ระบบน้ำเหลือง

Post on 28-May-2015

4.033 views 15 download

Tags:

description

ระบบน้ำเหลือง,โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง,สื่อการเรียนการสอนชีววิทยา

Transcript of ระบบน้ำเหลือง

เรื่อง ระบบน ำ้เหลือง (Lymphocyte system)

เนื อหำ

จัดท้ำโดย นำงสำวณิชัชฌำ อำโยวงษ์ ครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

http://heathersanimations.com/heartone.html

ระบบน ้ำเหลือง กลไกกำรสรำ้งภูมิคุ้มกัน

ภูมิคุ้มกันบกพร่อง วัคซีน

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

1. ระบุต้ำแหน่งและหน้ำที่ของต่อมน ้ำเหลือง ในร่ำงกำยคน

2. อธิบำยและเปรยีบเทียบชนิดของภูมิคุ้มกัน 3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกำรน้ำควำมรู้ทำงระบบ

ภูมิคุ้มกันมำใช้ในกำรรักษำโรค 4. อธิบำยเกี่ยวกับกำรเกิดภูมิคุ้มกันบกพร่อง

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

5. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสถิติผู้ปว่ยโรค AIDs ในประเทศไทย

6. อธิบำยและเปรยีบเทียบวัคซีนกับเซรุ่ม

เรื่อง ระบบน ำ้เหลือง (Lymphocyte system)

ท้ำหน้ำที่ล้ำเลียงสำรต่ำงๆ ใหก้ลับเข้ำสู่หลอดเลอืด (กรดไขมัน)

ทิศทำงกำรไหลของน ้ำเหลือง หัวใจ

ไม่มีอวัยวะสูบฉีด

ระบบน ้ำเหลือง ประกอบด้วย

น ้ำเหลือง หลอดน ้ำเหลือง และต่อมน ้ำเหลือง

น ้ำเหลือง (Lymp) เป็นของเหลวที่ซึมผ่ำนเส้นเลือดฝอยออกมำ

ประกอบด้วย

1. เซลล์น ้ำเหลือง (Lymp cell)

2. โปรตีน อัลบูมิน

3. ก๊ำซ น ้ำ กลูโคส

4. เอนไซม์ ฮอร์โมน

น ้ำเหลือง (Lymp)

หน้ำที่ของน ้ำเหลือง

1. ระบำยสำรต่ำงๆ ออกจำกเนื อเยื่อ

2. เกิดกำรไหลเวียนของ lymphocyte และ monocyte

3. ก้ำจัดเชื อโรค เป็นแอนติบอดี (ภูมิคุ้มกัน)

4. ช่วยดูดซึมไขมันที่ล้ำไส้เล็ก

ต่อมน ้ำเหลือง (Lymp node) ต่อมที่สร้ำงน ้ำเหลืองได้ รูปไข่ ขนำดต่ำงๆกัน

1. ทอนซิล

2. ม้ำม

3. ต่อมไทมัส

4. เนื อเยื่อน ้ำเหลืองที่ผนังล้ำไส้

ภำยในมีลิมโฟไซต์

ทอนซิล (Tonsil)

มี 3 คู่ รอบๆ หลอดอำหำรต่อมทอนซิลอักเสบ

ม้ำม (Spleen)

ต่อมน ้ำเหลืองที่มีขนำดใหญ่ที่สุด

Embryo RBC, platlet

หลังคลอด ท้ำลำย RBC , สร้ำงแอนติบอดี

ม้ำม (Spleen)

ต่อมไทมัส (thymus gland)

สร้ำง T lymphocyte

หลอดน ้ำเหลือง ลักษณะ

1. มีลิ นกั น

2. หลอดน ้ำเหลืองฝอย

ปลำยตัน

3. มีทิศทำงเดียว คือ เข้ำสู่หัวใจ

น ้ำเหลืองเคลื่อนที่ได้อย่ำงไร ?

