โครงงานคอมพิวเตอร์...

Post on 20-Jun-2015

5.210 views 4 download

Transcript of โครงงานคอมพิวเตอร์...

โครงงานคอมพิวเตอร ์รหัสวิชา ง33202 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6

สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า

ผู้ท าโครงงาน 1 นายเกียรติยศ วนาพฤกษ์พงศ์ เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง4

2 นางสาวกนกวรรณ ต้นเงิน เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง4

ทีป่รึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34

บทคัดย่อ

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

บทที่ 5

บรรณานุกรม

ชื่อโครงงาน สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า

(Spelling Correcting)

ช่ือผู้จัดท าโครงงาน นายเกียรติยศ วนาพฤกษ์พงศ์ เลขที่ 8

นางสาวกนกวรรณ ต้นเงิน เลขที่ 13

ระดับ ช่วงชั้นที่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 6

ครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ์

โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย

ปีการศึกษา 2556

โครงงาน “สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า ” มีจุดมุ่งหมาย คือ การศึกษาในเรื่อง การเขียนสะกดค า หลักการเขียนสะกดค าที่ถูกต้อง รวมไปถึงค าที่มักสะกดผิด เพื่อให้ผู้ที่ได้ศึกษานั้นได้น าความรู้จากสื่อการสอนนี้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง

การด าเนินงานค้นคว้าและเรียบเรียงโครงงาน 1. รวมกลุ่มปรึกษาว่าสนใจศึกษาโครงงานในหัวข้อใด 2. สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเขียนสะกดค า 3. จัดท าโครงร่างโครงงาน 4. จัดท าสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint 5. น าสื่อการสอนไปให้คุณครูตรวจสอบและน าไปปรับปรุงแก้ไข 6. จัดท าโครงงาน 7.น าเสนอ

ผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่ได้ศึกษาเรื่องการเขียนสะกดค าในสื่อการสอนนี้ ประสบผลส าเร็จอย่างเห็นได้จากการที่พวกเขาสามารถน าความรู้ไปใช้ได้จริงและยังสามารถน าไปถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้อีกด้วย

บทคัดย่อ

บทที่ 1 บทน า

ในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ าวันของเรามากขึ้น ทั้งการติดต่อสื่อสาร การท าธุรกิจ และอื่นๆอีกมากมาย รวมไปถึงการศึกษาที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ท าให้เข้าถึงได้ง่ายกว่าหนังสือ เพราะอินเตอร์เน็ตมักจะมีลูกเล่น สิ่งที่น่าสนใจมากกว่าหนังสือเรียน และคุณครูในยุคปัจจุบันนิยมน าเอาเทคโนโลยี มาใช้ในการเรียนการสอนมากขึ้น

ในวิชาภาษาไทย มีค าศัพท์และสาระน่ารู้ต่างๆมากมายที่ยากที่จะจดจ า จึงเป็นเหตุให้มักมีการใช้อย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีสิ่งจูงใจที่ท าให้ผู้คนมาสนใจ แต่ถ้ามีการท าสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ด้วยอินเตอร์เน็ต และมีสิ่งจูงใจ ก็จะสามารถช่วยในการเรียนรู้และจดจ า ค าศัพท์ สาระน่ารู้ เหล่านี้ได้ดีมากยิ่งขึ้น ผู้จัดท าจึงคิด ที่จะท าโครงงานสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า

ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

1.เพื่อพัฒนาสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่องการสะกดค าได้

2.เพื่อให้นักเรียนและผู้สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและทบทวนบทเรียนได้

3.เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนภายในห้องเรียน

วัตถุประสงค์

ขอบเขตโครงงาน

ดานอาจารยผูจัดท า - สามารถเพิ่มเติมเนื้อหาไดภายหลัง - สามารถแกไขขอมูลได - สามารถสรางขอสอบได

ดานนักเรียนผูใชงาน - สามารถเขามาคนหาขอมูลเกี่ยวกับการสะกดค าได - สามารถสอบถามได โดยการโพสขอความในบล็อค - สามารถบันทึกขอมูลของอาจารยไวศึกษาทบทวนได้

