คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ ·...

Post on 06-Jul-2020

19 views 0 download

Transcript of คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ ·...

พระราชนิพนธ์แปล ในรัชกาลที่ ๖ (จากต้นฉบับของ วลิเลี่ยม เช็กเปียร ์

ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดกบฎอัปลักษณ์ ฤๅอุบายเล่ห์ร้ายขมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี อีกดวงใจย่อมด าสกปรก ราวนรกเช่นกล่าวมานี่ ไม่ควรใครไว้ใจในโลกนี้ เจ้าจงฟังดนตรีเถิดชื่นใจ

คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ความหมายของสุนทรียศาสตร ์

ค าว่า "สุนทรียศาสตร์" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤตคือ "สุนทรียะ" (ความงาม, ความดี) และ "ศาสตร"์ (ความรู)้ ตรงกับค าในภาษาอังกฤษว่า aesthetics ซึ่งมีที่มาจากศัพท์ภาษากรีกโบราณ aisthētikós แปลว่า "การรับรู้"

สุนทรียศาสตร์ คือวิชาที่ว่าด้วยความซาบซึ้ง ในคุณค่าของความงาม ฉะนั้น วิชานี้จึงมีค่าหรือมีประโยชน์ต่ออารมณ์ ความรู้สึกภายในของความเป็นมนุษย์ เป็นการศึกษาเพ่ือสร้างรสนิยม (Taste) ในการพิจารณา และเลือกเสพ แต่สิ่งที่ดี ที่งาม ตลอดจนสามารถตัดสินค่าของความงามได้ในระดับหนึ่ง

เจอค าถามปัญหาที่นักสุนทรียศาสตร์จะต้องค้นหาค าตอบ

อะไรคือสิ่งสวยงาม ?

เราจะตัดสินได้อย่างไรว่าอะไรงาม ?

เราใช้อะไรเป็นมาตรฐานในการตัดสินว่าอะไรงามหรือไม่งาม ?

สุนทรียะและสุนทรียศาสตร์ Aesthetic หมายถึง ความนิยมความงามหรือความนิยมในความงาม เป็นอารมณ์ ความซาบซึ้งในคุณค่าของสิ่งงดงาม

ลักษณะของความงาม อัตนิยม /อัตวิสัย Subjectivism

ความงามขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นผู้ตัดสิน อาจใช้ความรู้สึก

อัตนิยม /อัตวิสัย ความงามขึ้นอยู่กับความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เสพ

ลักษณะของความงาม แบบปรนิยม /ประวิสัย Objectivism

ความงามที่ขึ้นอยู่กับบุคคลเป็นความงามแบบสัมบูรณ์

ปรนิยม /ประวิสัย มนุษย์จะต้องท าลายข้อจ ากัดของตน จึงจะสามารถเข้าถึงได้

ความงามเป็นลักษณะโลกแห่งมโนคติ Form

เรียนรู้สัมผัสแห่งความงาม

การรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสเพื่อใหเ้กิดการเรียนรู้ซึ่งม ี๓ วิธ ีแบบโดยตั้งใจ (Intention or

Interesting) มีความสนใจและความตั้งใจที่จะมองเห็นโดยตรง แบบโดยไม่ตั้งใจ (Un – Intention or

Disinteresting) รับรู้ค่าความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติแบบไม่รู้ตัว แบบรสนิยม (Taste) เป็นความรู้สึก

ซาบซึ้งในคุณค่า สามารถเลือกในสิ่งที่ชอบเลือกสรรพคุณ ให้กับตนเองได้ มิใช่ความชอบตามกระแสนิยม

ลักษณะของความงาม แบบสัมพันธนิยม Relativism

ความงามเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสุนทรียวัตถ ุ

สัมพันธ์นิยม โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับอารมณ์

สถานที่ Space & Time) เวลา

ลักษณะของความงาม แบบธรรมนิยม Naturalism

ความงามเป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากการรังสรรค์จากธรรมชาติ

สิ่งที่เรียกว่า ศิลปะ ที่ยอมรับกันว่ามีความงาม ย่อมมาจากธรรมชาติ หรือสะท้องให้เห็นธรรมชาติมากที่สุด

ความงามตามธรรมชาติล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดลบันดาใจให้มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นมา

สุนทรียศาสตร์เชิงปรัชญา+เชิงพฤติกรรม

สุนทรียศาสตร์เชิงปรัชญา (Philosophical Aesthetics) เป็นการเรียนรู้โดยการสนทนา ถกเถียง บรรยาย อาศัยเรื่องความจริงที่สัมผัสได้ (Reality) ข้อเท็จจริงที่อธิบายได้ (Fact) และความจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง (Truth)

สุนทรียศาสตร์เชิงพฤติกรรม (Psychological Aesthetics) เป็นการปฏิบัติให้เกิดประสบการณ์สุนทรียะ เป็นการเรียนรู้ด้วยการฝึกฝน