กำรบีบและคลำยตัวของกล้ำมเนื อเรียบของหลอดน ้ำเหลือง

กำรหำยใจเข้ำ

กลไกกำรสร้ำงภูมิคุ้มกนั

ภูมิคุ้มกัน (immunity)

กระบวนกำรต่อต้ำนเชื อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เขำ้สู่ร่ำงกำย

แอนติเจน (antigen)

จุลินทรีย ์แบคทีเรีย ไวรัส ฝุ่นละออง ยำ เกสรดอกไม้ สำรเคม ี

?

Question

โครงสร้ำงใดท้ำหน้ำที่ในกำรก้ำจัดสิ่งแปลกปลอม ?

ระบบภูมิคุ้มกัน (immune system) มี 2 แบบ คือ

1. ภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้ำเพำะ (non specific defense) หรือ

ภูมิคุ้มกนัที่มีในธรรมชำติ

2. ภูมิคุ้มกันแบบจ้ำเพำะ (specific defense)

1. ภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้ำเพำะ (non specific defense) หรือ

ภูมิคุ้มกนัที่มีในธรรมชำติ

1.1 สิ่งกีดขวำง

1.1.1 ผิวหนัง keratin และเหงื่อ

1.1.2 จมูกและหู เมือก

1.1.3 ตำ น ้ำตำ

1.1.4 ช่องคลอด เมือก และ ซิเลีย

1. ภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้ำเพำะ (non specific defense) หรือ

ภูมิคุ้มกนัที่มีในธรรมชำติ

1.2 monocyte macrophage phagocytosis

1.3 neutrophil and eosinophil

2. ภูมิคุ้มกันแบบจ้ำเพำะ (specific defense)

เป็นภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวขอ้งกับ lymphocyte

lymphocyte มี 2 ชนดิ คอื

1. B cell 2. T cell

B cell

plasma cell memory cell

แบ่งเซลล ์

จดจ้ำแอนติเจนชนิดเดิม

T cell

1. เซลล์ทีผู้ช่วย (helper T cell หรือ CD4+ : Th)

รับรู้ต่อแอนติเจนแต่ละชนิด

กระตุ้นกำรท้ำงำนของ B cell

T cell

2. เซลล์ทีท้ำลำยส่ิงแปลกปลอม (cytotoxic T cell : CTL)

รับรู้ต่อแอนติเจนแต่ละชนิด

ท้ำลำยเซลล์แปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ติดเชื อไวรัส

T cell

3. เซลล์ทีกดภูมคิุ้มกัน (suppressor T cell หรือ CD8+ หรือ killer cell)

รับรู้ต่อแอนติเจนแต่ละชนิด

ควบคุมกำรท้ำงำนของ T lymphocyte และ B lymphocyte

กำรสร้ำงภูมิคุ้มกัน มี 2 แบบ คือ

1. ภูมิคุ้มกันก่อเอง (active immunization)

เป็นกำรสร้ำงแอนติบอดี จำกแอนตเิจน

วัคซีน (แอนติเจน) ไข้ทรพิษ อหิวำตกโรค บำดทะยัก โปลิโอ

เกิดช้ำ อยู่นำน

กำรสร้ำงภูมิคุ้มกัน มี 2 แบบ คือ

2. ภูมิคุ้มกนัรับมำ (passive immunization)

เป็นกำรรับแอนติบอดีที่สร้ำงโดยสัตว์อื่น Serum

เซรุ่มแก้พษิงู บำดทะยัก พิษสุนัขบ้ำ น ้ำนมมำรดำ

เกิดเรว็ อำยสุั น

ภูมิคุ้มกันบกพร่อง

Immunodeficiency หรือ Immune deficiency

ภำวะที่ควำมสำมำรถของระบบภูมิคุ้มกันลดลง

1st Immunodeficiency

2nd Immunodeficiency

1. โรคเอดส์ (AIDs)

AIDs : Acquird Immune Deficiency Syndrome)

เกิดจำกกำรติดเชื อ HIV (human Immune Deficiency Virus)

ท้ำลำย macrophage และ lymphocyte

HIV (human Immune Deficiency Virus)