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง • หลักการเขียนสะกดค า 1. การเขียนค าผิดเพราะค าเหล่านั้นออกเสียงเหมือนกัน แต่มีความหมายคน

ละอย่างและเขียนต่างกัน ท าให้ผู้ใช้ภาษามักสับสนและใช้ค าปนกัน เพราะจ าความหมายของค าที่ต้องการเขียนไม่ได้ เช่น

ค าว่า ขั้น และ คั่น สิน " สินธุ์ ฉัน " ฉันท์ พัน " พันธุ ์

2. ค าที่ออกเสียงต่างกันเพียงเล็กน้อย และมีความหมายต่างกันไม่มากนัก หากไม่ระมัดระวัง ก็อาจเกิดปัญหาในการเขียนได้ เช่น

ค าว่า ราด และ ลาด รัก " ลัก

3. เขียนผิดเพราะไม่รู้หลักเกณฑ์ในการเขียน เช่น ไม่รู้หลักการใช้ ณ -น หลักการประ- วิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ หรือการใช้ ใอ และไอ เป็นต้น

4. ใช้แนวเทียบผิด เช่น ค าว่า ญาติ และอนุญาต สัญชาติ และสัญชาตญาณ บุคคล และบุคลิก เป็นต้น

5. เขียนผิดเพราะมีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ในการเขียน แต่ผู้เขียนติดรูปเดิมของค าบางค า เช่น ค าว่า พงศ์ เดิมใช้ ษ์ ปัจจุบันใช้ ศ์ ค าว่า เบียดเบียน เคยใช้ ฬ สะกด คือเขียน เบียดเบียฬ

6. ค าบางค ามีความหมายอย่างเดียวกัน ออกเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน แต่เขียนต่างกัน ค าเหล่านี้ถึงแม้ว่าจะมีความหมายอย่างเดียวกันแต่มีที่ใช้ต่างกัน ผู้ใช้ภาษาต้องรู้ว่า เมื่อใดจะใช้รูปใด คือรู้ว่าจะเขียนรูปใดในค าแวดล้อมอย่างใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความนิยมของสังคม เช่น

ค าว่า ศูนย์ และ สูญ มารยาท และ มรรยาท ภริยา และ ภรรยา วิชา และ วิทยา

ค าเหล่านี้มีความหมายอย่างเดียวกัน ออกเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน แต่ใช้กับค าแวดล้อมต่างกัน ซึ่งผู้ใช้ภาษาต้องรู้จักที่ใช้ และเขียนให้ถูกต้อง

7. ค าบางค าเขียนได้มากกว่า 1 รูป เช่น กรรไกร อาจจะใช้ว่า กรรไกร กรรไตร หรือตะไกร ก็ได้

ค าว่า ระบัด ระบบ ระบือ ระลอก อาจใช้ ละ และ ระ ได้ดังนี้ ละบัด ละบือ และละลอก

ค าว่า ยนต์ จะเขียน ยนต์ หรือ ยนตร์ ก็ได้ เช่น รถยนต์ ภาพยนตร ์

ดังนั้น ผู้ใช้ภาษาควรจะรู้จักการเขียนทุก ๆ รูป เพื่อจะได้ไม่ทึกทักว่าคนอื่นใช้ผิด เพราะใช้รูปผิดไปจากที่เราใช ้

8. เขียนผิดเพราะเขียนตามเสียงอ่าน เช่น

ปรารถนา ออกเสียงว่า ปราด-ถะ-หนา มักเขียนผิดเป็น ปราถนา

ศีรษะ " ส-ีสะ มักเขียนผิดเป็น ศรีษะ

หลักการเขียนค าสมาส

ค าสมาสซึ่งเกิดจากการน าค าบาลีกับบาลี หรือค าบาลีกับสันสกฤต หรือสันสกฤตกับสันสกฤต มารวมกันเพื่อสร้างค าใหม่ในภาษา เช่น

วิสาขะ (บาลี) + บูชา (บาลี) = วิสาขบูชา

ศัลยะ (สันสกฤต) + กรรม (สันสกฤต) = ศัลยกรรม

กิตติ (บาล)ี + ศัพท์ (สันสกฤต) = กิตติศัพท ์

การเขียนค าสมาสจึงมีหลัก ดังนี้

1. ถ้าพยางค์สุดท้ายของค าแรกมีประวิสรรชนีย์ (ะ) เวลาเขียนให้ตัด ออก ดังตัวอย่างต่อไปนี ้

