไดรับความสนใจจากประชาชนมาก

สํานักระบาดวิทยา20

ขั้นตอนการสอบสวนโรคขั้นตอนการสอบสวนโรค1. เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค 3. ตรวจสอบยืนยันการระบาด4. กําหนดนิยามผูปวย และคนหาผูปวยเพิ่มเติม5. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา -การมีผูปวยตาม เวลา สถานที ่บุคคล6. สรางสมมุติฐานการเกิดโรค7. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห -ทดสอบสมมุติฐาน8. มีการศึกษาเพิ่มเติม ถาจําเปน9. ควบคุมและปองกันโรค10. นําเสนอผลการสอบสวน