HIV in human blood

AIDs distribution On May 20, 1983 – First publications of the discovery of the HIV virus that causes AIDS in the journal Science by Luc Montagnier. http://tackpinz.com/this-day-in-history-may-20/tackpinz/

1. How about AIDs infection?

Question

1. เพศสัมพันธ ์

Question

2. เลือด

Question

Question

2. How many infection phase?

1. ระยะไม่ปรำกฏอำกำร (Asymptomatic stage) ใช้เวลำประมำณ 7-8 ปี 2. ระยะมีอำกำรสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) ตรวจพบผลเลือดบวก และมีอำกำรผิดปกติเกิดขึ นในเห็น เช่น ต่อมน ้ำเหลืองโตหลำยแห่งติดต่อกันนำนกว่ำ 3 เดือน มีเชื อรำในปำกบริเวณกระพุ้งแก้ม และเพดำนปำก เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลำม และมีอำกำรเรื อรังนำนเกิน 1 เดือน โดยไม่ทรำบสำเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น ้ำหนักลด เป็นต้น 3.ระยะเอดส์เต็มขั น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะ โรคเอดส์

โรคติดเชื อฉวยโอกำส

Can be infected blood with AIDs in mosquitoes?

Question 3. What is World AIDs day? "Universal Access and Human Rights" being

the theme of this year's World AIDS Day, the key slogans are: 1. I am accepted. 2. I am safe. 3. I am getting treatment. 4. I am well. 5. I am living my rights. 6. Everyone deserves to live their rights. 7. Right to Live. 8. Right to Health. 9. Access for all to HIV prevention, treatment, care and support is a critical part of human rights

STOP AIDS,KEEP PROMISE

1 December every year

2. โรคภมูิแพ้ (Allergy)

เกิดจำกกำรตอบสนองตอ่แอนติเจนผดิปกติ

2. โรคภมูิแพ้ (Allergy)

2. โรคภมูิแพ้ (Allergy)

3. เอส แอล อี (systemic lupus erythematosus) ภูมิคุ้มกันเกิน

มีกำรสร้ำงแอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันต่อเนื อเยื่อต่ำง ๆ ของตัวเอง จึงจัดเป็นโรคภูมิต้ำนตัวเองหรือออโตอิมมูน (autoimmune)

3. เอส แอล อี

วัคซีน Vs เซรุ่ม วัคซีน (vaccine)

หลักกำร ท้ำให้ระบบภมูิคุ้มกันของรำ่งกำยรู้จักกบัเชื อ (แอนติเจน)

ที่ไม่เคยเจอมำก่อน เพือ่ที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่ำงกำยจะได้รู้ว่ำจะรับมือกับเชื อ (แอนติเจน) ชนิดนั นๆ ได้อย่ำงไร

สำรกระตุ้นให้ร่ำงกำยสร้ำงภูมิคุ้มกันต่อโรคเป้ำหมำย

1. ผลิตจำกแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท้ำให้หมดฤทธิ์แล้ว

ประเภทของวัคซีน

1. ผลิตจำกแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท้ำให้หมดฤทธิ์แล้ว 2. ผลิตจำกสำรพิษที่ถูกท้ำให้หมดควำมเป็นพิษแล้ว 1. ผลิตจำกแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท้ำให้หมดฤทธิ์แล้ว 2. ผลิตจำกสำรพิษที่ถูกท้ำให้หมดควำมเป็นพิษแล้ว 3. ผลิตจำกกำรน้ำส่วนที่ก่อโรคของเชื อจุลชีพมำเพียงบำงส่วน

1. ผลิตจำกแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท้ำให้หมดฤทธิ์แล้ว 2. ผลิตจำกสำรพิษที่ถูกท้ำให้หมดควำมเป็นพิษแล้ว 3. ผลิตจำกกำรน้ำส่วนที่ก่อโรคของเชื อจุลชีพมำเพียงบำงส่วน 4. สร้ำงโดยกำรสังเครำะห์จำกเทคโนโลยีชีวภำพ