อิสรภาพ ธนสมบัติ ศิลปศาสตร์ พันธกิจ รัตนโกสินทร์ ภารกิจ ศิลปกรรม พลศึกษา คณบดี กาญจนบุร ี

2. ถ้าพยางค์สุดท้ายของค าแรกของค าสมาสมีเครื่องหมายทัณฑฆาต ( ์ ) เวลาเขียนให้ตัดออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ทรัพยสิทธิ ครุศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตร์ มนุษยชาติ ไปรษณียภัณฑ์ สัมพันธภาพ พิพิธภัณฑสถาน อนุรักษนิยม

หลักการเขียนค าที่ออกเสียง อะ

การเขียนค าที่ออกเสียง อะ เขียนได้ ๒ วิธี คือ ประวิสรรชนีย์ เช่น สะดวก สะอาด และไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ตวาด ชอุ่ม สบู่ เป็นต้น ค าที่ประวิสรรชนีย์มีหลักในการสังเกต ดังนี้

1. ค าไทยแท้ทุกค าที่ออกเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น กะทิ กระพรวน กระทะ ปะขาว ทะนง ทะนาน มะลิ กระชับ ตะแคง ชะลอ ละไม คะม า ตะโกน ขยะ ขะมุกขะมอม

2. ค าซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงมาเป็นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ ดังนี้

2.1 กร่อนเสียงจาก ต้น เป็น ตะ เช่น ต้นเคียน เป็น ตะเคียน ต้นไคร้ เป็น ตะไคร้ ต้นแบก " ตะแบก ต้นคร้อ " ตะคร้อ 2.2 กร่อนเสียงจาก หมาก เป็น มะ เช่น หมากเฟือง เป็น มะเฟือง หมากม่วง " มะม่วง หมากพร้าว " มะพร้าว หมากดัน " มะดัน

2.3 กร่อนเสียงจาก ตัว เป็น ตะ เช่น

ตัวเข้ เป็น ตะเข ้

ตัวเข็บ " ตะเข็บ

ตัวกวด " ตะกวด

2.4 ค า 2 พยางค์ อื่น ๆ ซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงก็ให้ประวิสรรชนีย์ทั้งสิ้น เช่น ตะปู (ตาปู) ตะวัน (ตาวัน) สะดือ (สายดือ) สะใภ้ (สาวใภ้) ฉะนั้น (ฉันนั้น) ฉะนี้ (ฉันนี้)

นอกจากนี้ค ากร่อนจากค าซ้ า (อัพภาส) เป็นเสียงอะในค าแรก ซึ่งเป็นค าซ้ าในค าประพันธ์ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ยะยิบ (ยิบยิบ) ระเรื่อย (เรื่อยเรื่อย) ระรัว (รัวรัว) ฯลฯ

2.5 ค าที่มี 3 พยางค์ ซ่ึงออกเสียง อะ ในพยางค์ที่ 2 มักประวิสรรชนีย์ เช่น รัดประคด บาดทะยัก เจียระไน สับปะรด คุดทะราด เป็นต้น

2.6 ค าที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ถ้าออกเสียง อะ ที่พยางค์ท้ายของค า ให้ประวิสรรชนีย์ที่พยางค์ท้ายของค านั้น เช่น สาธารณะ ลักษณะ สรณะ อิสระ สัมปชัญญะ พละ อักขระ ภาชนะ ฯลฯ

• ตัวอย่างค าที่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่

ชะตา ชะงัก สะคราญ ทะนง คะนึง สะอื้น สะดุด สับปะรด สะอาด สะพาน ชะล่า สะกด จะละเม็ด ฉะนั้น มักกะสัน ประณีต พะท ามะรง สะเพร่า สะพัด สะบัด สะระตะ สะระแหน่ สะอิดสะเอียน สะลึมสะลือ จระเข้ สะตอ ตะลีตะลาน ตะลุมบอน ตะขิดตะขวง ชะรอย ซังกะตาย ธุระ ศิลปะ อารยะ สัจจะ ละเอียด ร ามะนาด อังกะลุง