สุนทรียศาสตร์กับปรัชญาศิลปะ

การรับรู้ทางสุนทรียะมิได้เกิดจากผลงานศิลปะอย่างเดียว เพราะงานศิลปะเป็นผลจากสุนทรียะที่สร้างประสบการณ์สุนทรียะให้แก่เรา แต่ยังมีประสบการณ์สุนทรียะที่เกิดขึ้นเมื่อเราได้ไปสัมผัสรับรู้กับสิ่งอ่ืนๆ

นักปราชญ์ในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะให้ความหมายของศิลปะแตกต่างกันไปจนเสมือนว่าศิลปะเป็นสิ่งที่เราไม่อาจจับความหมายที่แท้จริงได้ มีนักปราชญ์ที่ได้ให้ความหมายของศิลปะประกอบด้วย

ความหมายของ “ศิลปะ” Art

ศิลปะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ได้ให้ค าจ ากัดความ ศิลปะ เป็นค านาม หมายถึง ฝีมือ ฝีมือทางช่าง การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจให้เห็นเป็นเชิงประจักษ์

อริสโตเติล ให้ทัศนะว่า ศิลปะ คือแบบจ าลองของสภาวะแห่งธรรมชาติและเป็นเสมือนกระจกเงาที่สะท้อนให้เห็นสภาวะธรรมชาติ ศิลปะมิใช่การถ่ายแบบรูปร่างภายนอกวัตถุเป็นการถ่ายแบบเนื้อแท้ภายในคือการเลียนแบบศิลปะ

เฮเกน ให้ทัศนะว่า ศิลปะ คือ สภาวะในห้วงลึกจิตใจส าแดงออกมาให้ปรากฏอยู่ในตัววัตถุซ่ึงจินตนาการทางศิลปะเป็นแรงผลักดัน ท าให้วัตถุธรรมดากลายเป็นศิลปวัตถุขึ้นมา

เฮเกน

อริสโตเติล

ให้ทัศนะ ศิลปะ คืออาการที่แสดงออกทางจินตนาการ เพื่อสนองความต้องการให้ส าเร็จ เช่นการเล่นของเด็กเป็นการแสดงออกทางจินตนาการ เมื่อพ้นวิสัยเด็กก็เลิกเล่นอย่างเด็ก แล้วหันมาสร้างความฝันแทนการเล่นใช้เวลาในการฝันโดยการสร้างสรรค์ศิลปะในการสร้างจิตส านึกกับจิตส านัก ซึ่งท างานร่วนกันกล่าวคือ ศิลปะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับความเพ้อฝันในภาวะแห่งสุนทรียภาพจะพบความกลมกลืนระหว่างความรู้สึกปกติและความรู้สึกซ่อนเร้นอยู่ภายในจิตใต้ส านึก

ซิกมันต ์ฟรอยด์

คือศิลปะแห่งความงามเป็นศิลปะที่ตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจ และความรู้สึกนึกคิดที่ติดตราตรึงใจประทับใจ และสะเทือนใจแก่ผู้พบเห็น เป็นผลงานที่ถูกสร้างขึ้นจากสิ่งแวดล้อมและอารมณ์คุณค่าทางสุนทรียภาพ

วิจิตรศิลป์แบ่งออกเป็นแขนงต่างๆได้ ๓ แขนง

๑. ทัศนศิลป์ คือความงามจากรูปลักษณะ รับสัมผัสทางตาได้แก่ ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หัตถกรรม และสถาปัตยกรรม

๒. โสตศิลป์ คือความงามได้จากการฟังและการอ่านรับสัมผัสทางหู ได้แก่ ดนตรี วรรณกรรม

๓. โสตทัศนศิลป์ คือความงามด้วยการแสดงมีการมองเห็นพร้อมกับได้ยินเสียง รับสัมผัสได้ทางตาและหู ได้แก่ นาฏกรรม ภาพยนตร์ โทรทัศน์

ประเภทศิลปะแบ่งเป็น ๒ ประเภท ๑. ประเภทวิจิตรศิลป์

ฐานศาสตร์ทางการเห็น ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เป็นต้น

ฐานศาสตร์ของการได้ยิน ว่าด้วยเรื่องของดนตรี การใช้เสียงอย่างมีระบบ เกี่ยวเนื่องกับตัวโน้ต

ฐานศาสตร์ของการเคลื่อนไหว ว่าด้วยเรื่องละครและการแสดงต่าง ๆ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวโดยใช้ความคิดและการสร้างสรรค ์

รูปแบบของการสร้างสรรค์งานศิลปะ แบ่ง 3 ฐาน

คือศิลปะที่มุ่งประโยชน์ทางใช้สอยเป็นอันดับแรก แล้วจึงมุ่งน าเอาความงามด้านศิลปะเข้าไปช่วยตกแต่งให้งานที่ใช้สอยนั้นน่าดู น่าชม และน่าใช้สอยมากขึ้น