1. วัคซีนที่สร้ำงจำกเชื อที่ท้ำให้ออ่นแรง ได้แก่ วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV) วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คำงทูม (MMR) วัคซีนปอ้งกันวัณโรค (BCG) วัคซีนอีสกุอีใส (Varicella)

ตัวอย่ำงของวัคซีน 1. วัคซีนที่สร้ำงจำกเชื อที่ท้ำให้ออ่นแรง ได้แก่ วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV)

วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คำงทูม (MMR) วัคซีนปอ้งกันวัณโรค (BCG) วัคซีนอีสกุอีใส (Varicella)

2. วัคซีนที่สร้ำงจำกสำรพษิ ได้แก่ วัคซีนคอตีบ-ไอกรน-บำดทะยัก (DPT)

1. วัคซีนที่สร้ำงจำกเชื อที่ท้ำให้ออ่นแรง ได้แก่ วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV) วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คำงทูม (MMR) วัคซีนปอ้งกันวัณโรค (BCG) วัคซีนอีสกุอีใส (Varicella)

2. วัคซีนที่สร้ำงจำกสำรพษิ ได้แก่ วัคซีนคอตีบ-ไอกรน-บำดทะยัก (DPT)

3. วัคซีนที่สร้ำงจำกเทคโนโลยีชีวภำพ ได้แก่ วัคซีนตับอักเสบบี (HBV) วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี (JE vaccine)

วัคซีน Vs เซรุ่ม เซรุ่ม/ซีรัม (serum)

ของเหลวใสที่สกัดออกมำจำกเลือดสัตว์บำงชนิด ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันโรคที่ฉีดเข้ำสู่ร่ำงกำยของมนุษย์แล้ว ร่ำงกำยสำมำรถน้ำไปใช้รักษำโรคหรือท้ำลำยเชื อโรค

ได้ทันที

ดู Youtube กำรผลิตเซรุ่ม

1. น้ำพิษงูที่ได้จำก กำรรดีพิษงูที่ผ่ำน กำรตรวจสอบแล้ว มำฉีดเข้ำไปในม้ำ

ขั นตอนกำรผลิตเซรุ่ม

2. ม้ำจะสร้ำงภูมิคุ้มกันในเลือด จนไดร้ะดับภูมิคุ้มกันที่ต้องกำร

3. เจำะเลือดม้ำ แยกเม็ดเลือดแดงออก เพื่อน้ำกลับคืนเข้ำไป ในม้ำเพือ่ให้ม้ำฟื้นตัวเรว็ขึ น

4. เลือกเฉพำะส่วนที่เป็นพลำสมำมำในกำรผลิตเซรุ่ม

พลำสมำ ประกอบดว้ย โปรตีนหลำยชนิด เช่น อลับูมิน ไฟบรโินเจน เฉพำะอิมมูโนโกลบูลินเท่ำนั นที่มีฤทธิ์ในกำรท้ำลำยพษิงู หรือ ไวรัส

โรคพิษสุนัขบ้ำ

พลำสมำ ประกอบดว้ย โปรตีนหลำยชนิด เช่น อลับูมิน ไฟบรโินเจน เฉพำะอิมมูโนโกลบูลินเท่ำนั นที่มีฤทธิ์ในกำรท้ำลำยพษิงู หรือ ไวรัส

โรคพิษสุนัขบ้ำ

ดังนั น จึงต้องก้ำจัดโปรตีนอื่นที่ไม่มีฤทธิ์ออกไป เพือ่ลดอำกำรแพ้ที่อำจเกิด

กับผู้ป่วย

ข้อดีและข้อเสียในกำรฉีดเซรุ่ม

ข้อดี คือ ร่ำงกำยสำมำรถน้ำเซรุ่มไปใชใ้นกำรตำ้นทำนโรคได้อย่ำงทันท่วงที

ข้อเสีย คือ ผู้ที่ได้รับเซรุ่ม อำจเกิดอำกำรแพ้อย่ำงรุนแรงได ้