•ตัวอย่างค าที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่

อารยธรรม ศิลปกรรม ธุรกิจ คณบดี อิสรภาพ ปิยมหาราช พลศึกษา อาชีวศึกษา จริต จรุง ลออ สบาย สูบ่ ขมา ปรัมปรา พนัน ทมิฬ ตวัด ฉบับ ฉบัง ฉมัง ฉวัดเฉวียน สลัว สลอน สลอด สลวย สลัก สราญ สลุต สว่าน เสนาะ อหังการ อสรพิษ ทวาร ฉลาด ถวิล ชโลม

หลักการเขียนค าที่ใช้ ใอ, ไอ, อัย, ไอย

1. ค าที่ใช้สระ ใอ (ไม้ม้วน) แต่โบราณก าหนดว่าค าไทยแท้เพียง 20 ค าเท่านั้น ที่เขียนด้วยสระ ใ ดังที่โบราณาจารย์ผูกไว้เป็นค าประพันธ์เพื่อช่วยความจ า ดังนี ้

ผู้ใหญ่หาผ้าใหม ่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ

ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอด ู

จักใคร่ลงเรือใบ ดูน้ าใสและปลาป ู

สิ่งใดอยู่ในตู ้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง

บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง

เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจ าจงด ี

ปัจจุบันมีค าที่ใช้สระ ใ เพิ่มขึ้น ได้แก่ หมาใน เหล็กใน เย่ือใย ใยบัว ใยแมลงมุม

2. ค าที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) มีหลักการใช้ ดังนี้

2.1 ใช้กับค าไทยทั่วไปนอกจากค าที่ใช้สระ ใ (ไม้ม้วน) 20 ค า

2.2 ใช้กับค าที่แผลงจากค าเดิมที่เขียนด้วย สระ อิ อี และ เอ ในภาษาบาลี สันสกฤต เช่น ระวิ แผลงเป็น ร าไพ วิจิตร แผลงเป็น ไพจิตร ตริ " ไตร วิหาร " ไพหาร

3. ใช้กับค าที่ยืมมาจากค าต่างประเทศทุกภาษา เช่น ไอศกรีม ไมล์ สไลด์ ไวโอลิน ไต้ฝุ่น ไผท อะไหล่ ฯลฯ

ตัวอย่างค าที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) ได้แก ่ ไจไหม ร้องไห้ ไนกรอด้าย ปลาไน เสือกไส ไสไม้ ตะไคร่ ตะไคร้ ใส่ไคล้ ไยไพ ไยดี ล าไย หยากไย่ สลัดได เหลวไหล น้ าไหล จุดไต้ ตะไบ ล าไส้ ไขกุญแจ ไดโนเสาร์

3. ค าที่ใช้สระ อัย (อัย) ใช้กับค าที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ซึ่งเดิมออกเสียง อะ และมี ย ตามหลังเท่านั้น เช่น

ชย ไทยใช้ ชัย ภย ไทยใช้ ภัย

อาลย " อาลัย อุทย " อุทัย

อภย " อภัย นย " นัย

4. ค าที่ใช้สระ ไอย (ไอย) ใช้กับค ายืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ที่ค าเดิมเป็นเสียง เอยย และ เอย เท่านั้น เช่น

เวเนยย ไทยใช้ เวไนย (เวไนยสัตว)์ อสังเขยย ไทยใช้ อสังไขย

อธิปเตยย " อธิปไตย เทยยทาน " ไทยทาน

• หลักการเขียนค าที่ใช้ ศ ,ษ และ ส

การใช้พยัญชนะเสียง /สอ/ ในภาษาไทยมีหลักเกณฑ์การเขียน ดังนี้

1. ค าไทยแท้ทั่วไปนิยมเขียนด้วย ส เช่น เสื้อ เสือ สดใส เสียม เป็นต้น ยกเว้นค าไทย และค ายืมบางค าที่เขียนมาแต่โบราณใช้ ศ และ ษ บ้าง จึงยังคงใช้รูปเขียนเหล่านั้นอยู่ในปัจจุบัน เช่น