ประยุกต์ศิลป์แบ่งออกเป็นแขนงต่างๆได้ ๖ แขนง

สถาปัตยกรรม คือการออกแบบก่อสร้าง ด้านที่พักอาศัย

อุตสาหกรรมศิลป์ เป็นศิลปะที่สนองความต้องการในด้านความสุขสบาย เป็นการคิดค้นกรรมวิธีที่จะท าให้ผลผลิตที่มีประโยชน์ใช้สอย

มัณฑนศิลป์ คือศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการตกแต่งหรือเรียกว่าศิลปะการตกแต่ง

๒ ประเภทประยุกต์ศิลป์

น้องนิ่ม”นศ.เจ้าของงานศิลปะ “พระพุทธรูปอุลตร้าแมน”

หัตถกรรมศิลป์ คือศิลปะที่ท าด้วยมือเป็นส่วนใหญ่งานที่ท าจึงต่างกันตามความพอใจของผู้ท า

ศาสนศิลป์ คือศิลปะที่สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาที่มีต่อค าสอนศาสนา เป็นงานศิลปะที่แสดงออกถึงความจงรักภักด ี

พาณิชย์ศิลป์ คือศิลปะการโฆษณาการจัดสถานที่เพ่ือแสดงสินค้าการตกแต่งห้างร้าน รวมถึงการถ่ายภาพเพื่อโฆษณาด้วย

สุนทรียศาสตร์ในทัศนะพุทธปรัชญา

ความงามเชิงพุทธศาสนาแบ่งเป็น ๒ ระดับคือ.

ความงามเชิงรูปธรรม แบ่งได้ 3 ประเด็นคือ

ความงามของพุทธธรรม(หลักธรรมค าสอน เช่น อริยสัจ วิธีคิดแบบโยโสมนสิการ)

ความงามของมนุษย์ (ความงามทางรูปกายเช่น การแต่งผม แต่งตัว)

ความงามของสิ่งแวดล้อม (ความงามภายนอกตัวมนุษย์ เช่นป่าไม้ ทะเล)

ความงามเชิงนามธรรม เป็นความงามในคติภพหรืออุดมคติ เช่นชีวิตหลังความตาย นรก สวรรค์ ที่ใครท าดีก็จะถึงสวรรค์

สุนทรียศาสตร์วรรณกรรมศาสนา

ความเชื่อทางศาสนาที่จะเชื่อมการแสดงภาพทางศาสนา ดุริยางค์ดนตรีอันเกี่ยวกับการบรรเลงเป็นท านองเพลงในพิธี วรรณคดีอันเกี่ยวด้วยถ้อยค าส าหรับสวดสดุดี และนาฎกรรมอันเกี่ยวกับการแสดงเรื่องราวบูชาเทพเจ้าในงานเทศกาล เหล่านี้เป็นศิลปะแต่เดิมมามีก าเนิดมาจากศาสนาทั้งสิ้นกล่าวจ าเพาะด้านวรรณคดีวรรณกรรม

บทสวด บทอ้อนวอน บทสดุดี บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ พระสูตรต่างๆ

คัมภีร์ของศาสนา ในพระไตรปิฏกซ่ึงแบ่งเป็น ๓ ภาค คือ วินัยปิฏก สุตตันตปิฏก อภิธรรมปิฏก

ประวัติศาสดาและสาวก ส าหรับพุทธศาสนาได้บันทึกประวัติศาสดา เช่น พระปฐมสมโพธิกถา มหาเวสสันดรชาดก มหาชาติค าหลวง กาพย์มหาชาติ เ

ค าสอนศาสนา วรรณกรรมที่เป็นค าสอนของพุทธศาสนาชาดกต่างๆ ไตรภูมิกถา ลิลิตพระลอ กามนิต วาสิฏฐี ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ พุทธวิธีครองใจคน

วรรณกรรมแสดงความรุ่งเรืองของศาสนา ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหง นางนพมาศ โคลงนิราศหริภุญไชย บุณโณวาทค าฉันท์

วรรณกรรมศาสนาแยกออกได้ ๕ ประเภท

สุนทรียศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร

ความงามเป็นสิ่งเร้าที่ท าให้มนุษย์เกิดความรู้สึกพึงพอใจในด้านบวกจึงนับว่ามีประโยชน์หลายประการ

ส่งเสริมกระบวนการคิด การตัดสินความงามอย่างสมเหตุสมผล

ช่วยกล่อมเกลาให้เป็นผู้มีจิตใจอ่อนโยน มองโลกในแง่ดีอย่างมเีหตุผล

เสริมสร้างประสบการณ์เพื่อการด ารงอยู่อย่างสันติสุข

ส่งเสริมแนวทางแสวงหาความสุขต่างๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

ส่งเสริมให้เห็นความส าคัญบูรณาการให้เห็นประโยชน์กับชีวิตประจ าวันด้วยเหตุผลและความรู้สึกที่สอดคล้องกัน

สุนทรียศาสตร์มีประโยชน์ ต่อการด าเนินชีวิตทั้งทางร่างกายและจิตใจ ความงามเป็นสิ่งเร้าที่ท าให้มนุษย์เกิดความรู้สึกพึงพอใจ

จบการน าเสนอ