ศ : ศอ ศอก เศิก ศึก เศร้า บ าราศ ปราศจาก ฝรั่งเศส เลิศ ไอศกรีม

ษ : กระดาษ โจษจัน ดาษดา ดาษดื่น ฝีดาษ เดียรดาษ อังกฤษ

2. ค าที่มาจากภาษาบาลีใช้ ส ทั้งหมด เช่น พระสงฆ์ มเหสี สัจจะ รังสี สิริ โสภา สโมสร สาธิต สุสาน สาวก ฯลฯ

3. ค าที่มาจากภาษาสันสกฤต มีหลักเกณฑ์ ดังนี้

3.1 พยัญชนะ ศ เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ และ หน้าพยัญชนะเศษวรรคบางรูป ดังนี้

3.1.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ เช่น พฤศจิกายน อัศจรรย์ 3.1.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น เทเวศร พิฆเนศวร์ แพศยา โศลก อัศวิน อาศรม

3.2 พยัญชนะ ษ ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ และ หน้าพยัญชนะวรรคอื่น และพยัญชนะเศษวรรคบางรูปได้ ดังนี้

พยัญชนะ ษ ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ และ หน้าพยัญชนะวรรคอื่น และพยัญชนะเศษวรรคบางรูปได้ ดังนี ้

๓.๒.๑ เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ เช่น กนิษฐา โฆษณา ดุษฎี ราษฎร ทฤษฎี โอษฐ ์

๓.๒.๒ เขียนหน้าพยัญชนะวรรคอื่น เช่น เกษตร บุษกร บุษบก บุษบา พฤษภาคม

๓.๒.๓ เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรคบางรูป เช่น บุษยา ศิษย์ บุษยมาส อักษร บุษรา

3.3 พยัญชนะ ส ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ และพยัญชนะเศษวรรคบางรูปได้ ดังนี้

3.3.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ เช่น พัสดุ พิสดาร ภัสดา วาสนา สถาน สัสดี สวัสดี สตรี อัสดง

3.3.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น ประภัสสร มัสลิน สุรัสวดี มัตสยา

• หลักการเขียนค าพ้องเสียง

ค าพ้องเสียง คือ ค าที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกัน และมีความหมายแตกต่างกันด้วย การเขียนค าพ้องเสียงจึงอยู่ที่การสังเกตและจดจ าความหมายของค าเป็นหลัก ค าพ้องเสียงในภาษาไทยมีอยู่เป็นจ านวนมาก จึงยกตัวอย่างมาเป็นเครื่องสังเกต ดังนี้

/กาน/ เมืองกาญจน์ กานไม้(ตัดไม)้ กิจการ แถลงการณ์ ประสบการณ์ ฤดูกาล กาฬโรค มหากาฬ กลอนกานท์(บทกลอน)

/เกียด/ มีเกียรติ เกียรติยศ รังเกียจ ขี้เกียจ เกียจคร้าน เกียดกัน

/สูด/ สูดดม สูตรคูณ ชันสูตร พหูสูต พิสูจน์

/น่า/ หน้าร้อน หน้าหนาว หน้าต่างน่ารัก น่ายกย่อง น่ากิน

/โจด/ โจทก์จ าเลย โจทย์เลข พูดโจษ โจษขาน

/พัน/ พันผ้า ผูกพัน ละครพันทาง บทประพันธ์ ผิวพรรณ เผ่าพันธุ์ พรรณนา กรรมพันธุ์ ผลิตภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ พรรดึก ภรรยา

/มุก/ ไข่มุก หน้ามุข ประมุข มุกดา

/เพด/ อาเพศ เพศชาย ลักเพศ เบญจเพส สมเพช ประเภท สามัคคีเภท

/ขัน/ ขันน้ า ขันธ์๕ ประจวบคีรีขันธ์ พระขรรค์ เขตขันฑ ์ขัณฑสกร แข่งขัน ข าขัน

/นาด/ ระนาด นวยนาด สีหนาท นาถ(ที่พึ่ง) วรนาถ นงนาฏ นาฏศิลป์ พินาศ

/ดิด/ บัณฑิต ประดิษฐ์ ประดิดประดอย อุตรดิตถ์ กาญจนดิษฐ์(ชื่ออ าเภอ)

ปัจจุบันการเขียนค าผิดเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ดังนั้นราชบัณฑิตยสถานจึงได้รวบรวมค าที่มักเขียนผิดอยู่เสมอ ไว้ในหนังสือ "อ่านอย่างไรเขียนอย่างไร" จึงขอน ามากล่าวไว้พอสังเขป ดังนี ้

ค าที่เขียนถูก ค าที่มักเขียนผิด กงสุล กระตือรือร้น กะเพรา คลุมเครือ คอนเสิร์ต จลาจล จักจั่น ชีวประวัติ เชิ้ต

กงศุล กระตือลือร้น, กะตือรือร้น กระเพรา คลุมเคลือ คอนเสิร์ท จราจล จั๊กจั่น ชีวะประวัต ิ เชิ้ร์ต, เชิ๊ต

บทที่ 3 วิธีการด าเนินการศึกษา

แนวทางการด าเนินงาน

1. ประชุมและก าหนดหัวข้อโครงงานที่จะท า 2. แบ่งงานให้สมาชิกแต่ละคน 3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนสะกดค า 4. จัดท าโครงร่างโครงงาน 5. รวบรวมข้อมูล 6. จัดท าส่ือการสอนโดยใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint 7. น าสื่อการสอนไปให้คุณครูตรวจสอบและน าไปปรับปรุงแก้ไข 8. น าเสนอโครงงาน

ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที ่ ผู้รับผิด

ชอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

1 คิดหัวข้อโครงงาน / ทั้งสองคน

2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ทั้งสองคน

3 จัดท าโครงร่างงาน / / ทั้งสองคน

4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / / / / / / / / ทั้งสองคน

5 ปรับปรุงทดสอบ / / ทั้งสองคน

6 การท าเอกสารรายงาน / / ทั้งสองคน

7 ประเมินผลงาน / คุณครู

8 น าเสนอโครงงาน / ทั้งสองคน

เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้

งบประมาณ

- ไม่ทราบแน่ชัด

- คอมพิวเตอร ์- อินเตอร์เน็ต

สถานที่ด าเนินการ

- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ขั้นตอนการท าสื่อการสอน จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint

1.สร้าง Slide ที่มีภาพประกอบหรือเนื้อหาตามที่ต้องการ ใน ตัวอย่าง นี้จะสร้าง4 ชิ้น

2.ให้คลิกสองครั้งที่ Slide แรก เพราะต้องการแทรกเพลงและให้รันเพลงทันท ี

3.การแทรกแฟ้มข้อมูลประเภทเสียงลงไป ท าได้ด้วยการคลิกที่แทบ Insert แล้วเลือก Audio และเลือก Audio from file 4. จากนั้นให้เลือกเพลงประกอบตามที่ต้องการแล้วคลิก Insert

ขั้นตอนการท าสื่อการสอน จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint 5.จะปรากฏไอคอนที่สไลด์ของเรา

6.จากนั้นก าหนดให้ไฟล์เสียงท างานทันที เมื่อเริ่มสไลด์ด้วยการคลิกที่ไอคอนรูปล าโพงและก าหนดค่าที่แทบ Audio Tools ที่แทบ PlayBack ก าหนดค่าโดยเลือกให้ Loop Until Stop >> Rewind after Playing นอกจากนี้ต้องการให้ซ่อนไอคอนนี้เมื่อสไลด์เริ่มท างาน เลือก Hide Durring Show ที่ส าคัญต้องการให้เพลงนี้เล่นไปเรื่อยๆ แม้จะเปลี่ยน Slide ให้เลือกในช่อง Start เป็น Play across slides 7.หากต้องการก าหนดค่าให้กับภาพหรืออักษรก็ให้คลิกแล้วใส่ Effect โดยการเลือกทีแ่ทป Animation แล้วเลือกรูปแบบตามที่ต้องการ

8.จากนั้นให้ก าหนด Effect การเปลี่ยน Slide โดยการคลิกที่แทบ Transition แล้วเลือกรูปแบบตามที่ต้องการ หากต้องการให้ Effect ใช้กับทุก Slide ก็เลือก Apply to all slide ก าหนดค่าการหน่วงเวลาการแสดงสไลด์ที่ช่อง After แล้วก าหนดระยะเวลาลงไป ในตย ผมตั้งไว้ที่ 3 วินาที และก าหนดค่าเช่นนี้กับทุกสไลด ์

ขั้นตอนการท าสื่อการสอน จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint 9. จากนั้น Setup เพิ่มเติมโดยการ คลิกที่ Slide Show แล้วเลือก Set Up Slide Show 10.ก าหนดให้วนลูปการน าเสนอนี้ไปเรื่อยๆจนกว่าจะกดปุ่ม esc แล้วคลิก OK

รายการ เกณฑ์การให้คะแนน

1.สื่อการสอนฯ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและตัวเนื้อหามีความถูกต้อง ชัดเจน

2.สื่อการสอนฯ สามารถช่วยให้เขียนสะกดค าได้ถูกต้องมากขึ้น

3.สื่อการสอนฯมีความสวยงาม น่าสนใจ ดึงดูดผู้ศึกษาและจัดรูปแบบได้อย่างเหมาะสม

4.สื่อการสอนฯ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภายในห้องเรียนได้

5.สามารถน าความรู้ที่ได้จากสื่อการสอนฯ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

ตัวอย่างแบบประเมินความพึงพอใจ “สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า”

*หมายเหตุ : เกณฑ์การให้คะแนน 5 คือ ดีเยี่ยม , 4 คือ ดี , 3 คือปานกลาง , 2 คือ พอใช้ , 1 คือ ควรปรับปรุง

รายการ เกณฑ์การให้คะแนน

1.สื่อการสอนฯ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและตัวเนื้อหามีความถูกต้อง ชัดเจน 12 4 3 1 0

2.สื่อการสอนฯ สามารถช่วยให้เขียนสะกดค าได้ถูกต้องมากขึ้น 14 4 2 0 0

3.สื่อการสอนฯมีความสวยงาม น่าสนใจ ดึงดูดผู้ศึกษาและจัดรูปแบบได้อย่างเหมาะสม 10 4 4 2 0

4.สื่อการสอนฯ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภายในห้องเรียนได้ 13 4 1 2 0

5.สามารถน าความรู้ที่ได้จากสื่อการสอนฯ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 12 2 3 3 0

รวม 61 18 13 8 0

*หมายเหตุ : เกณฑ์การให้คะแนน 5 คือ ดีเยี่ยม , 4 คือ ดี , 3 คือปานกลาง , 2 คือ พอใช้ , 1 คือ ควรปรับปรุง

บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการที่ผู้จัดท าได้ให้กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 20 ตัวอย่าง ได้ทดลองใช้ “สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า” และได้ท าแบบประเมินความพึงพอใจ ได้ผลดังนี้

กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจ “สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า”

0

10

20

30

40

50

60

70

80

ใช้งานสะดวก สะกดค าถูกมากขึ้น สวยงาม น่าสนใจ ใช้ในห้องเรียนได้ ใช้ในชีวิตประจ าวัน

ดีเยี่ยม

ดี

ปานกลาง

พอใช ้

ควรปรับปรุง

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา

สรุปผลการศึกษา

โครงงาน “สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดค า” ผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่ได้ศึกษาสื่อการสอนนี้ ประสบผลส าเร็จอย่างเห็นได้จากการที่ผู้ศึกษาสามารถน าความรู้เกี่ยวกับการเขียนสะกดค าไปใช้ได้จริง โดยสังเกตจากการที่ผู้ศึกษาสื่อการสอน เขียนสะกดค าผิดลดลง และยังสามารถน าไปถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้อีกด้วย

ประโยชน์ที่ได้รับ

1.สามารถพัฒนาสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การสะกดค า 2.นักเรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจ จากการใช้สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การสะกดค า 3.สามารถน าสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การสะกดค า ไปใช้ได้จริง

ข้อเสนอแนะ

1. สามารถสร้างสื่อการสอนเรื่องอื่นๆได้ 2. สามารถพัฒนาสื่อการสอนให้ออกมาในรูปแบบอื่นที่น่าสนใจมากขึ้นได้ เช่น e-book

บรรณานุกรม

- http://nomkungmwit.blogspot.com/2011/11/ blog-post_6652.html

- http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php ?NewsID=10433&Key=news_research

- http://kmkrupuk.blogspot.com/2011/02/blog- post.html